Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore aปฏิบัติธรรมคู่

aปฏิบัติธรรมคู่

Description: aปฏิบัติธรรมคู่

Search

Read the Text Version

ปฏิบัติธรรม ให้ครบคู่และรอบด้าน พระไพศาล วิสาโล

ปฏิบัติธรรม ให้ครบคู่และรอบด้าน พระไพศาล วิสาโล ณ อุโบสถวัดญาณเวศกวนั วันอาทติ ยท์ ี่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๒

คํ า ป ร า ร ภ เน้ือหาในหนังสือเล่มนี้ปรับปรุงจากค�ำบรรยายของข้าพเจ้า ณ วดั ญาณเวศกวนั  เมอ่ื วนั ท ่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๖๒ อนั เปน็   ส่วนหนึง่ ของโครงการ “ธรรมตามอ�ำเภอใจ” ในการบรรยายครั้งนั้นข้าพเจ้ามีความประสงค์ที่จะช ้ี ให้เห็นถึงธรรมของพระพุทธองค์ในภาพกว้าง ดังทราบกัน  ดีอยู่แล้วว่าพุทธธรรมนั้นเป็นทางสายกลาง ไม่ข้องเก่ียวกับ  ความสุดโต่งสองข้ัว ประกอบด้วยอริยมรรคมีองค์ ๘ พูด  อีกอย่างคือทางที่ประกอบด้วยธรรม ธรรมทั้งหลายที่รวมกัน  เป็นทางสายกลางน้ัน ล้วนเป็นประโยชน์เกื้อกูล แต่มีสิ่งหนึ่ง  ท่ีจะมองข้ามไปไม่ได้ก็คือ ความสมดุลหรือความพอดีในการ  ปฏิบัติธรรม หากปฏิบัติอย่างไม่สมดุลหรือไม่พอดี ก็อาจ  เกดิ ผลเสยี ได ้ อาท ิ ศรทั ธา กบั  ปญั ญา หรอื  สมาธ ิ กบั  วริ ยิ ะ  หากหนกั ทางใดทางหนง่ึ มากเกนิ ไป หรอื หยอ่ นทางใดทางหนง่ึ   มากเกนิ ไป การปฏบิ ตั ยิ อ่ มไมเ่ กดิ ผลเทา่ ทคี่ วร หรอื อาจทำ� ให้  มปี ญั หาตามมา นอกจากธรรมในหมวดอนิ ทรยี  ์ ๕ หรอื  พละ ๕  2 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

แล้ว โพชฌงค์ ๗ ก็ต้องอาศัยความสมดุลในการปฏิบัต ิ เช่นกัน เพื่อให้เกิดความพอดี ระหว่าง ธัมมวิจยะ วิริยะ  และปตี ฝิ า่ ยหนงึ่  กบั  ปสั สทั ธ ิ สมาธ ิ และอเุ บกขา อกี ฝา่ ยหนง่ึ   โดยมสี ต ิ เปน็ สง่ิ ทชี่ ว่ ยใหเ้ กดิ ความสมดลุ  ทง้ั อนิ ทรยี  ์ ๕ และ โพชฌงค์ ๗ นอกจากความสมดุลของธรรมในแต่ละหมวดแล้ว  ความสมดุลของธรรมในแต่ละกลุ่มหรือแต่ละประเภท ก็เป็น  สิ่งที่ต้องค�ำนึงเช่นกัน ดังในค�ำบรรยายดังกล่าว ข้าพเจ้าได ้ จัดกลุ่มเป็นคู่ๆ ท่ีต่างเสริมกันและกันให้สมบูรณ์ ดังนั้นจึง  ควรปฏิบัติควบคู่กัน จะขาดอันใดอันหนึ่งไปไม่ได้ กล่าวอีก  นยั หนง่ึ  ควรปฏบิ ตั ใิ หส้ มดลุ หรอื พอด ี จงึ จะเกดิ ผลดอี ยา่ งแทจ้ รงิ คุณหมออัจฉรา กล่ินสุวรรณ์ ประธานชมรมกัลยาณ-  ธรรม เห็นว่าค�ำบรรยายดังกล่าวมีประโยชน์ ควรเผยแพร่  จึงขอน�ำไปพิมพ์เป็นหนังสือ ข้าพเจ้ายินดีอนุญาต และขอ อนุโมทนาในกุศลเจตนาที่ประสงค์เผยแพร่สัมมาทัศนะ  และสมั มาปฏบิ ตั ใิ หก้ วา้ งขวาง เพอื่ ความเจรญิ งอกงามของชวี ติ และเพื่อประโยชนส์ ขุ ของสังคมยง่ิ ๆ ขึน้ ไป ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒ 3 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

คํ  า  นํ  า  ข  อ  ง ช  ม  ร  ม  กั  ล  ย  า  ณ  ธ  ร  ร  ม ขา้ พเจา้ ขอประมวลความเขา้ ใจจากการอา่ นหนงั สอื เลม่ โปรด “ลกั ษณะแห่งพระพุทธศาสนา” ธรรมนพิ นธข์ อง เจ้าประคุณ  สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต) ในตอนหนง่ึ สรปุ   ไดว้ า่  “...กอ่ นตรสั ร ู้ พระพทุ ธเจา้ ทรงใชเ้ วลานานถงึ  ๖ ป ี ในการ  แสวงหาสัจธรรม ในท่ีสุดทรงค้นพบทางสายกลาง เรียกว่า  มชั ฌมิ าปฏปิ ทา และทรงแสดงธรรมทเ่ี ปน็ กลาง คอื  มชั เฌน-  ธรรมเทศนา ซ่ึงท้ังสองส่วนน้ีคือลักษณะส�ำคัญประการหน่ึง  ของพระพทุ ธศาสนา สำ� หรบั มชั ฌมิ าปฏปิ ทานน้ั  คอื  อรยิ มรรค  มอี งค ์ ๘ ซงึ่ เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั กิ ลางๆ ไมต่ งึ เกนิ ไป ไมห่ ยอ่ นเกนิ ไป  มคี วามพอดที จี่ ะนำ� ไปสจู่ ดุ หมายแหง่ ชวี ติ ทด่ี งี าม สว่ นมชั เฌน-  ธรรมเทศนา คอื  หลกั ธรรมทเ่ี รยี กวา่  ปฏจิ จสมปุ บาท ซงึ่ แสดง  ความเปน็ จรงิ กลางๆ ตามเหตปุ จั จยั  หรอื เปน็ กลางตามสภาวะ  ของมัน  4 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

อกี ทางหนงึ่  ทางสายกลาง หมายถงึ  ความพอด ี ความ  สมดลุ  หรอื  ดลุ ยภาพ ทง้ั ในองคร์ วมแหง่ หมวดธรรมตา่ งๆ ท่ ี เชอื่ มโยงเรยี งรอ้ ยกนั  และในรายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยแหง่ กลมุ่ ธรรม  ในหมวดตา่ งๆ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ สายกลาง คอื  ความพอดี  ที่จะถึงจุดหมายและท่ีจะให้ตรงกับความจริง ไม่ให้สุดโต่งไป  ข้างใดข้างหนึ่ง ซึ่งจะพลาดจากตัวความจริงไปได้ นี้จึงเป็น  ลักษณะสำ� คญั อยา่ งหนึ่งแหง่ พระพทุ ธศาสนา” เมื่อได้มาฟังพระธรรมเทศนาของพระอาจารย์ไพศาล  วสิ าโล เรอ่ื ง “ปฏบิ ตั ธิ รรมใหค้ รบคแู่ ละรอบดา้ น” ในโครงการ  “ธรรมตามอำ� เภอใจ” ณ อโุ บสถ วดั ญาณเวศกวนั  อ.สามพราน  จ.นครปฐม กม็ คี วามประทบั ใจเหลอื เกนิ  สะกดจติ ใจของขา้ พเจา้   ให้ต่ืนรู้ ปีติอิ่มเอม และเข้าใจภาพรวม ความเชื่อมโยงแห่ง  การปฏบิ ตั ใิ หค้ รบถว้ น ถกู ตอ้ งตามธรรม ขยายทศั นะมมุ มอง  จากบทสรปุ ขา้ งตน้  ทท่ี า่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์  ได้นิพนธ์ไว้ มีรายละเอียดชัดเจน ท่ีท่านพระอาจารย์ไพศาล  วสิ าโล เรยี งรอ้ ยถอ้ ยธรรมดว้ ยภาษางา่ ยๆ มตี วั อยา่ งรว่ มสมยั   ทเี่ หน็ ภาพชดั  มพี ลงั สะดดุ ความคดิ  สะกดิ ปญั ญาใหต้ ระหนกั   ถึงความจริงในบริบทต่างๆ ที่เราอาจละเลยและมองข้ามไป  เปดิ ใจยอมรบั ในสง่ิ ทที่ า่ นตแี ผค่ วามเปน็ ธรรมทไ่ี มม่ คี วามสมดลุ   ในมิตติ า่ งๆ อยา่ งไมอ่ าจปฏเิ สธไดเ้ ลย 5 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

ความงดงามแห่งธรรมที่ท่านนำ� มาอธิบายให้เห็นเป็นคู ่ มีค่ามาก นับเป็นแผนที่ชีวิตในการปฏิบัติตามทางสายกลาง  ในหมวดธรรมและในรายละเอยี ดปลกี ยอ่ ย ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจภาพรวม  แหง่ ดลุ ยภาพตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม และเปน็ คมู่ อื ในการ  ตรวจสอบการดำ� เนนิ ชวี ติ  วธิ คี ดิ  และวถิ ธี รรมของเราชาวพทุ ธ  ทั้งหลายว่า ได้หลงลืม หรือละเลยส่วนส�ำคัญท่ีควรใส่ใจให้  ทว่ั ถงึ ตรงไหนบา้ ง เมอื่ ไดเ้ รยี บเรยี งตน้ ฉบบั พระธรรมเทศนาน ้ี จบแล้ว ข้าพเจ้าย่ิงตระหนักในคุณค่าแห่งธรรม และความ  กตญั ญ ู รสู้ กึ ปลมื้ ใจ ปตี ใิ นธรรม จนอดจะอทุ านในใจไมไ่ ดว้ า่   “อโห ธมมฺ สธุ มมฺ ตา” พระธรรมชา่ งเปน็ ธรรมดงี ามเลศิ ลำ้� แท้ ขา้ พเจา้ จงึ กราบขออนญุ าตทา่ นพระอาจารยเ์ พอ่ื จดั พมิ พ ์ เป็นหนังสือ ซึ่งท่านเมตตาสละเวลาตรวจงานให้ อีกส่วนที ่ ส�ำคัญคือ ข้าพเจ้าทราบดีว่า ท่านพระอาจารย์ตั้งใจเตรียม  ธรรมกถาคร้ังนี้เพื่อน้อมถวายเป็นอาจริยบูชา ถวายมุทิตา  แดท่ า่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต)  ในวันครบรอบ ๘๐ ปีแห่งชาตกาลของท่าน ซึ่งเพิ่งผ่านไป  ก่อนวันแสดงธรรมน้ีเพียงวันเดียว ดังน้ัน การท�ำหนังสือน ี้ จึงมีแรงบันดาลใจส�ำคัญ ๒ ส่วนคือ เพ่ือถวายอาจริยบูชา  ถวายมทุ ติ าแดท่ า่ นพระอาจารยไ์ พศาล วสิ าโล ในวนั ครบรอบ  วันเกิดของท่าน เดือนพฤษภาคมน้ี และร่วมถวายมุทิตาแด ่ 6 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

เจา้ ประคณุ สมเดจ็ ฯ ในวนั คลา้ ยวนั เกดิ  ๘๐ ปขี องทา่ นตน้ ปนี  ี้ เชน่ กนั  ซงึ่ เปน็ แรงพลงั สำ� คญั ทที่ า่ นพระอาจารยไ์ พศาล ตงั้ ใจ  แสดงธรรมประกาศความเป็นปราชญ์แห่งพระพุทธศาสนา  ของทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ ฯ ทย่ี ากจะหาทา่ นใดในโลกนเ้ี ทยี บได้  และท่ีเหนือกว่าน้ัน ข้าพเจ้ามีแรงบันดาลใจที่จะให้เพื่อนชาว  พทุ ธไดเ้ ขา้ ใจในการปฏบิ ตั ติ ามทางสายกลางทม่ี ดี ลุ ยภาพ และ  ไมล่ ะเลยความส�ำคญั ในคธู่ รรมและบรบิ ทดา้ นตา่ งๆ โดยรอบ  เพื่อทุกท่านจะได้มีชีวิตที่ราบรื่น งดงามผาสุกด้วยธรรมได้  อยา่ งแทจ้ รงิ ข้าพเจ้าหวังว่า ท่านผู้อ่านจะได้รับประโยชน์แห่งธรรม  สมดงั่ เจตนาและความเมตตาของทา่ นพระอาจารยไ์ พศาล วสิ าโล  และสมด่ังมโนปณิธานแห่งความเสียสละ อุทิศ เพื่อเผยแผ ่ พระพทุ ธธรรมในงดงามและเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย ของทา่ นเจา้ ประคณุ   สมเดจ็ ฯ ผา่ นกาลอนั ยาวนาน ซง่ึ สว่ นหนง่ึ ในมโนปณธิ านของ  ท่านน้ันก็เป็นแรงบันดาลใจส�ำคัญและเป็นแสงประทีปธรรม  ในงานเผยแผธ่ รรมของทา่ นพระอาจารยไ์ พศาล วสิ าโล ซง่ึ เปน็   อาจารย์ของข้าพเจ้าด้วย งานหนังสือเล่มน้ี จึงมีความหมาย  ความส�ำคัญมาก ในกุศลเจตนาที่ต้ังใจน้อมบูชาพระคุณคร ู “ดวงประทีปธรรม” ท่ีส�ำคัญยิ่งสองท่าน ซึ่งหาโอกาสบรรจบ  ร่วมเหตปุ จั จยั กนั เช่นนีไ้ ด้ยากมาก  7 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

ชมรมกัลยาณธรรมขอกราบขอบพระคุณ คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ และ บริษัทอมรินทร์พร้ินติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) ที่มีน�้ำใจกรุณาเป็นเจ้าภาพในการจัดพิมพ ์ เป็นธรรมทานคร้ังนี้ และขอบคุณศิลปิน กิตติ ปริเมธาชัย รวมถึงน้�ำใจของทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์คุณค่า  ย่ิงแห่งธรรมทานนี้ เพ่ือเป็นประโยชน์ยั่งยืนยาวนานแก่พุทธ  บริษัท รวมถึงเอื้ออ�ำนวยต่อการเข้าถึงพระพุทธธรรมของ  ผใู้ ฝธ่ รรมทกุ ทา่ นทวั่ กนั  ขอ “ดวงประทปี ธรรม” จงเปน็  “แสง  ประทีปน�ำทางชีวิต”ของเหล่าเวไนยสัตว์ ผู้ใคร่ต่อการศึกษา  และปฏบิ ตั ิธรรม ไดม้ งุ่ ไปสู่ความพน้ ทกุ ข ์ สูค่ วามสงบสขุ  คือ  พระนพิ พาน ในอนาคตกาลอันใกล้นี ้ เทอญ  นอ้ มบูชาคุณครูบาอาจารย์ผู้ประเสรฐิ ด้วยเศียรเกลา้ ทพญ.อจั ฉรา กลิ่นสวุ รรณ์ ประธานชมรมกัลยาณธรรม วสิ าขปูรณม ี ๒๕๖๒ 8 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

ส า ร บั ญ ๑๒ ปฏิบัติธรรม ให้ครบคู่และรอบด้าน ๑๗ สัจธรรม กบั จริยธรรม ๒๑ ท�ำกจิ กบั ท�ำจติ ๓๓ ประโยชน์ตน กับ ประโยชนท์ ่าน ๕๑ ประโยชนข์ ้นั ตน้ กบั ประโยชน์ขั้นสงู ๕๙ บุคคล กับ สงิ่ แวดลอ้ ม ๗๓ โลก กับ ธรรม ๘๓ บชู าบคุ คลควรบชู าดว้ ยการปฏิบตั ิ



“ภิกษุทั้งหลาย เม่ือรกั ษาตนก็ช่ือว่ารกั ษาผู้อ่ืน นั้นเป็ นอย่างไร ด้วยการหม่ันปฏิบัติธรรม ด้วยการ เจรญิ ธรรม ดว้ ยการท�ำให้มากซ่งึ ธรรม อยา่ งนีแ้ ล เม่ือ รกั ษาตนก็ช่ือว่ารกั ษาผู้อ่ืน “ภิกษุทั้งหลาย เม่ือรกั ษาผู้อ่ืนก็ช่ือว่ารกั ษาตน นัน้ เป็ นอยา่ งไร ดว้ ยการอดทน ดว้ ยการไม่เบียดเบียน ด้วยเมตตาจิต ด้วยความรกั ใครเ่ อ็นดู อย่างนีแ้ ล เม่ือ รกั ษาผู้อ่ืนก็ช่ือว่ารกั ษาตน” เสทกสูตร สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค

ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น อาตมารู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้มาแสดงธรรมที่อุโบสถ ของวดั ญาณเวศกวนั  ทจี่ รงิ อาตมามโี อกาสมาทวี่ ดั นห้ี ลายครง้ั   ต้ังแต่เมื่อ ๒๐ กว่าปีท่ีแล้ว แล้วก็มาเป็นระยะๆ แต่ไม่เคย  มีโอกาสมาแสดงธรรมที่อุโบสถแห่งน้ีเลย ด้วยอานิสงส์ของ  โครงการ “ธรรมตามอ�ำเภอใจ” อาตมาจึงมีโอกาสมาแสดง  ธรรม ณ ท่ีแหง่ น้ี 12 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

หลายทา่ นคงไดต้ ดิ ตามการแสดงธรรมในชดุ นมี้ าตง้ั แต่  ครง้ั แรกๆ การแสดงธรรมชดุ น ี้ เรยี กวา่  “ธรรมตามอ�ำเภอใจ”  หมายถึง การแสดงธรรมตามใจชอบของวิทยากร ซึ่งก็ย่อม  มีความหลากหลาย อาตมาก็หวังว่า “ธรรมตามอ�ำเภอใจ” ของอาตมาในวนั น ี้ จะมสี ว่ นท�ำใหเ้ กดิ  “ใจตามอำ� เภอธรรม” แก่ผู้ฟังบ้าง หมายความว่า ช่วยน้อมน�ำให้จิตใจของทุกท่าน  มีธรรมะเป็นใหญ่ มีธรรมะเป็นเคร่ืองก�ำกับ หรือน�ำพาจิตใจ  ของทกุ ทา่ นใหเ้ กดิ ความผาสกุ  เกดิ ความเจรญิ งอกงามในชวี ติ   การทำ� อะไรตามใจชอบนน้ั  ไมด่ เี ทา่ กบั การทใ่ี จเรามธี รรมเปน็ เครอ่ื งกำ� กบั  ซงึ่ อาจจะเรยี กวา่ เปน็  “ใจตามอำ� เภอธรรม” กไ็ ด้ อาตมาอยากจะเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการชกั ชวนใหท้ กุ ทา่ นในทนี่  ้ี ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธ ต้ังค�ำถามกับตัวเองว่า อะไรท�ำให ้ เราเรียกตัวเองว่าเป็นชาวพุทธ หรือพูดอีกอย่าง ความเป็น  ชาวพุทธในความเข้าใจของเราคืออะไร มีความหมายอย่างไร  สำ� หรบั เรา อาตมาคดิ วา่ ผคู้ นสว่ นใหญไ่ มไ่ ดถ้ ามคำ� ถามน ี้ แม ้ จะเปน็ ชาวพทุ ธ แตถ่ า้ เราตง้ั คำ� ถาม แลว้ หาคำ� ตอบไดก้ จ็ ะด ี หลายคนอาจจะตอบวา่  ความเปน็ ชาวพทุ ธ กค็ อื การม ี พระรตั นตรยั เปน็ สรณะ เปน็ ทย่ี ดึ เหนย่ี วของจติ ใจ แตห่ ากวา่   เรามีพระรัตนตรัย เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว เพียงเพ่ือให้เรามี  13 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

ความมั่นคงในจิตใจ เท่าน้ีคงไม่เพียงพอ การมีพระรัตนตรัย  เปน็ สรณะ นา่ จะหมายความรวมไปถงึ  การนอ้ มนำ� พระจรยิ า  ของพระพุทธองค์ ค�ำสอนของพระองค์ รวมท้ังปฏิปทาและ  การปฏบิ ตั ขิ องพระอรยิ สงฆ ์ มาเปน็ เครอื่ งกำ� กบั  นอ้ มนำ� ชวี ติ   ของเรา หรือเพ่อื เป็นแบบอย่างแหง่ การปฏบิ ัติของเรา ความเปน็ ชาวพทุ ธจะมคี วามหมาย กต็ อ่ เมอ่ื เรามคี วาม  ตงั้ ใจทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้  ถา้ เราไมม่ คี วามคดิ   ทจ่ี ะนำ� คำ� สอนของพระองคม์ าปฏบิ ตั  ิ ความเปน็ ชาวพทุ ธของเรา  กอ็ าจจะสญู เปลา่  หรอื ไดป้ ระโยชนไ์ มเ่ ตม็ ท ่ี แมม้ พี ระรตั นตรยั   เป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจ แต่หากไม่ปฏิบัติตามคำ� สอนของ  พระองค์ ก็ยากท่ีจะมีชีวิตท่ีผาสุกได้ หรือถึงจะปฏิบัติ แต ่ ปฏบิ ตั ไิ มม่ ากพอ เมอ่ื เกดิ เหตรุ า้ ย กเ็ สยี ศนู ย ์ อยรู่ อ้ นนอนทกุ ข์  ไม่สามารถแก้ทกุ ขข์ องตนได้ การที่เราจะน�ำเอาค�ำสอนของพระพุทธเจ้ามาปฏิบัต ิ ให้ถูกต้อง และเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง เราก็ต้องมีความรู้  ความเข้าใจในค�ำสอนของพระองค์ ว่าพระองค์ทรงสอนอะไร  อะไรคอื สงิ่ ทเี่ รยี กวา่  “พระธรรม” ทพ่ี ระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงคน้ พบ  และนำ� มาแสดง ถา้ หากวา่ เราไมเ่ พยี รพยายามทจี่ ะทำ� ความเขา้ ใจ  ในคำ� สอนของพระองค ์ การปฏบิ ตั ขิ องเรากอ็ าจจะคลาดเคลอื่ น  ไมถ่ ูกตอ้ ง หรอื ว่าไมค่ รบถ้วนก็ได้ 14 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

พวกเราคงทราบดอี ยู่แลว้ วา่  เมอ่ื พระพุทธองค์ก�ำลงั จะ  เสด็จปรินิพพาน พระองค์มิได้ทรงมอบหมายให้ท่านใดเป็น  ศาสดาแทนพระองค์ แต่ทรงบอกคณะสงฆ์ว่า ธรรมวินัยจะ  เป็นศาสดาแทนพระองค์ ในสมัยพุทธกาล ค�ำว่าพุทธศาสนา  ในความหมายทุกวันน้ี ยังไม่มี มีแต่ค�ำว่า ธรรม และ วินัย ซงึ่ รวมกนั แลว้ มคี วามหมายใกลเ้ คยี งกบั พทุ ธศาสนาในปจั จบุ นั   สารัตถะ หรือแก่นแท้ของพุทธศาสนานี้ กล่าวอย่างสรุปก็ม ี เพียงแค่ ๒ ส่วนคอื  ธรรม และ วินยั พุทธศาสนาแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ธรรม และ วินัย  ธรรม คอื  ความจริงทีพ่ ระองค์ค้นพบ และทรงน�ำมาแจกแจง  แสดงเป็นค�ำสอน ส่วนวินัย คือ ส่ิงท่ีพระองค์ทรงบัญญัติข้ึน  เพื่อมาเป็นข้อประพฤติปฏิบตั ิ 15 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล



สั จ ธ ร ร ม  กั บ  จ ร ิย ธ ร ร ม ขณะเดียวกัน ธรรม ก็ยังแยกเป็น ๒ ชุด ชุดแรก เป็น  ค�ำสอนเกี่ยวกับสัจธรรม หรือความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ  หรือกฎธรรมชาติ เรียกส้ันๆ ว่า สัจธรรม อีกชุดหน่ึงคือ  ค�ำสอนเก่ียวกับการปฏิบัติ ซึ่งสรุปด้วยค�ำว่า จริยธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า ที่เราเรียกว่าพุทธธรรมน้ี ถ้าจะสรุป  กม็ ีเพียง ๒ สว่ น คือ สัจธรรม และ จรยิ ธรรม สัจธรรม ได้แก่ ค�ำสอนเก่ียวกับเร่ืองพระไตรลักษณ ์ ปฏจิ จสมปุ บาท ขนั ธ ์ ๕ สว่ นจรยิ ธรรม ไดแ้ ก ่ คำ� สอนเกยี่ วกบั   อรยิ มรรคมีองค์ ๘ หรือไตรสกิ ขา เปน็ ตน้ 17 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

คนส่วนใหญ่เข้าใจว่า หัวใจของพุทธศาสนามีเพียง  ธรรมะเทา่ นน้ั  แตม่ องขา้ มวนิ ยั ไป และเวลาพดู ถงึ ธรรมะ หรอื   พทุ ธธรรม บางทกี ล็ ืมเรือ่ งสัจธรรม นึกถงึ แตเ่ รื่องจรยิ ธรรม พุทธธรรมหรือค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ในระดับ  จริยธรรม หรือข้อพึงปฏิบัติ มีมากมาย หลายด้านหลายแง ่ วา่ โดยเนอื้ หาสาระ สามารถสรปุ  หรอื จดั กลมุ่ ไดเ้ ปน็ คๆู่  ธรรมะ  ในแต่ละคู่ ซ่ึงมีจุดเน้นหนักแตกต่างกัน ล้วนมีความสำ� คัญ  ท่ีควรปฏิบัติควบคู่กัน ไม่ควรละเลยอันใดอันหนึ่ง หรือพูด  ให้ชัดว่าจะขาดอนั ใดอนั หนง่ึ ไม่ได ้ เพราะแม้จะมจี ุดเน้นหนัก  แตกตา่ งกนั  หรือมีความหมายคนละแง่ละด้าน แต่ก็เสริมกัน  เก้ือกูลกันและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตน และสร้าง  ความเจริญงอกงามแก่ชีวิตทั้งคู่ เป็นส่ิงที่ชาวพุทธเราควร  เรียนรู้ และท�ำความเข้าใจ เพ่ือจะได้ปฏิบัติอย่างถูกต้อง  และครบถ้วน 18 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น





ทํ า กิ จ  กั บ  ทํ า จิ ต ยกตวั อยา่ งเชน่  คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ เกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ิ หรือจริยธรรมสามารถแบ่งออกเป็น ๑.ทำ� กิจ ๒.ท�ำจิต อนั น้ี  เป็นค�ำสรุปของท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) “ทำ� กิจ” หมายถงึ อะไร ท�ำกิจ หมายถึง การท�ำหน้าที่ หรือความประพฤต ิ ที่เก่ียวข้องกับผู้อ่ืน รวมท้ังวัตถุส่ิงของ และสิ่งแวดล้อม  ท่ีแสดงออกทางกายและวาจา เรียกสั้นๆ ว่า การกระท�ำ ภายนอก สว่ น “ทำ� จติ ” หมายถงึ  การฝกึ ฝนพฒั นาจติ  การ  วางจติ วางใจ จะเรียกวา่  เป็น การกระทำ� ภายใน กไ็ ด้ 21 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ ในระดบั จรยิ ธรรมม ี ๒ สว่ นน ี้ ควบคู่กันอยู่เสมอ คือ ท�ำกิจ และ ท�ำจิต ยกตัวอย่างเช่น  ในโอวาทปาติโมกข์ ซึ่งเป็นหลักธรรมท่ีชาวพุทธเราคุ้นเคยด ี ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ๓ ข้อแรกคือ การไม่ทำ� บาปท้ังปวง  การทำ� กศุ ลใหถ้ งึ พรอ้ ม การชำ� ระจติ ของตนใหผ้ อ่ งใส ทงั้ หมดน้ ี สรปุ แลว้ เหลอื เพยี ง ๒ ขอ้  คอื  การทำ� ด ี กบั  การทำ� จติ  การ  ไม่ท�ำบาปท้ังปวง และการท�ำกุศลให้ถึงพร้อม คือ การท�ำดี  สว่ นการช�ำระจิตของตนใหผ้ อ่ งใส คอื  การทำ� จติ การทำ� ด ี กค็ อื  การทำ� กจิ นนั่ เอง เปน็ การทำ� กจิ ตอ่ ผอู้ น่ื   เร่ิมต้นด้วยการ ไม่เบียดเบียนหรือการไม่ท�ำบาป ต่อมาก็มี  ความเอ้ือเฟื้อเกื้อกูล หรือการท�ำบุญกุศล ขอให้สังเกตว่า  คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ ทเ่ี ปน็ ขอ้ ประพฤตปิ ฏบิ ตั  ิ จะม ี ๒ ขอ้   คือท�ำกิจ กับท�ำจิต ควบคู่กันเสมอ คนท่ีไม่เข้าใจ ก็อาจเกิด  ความสับสนได้ ยกตวั อยา่ งเชน่  เมอื่ พระพทุ ธเจา้ พดู ถงึ ความไมเ่ ทย่ี งของ  สังขาร บางคร้ังพระองค์ก็ตรัสเป็นคาถา ซึ่งบางทีก็เรียกว่า  คาถาบงั สกุ ลุ ตาย เรม่ิ ตน้ ดว้ ยขอ้ ความวา่  “อนจิ จฺ า วต สงขฺ ารา”  คาถาน้ีคนไทยคุ้นเคยเพราะได้ยินเสมอเวลาไปงานศพ แปล  เปน็ ไทยคอื  “สงั ขารทงั้ หลายไมเ่ ทยี่ งหนอ เกดิ ขนึ้ แลว้ เสอ่ื มไป 22 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

เป็นธรรมดา เกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป ความสงบระงับสังขาร เหลา่ นน้ั เปน็ สขุ ” คำ� วา่  ความสงบระงบั สงั ขาร หมายถงึ  การ  หยุดปรุงแต่ง หรือการปล่อยวาง คาถานี้เราได้ยินกันบ่อย  พระพทุ ธเจา้ ตรัสคาถาน้เี พื่อสอนให้เราปล่อยวาง  แต่ในบางครั้ง เมื่อพระพุทธองค์แสดงธรรมเก่ียวกับ  เรื่องความไม่เที่ยงของสังขาร กลับเน้นการปฏิบัติอีกแง่หน่ึง  อยา่ งเชน่  ในปจั ฉมิ โอวาททเี่ ราคนุ้ เคยกนั ด ี “วยธมมฺ า สงขฺ ารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ” แปลว่า “สังขารท้ังหลายมีความ  เสอ่ื มไปเป็นธรรมดา ท่านท้ังหลายจงท�ำความไม่ประมาทให ้ ถึงพร้อม” หรือบางทีก็แปลว่า “ท่านท้ังหลายจงยังประโยชน์  ใหถ้ งึ พร้อมดว้ ยความไม่ประมาท” ความไม่ประมาทน้ีหมายถึงอะไร ไม่ได้หมายถึงการ  ปล่อยวาง แต่หมายถึงการขวนขวาย หมายถึงการเร่งท�ำกิจ  หรือการท�ำหน้าที่ท่ีควรท�ำ โดยไม่ปล่อยปละละเลย ดูเผินๆ  มีความหมายตรงข้ามกับคำ� ว่าปล่อยวาง ซ่ึงคนทั่วไปเข้าใจว่า  หมายถึงการปลอ่ ยปละละเลย คือไม่ท�ำอะไรเลย บางคนฟังธรรมท้ัง ๒ ข้อแล้ว ไม่เข้าใจว่า ทำ� ไมพระ  พทุ ธเจา้ บางครงั้ กท็ รงบอกใหป้ ลอ่ ยวาง แตบ่ างครงั้ กท็ รงสอน  23 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

ใหข้ วนขวาย เรง่ ทำ� กจิ  ทำ� หนา้ ท ี่ อยา่ ประมาท อยา่ งนกี้ แ็ ปลวา่   พระพุทธเจา้ ทรงสอนขดั แยง้ กนั  ใชไ่ หม คำ� ตอบคอื  ไมไ่ ดข้ ดั แยง้ เลย คาถาแรก ทเ่ี รยี กวา่ คาถา  บงั สกุ ลุ ตาย พระองคท์ รงเนน้ เรอ่ื งการปลอ่ ยวาง คอื  การทำ� จติ   ใหร้ จู้ กั ปลอ่ ยวาง แตค่ าถาท ่ี ๒ ในปจั ฉมิ โอวาท พระองคท์ รง  เน้นเรือ่ งการท�ำกิจ ทงั้ การท�ำจติ และการท�ำกจิ  เป็นสิง่ สำ� คัญ  ทงั้ ค ู่ และชว่ ยเสรมิ กนั  ไมไ่ ดข้ ดั แยง้ กนั  แตค่ นทไี่ มเ่ ขา้ ใจ กไ็ ป  คิดว่าการปล่อยวาง คือการปล่อยปละละเลย หมายถึง การ  ไมท่ �ำกิจ ที่จรงิ ไมใ่ ช่ การปล่อยวาง หมายถึง การท�ำจิต ซ่ึงจ�ำเป็นต้องท�ำ ควบคไู่ ปกบั การทำ� กจิ  เนอื่ งจากสงิ่ ตา่ งๆ ไมเ่ ทย่ี ง เพราะฉะนนั้   จึงยึดม่ันถือม่ันไม่ได้ ถ้าไม่อยากทุกข์ จิตใจก็ต้องรู้จักปล่อย  รจู้ กั วาง แตข่ ณะเดยี วกนั  เมอ่ื พจิ ารณาใหด้ จี ะพบวา่  สงิ่ ตา่ งๆ  ไมเ่ ทยี่ งกเ็ พราะแปรเปลย่ี นไปตามเหตตุ ามปจั จยั  ถา้ เราตอ้ งการ  ใหค้ วามเปลยี่ นแปลงเกดิ ขนึ้ ไปในทางทดี่  ี กต็ อ้ งสรา้ งเหตปุ จั จยั   ในทางท่ีส่งเสริมความเจริญ เพราะฉะน้ัน ก็ต้องขวนขวาย  เร่งทำ� กจิ  อยา่ งอมอื งอเท้าหรือผดั วันประกนั พรุ่ง 24 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

คาถา ๒ คาถาน ้ี ยำ�้ แกเ่ ราวา่  นอกจากทำ� จติ แลว้  ตอ้ ง ทำ� กจิ ดว้ ย ไมไ่ ดข้ ดั แยง้ กนั  ในเมอื่ สงิ่ ตา่ งๆ ไมเ่ ทยี่ ง ในดา้ นหนง่ึ   กต็ อ้ งท�ำใจ ทำ� จติ ไมย่ ดึ ตดิ ถอื มนั่  แตใ่ นเวลาเดยี วกนั  ในเมอื่   สงั ขารของเรามแี ตจ่ ะเสอ่ื มไป จะเจบ็ ปว่ ยหรอื ลม้ ตายเมอ่ื ไหร่  ก็ไม่รู้ เพราะฉะน้ัน จึงต้องเร่งท�ำหน้าท่ี ท�ำสิ่งควรท�ำ หม่ัน  สรา้ งคณุ งามความด ี กอ่ นทส่ี งั ขารจะไมอ่ ำ� นวย กอ่ นทจ่ี ะปว่ ย  ก่อนทจ่ี ะตาย หรอื กอ่ นที่ความเสอื่ มจะเกดิ ข้นึ ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า จะเน้น ๒ อย่าง ควบคู่กัน  ตลอดเวลา คอื  ทำ� จติ  และ ทำ� กจิ  ยกตวั อยา่ งเชน่  หลกั ธรรม  เร่ืองพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา  ทง้ั สขี่ อ้ นเี้ ปน็ การทำ� กจิ ลว้ นๆ แตเ่ มอ่ื พระพทุ ธองคท์ รงสอนเรอ่ื ง  พรหมวหิ าร ๔ แลว้  กไ็ มไ่ ดห้ ยดุ เพยี งเทา่ นนั้  พระองคท์ รงสอน  ธรรมะอีกหมวดหน่ึงควบคู่ไปด้วย คือ สังคหวัตถุ ๔ ได้แก ่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา ซ่ึงเป็นเรื่องท�ำกิจ  อยา่ งไรกต็ ามนา่ สงั เกตวา่ ในเมอื งไทย ชาวพทุ ธรจู้ กั หรอื ไดย้ นิ แต่พรหมวิหาร ๔ แต่สังคหวัตถุ ๔ ส่วนใหญ่ไม่รู้จักหรือ ไม่เคยได้ยิน อาจเป็นเพราะชาวพุทธไทยเราเน้นการท�ำจิต แตม่ องข้ามการท�ำกิจไป 25 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

พรหมวหิ าร ๔ น ้ี เปน็ คำ� สอนสำ� หรบั การทำ� จติ  คอื เรา  ควรมีเมตตาต่อทุกคน กรุณาเม่ือเห็นเขาประสบทุกข์ และ  เมอื่ เขาไดด้  ี ประสบความเจรญิ  กม็ มี ทุ ติ า แตเ่ มอื่ เราพยายาม  ทำ� ความด ี สรา้ งประโยชน ์ ชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู แลว้  ไมส่ ำ� เรจ็ ผล  กต็ ้องยอมรับส่ิงที่เกดิ ขนึ้ ดว้ ยใจที่ปกติ คือ อเุ บกขา บางคนเข้าใจไปว่าพระพุทธเจ้าสอนเพียงเท่าน้ี ฉะนั้น  เวลาจะชว่ ยเหลอื ใคร กแ็ คแ่ ผเ่ มตตากพ็ อแลว้  จนกระทงั่ มคี น  พดู วา่  “ชาวพทุ ธไทยเอาแตแ่ ผเ่ มตตาอยใู่ นมงุ้ ” หมายความวา่   เวลาจะชว่ ยเหลอื ใคร กไ็ ดแ้ ตแ่ ผเ่ มตตา แตท่ จี่ รงิ พระพทุ ธเจา้   ไม่ได้สอนเพียงเท่าน้ัน เวลาใครเดือดร้อน ก็ให้มีกรุณา แต ่ เท่าน้ันยังไม่พอ ต้องท�ำกิจด้วย ก็คือ มีสังคหวัตถุ ๔ ได้แก ่ ใหท้ าน เผอ่ื แผ ่ แบง่ ปนั ชว่ ยเหลอื ดว้ ยวตั ถ ุ หรอื พดู จาใหก้ ำ� ลงั ใจ  เรียกว่า ปิยวาจา หรือว่าลงมือช่วยเหลือเขา คือ อัตถจริยา  สว่ น สมานตั ตตา คอื  การรว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ  เสมอบา่ เสมอไหล ่ จะแผเ่ มตตาอยใู่ นใจอยา่ งเดยี วไมพ่ อ ตอ้ งออกไปชว่ ยเหลอื เขา  จะดว้ ยวตั ถสุ งิ่ ของ ดว้ ยคำ� พดู  หรอื ดว้ ยนำ้� พกั นำ�้ แรง หรอื ดว้ ย  การกระทำ� กแ็ ลว้ แต่ พดู อกี อยา่ งกค็ อื วา่  ทำ� จติ  อยา่ งเดยี วไมพ่ อ ตอ้ งทำ� กจิ ดว้ ย 26 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

ถ้าเราจับหลักนี้ได้ ก็จะท�ำให้การปฏิบัติของเราเจริญ  งอกงาม เปน็ ไปอยา่ งครบถว้ น คอื  ดา้ นในกพ็ ฒั นา ดา้ นนอก  คอื  กาย วาจา กเ็ จรญิ งอกงาม ความสมั พนั ธก์ บั ผอู้ นื่ กเ็ ปน็ ไป  โดยราบรน่ื มีกรณีตัวอย่างอีกกรณีหน่ึง ท่ีชี้ให้เห็นว่า ท�ำจิต กับ  ท�ำกิจ นี้ควบคู่กัน เรื่องน้ีอยู่ในพรหมชาลสูตร สมัยหน่ึงม ี พระภิกษุหลายรูปสนทนากันเร่ืองท่ีมีคนมาติเตียนพระพุทธ  พระธรรม พระสงฆ ์ เม่ือพระพุทธองค์ทรงทราบ จึงตักเตอื น  เป็นพระภาษิตวา่ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนเหล่าอ่ืนอาจกล่าวติเตียนเรา ตเิ ตยี นพระธรรม หรอื ตเิ ตยี นพระสงฆ ์ ทา่ นทง้ั หลายไมพ่ งึ ผกู อาฆาต ขุ่นเคือง ไม่พอใจในบุคคลเหล่าน้ัน เพราะถ้าท่าน ทั้งหลายโกรธเคือง หรือไม่พอใจในบุคคลที่กล่าวติเตียนเรา ติเตียนพระธรรม หรือติเตียนพระสงฆ์นั้น อันตรายเพราะ ความโกรธเคอื งนัน้  ก็จะพึงเปน็ ของท่านทั้งหลายเอง” “ถา้ ทา่ นทงั้ หลายโกรธเคอื งหรอื ไมพ่ อใจในบคุ คลทกี่ ลา่ ว ติเตียนเรา ติเตียนพระธรรม หรือติเตียนพระสงฆ์ จะรู้ได้ ละหรอื วา่  ค�ำพดู ของคนเหลา่ นั้นถกู หรอื ผดิ ” 27 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

เมื่อภิกษุท้ังหลายตอบว่า ไม่สามารถท�ำได้ พระองค์ก ็ ตรัสต่อว่า “ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ท่านท้ังหลายพึงชี้แจง เรื่องท่ี ไมเ่ ปน็ จรงิ  ใหเ้ หน็ วา่ ไมเ่ ปน็ จรงิ  ในขอ้ ทค่ี นเหลา่ อนื่ กลา่ วตเิ ตยี น เรา ตเิ ตยี นพระธรรม หรอื ตเิ ตยี นพระสงฆ ์ ใหเ้ ขาเหน็ วา่ ขอ้ นน้ั ไม่จริง ข้อน้ันไม่แท้ ข้อน้ันไม่มีในพวกเรา ข้อนั้นไม่ปรากฏ ในพวกเรา ดังน้”ี พทุ ธภาษติ ดงั กลา่ วแบง่ เปน็  ๒ สว่ น สว่ นแรก พระองค ์ แนะให้ท�ำจิต คือรักษาใจไม่ให้อาฆาต ขุ่นเคือง ไม่พอใจใน  ผู้ท่ีต�ำหนิ จ้วงจาบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ส่วนที่ ๒  พระองค์แนะให้ท�ำกิจ คือ ชี้แจงให้เขารู้ว่าค�ำพูดเหล่าน้ัน  ไมเ่ ปน็ จรงิ อยา่ งไร แตค่ นสว่ นใหญพ่ อเจอเหตกุ ารณห์ รอื ไดย้ นิ   ค�ำพูดเหล่านี้ มักไม่ทำ� จิต คือ โกรธ ไม่พอใจ และเมื่อโกรธ  แลว้ กเ็ ลยไมท่ ำ� กจิ  คอื  ไมช่ แี้ จงใหเ้ ขารวู้ า่ คำ� พดู เหลา่ นน้ั ไมจ่ รงิ   อย่างไร หรืออาจทำ� ส่ิงตรงขา้ ม คอื ต่อว่าดา่ ทอเขา จากตวั อยา่ งทย่ี กมา จะเหน็ วา่ คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้   ทเี่ ปน็ ขอ้ พงึ ปฏบิ ตั  ิ จะม ี ๒ สว่ นเสมอ คอื  ทำ� กจิ  และ ทำ� จติ   ในด้านหนึ่งก็ให้ขยันขันแข็ง ท�ำความดี สร้างประโยชน์  28 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

ช่วยเหลือผู้อ่ืน หรือชี้แจงความจริง อีกด้านหนึ่งก็ให้รู้จัก  รักษาใจให้เป็นปกติ มีจิตใจผ่องใส เป็นกุศล มีเมตตากรุณา  รวมท้งั รูจ้ ักปล่อยวาง ไม่ยึดติดถอื มั่น  ทอ่ี าตมาพดู เชน่ นกี้ เ็ พราะวา่  มชี าวพทุ ธเปน็ จำ� นวนมาก  มองวา่ พทุ ธศาสนาสอนแตเ่ รอื่ งการทำ� กจิ  เชน่  เวลามคี นถามวา่   พทุ ธศาสนาสอนอะไร พระพทุ ธเจา้ สอนอะไร หลายคนตอบวา่   ละชว่ั  ทำ� ด ี จบ อนั นนั้ คอื การท�ำกจิ  สง่ิ ทห่ี ายไปคอื การท�ำจติ   แค่ละช่ัว ท�ำดี ยังไม่พอ ต้องฝึกจิตให้ผ่องแผ้ว หรือชำ� ระจิต  ใหผ้ อ่ งใสดว้ ย แตห่ ลายคน เมอ่ื หนั มาสนใจสมาธภิ าวนาหรอื ท่ีเรียกกันคุ้นปากว่า “ปฏิบัติธรรม” ก็จะมองว่าพุทธศาสนา สอนแต่เรื่องท�ำจิต มองข้ามเรื่องการท�ำกิจ เจออะไรก็ท�ำจิต ปลอ่ ยวางอยา่ งเดยี วเลย สงิ่ ทค่ี วรทำ� กไ็ มท่ ำ�  เชน่  เวลาเจบ็ ปว่ ย  ก็ท�ำใจปล่อยวาง ไม่ทุกข์ไม่ร้อน อย่างน้ีดีแล้ว แต่ต้องรักษา  ดแู ลรา่ งกายดว้ ย เชน่  พกั ผอ่ นใหพ้ อเพยี ง ออกกำ� ลงั กายมากขนึ้   กนิ อาหารทถี่ กู สขุ ลกั ษณะ ในทำ� นองเดยี วกนั  เมอ่ื หลงั คาบา้ น  รั่ว ใจก็ไม่ทุกข์ไม่ร้อน แต่ก็ต้องซ่อมด้วย ถ้าซ่อมเองไม่ได้  กห็ าคนอ่นื มาซ่อม  หลวงพอ่ ชา สภุ ทั โท เคยเลา่ วา่  มพี ระรปู หนงึ่  กฏุ ทิ า่ น  โดนลมพดั เพราะเปน็ ฤดฝู น หลงั คาหายไปครง่ึ หนง่ึ  สมยั กอ่ น  29 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

หลงั คากฏุ จิ ะมงุ แฝก พระรปู นน้ั  ทา่ นกไ็ มไ่ ดท้ ำ� อะไรกบั หลงั คา  เลย ปลอ่ ยใหฝ้ นรว่ั อยอู่ ยา่ งนน้ั  หลวงพอ่ ชากเ็ ลยถามวา่  ท�ำไม  ไม่ซ่อมหลังคา ท่านก็บอกว่าผมก�ำลังฝึกความไม่ยึดม่ันครับ  หลวงพอ่ ชากเ็ ลยตำ� หนวิ า่  “นเ่ี ปน็ การไมย่ ดึ มนั่ ถอื มนั่ โดยไมใ่ ช้ หัวสมอง แทบไม่ต่างกับความวางเฉยของควาย” ปลอ่ ยวาง ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ วางเฉย หรอื ไมท่ �ำอะไร มนั ตอ้ ง  ประกอบดว้ ยปญั ญา ไมใ่ ชว่ างเฉยแบบววั แบบควาย เมอ่ื หลงั คา  ร่ัว ใจไม่ทุกข์ นั่นดีแล้ว แต่ว่าต้องซ่อม คือต้องท�ำกิจด้วย  ไม่ใช่ท�ำจิตอย่างเดียว อันนี้เป็นตัวอย่างว่า ท�ำจิตและท�ำกิจ  ต้องควบคู่กัน ไม่ใช่ท�ำแค่อย่างใดอย่างหนึ่ง และไม่ใช่เร่ืองที่ ท�ำแยกกัน หรอื ทำ� คนละทีด้วยซ้�ำ ทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ ใหข้ อ้ คดิ   ทด่ี  ี ทา่ นแนะนำ� วา่ สงิ่ ทคี่ วรทำ� คอื  “ทำ� จติ เพอื่ กำ� กบั การทำ� กจิ ” ท�ำจิต คือ ให้มีสติ มีวิริยะ มีฉันทะ เพราะว่าถ้าเราท�ำจิตดี  การท�ำกิจก็จะเป็นไปอย่างถูกต้อง เกิดประโยชน์ ไม่ผันแปร  คลาดเคลอื่ น กลายเปน็ การไปทำ� สง่ิ ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง กลายเปน็ การ  ทุจรติ  หรือว่าสรา้ งความทกุ ขย์ ากให้กบั ผูก้ ระทำ� 30 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

เราต้องรู้จักท�ำจิตเพื่อก�ำกับการท�ำกิจ ขณะเดียวกัน  “ก็ใช้การท�ำกิจสนับสนุนการท�ำจิต” ไม่ว่าเราท�ำกิจอะไร ก็  เป็นการสนับสนุนการท�ำจิตได้ เช่น ฝึกจิตให้มีสติ มีความ  อดทน เป็นต้น ไม่ว่าเรารดน�้ำต้นไม้ หรืออาบน้�ำ แปรงฟัน  ท�ำครัว กิจเหล่านี้สามารถสนับสนุนการท�ำจิตได้ทั้งน้ัน คือ  ท�ำให้จิตมีสติ หรือฝึกฝนจิตให้มีความขยัน มีความอดทน  ปลูกฉันทะให้เกิดข้ึน เป็นเพราะเรามองว่าพุทธศาสนาสอน  เพยี งบางดา้ น คอื  ท�ำจติ  จงึ ละเลยการท�ำกจิ  หรอื บางทสี อน  ใหท้ ำ� กจิ  แตล่ ะเลยการทำ� จติ  การปฏบิ ตั ขิ องชาวพทุ ธหลายคน  จึงกลายเปน็ ไมถ่ กู ตอ้ ง ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาสไดส้ รปุ ไวด้ วี า่  ชวี ติ ทดี่  ี คอื  ชวี ติ ท่ี สงบเยน็  เปน็ ประโยชน ์ อนั นก้ี ส็ ะทอ้ นถงึ  ๒ ขอ้ ทว่ี า่  สงบเยน็   เป็นผลจากการท�ำจิต และถ้าเราท�ำกิจด้วยก็เกิดประโยชน์  ชีวิตที่ดี คือ ชีวิตท่ีต้องท�ำจิตและท�ำกิจ ก็จะเกิดผลดี คือ  สงบเยน็  และเป็นประโยชน์ 31 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล



ป ร ะ โ ย ช น์ ต น  กั บ  ป ร ะ โ ย ช น์ ท่ า น อย่างท่ีอาตมาบอกว่า ธรรมะในระดับปฏิบัติการ หรือ เชิงจริยธรรมนี้ สามารถจะสรุปได้เป็นคู่ๆ น้ัน ไม่ได้มีเพียง  คเู่ ดียว คือทำ� กจิ และท�ำจิต มองในแง่ลักษณะของการกระทำ�   แบง่ เปน็  ๒ ประเภทคอื  ทำ� จติ และทำ� กจิ  แตถ่ า้ มองในแงข่ อง  จุดมุ่งหมาย หรือประโยชน์ ก็มีอีก ๒ ประเภทเหมือนกัน  กค็ ือ ประโยชน์ตน กับ ประโยชนท์ ่าน ประโยชนท์ า่ น ในทน่ี  ี้ กค็ อื  ประโยชนท์ เี่ กดิ ขนึ้ กบั ผอู้ น่ื   หรือประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนแก่ส่วนรวม ส่วนประโยชน์ตน ก ็ ครอบคลมุ กวา้ งขวาง ตง้ั แต ่ ความเปน็ อย ู่ ความประพฤตทิ ดี่ งี าม  33 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

รวมทงั้ ความเจรญิ งอกงามในจติ ใจ ประโยชนต์ น เปน็ คนละเรอ่ื ง  กับความเห็นแก่ตัว เพราะว่าความเห็นแก่ตัว อาจเป็นการ  ท�ำร้ายตัวเองก็ได้ คนที่เห็นแก่ตัวน้ัน ท�ำลายประโยชน์ตนได ้ ง่ายมาก เช่น ผลักให้ไปท�ำช่ัว ลักขโมย ทุจริต หรือขี้เกียจ  อยา่ งนไี้ มก่ อ่ ประโยชนแ์ กต่ นเลย แตเ่ ปน็ การบนั่ ทอนประโยชน์  ตน เกดิ โทษแกต่ วั เอง อยา่ งนเี้ รยี กวา่ ทำ� รา้ ยตวั เอง ดงั มพี ทุ ธ-  ภาษิตว่า “คนพาลปัญญาทรามย่อมท�ำกับตนเองเหมือนเป็น ศัตรู” ในทัศนะของพุทธศาสนา ประโยชน์ตนน้ี เกิดขึ้นจาก  การทเี่ ราทำ� ความด ี ฝกึ ฝนพฒั นาจติ  ชว่ ยใหเ้ รามคี วามเปน็ อย่ ู ราบรน่ื  มีชวี ติ ทง่ี อกงาม และมีจิตท่ผี าสุก การกระทำ� ทง้ั หลาย เราจะมงุ่ แตป่ ระโยชนต์ นอยา่ งเดยี ว  ไม่ได้ ควรค�ำนึงถึงประโยชน์ท่านด้วย ประโยชน์ตนและ  ประโยชนท์ า่ นควรไปดว้ ยกนั  ดงั จะเหน็ ไดว้ า่  เวลาพระพทุ ธเจา้   ทรงสอนเรอ่ื งการทำ� บญุ  ไมว่ า่ จะเปน็ ดว้ ยการใหท้ าน รกั ษาศลี   หรอื ภาวนา หรอื ดว้ ยบญุ กริ ยิ าวตั ถ ุ ๑๐ ประการ วตั ถปุ ระสงค์  ไมใ่ ชเ่ พยี งเพอื่ ทำ� ใหจ้ ติ ใจผอ่ งใส เปน็ กศุ ล แตว่ า่ ยงั เปน็ ประโยชน์  ต่อผู้อื่นด้วย บุญที่แท้ทางพุทธศาสนานี้ จะก่อให้เกิดทั้ง  ประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน เมื่อให้ทาน นอกจากผู้อ่ืน  จะไดป้ ระโยชนจ์ ากสงิ่ ทเี่ ราให ้ เชน่  เงนิ  หรอื อาหารแลว้  ยงั เปน็   การลดความตระหน่ีในตัวเรา ลดความยึดติดถือม่ันในทรัพย์  34 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

ศีลก็เช่นกัน การรักษาศีลให้ถูกต้อง เป็นประโยชน์ตนก็คือ  ท�ำให้ไม่มีเรื่องทุกข์ยาก เดือดเน้ือร้อนใจ ลดละโลภ โกรธ  หลง ขณะเดียวกัน ประโยชน์ท่านก็คือ ลดการเบียดเบียน  ทำ� ให้ผคู้ นอยดู่ ้วยกนั อยา่ งราบรืน่  สังคมมีความผาสกุ การทำ� ความดหี รอื สง่ิ พงึ ปฏบิ ตั ใิ นพทุ ธศาสนา จะมงุ่ ทง้ั   ประโยชนต์ นและประโยชนท์ า่ นอยตู่ ลอดเวลา บางคนเขา้ ใจวา่   พทุ ธศาสนาสอนแตเ่ รอ่ื งตวั เอง อนั นเี้ ปน็ ความเขา้ ใจผดิ ของคน  ทห่ี า่ งไกลพทุ ธศาสนา ชาวพทุ ธเองจำ� นวนไมน่ อ้ ยกเ็ ขา้ ใจอยา่ งนนั้   วา่  พทุ ธศาสนาสอนแตเ่ รอื่ งของตวั เอง มงุ่ แตป่ ระโยชนส์ ว่ นตวั   หรือความผาสุกเฉพาะตัว แต่ที่จริงแล้วไม่ใช่เช่นนั้นเลย มี  คำ� สอนมากมาย ทเ่ี ปน็ เรอ่ื งการชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื  เชน่  อตั ถจรยิ า ซึ่งเป็นหนึ่งในสังคหวัตถุ ๔, หลักธรรมท่ีเรียกว่า สาราณีย- ธรรม หรือธรรมท่ียึดเหนี่ยวผู้คนให้เป็นหน่ึงเดียวกัน ท่านก ็ สอนใหม้ เี มตตาตอ่ ผอู้ น่ื  ไมใ่ ชแ่ คเ่ มตตาในใจ หรอื เมตตาดว้ ย  คำ� พดู เทา่ นนั้  แตแ่ สดงความเมตตาดว้ ยการกระท�ำ บางทที า่ น  ใชค้ ำ� วา่  กงิ กรณเี ยส ุ ทกั ขตา แปลวา่  การขวนขวายชว่ ยเหลอื   ส่วนรวม หลักสาราณียธรรมนี้มีหลายหมวด หมวดหน่ึงเน้น  ใหม้ ีเมตตามโนกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตากายกรรม อีก  หมวดหนึ่งระบุไวเ้ ดน่ ชดั เลย คือการขวนขวายชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน 35 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

มภี าษติ หนง่ึ ของพระพทุ ธเจา้ ทต่ี รสั ไวว้ า่  “เมอ่ื รกั ษาตน ก็ช่ือว่ารักษาผู้อื่น เม่ือรักษาผู้อ่ืนก็ช่ือว่ารักษาตน” ภาษิตนี้  ช้ีให้เห็นว่า ประโยชน์ตน กับ ประโยชน์ท่าน ไม่ได้แยกกัน  ที่มาของภาษิตน้ีน่าสนใจ พระพุทธเจ้าก่อนท่ีจะตรัสภาษิตน ้ี ทรงเลา่ นทิ านเปน็ อปุ มาวา่  นกั กายกรรมคนหนง่ึ เรยี กใหศ้ ษิ ย ์ ขน้ึ ไปเลย้ี งตวั อยบู่ นลำ� ไมไ้ ผ ่ ทต่ี ง้ั ขน้ึ อยบู่ นตน้ คอของอาจารย์  จากนนั้ กบ็ อกลกู ศษิ ยว์ า่  “เธอจงรกั ษาฉนั  สว่ นฉนั กจ็ ะรกั ษาเธอ เมอ่ื เราตา่ งรกั ษาซงึ่ กนั และกนั อยา่ งน ี้ กจ็ ะแสดงศลิ ปะส�ำเรจ็ ดว้ ย จะไดเ้ งนิ ด้วย และจะลงจากไม้ไผ่โดยสวัสดดี ้วย” ลูกศิษย์กลับบอกว่า “ท่านอาจารย์ ท�ำอย่างน้ันไม่ได้ อาจารย์น่ันแหละจงรักษาตัวเอง ส่วนผมก็จะรักษาตัวผมเอง เม่ือเราทั้ง ๒ ฝ่ายต่างระวังรักษาตัวเราไว้ ก็จะแสดงศิลปะ ส�ำเรจ็  จะได้เงนิ ด้วย และลงมาจากไม้ไผโ่ ดยสวัสดีดว้ ย” จากนั้นพระพุทธเจ้าก็ตรัสว่าที่ลูกศิษย์พูดน้ัน ถูกต้อง  แล้ว แล้วพระองค์ก็สรุปเป็นภาษิตดังที่กล่าวมาแล้ว “เมื่อ รกั ษาตนกช็ อ่ื วา่ รกั ษาผอู้ น่ื  เมอ่ื รกั ษาผอู้ นื่ กช็ อ่ื วา่ รกั ษาตน”  แล้วพระองค์กข็ ยายความว่า 36 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

“ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เมอื่ รกั ษาตนกช็ อ่ื วา่ รกั ษาผอู้ น่ื  นน้ั เปน็   อย่างไร ด้วยการหมั่นปฏิบัติธรรม ด้วยการเจริญธรรม ด้วย  การท�ำให้มากซ่ึงธรรม อย่างนี้แล เม่ือรักษาตนก็ชื่อว่ารักษา  ผูอ้ ่ืน “ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เมอื่ รกั ษาผอู้ น่ื กช็ อื่ วา่ รกั ษาตน นน้ั เปน็   อยา่ งไร ดว้ ยการอดทน ดว้ ยการไมเ่ บยี ดเบยี น ดว้ ยเมตตาจติ   ดว้ ยความรกั ใครเ่ อน็ ด ู อยา่ งนแ้ี ล เมอ่ื รกั ษาผอู้ นื่ กช็ อื่ วา่ รกั ษา  ตน” เหน็ ไดว้ า่  ประโยชนต์ น กบั  ประโยชนท์ า่ น ไมไ่ ดแ้ ยกกนั   ถ้าเราท�ำโดยเน้นแต่ประโยชน์ตน มองข้ามประโยชน์ท่าน  ก็ถือว่าเป็นการรักษาตนท่ีไม่สมบูรณ์ หลายคนพบว่า เม่ือ  ไปช่วยเหลือผู้อื่นแล้ว ตัวเองก็ได้รับความสุขด้วย จิตอาสา  หลายคนท่ีไปช่วยเหลือเด็กก�ำพร้า ไปช่วยเหลือคนชรา ไป  ปลกู ปา่  เขาพบวา่  นอกจากประโยชนจ์ ะเกดิ ขนึ้ กบั สว่ นรวมแลว้   ตัวเองก็มีความสุข หลายคนท่ีมีความทุกข์ พบว่าความทุกข ์ บรรเทาเบาบางลง เมอ่ื เขาไดไ้ ปช่วยเหลอื ผอู้ ื่น ผู้หญิงคนหนึ่งสูญเสียสามี ซึ่งตายเพราะมาเลเรีย  ตอ่ มาไมน่ าน ลกู ชายคนเดยี วกต็ ายดว้ ยอบุ ตั เิ หตรุ ถยนต ์ เธอ  37 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

โศกเศร้ามาก รู้สึกว่าชีวิตเธอไม่เหลืออะไรแล้ว เธอกินไม่ได ้ นอนไม่หลับ หมดอาลัยตายอยากกับชีวิต ไม่สามารถจะย้ิม  ไดอ้ กี ตอ่ ไป จนคดิ ถงึ การฆา่ ตวั ตาย แลว้ วนั หนงึ่ ขณะเดนิ กลบั   บา้ น มแี มวผอมโซตวั หนง่ึ  เดนิ ตามมาจนถงึ หนา้ บา้ นของเธอ  เธอสงสารแมว เพราะขา้ งนอกอากาศหนาวมาก เธอจงึ อมุ้ แมว  เขา้ มาในบา้ น แลว้ กเ็ อานมใหแ้ มวกนิ  แมวกนิ นมจนหมดจาน  แล้วมันก็มีความสุข เข้ามาคลอเคลีย พันแข้งพันขาเธอ เธอ  อดยมิ้ ไมไ่ ด ้ ตอนนนั้ เองเธอฉกุ คดิ ขนึ้ มาวา่  ฉนั ไมไ่ ดย้ มิ้ อยา่ งนี้  มานานหลายเดือนแล้ว ท�ำไมวันน้ีฉันยิ้มได้ แล้วเธอก็เลยม ี ความคิดเกิดข้ึนว่า ถ้าการช่วยเหลือแมวผอมโซตัวน้ี ท�ำให ้ ฉันย้ิมได้ การไปช่วยเหลือคนอื่น ก็น่าจะทำ� ให้ฉันมีความสุข  ด้วยเหมอื นกนั วนั รงุ่ ขน้ึ  เธออบขนมปงั แลว้ เอาไปเยยี่ มเพอื่ นบา้ นทป่ี ว่ ย  ปรากฏวา่ ผปู้ ว่ ยมคี วามสขุ มาก เธอกพ็ ลอยมคี วามสขุ ดว้ ย แลว้   เธอกพ็ บวา่  การใหค้ วามสขุ แกผ่ อู้ นื่  กท็ ำ� ใหเ้ ธอมคี วามสขุ ดว้ ย  เชน่ กนั  หลงั จากนน้ั ทกุ วนั เธอกอ็ อกไปทำ� ความดเี พอ่ื ชว่ ยเหลอื   ผู้อื่น เธอเล่าว่านับแต่น้ันเธอก็ยิ้มได้ และกลับมามีความสุข  เหมอื นเดมิ  ไมม่ คี วามคดิ ทจี่ ะฆา่ ตวั ตายอกี เลย เรอ่ื งของหญงิ   ผู้นี้ช้ีว่า การรักษาผู้อื่นก็คือการรักษาตน การช่วยเหลือ  ผู้อน่ื ก็คือการช่วยตนเองให้มีความสขุ ด้วย 38 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

ความสัมพันธ์ระหว่างการท�ำประโยชน์ตน กับการ  ค�ำนึงถึงประโยชน์ของผู้อ่ืนน้ัน ท่ีจริงก็เป็นหัวใจส�ำคัญของ  วนิ ยั สงฆ ์ ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามพระวนิ ยั ของสงฆ ์ มหี ลกั   อยู่ข้อหนึ่งว่า จะต้องนึกถึงส่วนรวมอยู่เสมอ ส่วนรวมที่ว่านี้  ไดแ้ ก ่ หมสู่ งฆ ์ รวมไปถงึ ญาตโิ ยม นเ้ี ปน็ หลกั การทก่ี �ำกบั การ  ประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องพระ แมพ้ ระเราจะมาบวชเพอ่ื การพน้ ทกุ ข ์ สว่ นบคุ คล แตพ่ ระวนิ ยั  กก็ ำ� กบั วา่ ทกุ รปู จะตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั   กับประโยชน์ของส่วนรวมด้วย ถ้าหากว่าสงฆ์มีกิจท่ีเร่งด่วน  หรอื พงึ กระทำ�  แมภ้ กิ ษจุ ะไปบำ� เพญ็ สมาธภิ าวนา กไ็ มค่ วรจะ  ละเลยกิจของสงฆ์เหล่านน้ั   ในสมยั พทุ ธกาล มพี ระอรหนั ตแ์ ละพระอนาคามหี ลายรปู   ที่เข้านิโรธสมาบัติได้ การเข้านิโรธสมาบัติแต่ละครั้งใช้เวลา  หลายวัน ก่อนจะเข้านิโรธสมาบัติ ท่านจะก�ำหนดใจไว้ก่อน  เลยว่า ในระหว่างเข้านิโรธสมาบัติ ถ้าหากสงฆ์มีสังฆกรรม  อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ทตี่ อ้ งทำ�  ทา่ นจะออกจากสมาบตั ทิ นั ท ี โดย  ไม่รอให้ใครมาเรยี ก อนั นเี้ ปน็ ส�ำนกึ ของพระ ทถ่ี กู ปลกู ฝงั ดว้ ย  สง่ิ ทเี่ รยี กวา่ พระวินัย ดังนั้นแม้จะท�ำกิจส่วนตัวที่ดีงาม เช่น  บ�ำเพ็ญฌานหรือสมาธิ ก็จะไม่ละเลยกิจของส่วนรวม ถือว่า  กจิ ของสว่ นรวมส�ำคญั กว่า 39 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

กจิ ของสว่ นรวม ม ี ๒ อยา่ ง คอื  กจิ ธรุ ะของเพอ่ื นรว่ ม คณะ หรือกิจธุระภายในหมู่สงฆ์ แม้เป็นกิจเล็กๆ น้อยๆ  ของเพอื่ นพระ ทตี่ อ้ งอาศยั ความชว่ ยเหลอื ของหลายคน กค็ วร  ทพี่ ระทกุ รปู จะขวนขวายใสใ่ จทำ� รว่ มกนั  เชน่  การตดั เยบ็ จวี ร  ในสมัยก่อน ต้องอาศัยการร่วมแรงร่วมใจของพระหลายรูป  พระทุกรูปท่ีอยู่ในวัดน้ัน ไม่ว่าจะเป็นพระเถระหรือเจ้าอาวาส  ก็จ�ำต้องช่วยกันท�ำให้ส�ำเร็จเสร็จสิ้น หากไม่มาร่วม ไม่มา  ชว่ ยเหลอื  กถ็ กู ตำ� หน ิ และเปน็ อาบัติ นอกจากกิจธุระของหมู่คณะแล้ว ที่ส�ำคัญกว่าน้ันคือ  กจิ การของสงฆห์ รอื กจิ การเกย่ี วกบั สงฆ ์ ทเ่ี รยี กวา่  สงั ฆกรรม ซ่ึงถือเป็นกิจที่พระทุกรูปต้องเข้าร่วม โดยเฉพาะอย่างเช่น  การสวด การทานปาตโิ มกข ์ เรอ่ื งนเ้ี ปน็ สง่ิ สำ� คญั เพราะพระภกิ ษุ  ถือว่าเป็นตัวแทนของบุคคลในอุดมคติในพุทธศาสนา ดังนั้น  ท่านจึงควรให้ความสำ� คัญท้ังประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน  ในดา้ นหนงึ่  ทา่ นกท็ ำ� ความเพยี ร เจรญิ อทิ ธบิ าท ๔ เพอื่ ความ  สนิ้ ทกุ ข ์ เพอื่ ใหเ้ กดิ ปญั ญาเจรญิ งอกงาม แตอ่ กี ดา้ นหนง่ึ  ทา่ น  ก็มีภาระหน้าที่ มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ท่ีจะละเลย  หรอื มองข้ามไมไ่ ด้ 40 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

ในบางยุคบางสมัยท่ีมีเหตุร้ายเกิดข้ึนกับพระศาสนา  จ�ำเป็นต้องช่วยกันรักษาพระศาสนาให้อยู่รอด รวมไปถึงการ  ชำ� ระสงฆใ์ หบ้ รสิ ทุ ธ ิ์ รวมทง้ั การทำ� สงั คายนา เมอ่ื มเี หตกุ ารณ์  หรอื กจิ ดงั กลา่ ว พระทกุ รปู ตอ้ งชว่ ยเหลอื กนั  ไมน่ งิ่ ดดู าย หาก  ผใู้ ดเพกิ เฉย ละเลย ไมช่ ว่ ยเหลอื  สงฆย์ อ่ มลงโทษได ้ ไมเ่ วน้   แมว้ า่ พระรปู นน้ั เปน็ พระอรหนั ต ์ หรอื แมว้ า่ สาเหตทุ ที่ า่ นไมไ่ ด้  เขา้ รว่ มเพราะไปทำ� กจิ สว่ นตวั ทด่ี งี าม เชน่  เขา้ ฌานสมาบตั อิ ยู ่ กต็ าม การใสใ่ จกจิ สว่ นรวม เปน็ ทงั้ หนา้ ทตี่ ามพระวนิ ยั และ เปน็ วฒั นธรรมของหมสู่ งฆ ์ แมว้ า่ การมาบวชพระ จดุ มงุ่ หมาย  สำ� คญั คอื การฝกึ จติ พฒั นาตนใหม้ คี วามเจรญิ งอกงาม แตพ่ ทุ ธ  ศาสนามองวา่ ความเจรญิ งอกงามของคนๆ หนง่ึ  ไมไ่ ดห้ มายถงึ   การฝึกตนจนพ้นทุกขเ์ ทา่ น้นั  แตย่ ังรวมถึงการชว่ ยเหลือใส่ใจ  กจิ ของส่วนรวมด้วย ที่อาตมาพูดย้�ำเร่ืองน้ี ก็เพราะมีชาวพุทธจ�ำนวนมาก สนใจแต่ประโยชน์ส่วนตน แต่ละเลยประโยชน์ส่วนรวม ประโยชน์ส่วนรวมที่ว่านี้อาจจะได้แก่ การท�ำกิจของหมู่คณะ  ของชมุ ชน ไปจนถงึ กจิ เพอ่ื สงั คมและประเทศชาต ิ มหี ลายคน  เวลาทำ� บญุ กจ็ ะนกึ ถงึ แตป่ ระโยชนต์ วั เอง ไมว่ า่ จะเปน็ โชคลาภ  41 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

ความม่ังมี หรือความสุข ความสงบในจิตใจ แต่กลับไม่ค�ำนึง  ถงึ ส่วนรวม เม่ือ ๒ เดือนก่อน อาตมาไปประเทศอินเดีย เพ่ือ  สกั การะสงั เวชนยี สถาน สถานทแี่ หง่ หนงึ่ ทไ่ี ป คอื  เขาคชิ ฌกฏู   ซงึ่ มที ปี่ ระทบั ของพระพทุ ธเจา้ ทเี่ รยี กวา่ มลู คนั ธกฏุ อี ยบู่ นยอดเขา  และมถี ำ�้ ของพระโมคคลั ลานะ และถ้�ำของพระสารบี ตุ ร คณะ  ของอาตมาไปแตเ่ ชา้  อาจจะเปน็ คณะแรกๆ ทไี่ ปถงึ  เมอื่ ไปถงึ   ก็พบว่า มีขยะอยู่เต็มไปหมด ไม่ใช่ระหว่างทางเท่าน้ัน แม ้ กระทง่ั ในถำ�้ พระสารบี ตุ ร และถำ�้ พระโมคคลั ลานะ แมก้ ระทง่ั   ลานทอี่ ยใู่ กลๆ้  กบั มลู คนั ธกฎุ  ี ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ประทบั  กม็ ขี ยะ  มากมาย จะวา่ ขยะเหลา่ นเ้ี กดิ จากนกั ทอ่ งเทยี่ วทน่ี บั ถอื ศาสนาอน่ื   ก็คงไม่ใช่ จริงอยู่ว่ามีนักท่องเท่ียวมากมายที่ไปท่ีน่ัน แต่ขยะ  ที่เห็น ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ขวดน�้ำ ขวดพลาสติก หรือห่อขนม  แตย่ งั มหี อ่ เทยี น หอ่ ธปู  ขยะเหลา่ นค้ี งไมไ่ ดม้ าจากนกั ทอ่ งเทยี่ ว  ทั่วๆ ไป แต่ต้องมาจากชาวพุทธท่ีไปสักการะ ทำ� ไมชาวพุทธ  ทไี่ ปสกั การะบชู าพระพทุ ธเจา้  จงึ ไมร่ สู้ กึ ตะขดิ ตะขวงใจทที่ ง้ิ ขยะ  ไวต้ รงนนั้  นนั่ แสดงวา่ อะไร แปลวา่ เขาไปสกั การะเพอ่ื ประโยชน์  ส่วนตัว คือเพ่ือเอาบุญ เพ่ือให้ใจสบาย หรือเพื่อมีโชคมีลาภ  42 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

แตก่ ลบั ไมส่ นใจสว่ นรวม คอื ไมส่ นใจวา่ สถานทต่ี รงนน้ั จะสกปรก  เพราะการกระท�ำของเขาหรือไม่ ไปท�ำบุญแล้วสบายใจ แต่  สถานทตี่ รงนัน้ สกปรก มัวหมองอย่างไร ฉันไมส่ นใจ  พฤติกรรมดังกล่าว แสดงว่า เขาสนใจแต่ประโยชน์  สว่ นตน ไมส่ นใจประโยชนส์ ว่ นรวม ทง้ั ๆ ทส่ี ถานทตี่ รงนน้ั เปน็   สถานทศ่ี กั ดส์ิ ทิ ธ ิ์ ทช่ี าวพทุ ธทว่ั โลกพากนั ไปสกั การะ แนน่ อน  วา่  หากเปน็ บา้ นเขา หรอื หอ้ งพระในบา้ นเขา เขายอ่ มไมท่ ง้ิ ขยะ  แบบนนั้ แน่ รวมทงั้ กลอ่ งธูป กล่องเทยี น แตท่ ำ� ไมเขาท้งิ ขยะ  ตรงสถานทแ่ี หง่ นน้ั  กเ็ พราะมนั เปน็ ทสี่ าธารณะ และเนอ่ื งจาก  เขาไมม่ สี ำ� นกึ เรอ่ื งประโยชนส์ ว่ นรวม จงึ ไมส่ นใจวา่ ทส่ี าธารณะ  นัน้ จะสกปรกหรือไม่ ไม่ใช่ท่ีเขาคิชฌกูฏที่เดียว และไม่ใช่ที่อินเดียประเทศ  เดยี ว ทศี่ รลี งั กา พมา่  รวมทงั้ ไทย สถานทศี่ กั ดส์ิ ทิ ธทิ์ างพทุ ธ  ศาสนา ที่ผู้คนไปสักการะบูชามากมาย มีขยะทั้งน้ัน ทุกคน  ไปเพอ่ื จะทำ� บญุ  แลว้ พอใจทไ่ี ดท้ ำ� บญุ  แตไ่ มส่ นใจวา่  สถานท่ ี ท่ีตนไปนั้นจะสกปรกหรือไม่ รวมท้ังไม่สนใจที่จะรักษาความ  สะอาดด้วย 43 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าท่ีเปน็ ข้อพึงปฏบิ ัติ จะมี ๒ สว่ นเสมอ คอื  ทำ� กจิ  และ ท�ำจิต ในดา้ นหนึง่ ก็ใหข้ ยนั ขนั แขง็   ทำ� ความดี สร้างประโยชนช์ ่วยเหลือผูอ้ ื่น  หรอื ช้แี จงความจริง  อกี ดา้ นหนึ่งกใ็ หร้ จู้ กั รักษาใจให้เป็นปกต ิ มีจติ ใจผ่องใส เปน็ กศุ ล  มีเมตตากรณุ า รวมท้ังร้จู กั ปล่อยวาง ไม่ยึดติดถอื ม่ัน อันที่จริงชาวพุทธที่ไปสถานที่เหล่านั้น ในเม่ือต้ังใจไป  ทำ� บญุ  นอกจากไมท่ งิ้ ขยะแลว้ ควรจะเกบ็ ขยะดว้ ย โดยถอื วา่ น ้ี เป็นการท�ำบุญอย่างหนึ่งเช่นกัน ถ้ามีส�ำนึกเรื่องประโยชน์  สว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม เมอ่ื ไปสกั การบชู าพระพทุ ธเจา้   แล้ว รู้สึกจิตใจปลอดโปร่ง อิ่มเอิบ สบายใจ มีความม่ันใจ  ในโชคลาภที่จะบังเกิดข้ึน ก็ควรใส่ใจสถานที่ตรงนั้นด้วย  นอกจากไมท่ ำ� ใหส้ ถานทต่ี รงนนั้ สกปรกแลว้  ยงั ควรชว่ ยรกั ษา  ดแู ลใหส้ ะอาด เหน็ ขยะกช็ ว่ ยเกบ็  ไมใ่ ชแ่ คเ่ ดนิ ผา่ นดว้ ยความ  สบายใจวา่  ฉันได้มาทำ� บุญ ไดม้ ากราบพระพทุ ธเจา้ แลว้ 44 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

ปรากฏการณ์ดังกล่าวเป็นตัวอย่างว่า เวลานี้ชาวพุทธ  จำ� นวนมาก (ไมใ่ ชเ่ ฉพาะเมอื งไทยอยา่ งเดยี ว ทอ่ี น่ื ดว้ ย) นกึ ถงึ   แตป่ ระโยชน์สว่ นตน แต่มองขา้ มประโยชนส์ ว่ นรวม เราไมม่ ี  ความใส่ใจในสถานที่ที่เป็นสาธารณะ อีกตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัด  ก็คือ ในหลายส�ำนัก หลายวัด จะมีคนจ�ำนวนหน่ึง ที่สนใจ  แต่การปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา แต่งานของส่วนรวม  จะไม่แตะ ไม่ช่วย ไม่รับผิดชอบ ไม่ว่าจะเป็นงานครัว งาน  ทำ� ความสะอาด เพราะเขาคดิ วา่ ถา้ ไปชว่ ยทำ� งานเหลา่ นน้ั แลว้   ใจจะฟุ้งซ่าน จะท�ำให้ใจไม่สงบ เขาหวงความสงบในจิตใจ  จนละเลยหนา้ ทตี่ อ่ ชมุ ชนทตี่ นอยอู่ าศยั  กลายเปน็ วา่ ยงิ่ ปฏบิ ตั ิ กย็ ง่ิ มคี วามเหน็ แกต่ วั มากขน้ึ  แทนทป่ี ระโยชนต์ นจะเพม่ิ พนู ขน้ึ  กลบั ลดนอ้ ยถอยลง คอื กเิ ลสเพม่ิ พนู ขนึ้  ในทางตรงขา้ ม  หากเขารจู้ กั ทำ� ประโยชนส์ ว่ นรวม จติ ใจกจ็ ะไดร้ บั การขดั เกลา  กิเลส หรือความเห็นแก่ตัวกจ็ ะลดน้อยถอยลง นคี้ อื ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ กบั ชาวพทุ ธจำ� นวนมาก คอื   ไม่สนใจว่าส่ิงท่ีตัวเองทำ�  แม้เป็นการท�ำบุญ จะส่งผลกระทบ  อย่างไรต่อส่วนรวม ต่อสถานท่ีท่ีตนพักอาศัย ไม่ใช่แต่การ  ท้ิงขยะ หรือการละเลยงานของชุมชนเท่านั้น เมื่อมีปัญหา  เกิดขึ้นกับสังคม ประเทศชาติ หรือพระศาสนา ชาวพุทธ  จ�ำนวนมากก็ไม่สนใจ ไม่มีความกระตือรือร้นที่จะเข้าไป  45 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

ช่วยเหลือ หรือรับผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม เดยี๋ วนอ้ี ยา่ วา่ แตส่ ว่ นรวมทเ่ี ปน็ ประเทศชาต ิ หรอื สว่ นรวม  ทเ่ี ปน็ สงั คม ชมุ ชนเลย แมส้ ว่ นรวมทเี่ รยี กวา่ ครอบครวั  ชาวพทุ ธ  จำ� นวนไมน่ อ้ ยกป็ ลอ่ ยปละละเลย มนี กั ปฏบิ ตั ธิ รรมจำ� นวนมาก  ที่ชอบไปท�ำบุญหรือไปปฏิบัติธรรม แต่พอกลับมาถึงบ้าน  กลบั ไมส่ นใจทจ่ี ะชว่ ยงานบา้ น ทงั้ ๆ ทพ่ี อ่ แมก่ แ็ กช่ รามากแลว้   กลับต้องท�ำงานบ้านแต่ล�ำพัง ท�ำอาหารให้ลูกกิน หรือบางท ี กช็ ว่ ยซกั ผา้ รดี ผา้ ใหล้ กู  โดยลกู ๆ ไมช่ ว่ ยเลย เมอื่ ลกู กลบั จาก  การท�ำบุญหรือปฏิบัติธรรม ก็ขึ้นห้องพักเลย ปล่อยให้พ่อแม่  ท�ำงานบา้ นแตผ่ เู้ ดยี ว อาตมาคงไม่ทราบเร่ืองน้ีถ้าไม่มีคนมาฟ้อง ระยะหลัง  ไดย้ นิ เรอ่ื งท�ำนองนม้ี ากขนึ้  อดแปลกใจไมไ่ ดว้ า่  มอี ยา่ งนดี้ ว้ ย  หรอื  ลกู ไปทำ� บญุ  ไปปฏบิ ตั ธิ รรม ไปไดท้ วั่  แตว่ า่ พอ่ แมท่ บี่ า้ น  ทำ� งานหนกั แคไ่ หน กลบั ไมส่ นใจ ไมเ่ ขา้ มาชว่ ย หรอื แมก้ ระทงั่   พ่อแม่ป่วย ลูกก็ไม่สนใจดูแล เวลามีปฏิบัติธรรมท่ีไหน หรือ  มที ำ� บญุ ทไ่ี หน ไกลแคไ่ หนกไ็ ปได ้ แตถ่ า้ ใหม้ าดแู ลพอ่ แม ่ กลบั   ปฏิเสธ บอกว่า ขอส่งบุญมาให้แม่แล้วกัน กลับมาถึงบ้าน  ก็บอกว่า ลูกเอาบุญมาฝากนะแม่ แต่ถ้าจะช่วยแม่ทำ� งานนี่  ไมท่ ำ�  ทงั้ ๆ ทกี่ ารชว่ ยพอ่ แมท่ �ำงานกเ็ ปน็ บญุ อยา่ งหนง่ึ  ทจี่ รงิ   46 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น

เป็นหน้าท่ีด้วยซ้�ำ อย่างน้อยๆ รับผิดชอบเส้ือผ้าหรืออาหาร  ของตนกย็ งั ด ี ไมต่ อ้ งใหพ้ อ่ แมม่ าชว่ ยทำ� อาหารหรอื ซกั รดี เสอื้ ผา้   ให้ตน พฤติกรรมดังกล่าวแสดงว่า ต้องมีความผิดพลาด บางอย่างเก่ียวกับความเข้าใจและการปฏิบัติของชาวพุทธ จำ� นวนไมน่ อ้ ย โดยเฉพาะเรอ่ื งความสนใจแตป่ ระโยชนต์ น ละเลยประโยชนท์ า่ น โดยทเี่ รอื่ งประโยชนท์ า่ นน ี้ ไมต่ อ้ งพดู ถงึ   ระดับพระศาสนา หรือประเทศชาติ แม้ในเรื่องครอบครัว  ซงึ่ ใกลช้ ดิ ทสี่ ดุ  ตอนนผี้ คู้ นจำ� นวนมากกไ็ มส่ นใจแลว้  อนั ทจี่ รงิ   อย่าว่าแต่กิจของครอบครัวเลย แม้กระทั่งกิจต่อพระศาสนา  กค็ วรใสใ่ จเชน่ กนั  ชาวพทุ ธหากมคี วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งในเรอ่ื งนี้  เวลามปี ญั หาอะไรเกดิ ขน้ึ กบั พระศาสนา กจ็ ะไมน่ งิ่ ดดู าย เวลา  มปี ญั หาอะไรเกดิ ขนึ้ กบั สงั คม กจ็ ะขวนขวายชว่ ยเหลอื  เพราะ  ถอื ว่าน่นั ก็เปน็ การปฏิบัติธรรมอย่างหนึง่ 47 พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล

การปล่อยวาง หมายถึง การทำ� จติ   ซงึ่ จ�ำเป็นตอ้ งทำ� ควบคู่ไปกับการท�ำกจิ   เน่อื งจากสิง่ ตา่ งๆ ไมเ่ ท่ยี ง  เพราะฉะน้นั  จงึ ยึดม่นั ถอื ม่นั ไม่ได้  ถ้าไม่อยากทุกข ์ จิตใจกต็ ้องรู้จักปลอ่ ย รู้จกั วาง  แตข่ ณะเดียวกนั  เมอื่ พจิ ารณาให้ด ี จะพบว่า  ส่งิ ต่างๆ ไมเ่ ที่ยง กเ็ พราะแปรเปลีย่ นไปตามเหตตุ ามปัจจยั   ถ้าเราตอ้ งการใหค้ วามเปลย่ี นแปลงเกิดข้นึ ไปในทางทีด่ ี  กต็ ้องสรา้ งเหตปุ ัจจยั ในทางที่ส่งเสริมความเจรญิ   เพราะฉะนน้ั  กต็ อ้ งขวนขวายเร่งทำ� กิจ  อย่างอมอื งอเทา้  หรือผดั วนั ประกันพรุ่ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook