Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักเกณฑ์การเเปลบาลีประโยค1-2เเละป.ธ.3

คู่มือหลักเกณฑ์การเเปลบาลีประโยค1-2เเละป.ธ.3

Description: คู่มือหลักเกณฑ์การเเปลบาลีประโยค1-2เเละป.ธ.3

Search

Read the Text Version

ร^®^ คู่รอหรัทเกณร{กา7นปรบาร ว็หารนั้น) ชื่อว่ามหาวิหารฯ หลักการแปล ฅํ ปจจัย ต ปัจจัย ซึ่งเป็นปัจจัยในนามกิตก์ไม่เป็นรูปเป็นสาธนะ ลงแล้วใช้เป็นเครื่อง หมายของวิภัตติ มีที่ใช้มาก แปลได้ ๒ วิภัตติเท่านั้น คือ ๑. ปฐมาวิภัตติ แปลสำเนียงอายตนิบาตว่า \"อันว่าอัน\" ๒. จตุตถวิภัตติ แปลสำเนียงอายตนิบาตว่า \"เพื่อ\" หล้กการสังเกต ตุ่ ปัจจัย ที่แปลเป็น ปฐมาวิภัตติ ออกสำเนียง อันว่า อัน จะ มาค่ภับ วฏฎติ (ย่อมควร), น วฎฎติ {ย่อมไม่ควร),ยุตุตํ (ควรแล้ว),อยุตฺต่ (ไม่ควรแล้ว) นอกจากนี้แล้วย่'งใช้กับ โหติ ได้อีก แปล ตุ้ เป็นตัวประธานให้รวบ(ยกเว้น อาลปนะ ,นิบาต ไม่ต้องรวบ) หมายเหตุ มีบางที่ไม่รวบ ตุ เป็นประธาน แปลว่า อันว่า อัน ประโยคเทียบเคียง ๑. ภนฺเต สุสาเน วิหรนุเตหิ (ภิกฺขหิ) นาม วตุตํ อุคุคณฺหิตุ๊ วฎุฎติ. (๑/๖๒) ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.อัน ชื่อ (อันภิกษุ ท.)ผู้อยู่อยู่ในป่าช้าเรียนเอา ซึ๋งวัตร ย่อมควรฯ ๒. กึ ตว อาสนานิ ปณฺฌาเปตุ่ น วฎฺฎติ.(๑/๖๕)อ. อัน อันท่านปูลาด ซึ๋ง อาสนะ ท. จะไม่ควรหรือฯ ๓. เอวรูป๋ หิ สหายกํ ลภนุเตน เอกโต วสิตุ๊ ยุตฺตํ.(๑/๖๕)จริงอยู่ อ. อัน (อันบุคคล) ผู้ไค้อยู่ ซึ่งสหาย ผู้มือย่างนเป็นรูป อยู่โดยความเป็นอันเดียวกัน ควรแล้วฯ ๙, เตมาส์ เอกวิหาริโน ตถาคตสฺส สนุติกํ เอคุตเกหิ ภิกุขูหิ สทฺธึ ษุปสง- กมิตุ๊ อยุตุติ.(๑/๖๕) อ.อัน (อันเรา) เช้าไป สู่สำ นักของพระตถาคตเจ้าผู้ประทับอยู่ พระองค์เดียวโดยปกติ สิ้นหมวดแห่งเดือนสาม กับ ด้วยภิกษุ ท. มีประมาณเท่านี้ ไม่ควรแล้วฯ ๕. เอตํ (ธมฺมํ) นยสเตน นยสหสุเสน ปฎิวิชฺฌิตุ ภาโร (ไหติ). {๑/๙๓) อ. อันรู้ตลอดซึ่งธรรมนั่น ด้วยร้อยแห่งนัย ด้วยพันแห่งนัย เป็นภาระของเรา (ย่อมเป็น) ฯ www.kalyanamitra.org

พ}:มนารมผิเ จํบุลามใฃ ส่วน ตุ ปัจจัยที่แปลว่า \"เพื่อ\" ถ้าอยู่เลขนอกให้สังเกตวิภัตติอาขยไตประกอบ เป็น ปฐมบุรุษ ถ้าอยู่เลขในจะประกอบเป็น มัธยมบุรุษ,อุตตมะบุรุษ จะมีใซ้ในประโยค สฤกา, อสํ (ที่แปลเป็นกิริยาคุมพากย์.แปลเป็นประธาน,แปลเป็นวิกติภัตตา) เสมอ ตุ๊ ปัจจัย ที่แปลว่า เพื่อ ประโยคmยบเสียง เลขนอก ๑. ปฌฺจสตา ภิกฺขู สพฺพานิ(ผลานิ) เขเปตุ๊ นาสฤฃึสุ.(๑/๕๘)อ. ภิกษุ ท.มีร้อยห้าเป็นประมาณ ไม่ได้อาจแล้ว เพื่ออันยังผลไม้ ท.ทั้งปวง ให้'สิ้นไปฯ เลขไน ๒. (ตุว่) อุปาสก กสฺมา จิตุติ เทสนานุคติ กาตุ๊ น สกฺโกสิ.(๔/๙๐) ดก่อนอุบาสก อ.ท่าน ย่อมไม่อาจ เพื่ออันกระทำ ซึ่งจิต ไห้เป็นไป ตามแล้วซึ่งเทศนา เพราะเหตุไรฯ เลขไน ๓. ตุมุเห กิตุตกานํ ภิฤรุเนิภิฤข่ ทาตุ๊ สกุฃิสุสถ. (๑/ท]อ) อ.ท่าน ท. จักอาจ เพื่ออันถวาย ซึ่งภิกษา แก่ภิกษุ ท. มีประมาณเท่าไรฯ เลขไน ๔. อห่ ภนฺเต เตสํ(ภิฤฃูน่) มม วิซิติ ปวิสิตุ่ น ทสฺสามิ. (๑/๕๘)ข้าแต่ พระองค์ผู้เจริญ อ.หม่อมฉัน จักไม่ไห้ เพี่ออันเข้าไป ^แว่นแคว้น ของหม่อมฉัน แก่ภิกษุ ท.เหล่านั้นฯ เลขไน ๕. น มยํ อิธ จาเน ธาตุ๊ สฦฃิสฺสาม.(๓/๗} อ. เรา ท.จักไม่อาจ เพื่ออันอยู่ไนที่นี้ฯ เลขไน ๖. (อมุเหหิ) เอว่ เปเสตุ๊ น สกฺกา.(๑/๑๓)(อันเรา ท.) ไม่อาจ เพื่อ อันส่งไปอย่างนี้ฯ เลขไน ๗. อุปคนฺตุวาจนอลํอุปนิสีทิตุ๊.(๓/๘) (อันภิกษุ)ไม่เข้าไปใกล้แล้ว ไม่ควรเพื่ออันเขาไปนั่งใกล้ด้วยฯ www.kalyanamitra.org

คู่13ธพสักเกณ1(การนปสบาร หลักการแปล ภาว ศัพท์ และ คุต. ตา ปจจัย ในภาวตัฑธิต ภาว สัพท์ ตฺต,และตา ปัจจัย เมี่อนำไปต่อท้ายสัพท์อื่น สามารถเป็นลิงค์ต่างๆกัน ภาว กัพท์ เป็น^เลิงค์ แจกแบบ(ปริส},ตฺต ปัจจัยเป็นนใ]สกลิงค์ แจกแบบ(ๆล),ตา ปัจจัยเป็น อิตถีลิงค์ แจกแบบ (กฌฺเขา)มกฎการแปลดังนี้ ๑. ต่อกับนาม แปลว่า ความเป็นแห่ง อุ. กุโต ตุยฺหํ สมณภาโว (ภวิสฺสติ).(๒/๑๓๕) อ. ความเป็นแฟงสมณะของท่าน (จักมี) แต่ที่ไหนฯ ๒. ต่อกับคุณนาม และกิริยากิตก์ แปลว่า ความที่แห่ง เป็น อุ. เถรสฺส อาคตภาโว ฯเปฯ. อ. ความที่แห่งพระเถระ เป็นผู้มาแล้ว ฯลฯ ๓.. ต่อกับ ยุ ปัจจัยในนามกิตก์ แปลว่า ความเป็นคือ อุ. ตุมฺหากํ คมนภาโว ฯเปฯ. อ. ความเป็นคืออันไป ของท่าน ท. ฯลฯ ๔. ต่อกับ อตฺถิ, นตฺถิ กิริยาอาฃยาต แปลว่า ความที่แห่ง อุ. ตาย สฌุฌาย อตฺถิภาวี ซานิสฺสาม.(๒/๒) อ. เรา ท.จักรู้ ซึ่งความที่แห่งเรา ท.มีอยู่ ด้วยสัญญา นั้นฯ ประโยคเทียบเคียง ๑. (ตา ปัจจัยต่อกับคุณ)อุ.ตถาคโตหิฯเปฯทริ'แนํ กุลานํ คุณมหนฺตตํ ปฎิจุจ สาวตฺถึ นิสฺสาย ปณฺจริสติ วสฺสาวาเส วลิ (๑/๔) จริงอยู่ อ.พระตถาคตเจ้า ฯลฯ ทรงอาดัย ที่ง เมืองซื่อว่าสาวัตถี ประทับอยู่แล้ว ประทับอยู่ตลอด ๒๕ พรรษา เพราะทรงอาดัย ซึ่งความที่แห่งตระถูล ท.๒ เป็นตระกูลมีคุณใหญ่ฯ ๒. (ภาว ดัพท์ต่อกับคุณ) ■■อถสุส มม จกฺเนํ ปริหีนภาวี อาโรเจยฺยาถ. (๑/๑๒) ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น (มือยู่) อ.ท่าน ท.พง บอก ซึ่งความที่แห่ง จักใ^ ท.ของเรา เป็นธรรมชาติเสื่อมรอบแล้วแก่ใ!เองชายผู้■น้อยที่สุด นั้นฯ www.kalyanamitra.org

พระมหาศมคํด จํบุตามโข ^ ๓. (ตา ปัจจัยต่อกับคุณ) อยมสุส ภมเรน.สทฺธึ มธุกรฌสริฦขตา เวทิตพุพา. (๗๓๗ อรรถกถา)อ.ความที่แห่งพระอเสขมุนีนั้นเป็นผู้อันบัณฑิตพึงเห็นเลมอโดยการกระทิ'! ชื่งนั้าหวาน กับด้วยภมร นี้ (อันบัณฑิต) พึงทราบฯ ๔. (ตุต ปัจจัยต่อกับคุณ) ตสฺมา ปมตฺตไ ชาติอาทีหิ อปริมุตฺตตุดา ชีวนฺตาปิ มตาเยว นาม. (๒/๖๔ อรรถกถา) เพราะเหตุนั้น อ.สืตว์ ท.ผู้ประมาทแส้ว แม้เป็นอยู่ ซื่อว่าตาย แล้วนั้ณทิยว เพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ไม่พ้นรอ'บแส้ว จากทุกข์ ท.มีชาติ.เป็นด้นฯ ๕. (ภาว ด้พท์ต่อกับ ยุ ปัจจัย) ปมาโทติ ปมชุชนภาโว. (๒/๖๓ อรรถกถา) อ.ความเป็นคืออันมัวเมา ซื่อว่า ความประมาทฯ หลักการแปล อิสิ ศัพท์ \"คือ\"ไขความ (ชื่อสัมพันธ์สรูป) อิติ ด้พท์ ที่แปลว่า \"คอ\" เป็น อิติ ศัพท์ทีคุมข้อความภายในไว้ วางบทขยายความจากเลขนอกไว้ภายใน อิติ เพื่อจำแนกเนีอความเลขนอกให้เด่นชัดขน บทนามนามที่วางไว้เป็นรูปประโยคบ้างไม่เป็นรูปประโยคบัาง (เฉลยในสนามหลวงหลาย พ-ศ- ไม่บอกซื่อส้มพันธ์ เพียงแต่บอกบทที่วไงไว้ภายใน อิติ ศัพท์ ท้งหมดว่า สรูป ใน อิติ) โดยมากเลขนอกมักวางปกติส้งฃยากำกับนามนามไว้ พ่น เท.ร ชนา อ-ชน ห- อิดิ ดือ เนี้อความข้างในก็จะจำแนกว่า ๑ ๒ ดังนีเป็นต้น ทีว่านีนิยมทีเป็นไปส่วนมาก บางครั้งไม่วางปกติส้งขยากำกับไว้ก็มีเป็นแต่กส่าวรวมๆ เท่านัน ปกติส้งฃยากำกับนามนาม เซ่น (สตฺถา) \"คนุถธุรํ วิปสฺสนาธุรํ-อิติ เทุว-เอว ธุรานิ ภิกฺขูติ (อาห). ๑/๗ (อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า .ดูก่อนภิกนุ ท. อ. ธุระ ท. ๒ นั่นเทียว คือ อ. ศันถธุระ อ.วิปัสสนาธุระ ด้งนี้ ฯ ไม่มีปกติส้งฃยากำกับนามนาม เซ่น ตสฺส (มาณวสฺส) \"เอโก เทฺว ตโย-อิติ เอวํ (ชนา) อนุปพฺพชฺซ่ ปพุพชิตุวา จตุสตุตติสหสุสมต.ตา ชฎิลา อเห^- ®/ร^๖ (อ.ชน ท-) บวชแล้ว บวชตาม (ซื่งมาณพ)นั้น อย่างนี้ คือ (อ.ชน) คนหนึ่ง (อ.ชน ท.) สอง (อ.ชน ท.)สาม เป็นชฎิลมีพัน ๗๔ เป็นประมาณ ได้เป็นแล้ว ฯ www.kalyanamitra.org

^^ ถู่มอพสัทเกณฑ'การแปสบทเ ประโยคเทียบเคียง ๑. (แก้อรรถ) คโย อรูโเโน ขนฺธา ■■เวทนาฤฃนุโธ สทเโฃาฦฃนุโธ สงฺขารกฺฃนฺโธติ. (๑/๒๑) อ.ฟ้นธ์ ท.อันไมมรูป สาม คือ อ.เวทนาขันธ์ อ.สัญญาขันธ์ อ.สังขารขันธ์ฯ ๒. โส (นารทตาปโส) ปน มหานุภาโว ■■อตีเต จตุตาฟ้ส อนาคเต จตุตาฟิสาติ อสีติกปฺเป อนุสฺสรติ. (๑/๖๑) ก็ (อ.ดาบสชื่อว่านารทะ) นั้น เป็นผ้มีอานุภาพมาก (เป็น) ย่อมตามระลึกได้ ซึ่งก้ปป้แปดสิบ ท. คือ (ซึ่งก้ปป้ ท.) สีสิบ ในกาลอันล่วงไปแก้ว (ซึ่งก้ปป้ ท.) สี่สิบ ในกาลอันไม่มาแก้วฯ ๓. เสตพฺยนครวาสิโน หิ \"จุลฺลกาโล มซุฌิมกาโล มหากาโล จาติ ตใย ภาตโร กุฎุมฺพิกา (อเหสุ่). (๑/๖๑) ด้งจะกล่าวโดยพิศดาร อ.กุฎมพี ท.ผู้!?เนพี่■น้องชายกัน ๓ คือ อ.จุลกาล ด้วย อ.ม้ชฌิมกาล ด้วย อ,มหากาล ด้วย ผูอยู่ไนเมืองซื่อว่าเสด้พยะโดยปกติ (ได้เป็นแก้ว)ฯ ๔. ตทา ■■มหากาโล จุลฺลกาโลติ เทฺว ภาติกา กุฏมฺพิกา มหนฺตํ สาสิกุเขตุติ วปาเปรj. (๑/๘Cร) ในกาลนั้น อ.กุฎมพี ท.ผู้!?เนพี่น้องกัน ๒ คน คือ อ.มหากาล อ.จุลกาล {ยังบุคคล) ใหหว่านแก้วซึ่งนาแห่งข้าวสาลีใหญ่ฯ ๕, อิโต หิ เทฺวนๅติกปฺเป \"ติสฺโส ผุสฺโสติ เทฺว พุทฺธา อุปฺปชุซึสุ. (๑/๔๑) ดังจะกล่าว โดยย่อ อ.V(ระพุทธเจ้า ท.สอง คือ อ.พระพุทธเจ้า พระนามว่าติสสะ อ.พระพุทธเจ้า พระนามว่าผุสสะ เสด็จอุบัติแก้ว ในก้ปป้ ๔๒ แต่ภัททก้ปบันี้ฯ หลักการแปล ประโยค ถี (ปโยชนํ) ประโยค ■■ก็\" เมื่อเวลาแปลโยค ปโยซ■แ ขึ้นมา เราเรียกก้นว่า ประโยค ก็ ปโยชนํ ก็ ดัพท์ในที่นี้ไม่ใช่นิบาตที่แปลว่า ■■หรีอ, ทำ ไม\" เป็น ก็ ศัพท์ที่เป็นวิเสสนะสัพพนามประเภท อนิยม ซึ่งคงรูปอยู่แต่ในนปุสกลิงค์ เอกวจนะ ป,ทุ เทำนั้น แปลเป็นนามนามบ้าง วิเสสน สัพพนามบ้าง แต่ในที่นี้มุ่งประสงค์แปลเป็น วิเสสนะของ ปโยชน์ (เนี้อความของรูปประโยคเราสังเกตได้ว่าใช[นเชิงอรรถคำถาม) อุ. ก็ (ปโยชน์) เม ฆราวาเสน, (๑/๖๑) (อ.ประโยชน์) อะไร ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรีอน แก่เราฯ www.kalyanamitra.org

พะมนาสมรพ จํบฺดามโย แปลโดยอรรถว่า จะมีประโยชน์อะไรด้วยการครองเรือนแก่เราฯ ประโยค กึ ปโยซนํ นี้มีใช้มาก ที่นิยฺมแปลมี ๒ แบบ มีวิภัตติทีเป็นหลักอย่ ๓ วิภัตติ. คีอ ๑. ปฐมาวิภัตติ ออกสำเนียงอายตน์บาตว่า (อันว่า) ๒. ตติยาวิภัตติ ออกสำเนียงอายตนิบาตว่า (ด้วย) ๓. จตุตถีวิภัตติ ออกสำเนียงอายตนิบาตว่า (แก่) แบบที่ ๑ แปลเป็นลิงคัตถะ (ไม่มีกิริยาคุมพากย์) อุ. กึ โน ฆราวาเสน.(๒/๑) อ. ประโยชน์ อะไร ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน แก่เรา V1.1 แบบที่ ๒ แปลเป็นประโยคกัตตุวาจก โดยการเติม โหติ เช้ามาเป็น กิริยาคุมพากย์ {เฉลยสนามหลวง) อุ. กึ เม ชนสุส สทฺธาเทยุยํ นิวาเสตฺวา วิจรเณน.(๕/๗๖) อ.ประโยชน์ อะไร ด้วยการนุ่งซึ่งผ้า อันบุคคลพึงให้ ด้วยศรัทธาแห่งชน แล้วจึงเที่ยวไป ย่อมมีแก่เราฯ หมายเหตุ มีอาจารย์บางท่าน แปลว่า อ.ประโยชน์อะไร ชองเรา ด้วยการอยู่ ครองซึ่งเรือน เมื่อมาตรวจดูเฉลยตามสนามหลวง และการสอนในแต่ละสำนักเรียนไม่นิยบ จึงเป็นอันว่าที่นิยมก็มี ๒ แบบด้งที่กล่าว ประโยคเทียบเคียง ๑. กึ เม โจเรหิ.(๕/๒๑) อ.ประโยชน์ อะไร ด้วยโจร ท.แก่เราฯ ๒. กินเต สมเณน โคตเมน. (๕/๑๑) อ.ประโยชน์ อะไร ด้วยพระสมณะ เ^คตมะ แก่ท่านฯ ๓. เอตุตกานิ ภิฦเนิ กึ เอว่ พบุกาหิ ยาคุอาทีหิ(๕/๖๕) อ.ประโยชน์ อะไร ด้วยวัตชุ ท.มีช้าวยาคูเป็นด้น อันมาก อย่างนี้ แก่ภิกษุ ห- มีประมาณเท่านี้ฯ ๕. กึ มม อิมาย อปโลกิตาย วา อนปโสกิตาย วา.(๕/๔๙) www.kalyanamitra.org

ถู่มิอหส้กเกณ*การแปรเทาร อ.ประโยชน์อะไร ด้วยภรรยานี้ ผู้อันเราอำลาแล้ว หรือ หรือว่า ผผูู้้ออัั*นเราไม่ อำ ลาแล้ว แก่เราฯ หลักการแปล ประโยค กิมงฺคํ ปน ประโยค กิมงฺค์ ปน นีเป็นประโยคที่ปงถึงคำถามธรรมดานี่เองแต่มี34ติจาก อาจารย์ทั้งหลายอธิบายไว้ต่างๆ กัน แต่เมื่อนำมาประมวลแล้วมีมติอยู่ ๓ แบบด้วยกัน คือ พวกหนึง แปล กิมงฺคํ ปน เป็นลิงค้ตถะแปลว่า\"ก็ อ.องค์อะไรเป็นเหตุเล่า, อ. องค์อะไรเล่า\" พวกหนึ่ง แปล กิมงุคํ ปน เป็นประโยค กัดตุวาจก โดยเติมโหติ เข้ามา แปลว่า ปน ถึ ก็ อ.อะไร องฺคํ เป็นองค์ (โหติ ย่อมเป็น)ฯ พวกหนึ่ง แปล กิมงุคํ ปน เป็นนิบาต แปลว่า \"จะป่วยกล่าวไปใย\" สำ หรับข้าพเจ้าเรียนมา แปล กิมงฺคํ ปน นี้ เป็นลิงคัตถะ คือ แปลว่า\"กิมงุคํ ปน อ.องค์อะไรเป็นเหตุเล่า?หรีอว่า อ.องค์อะไรเล่า\" (บอกสัมพันธ์ว่า กิมงุคํ ลิงคตฺถ ปน สัพท์ ปุจฺฉนตฺถ) ลักษณะการแปลประโยค กิมงสํ ปน มีฃ้อสังเกตดังนี้ ล้าประโยคหน้า กิมงฺคํ เป็นประโยคบอกเล่า ประโยคหสัง กิมงฺคํ ต้องเป็น ประโยคปฏิเสธ ล้าประโยคหน้า กิมงฺคํ เป็นประโยคปฏิเสธ ประโยคหสัง กิมงฺคํ ต้องเป็น ประโยคบอกเล่า และต้องประกอบกิริยาคุมพากย์ ประโยคหสังให้เอาเฉพาะต้วธาตุ และปัจจัย ประโยคหน้ามาประกอบด้วยวิภัตติหมวด ภวิสฺสนฺติ เสมอ ประโยคหน้าปฏิเสธ, ประโยคหลัง s กิมงฺคํ บอกเล่า อุ. (หตฺถปาทาปี) น วเส วตฺตนฺติ, กิมงฺคํ ปน , ฌาตกา (วเส วตฺติสฺสนฺติ). (๑/®๖)(แม้ อ.มือและเท้า ท.) ย่อมไม่เป็นไป ในอำนาจ,ก็ อ.องค์ อะไรเป็นเหตุเล่า อ.ญาติ ท.(จักเป็นไป ในอำนาจ)ฯ ประโยคหน้าบอกเล่า, ประโยคหลัง กิมงฺคํ ปฏิเสธ อุ. อิฌ หิ นาม สฤยกุมารา เอวรูป๋ สมฺปตตึ ปหาย อิมานิ อนคฺฆานิ อาภรณานิ เขฬปีณฺฑ์ วิย ฉทุเฑตฺวา ปพพชิสฺสนุติ, กิมงฺคํ ปน. อห่ (น ปพพชิสฺสามิ). www.kalyanamitra.org

ท}ะมฬๆflมคด จํใ4ดามใย Cl«) (๑/๑๒๘} ก็ อ.พระกุมารแห่งเจ้าศากยะ ท.ซื่อเหล่านี้ทรงละแล้ว ซื่งสมบัติ มีอย่างนี้เป็นรูป ทรงทิ้งแล้ว ซึ่งอาภรณ์ ท. อันหาค่ามีได้เหล่านี้ ราวกะว่าก้อนแห่งนํ้าลาย จักผนวช, ก็ อ.องค์อะไร เป็นเหตุเล่า อ.เรา (จักไม่บวช)ฯ หลักการแปล อิฅลัมภูต อิตถัมภูต เป็นอาการของนาม แปลว่า มี, ด้วยทัง ถ้าไม่พิจารณาให้ดี ใช้ผิดไป เซ่นแปลว่า ด้วย (กรณ) หรือ แปลว่า โดย (ตติยาวิเสสน) ก็ทำ ให้เสียเนี้อความไป เซ่น ในประโยคว่า สา ใ]ตฺตวิโยคทุกฺขิตา อสุสุตินฺเตเนว บุเขน ภิทขาย จรมานา ฯเปฯ ปวตุติตฺวา ปติ. อ.พระเถรีนั้น ผู้ถึงแล้วซึ่งทุกข์ เพราะความพลัดพรากจากบุตร มีหน้าชุ่ม ด้วยนํ้าตานั่นเทียวเที่ยวไปอยู่เพี่อภิกษา ฯลฯ เป็นไปแล้ว ล้มไปแล้วฯบทว่า มุเขน นี้ ถ้าแปล เป็น กรณ(ด้วย) ว่า เที่ยวไปอยู่ เพี่อภิกษา ด้วยใบหน้าอันชุ่มด้วยนั้าตา จะกลายเป็นว่าเอา หน้าไป คือ เอาหน้าเป็นเครื่องไป คือ เอาหน้าแทน เห้า ถ้าแปลเป็นตติยาวิเสสน (โดย) ว่าเที่ยวไปอยู่เพี่อภิกษาโดยหน้าอันชุ่มแล้วด้วยนํ้าตานั่นเทียว หมายความว่า เอาหน้าเป็น ถนนหรือหนทาง นี่เป็นความผิดพลาดอย่างมาก วิธีแปลอิตถ้มภูต เท่าที่ลังเกด ถ้าแปลหลังนาม คือแปลเข้าถ้บนามใช้อายตนิบาต ว่า มี ถ้าแปลหลังกรยา คือแปลเข้ากับกิริยา แปลว่าด้วยทั้ง อุ.(ปุคฺคโล) มนสา เจ ปทุฎฺเจน ภาสติ วา กโรติ วา. (๑/๓ คาถา) หากว่า อ.บุคคล มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว จะกล่าว หรือ หรือว่าจะกระทำไซร้ฯ หรือว่า หากว่า อ.บุคคล จะกล่าว หรือ หรือว่า จะกระทำ ด้วยทั้งใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว ไซร้ฯ การแปล อย่างนี้ ก็ยังไม่แน่หนัก อีกอย่างหนึ่ง อีตถ้มภูต เรียงอยู่หลังบทนาม ใกล้บทนาม (ประธาน) ให้ แปลบทนามแล้วแปลอีตถัมภูต ว่า มี ถ้าอีตถ้มภูต เรียงอยู่หน้ากิริยาใกล้กับกิริยา ก็ให้แปล อีตถ้มภูต ว่า ด้วยทั้ง อุ. สา ปสนฺเนน จิตฺเตน กาลํ กตฺวา ดาวตึสภวเน ตึสโยชนิเก กนกวิมาเน สุตฺดปุปพทฺธา วิย สพฺพาลงุการปฐมถเฑิเดน อตฺตภาเวน นิพฺพตฺติ (๕/๖) อ.กุลธิกานั้น มีจิตผ่องใสแล้ว กระทำแล้ว ซึ่งกาละผู้ราวกะว่า หลับแล้วตื่นแล้ว บังเกิดแล้ว ในวิมาร อันสำเร็จแล้วด้วยทองอันประกอบแล้ว ด้วยโยชน์สามสิบ ในภพชั้นดาวดึงส์ ด้วยทั้งอัตภาพ www.kalyanamitra.org

คู่รอหสัทเกผฑการแปรเทาร อ้นประดับแล้วเครื่องอล้งการทั้งปวงฯ หลักการแปล เสยฺยถีทํ เสยุยถีทํ นี้เป็นศัพท์นิบาต ใฟ้นความหมายเป็นคำถาม แปลว่า อย่างไร สัมพันธ์ ว่า \"ปุจฺฉนตฺถ\" โดยมากจะวางไว้เฉพาะ เสยุยถีทํ บทเดียว เวลาแปลต้องขึ้น ปุจฺฉา มาเปิด อิติ ศัพท์ ประโยคภายในนั้น ต้องดูเนื้อความข้างหน้าว่าจะเติมอะไรมาเป็นต้วประธาน เมี่อมี ตัวประธานก็ต้องเติมกิริยามาดัวย ส่วนประโยคหลังเป็นประโยคแก้ก็เติม วิสชฺชนํ เข้ามาเปิด ประโยคภายใน พร้อมทั้งเติม อิติ ศัพท์เข้ามา อุ-(ปุจฉา)\"(สตุถา) เสยุยถีทํ(อนุปุพุพีกถํ กเถสิ)(อิติ}. {วิสชฺชนํ)\"(สตฺถา)ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ กามาน่ อาทีนวํ โอการ่ สงฺกิเลสํ เนทขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ (รติ).(๑/๕) แปล (อ.ถาม) ว่า (อ.พระศาสดา) ตรัสแล้ว ชื่งอนุปุพพักถา อย่างไร ดังนี้ฯ (อ.อ้นแก้) ว่า อ.พระศาสดา ทรงประกาศแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวพรรณาชึ่งท่าน ซึ่ง วาจาเป็นเครื่องกล่าวพรรณาชึ่งศัล ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวพรรณาซึ่งสวรรค์ ซึ่งโทษอ้นตํ่า ทรามอ้นเศร้าหมอง แห่งกาม ท.ซึ่งอานิสงส์ ในอ้นออกบวช ดังนี้ฯ หลักการแปล ประโยค ขมนียํ ประโยค ขมนียํ นี้โดยมากเนื้อความมุ่งถึงพระพุทธเจ้าตรัสถามถึง สุข, ทุกข์ กับภิกษุทั้งหลาย หรือถึงพระสาวกรูปใดรูปหนึ่ง เมื่อเวลาพระภิกษุทั้งหลายมาจากที่อื่น หรือ พระภิกษุทั้งหลายทักทายปราศรัยกัน ซึ่งจะสังเกตไต้ที่กิริยา คือ ขมนียํ เมื่อเห็น ขมนิยํ อยู่ในประโยคใดแล้วถึอว่าเป็นเลขใน แมไม่มี รติ ศัพท์ ก็ต้องขึ้นมา การขึ้นประธาน เลขนอกนั้นก็ควรสังเกตเนื้อความว่า ใครพูดอยู่กับใคร แต่โดยมากเท่าที่พบในหนังสิอธรรมบท ก็พระพุทธเจ้าตรัสถามความสุขทุกข์ของพระสาวก ถ้าพระพุทธเจ้าตรัสถาม จะขน พุทฺโธ หรือ สตฺถา มาก็ไต้ แล้วเติม ปุจฺฉิ มาเปิดประโยคเลขใน ส่วนขมนิย์ ภายในใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ ในรูปกัมมวาจก ต้องขึ้นบทเหล่านี้มา คือ ก. สริรยนฺต่ ประธาน แปลว่า อ.ยนต์คือสริระ ข. จตุจกฺกิ บทขยายประธาน แปลว่า อ้นมีจักร ๔ (คืออริยาบถ) www.kalyanamitra.org

wruMาสม«« จํบุดามโข ค. นวทฺวารํ บทขยายประธาน แปลว่า อันมีทวาร ๙ (ตา ๒ จมูก ๒ Vj ๒ ปาก ๑ เว็จจมรรค ๑ ปัสสวมรรค ๑) อุ. (สตฺถา) \"มม ไเตฺตสฺส มหากลฺสปสฺส ฃมนียนฺตื (ปุจุฉิ). (๓/๑๑๗) (อ.พระศาสดา) (ตรัสถามแล้ว) ว่า อ.ยนต์คีอสร๊ระ อันมีจักร ๙ อันมีทวาร Sf อันพระมหากัสสปะ ผู้เป็น บุตรของเรา พงอดทนได้ หรือด้งนี้ฯ ประโยคตอบ (ภํฤรุj) \"ขมนียํ ภนฺเต เอโก ปนสฺส สทฺธิวิหาริโก โอวาทมตฺเตน กุซุฌิตุวา ปณฺณสาลํ ฌาเปตุวา ปลาโตติ (อาห่สุ).(๓/๑๑๗)แปลว่า {อ.ภ็กชุ ท.กราบทูลแล้ว} ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ยนต์คือสรืระ อันมีจักร ๙ อั'แมีทวาร ๙ อันพระเถระซื่อว่า ก้สสปะ ผู้เป็นบุตรของพระองค์ พึงอดทนได้ แต่ว่า อ.ล้ทธิวิหาริก รูปหนึ่งของพระเถระซื่อว่า มหากัสสปะ โกรธแล้ว ด้วยเหตุล้กว่าโอวาทยังบรรณศาลาให้ไหม้แล้ว หนีไปแล้ว ด้งนี้ฯ หลักการแปลประโยค อุปมา (เปรียบเทียบ) อุปมา หมายถึง ข้อความที่นำมาเปรียบเทียบ มีใข้มากในพระธรรมบท ผู้สืกษา ควรทำความเข้าใจให้ดี คำ ว่า อุปมา เป็นการขยายความที่มีอยู่แล้วให้เด่นขึ้น เปรียบได้ทั้ง ฝ่ายดี ทั้งฝ่ายชั่ว ด้งภาษาไทยว่า หญิงคนนี้ช่างงดงาม เหมือนกับพระจันทร์วันเพีญ คำ ว่า เหมือนพระจันทร์วันเพ็ญ เป็นคำแสดงให้รู้ว่า หาหญิงใดเปรียบได้ยาก เพราะพระจันทร์วัน เพ็ญเป็นคืนที่พระจันทร์เต็มดวงและถึอได้ว่าสวยที่สุดกว่าทุก ๆ วัน ด้พท์ทีใข้เป็น อุปมา เปรียบเทียบมี วิย {ราวกะ) .อิว (เพียงด้ง), ยถา (ราวกะ) วางไวัหล้งบทเนีอความทีนำมา เปรียบเทียบ นั้นๆ แปลได้ ๔ อย่างตามหลักการแปล คือ ๑. อุปมาลิงคัตถะ ๒. อุปมาวิเสสนะ ๓. อุปมาวิกติกัตตา ๔. อุปมาวิกติล้มมะ Q. รุปมใเงคัคถะ คือ การแปลบทประธานของประโยคลิงคัตถะนั่นเองต่างแต่ ควบด้วย วิย, อิว, ยถา ด้พท์ ซึ่งจัดเป็นอุปมา แทรกมาในประโยคใหญ่ มีการวางบทไว้ เฉพาะบทเดียวก็มี หลายๆ บทก็มี แปลแล้วสัมพันธ์ได้ ได้ความหมายไม่ด้องเติมอะไรมา ล้าแปลแล้วสัมพันธ์!ม่ได้ไม่ได้ความต้องเติมมา โดยเฉพาะในรูปของคาถานิยมเติมมาโดยมาก www.kalyanamitra.org

ดู่พอหสักเทณฑ์การเฟรบาร เพราะบังคับฉันท์ วิธีเติมให้นำเอาธาตุที่กิริยาคุมพากย์ในประโยค!หญ่ มาประกอบ ด้วย เครืองปรุงในกรยากิตก์โดยลง อนฺต,มาน ปัจจัย และต้องให้มี ลิงค์,วจนะ,วิภัตติ เสมอกับ บทประธาน ประโยคอุปมาลิงคัตถะ นิยมแปลหลัง กิริยาในระหว่าง หรือ กิริยาคุมพากย์ แปลหลังนามนามได้บ้างมีใช้ส่วนห้อย วิย ศัพท์ ควบ สำ นวนแปลว่า ราวกะ อ อิว \" \" \" เพียงด้งอ ยถา \" ss \" ราวกะอ ไม'(ติม เช่น อสิ ตาลปคุฅํ วิย เวจยมาโน ถรุมูลํ อคมาสิ. ๔/๑๒๔ อ.ดาบ ม้วนอยู่ ราวกะ อ. ใบแห่งตาล ได้!ปแล้ว ส่โคนแห่งด้าม ฯ เติมไนรูปของคาถา เช่น ตโต (ติวิธทุจฺจริตโต) ตํ (ปุคฺคล) ทุฤฃ่-อนุเวติ (ธุริ) วหโต (พลิวทฺทสุส) ปทํ (อนุ(วนฺตํ) จกฺกํ ลิว. ๑/๓ อ.ทุทฃ์ ย่อมไปตาม (ซึ่งบุคคล) นั้น (เพราะทุจจริตอันมีอย่าง ๓) นั้น เพืยงดัง อ.ล้อ(หมุนไปตามอยู่) ฃี่งร้อยเท้า (แห่งโคดัวเนองด้วยกำลัง) คัวนำไปอยู่ (ซึ่งแอก) ฯ ประโยคเทียบเคียง ๑. เทฺว อกฺขีนิ ทึปสิขา วิย วิซฺฌายึสุ. ๑/๑®' อ.นัยน์ตา ท,สอง คับแล้ว ราวกะ อ. เปลวแห่งประทีป ฯ ๒. โส (โฆสโก) เสฎุจิโน อกฺขิมฺหิ กณฺฎโก วิย ขายิ. ๒/๑๗ (อ.นายโฆสกะ) นัน ปรากฏแล้ว แก่เศรษฐี ราวกะ อ.หนามที่นัยน์ตา ฯ ๓. กึ อยํ ราชา คหปติโก วิย ธาวติ. m/cfo อ.พระราชานี้ ย่อมทรงวิ่ง ทำ ไม ราวกะ อ.คหบดี ฯ ๒. อุปมาวิเสสนะ คือ การแปลบทคุณที่มี ลิงค์, วจใ^. วิภัตติ เสมอกับบท นามนาม แต่ทำหห้าที่เป็นวิเสสนะ ควบด้วย วิย. อว, ยถา ศัพท์ ซึ่งจัดเป็น อุปมาวิเสสนะ วิธีการแปลก็แปลไปตามหลักการแปล วางไว้ตรงไหนเมื่อแปลไปถง อุปมาวิเสสนะก็แปลได้เลย วิย ศัพท์ ควบ วิเสสนะของคน สำ นวนแปลว่า ผู้ราวกะว่า วิย \" \" วิเสสนะของสงของ \" อันราวกะว่า วิย \" \" วิเสสใ^ของสัตว์ \" ตัวราวกะว่า ยถา \" \" ก็มีนัยเดียวกับ วิย ศัพท์ www.kalyanamitra.org

พระ:มหาสมค?! จิมตามใย อว \" \" วิเสสนะของคน \" ผู้เพียงดังว่า อิว - \" วิเสสนะของส์งของ s อันเพียงดังว่า อิว - ss วิเสสนะของอัตว์ \" ดัวเพียงดังว่า เรเน เตปิ(ชนา) อปสฺสนุดา วิย อตฺตโน najมเมว กโรนฺตา โถกํ อาคมํสุ.๓/«๑ (อ.ชน ท.) แม้เหล่านั้น ผู้ราวกะว่า ไม่เห็นอยู่ กระทำอยู่ ซึ่งการงาน ของตนนั่นเทียว รอแล้ว หน่อยหนึ่ง ฯ ประโยคเทียบเคียง ๑. โส (จุลฺสกาโล) เขตฺต่ คนฺตุวา โอโลเกนฺโต สกรเขคุเต กณฺณิกาพทุเธหิ วิย สาลิสีเสหิ สฌฺฉนฺน่ (เขตฺต่) ทิสฺวา ฯเปฯ. ๑/03^๙ (อ. จุลกาล) นั้น ไปแล้ว สู่นา แลดูอยู่ เห็นแล้ว (ซึ่งนา) อันดาดาษแล้ว ด้วยรวงแห่งข้าวสาลี ท. อันราวกะว่า เนืองกันแส้ว โดยความเ!!นช่อ ในนาทั้งสิ้นฯลฯ ๒. (เอวิ) โส (เสฏรี) ปพฺพเฅน วย มหนุเตน โสเกน อวตฺถริโต หุตฺวา อนปฺปก์ โทมนสุสํ ปฐสํเวเทสิ. b/QCS (อ.เศรษฐี)นั้น เป็นผู้อันความโศกใหญ่ อันราวกะว่าภูเขา ท่วมทับแล้ว เสวยเฉพาะซึ่งความโทมนัส อันไม่น้อย (ฉันนั้น)ฯ ๓. หิโรตฺตปฺปสมุปนฺนา กุลธีตา ปจฺโจรสฺมึ สตฺติปุปหารํ วิย (จ) วเณ ขารปริเสกํ วิย จ (อาการิ) ปตฺวา ฯเปฯ. ๒/๒๙ อ.กุลธิดา ผู้ถึงพร้อมแล้ว ด้วยหร และโอตตัปปะ ถึงแล้ว (ซึ่งอาการ) อันราวกะว่า การประหารด้วยหอกที่อกเฉพาะด้วย อันราวกะว่า การรดด้วยนาด่างที่แผลด้วย ฯลฯ. ๓. อุปมาวิกดิอัตตา คือ การแปลบทคุณ ที่มี วิภัตติ .วจนะ เสมอกับ บทนามนาม ส่วนลีงค์ต่างกันได้ควบด้วย วิย, รว, ยถา ดัพท์ แปลเน้นความ ซึงจัดเป็น อุปมาวิกติภัตตา โดยมากมักวางไร้ใกล้กับธาตุรับวิกติภัตตา ๔ ตัว คือ หุ, ภู อสุ .ซนุ ธาตุ ทั้งที่มีแล้ว และเติมเข้ามารับ สำ หรับที่เติมเข้ามาล้าไม่จบประโยค ให้ขึ้น หตฺวา มารับ ถ้าจบประโยค ให้น่าธาตุตัวใดตัวหนึ่งใน ๙ ตัวนัน มาประกอบด้วยเครีองปรุงอาฃยาต โดยให้ม้ บุรุษ,วจนะ ตรงกับบทประธานเสมอ วิธีการแปลก็แปลไปตามหลักการแปล วาง ไว้ตรงไหนเมื่อแปลไปถึง อุปมาวิกติภัตตา ก็แปลได้เลย วิย ดัพท์ ควบ สำ นวนแปลว่า เป็นราวกะว่า เป็นผู้ราวกะว่า www.kalyanamitra.org

คู่»3อนสักเกณฑ์กาJแป«บาร ยถา \" \" กีมีนัยเดียวกับ วิย ศัพท์ อิว ■' \" สำ นวนแปลว่า เป็นเพียงดังว่า เช่น โส {สสุโร)ปน พาโล เทรํ ทิสุวาปิ อปสุสนฺโต วิย หุตุวา อโธมุโฃ ภุฌฺชติเอว. ๓/๖๐ แต่ว่า {อ-พ่อผัว) นั้น เป็นคนพาล (เป็น) แม้เห็นแล้ว ซึ่งพระเถระ เป็นราวกะว่า ไม่เห็นอยู่ เป็น ผัมีหน้าในเบี้องตํ่า บริโภคอยู่ นั่นเทียว ฯ ประโยคเทียบmยง ๑. มม วา ภริยาย สรีรวณฺโณ เอตสฺส(เถรสฺส) สรึรวฌุโณ วิย ภเวยฺย. ๒/๑๒๕ หรือว่า อ. วรรณะแห่งสรีระ ของภรรยา ของเรา เป็นราวกะว่า วรรณะแห่งสรีระ (ของพระเถระ) นั้น พีงเป็น ฯ ๒. สา(วิสาขา) นิจฺจ้ โสฬสวสฺสุทฺเทสีกา วิข อโหสิ.๓/๖๗ (อ.นางวิสาขา) นั้น เป็นราวกะว่าหญิงผู้อันบุคคลพึงแสดงขึ้นว่าหญิงนี้มีกาลฝน ๑๖ ได้เป็น แล้ว เนืองนิตย์ ฯ ๓. อิทานิ {มม อสิ) เอกวารํ นมิโต เอกวาร์ ดาลปดุคเวรโก วิย ชาโต. ๙/๑๒๕ ในกาลนั้ (อ.ดาบ ของเรา) น้อมไปแล้ว สินวาระหนึ่ง เป็นราวกะว่า ใบแห่งตาล อันม้วน เกดแล้ว ฯ ๔. อุปมาวิกติก้มมะ คือ การแปลบทคุณ ที่มี วิภัตติ ตรงกับบทนามนาม ส่วนลิงค์และวจนะต่างกันได้ ต่างแต่ว่าบทริกติกัมมะสัมพันธ์เข้าได้กับ จรฺ ธาตุ และ กรุ ธาตุเท่านั้น ควบด้วย วิย, อิว, ยถา ศัพท์ ซึ่งจัดเป็น อุปมาวิกติก้มมะ เท่าที่พบคงใช้เฉพาะ กับ กรุ ธาตุเท่านั้น ถ้าไม่มีก็ด้องขึ้นมารับเสมอ ส่วนที่มีกิริยาคุมพากย์อยู่แล้วให้เติม กตฺวา ถ้ายังไม่มีกิริยาคุมพากย์ให้น่าเอา กรุ ธาตุไปประกอบด้วยเครื่องปรุงอาขยาต วิย ศัพท์ ควบ สำ นวนแปลว่า ให้เป็นราวกะว่า ยถา \" ควบ \" ให้เป็นราวกะว่า อิว \" ควบ \" ให้เป็นเพียงดังว่า เช่น เอตฺตก่ กาสํ เอส ทหโร อิมีนา กตํ วตฺตํ อตฺฅนา กตํ วิย (กตฺวา) ปกาเสสิ. ๓/๑๑๖ อ.ภิกชุหนุ่มนั่น ประกาศแล้ว ซึ่งรัตรอังฟ้กษุนั้ กระท่าแล้ว (กระท่า)ให้เป็นราวกะว่าวัตรอันตนกระท่าแล้ว ตลอดกาลมีประมาณเท่านั้ ฯ www.kalyanamitra.org

.. - ๕๗ พ:ะมหา«มคิด จิใ4ตามเย ประโยคเทียบเคียง ๑. (เถโร)■'อตฺถิ ทินฺนํ,อตุถิ รฎฺ^นฺติ ทินฺนทานาทีน่ ผลิ คคณดเล จนฺทํ วิย (กตฺใ'!) ทสฺเสสิ. ๓/๓๔ (อ.พระเถระ) แสดงแล้ว ซึ่งธรรม (แก่เมียและผ้ใ ท.)แม้ทั้งสองกล่าวแล้ใ ^ณแหง่รตนะ ท. ๓ แสดงแล้ว ซึ่งผล(แห่งๆศล ท-)มีทานอันบุคคลถวายแล้วฟ้นต้ใ^ว'' (อ.ทาน)อันบุคคลให้แล้ว มีอยู่, อ.ยัญอันบุคคลบุซาแล้ว มีอยู่ ดังนีเป็นด้น (กระทำ) ใ'\" เป็นราวกะว่าพระจันทร์ ในพื้นแห่งห้องฟ้า ฯ ๒. สา (วิสาขา) ฯเปฯ ปณุณาการํ เปเสนฺตี สกลนครวาสิโน ล)าตเก วิย คกาสิ- ๓/๕®' {อ. นางวิสาขา) นัน ส่งไปอยู่ ซึงเครืองบรรณาการ ได้กระทำแลว (ชงซน ท-) ผูอบุ ในพระนครทั้งสินโดยปกด้ ให้เป้นราวกะว่าญาคิ ด้วยประการฉะนี *1 ๓. สสฺส์ปิ สสุรํปิ สามีก่ปี อคฺคิกุฃนุธํ วิย(ซ) อุร,คราช'!นํ วิย ซ กตฺวา บ่^สิจํ วฏฎติ. ๓/๖๓ อ. อัน(อันเจ้า) เห็น แม้ซึ่งแม้ผัว แม้ซึ่งพ่อผัว แม้ซึงสามี กระทำ ใหเป็น ราวกะว่ากองแห่งไพ่ห้วย ให้เป็นราวกะว่านาคผูพระราชาควย ยอมควร ท ในอุปมาทั้ง ๔ นั้น อุปมาวิเสสนะสามารถแปลเป็น อุปมาวิกติกัตดาได้ แล้วเดิม ธาตุรับวิกติอัตตา มารับ ฯ กริยาคุมพากย์พิเศษ นี้มีอยู่ ๓ อัพท์ด้วยอันคือ สกฺกา,อลิ.ลพฺภา ซึ่อว่า ■■อัพยยกิรืยา\" เพราะเป็นกริยา ที่ไม่แจกไปตามวิภตดิของบทประธาน คงรูปเดิมไว้ เป็นกิริยาพิเศบบททนึ่ง ซึ่งไม่สามารถ จะแยกทำตัวได้ ๑. สฤกา ศัพท์ ใช้เป็นกิริยาตุมพากย์ แปลว่า อาซ ชงมชอเรยกสัมพันธวากรยาบทกาววา^ก โดยเฉพาะที่มีประธานอยู่ด้วย ยังมีส์านักเริยนต่างๆ'นิยม แปลแยกประธาน เป็นประโยคลง คัตถะต่างหาก โดยแปล สฤกา เป็นกาววาจก แต่ปัจจุบัน สฤกา นิยมใช้แปลได้๒วาจก คือ อัมมวาจกและภาววาจก มติที่ว่าเป็นอัมมวาจกไม่ได้นั้นค่อยจางหายไปจากว-3การคืกษานาสิ เพราะมีหลายท่านที่ได้ด้นโยซนาพบบท สฤกา ทีมีปฐมาวิอัดดิอยู่ควย เป็นประธานในประโยค www.kalyanamitra.org

ดู่มอหล้กเทณฑ่การแปรเบาร ถูกบอกสมพนธว่า เป็นกัมมวาจาอย่างเดียวเท่ๅนัน ขออ้างหลักฐานโยชนาแห่งอภิฐัมมัตถ ภาวน ชงตดมาเฉพาะบทหลังว่า สกฺกาติ (ปท่) กมุมวาชุกํ นิปาตภิริยาปท่ๆ แม้เฉลย สนามหลวงฝ่ายภาษาบาลี กรับรอง ลกฺกๅ เป็น กัมมวาจก เช่นเดียวก้น เช่น เยน เบาเณน สกุกา ใส ทฏฺธุ่ ฯ อ.นายช่างดีอตัณหา นั้นอันเรา อาจ เพื่ออันเห็น!ตั ด้วยญาณใด ฯ (สัมพันธ์ว่า ใส วิเสสนะ ของ วฑฺฒกีๆๅตุตกมุมใน สกฺกาๆ กิริยาบทกมุมวาจก ๆลฯ)ประโยค สกุกา หโมมบทนามประกอบควยปฐมาวิภัตติอยู่ด้วย เป็นภาววาจกอย่างเดียว (สกฺกา สัมพันธ์ว่า กิริยาบทภาววาจก) ประโยคเทียบเคียง สฤกา คุมพากย์ ประโยคภาววๅจก ๑. น สกฺกา วิหาริ ตุจฺฉํ กาตุ๊. (๔/๕(ร') (อันเรา} ไม่อาจ เพื่ออันกระทำ ซึ่งวิหาร ให้วางเปล่าฯ ๒. น สฤกา เอเตน สทฺธึ เอกโต ภวิตุ๊,(๑/๑๒๔) (อันเรา) ไม่อาจเ'ผึออันเป็นโดยความเป็นอันเดียวก้น ลับด้วยพระราชานั่นฯ ๓. โกสลรฌุฌาปิ สทฺสึ น สฤกา เอกโต ภวิตุ๊,(๑/๑๒๔) (อันเรา) ไม่อาจ เพึออันเป็น โดยความเป็นอันเดียวก้น กับด้วยพระราชา พระนามว่าโกศลฯ ๔. ปาริเลยยก อิโต ปฎฺราย ตยา คนฺตุ๊ น สกฺกา,(๑/๕๔) ดูก่อนปาริไลยก์ อันเจ้า ไม่อาจ เพื่ออันไป จำ เติม แต่ที่นี้ฯ สฤกใ คุมพากย์ ประโยคกัมมวาจก ๑. กมุมวิปาโก นาม น สกุกา เกนจิ ปฐพาหิตุ๊.(๑/๑๑๔) ชือ อ.ผลแห่งกรรม อันใครๆไม่อาจ เพื่ออันห้ามฯ ๒. สมณธมุโม นาม สริเร ยาเปนฺเต สกุกๆ กาตุ๊. {๑/๔} ชื่อ อ.สมณธรรม ครั้แเมื่อสรีระ เป็นไปอยู่ (อันท่าน) อาจ เพื่ออันกระท่ๅฯ ๓, น สกฺกา ใส(ธมุโม) อคารมชุเฌ ปูเรตุ๊. (๑/๖) อ.ธรรม นัน(อันใครๆ) ไม่อาจ เพื่ออันให้เต็ม ในท่ามกลางแท่งเรือน ฯ www.kalyanamitra.org

พระมหาสมคํค จํแตามโย นอกจาก สฤกๆ จะใช้เป็นกิริยาคุมพากย์แล้ว สฤกา ยังแปลเป็นประธานได้อีก ซื่อสัมพันธ์ว่า สยกัตตา สฤกา(ประธาน) อุ. (ชุชฺชุตฺตรา) ■■เตนหิ ตุมฺหาก่ วสนคพฺภานํ ภิตฺตีสุ, ยตฺตเกน โอโลเกตุ (ตุมฺเหหิ) สกฺกา โหติ. ตตฺตกํ ฉิทุทํ กตุวา คนฺธมาลาทีนิ อาหราเปตุวา สตฺถาร่ ติณฺณ่ เสฎจีนํ ฆรทฺวาร่ คจุฉนฺติ ตุมฺเห เตสุ เตสุ จตุวา โอใสเกถ เจว หตุเถ ปสาเรตุวา วนฺทถ จ ปูเซถ จาติ.(๒/ร:๘) {อ.นางชุชฺซุตรา กล่าวแล้ว) ว่า ถ้าอย่างนั้น, อ.อันอันท่าน ท.อาจเพื่ออันแลดู ด้วยช่องมีประมาณเท่าใด ย่อมเป็น, อ.ท่าน ท.ท่าแล้ว ซึ่งช่องมีประมาณ เท่านั้นที่ฝา ท.แห่งห้องเป็นที่อยู่ ท.ของท่าน ท.ยังบุคคลให้นำมาแล้ว ซึ่งวัตลุ ท.มีของ หอมและระเบียบ เป็นต้น ยันแล้ว ในที่ ท.เหล่านั้นๆ จงแลดูด้วยนั่นเทียว เหยียดออกแล้ว ซึ่งมีอ ท.จงถวายบังคมด้วย จงบูชาด้วย ซึ่งพระศาสดา ผู้เสด็จไปอยู่ สู่ประตแห่งเริอนของ เศรษฐี ท.สาม ด้งนี้ฯ สฤกา(ประธาน) อุ. ตตุถ นํ อาคติ คเหติ สฤกา ภวิสฺสติ.(๒/๓๒) อ.อันอัน พระองค์อาจ เพื่ออันทรงจับ ซึ่งพระราชานั้น ผู้เสด็จมาแล้ว ในที่นั่น จักมีฯ หมายเหตุ สฤกา ยังแปลเป็น ริกติกัตตา (แปลว่า เป็น) ได้อีก ๒. อลํ ศัพท์ อสํ ด้พท์ แปลเป็น นามนามบ้าง กิริยาบ้าง เป็นได้ทั้ง อัพยยด้พท์ ทั้งอัพยยกิริยา คงรูปอยู่อย่างเติมไม่เปลี่ยนแปลง ที่ได้ซื่อว่า อัพยยด้พท์ เพราะแจกด้วยริภัตติทั้ง ๗ ไม่ได้ และที่ได้ซื่อว่า อัพยยกิริยา เพราะไม่ถูกแจกไปตามบทประธาน คีอคงรูปทั้งที่เป็นกิริยา คุมพากย์ กัมมวาจก และ ภาววาจก เอาไว้ ใช้ในอรรถได้ ๓ อย่างคือ ๑, อรหตุถ (อรรถว่า ควร) แปลเป็น ริเสสนะ แปลว่า ควร, แปลเป็น ริกติกัตตา แปลว่า เป็นผู้ควร เป็นอันควร ฯ อุ. ออ เม พุทฺโธ.(ริเสสนะ) อ.พระพุทธเจ้า ควร แก่เรา ฯ อุ. อลํ ฌ พุทฺโธ (โหติ).{ริกติกัตตา) อ.พระพุทธเจ้า เป็นผู้ควรแก่เรา (ย่อมเป็น) ฯ ๒. ปฏิเสธนตุถ(อรรถว่า ปฏิเสธ,ห้าม) แปลเป็น นามนาม ประธาน แปลว่า อ. พอละ, อ.อย่าเลย www.kalyanamitra.org

^o ภู่»3«พสัก๓ณฑกา:แปflบาร อุ. ออํ เอตฺตเกน (กมฺเมน) อิมสุส(มฎฺ?กุณฺฑลิสฺส). ๑/๒๕ อ.พออะ ด้วยกรรมมีประมาณเท่า■น แก่มาณพชื่อว่ามัฎฐกุณฑลีนี้ ฯ อุ. อลํ อยฺย. มาตา เม ตชุเชสฺสติ, ๓/๔๐ ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า อ.อย่าเอย .อ.มารตา ของข้าพเจ้า จักคุมคาม ฯ ๓. ปริยตุตยตฺถ(อรรถว่า ควร,อาจ,สามารถ,พอ) แปลเป็น กิริยาคุมพากย์ กัมมวาจก และ ภาววาจก ได้ แปลว่า ควร อาจ, สามารถ,พอ อุ. (เกเรน) อลํ กาตุ่. [เถเรน) ออ* กาต่. (ภาววาจก) (อันพระเถระ) อาจ เพื่ออันกระท่า,(อันพระเถระ) อาจ เพื่ออันจัดแจง ฯ อุ. นวหิ ภิทขเว องฺเคหิ สมนฺนาคต่ กุลํ (ภิกขุนา) อนุปคนฺตฺวา น-ออ อุปคนฺตุ่. (ก้มมวาจก)๓/๘ ดูก่อนภิกษุท. อ.ตระกูส อันประกอบพร้อมแล้ว ด้วยองค์ ท,«•{อันภิกษุ) ไม่เข้าไปใกล้แล้ว ไม'ควร เพื่ออันเข้าไปใกล้ด้วย ฯ ๑, ก้จจาย'แมูล ฯ ๒, สารัตถทีปนี ฯ ๓. ลพุภา ศัพท์ ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ ก้มมวาจก อย่างเดียว ได้ชื่อว่า อัพยยกิริยา เพราะ ไม่ อนุรัตรไปตามวิภัตติและวจนะของบทนาม คงรูป ลพฺภา อยู่อย่างเดียว แปลว่า พึงได้ อุ อิท่ (ปเวณิรชฺชํ) น ลพฺภา เอวํ กาตุ่. อ. ความเป็นพระราชาโดยประเพณีนี้ อันท่านไม่พึงได้ เพื่ออันกระท่าอย่างนี้ฯ www.kalyanamitra.org

พระมนา«มคิค จบุตามใย หลักการแปล ประโยคกิริยาปรามาสที่แปลรับ ประโยคที่แปลรับกับกิริยาปรามาส เฉพาะ ยํ ที่เป็นกิริยาปรามาสบทเดียว (ยกเว้น ยสฺมา ที่เป็นกิริยาปรามาส) ต้องเติมประโยคหน้าใฟ้!ด้เนี้อความบริบูรณ์ ต้วยวิธีผูกเป็น รูปประโยคตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปน ก. บทประธาน, บทวิเสสนะ,บทอัพกันตรกิริยา, บทวิกติกัตตา.ของตัวประธาน ต้องประกอบเป็น ^ธีวิกัตติ ข. ถ้ากิริยาคุมพากย์เป็น ปัจจุบันกาส หรืออนาคตกาส ต้องประกอบธาต ควย ยุ ปัจจัยในนามกิตก์ ค. ถ้ากิริยาคุมพากย์ เป็นอดีตกาล ต้องประกอบธาตุควย ต ปัจจัยในกรยากิตก ฆ. ถ้ากิริยาคุมพากย์เป็น หุ ธาตุ หรือ ภู ธาตุ ไม่ต้องเติมมา ให1ช้บท วิกติกัตตานั้นแทน ง. ใช้ ภาา ดัพท์ และ ตฺต,ตา ปัจจัย ต่อต้านหลังของกิริยา หรือวิกติกัตตา นั้น ตามลิงค์ที่ลัพพนามต้องการ แลัวประกอบต้วยปฐมาวิกัตติ ในฐานะ เป็นบทประธาน ดังนี บัลิงค์ เป็น กาโว- อิตถีลิงค เป็น ตา. นบั,สกลิงค เป็น ตฺตํ อุ. อนจฺฉรืย่ โข ปเนต่ (ตฺว มาทิสํ อาจริยํ สกิตฺว^ อปฺปิจฺฉตฺตํ) ภิทขุ, ยํ ตฺวํ มาทิสํ อาจริยํ ลภิตฺวา อปฺปิจฺโฉ อโหลิ.(๒/Q(s)En) ดก่อนภิกชุ ก็ อ.เธอ ไต้แลว ซงอาจารย ผูเช่นกับดวยเรา เป็นผูมความ ปรารถนาน้อยไต้เป็นแล้ว ใด, อ,ความที่แห่งเธอเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย เพราะไต้ ซึ่ง อาจารย์ ผู้เช่นกับต้วยเรา นี ไม่น่าอัศจรรย์แลฯ ประโยคเทียบเคียง (๑). อุ, อัธโขต่(ตุมุหากํ กฤยาฌธมฺเม ขนฺติโสรตตฺตํ) ภิกฺขเว โสเภถ,ชํ ตุมฺเห เอวํ สุวาทขาเต ธมุมรินเย ปพฺพชิตา สมานา ขมา จ ภเวยุยาถ โสรตา จ ฯ (®/ct®) ตก่อ!4ภิกษุ ท. อ.เธอ ท. เป็นผู้บวชแล้ว ในพระธรรมวินัย อันเรากล่าวดีแล้วอย่างน มีอผู่ เป็นผู้อดทนด้วย เป็นผู้ยินดีแล้ว ในธรรมอันงามด้วย พงเป็นใด, (อ.ความทแหงเธอ ท.เป็นผู้อดทนและ ยินดแถ้ว ในธรรมอันงาม) นั้นพึงงามในธรรมและวินัยนี้แลฯ www.kalyanamitra.org

คู่มิอนล้ทเกณ?(การแปรบาfl (๒). อุ. จานํ โข ปเนติ(ตว กาลสฺส กรณํ) วิชฺขติ, ยํ กุมาโร า สมาโน ทาล่ กเรยฺยาสิ ฯ (๑/๑๓๐) ก็ อ. พระองค์ เป็นกุมารเทียว มีอยู่พึงกระท่า ซึ่งกาลใด,(อ.การ ทรงกระทำซึ่งกาละ แห่งพระองค์) นั่น เป็นฐานะ แล ย่อมมีฯ (๓). อุ. มม โลหิตภฤฃสฺส นิจฺจํ ลุทฺทานิ กุพฺพโต ทนุตนฺตรคโต สนุโต ติ(ตว ชีวนิ) พหุ (ภูติ) ยํปิ ชีวสิ ฯ (๑/๑๓๕) อ.ท่าน เป็น^ปแล้วในระหว่าง แห่งฟ้นของเรา ผู้มี เลือดเป็นภิกษาผู้กระท่าอยู่ซึ่งกรรมอันชั่วร้าย ท.เนิองนิตย์ เป็นอยู่ ย่อมเป็นอยู่ได้แม'ใด, (อ.ความเป็นอยู่แห่งท่าน) นั้น เป็นบุญมาก (ภูติ เป็นแล้ว) (๙). อุ. ฌาเมติ {กมฺม่) กุรุงฺคสฺส ยํ ตฺวํ เสตปณฺณิ เสยฺยสิฯ(๑/๑๓๕) แน่ะไม้มะรื่น อ,ท่านย่อมโปรย ใด, อ.กรรมนี้ เกิดแล้วแก่กวางฯ หมายเหตุ จะสังเกตได้ว่า ข้อ ๓-๔ ลักษณะการแปลประโยค ต ไม่เหมือนแปลรับ กิริยาปรามาสแต่นั้นแปลตามอรรถกถาชาดก หลักการแปล สัตตมีวิภัตติ เป็นตัวประธาน บทนามนามที่ประกอบด้วยสัตตมีวิภัตติใข้ในอรรถแห่งปฐมาวิภัตติ (ประธาน) บทสัตตมีในที่นี้หมายถึงนามนามแท้แจกด้วยวิภัตติทั้ง ท) ได้ ทั้งที่เป็นอัพยยศัพท์แจกด้วย วิภัตติไม่ได้ ซึ่งลงปัจจัยท้ายนามใช้เป็นเครื่องหมายสัตตมีวิภัตติ เช่น อั้ทานิ, อชฺช, ตทา อันบทท้งสองชนิดทึกลาวแล้วนันต้องอยู่ในกฎที่ว่า บทนามนามที่ใช้เป็นสัตตมีวิภัตติก็ดี อัพยยปัจจัยที่ใช้เป็นสัตตมีวิภัตติก็ดี อยู่หน้า มีบทนามนามซึ่งประกอบด้วยปฐมาวิภัตติอยู่หลัง มีดวามหมายคล้ายคลืงกัน และในที่นั้นต้องมีกิริยาคุมพากย์ที่สำเร็จมาจาก ทุ,ภู,อส,ชน ธาตุ อยู่ด้วย ถ้าไม่มีต้องเติมเข้ามาโดยแปลบทที่ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ เป็นวิกติภัตตาในกิริยา ที่เทเติมเข้ามา (บทสัตตมืที่ใช้แทนปฐมาวิภัตติเรียกชื่อสัมพันธ์ว่าสัตตมีปัจจัตตะ) (อัพยยปัจจัยเป็นประธาน) อุ. รทานิ สายํ จ {โหติ).(๑/๑๘) อ. กาลนี้ เป็นเวลาเย็น (ย่อมเป็น) ด้วยฯ {นามนามสัตตมีวิภัตติเป็นต้วประทน) อุ. อสุภคามโต อสุกคามคมนฎจาเน สมํ (โหติ),(๓/๑) อ.ที่เป็นที่ไปจากบ้านชื่อโน้น ส่บ้านซื่อโน้น เป็นที่เสมอ {ย่อมเป็น) ฯ www.kalyanamitra.org

พะ:มพทสมรด จนุดทมโย ben หลักการแปล สั่มภาวนะ คือ บทนามนามที่ใช้ดุจคุณนามก็ดี บทคุณนามก็ดี ที่ไม่มีอิติคืพท์คุม ในพากย์ กัตตุวาจกประกอบด้วยทุติยาวิภัตติ ในพากย์ภัมมวาจกประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ อยู่ใกล้กับ กิริยาศัพท์ที่มีอรรถว่า กล่าว, เรียก, รู้, ดูหมิ่น, เห็น อย่างใดอย่างหนึ่ง ในเวลาแปลต้อง หนุนคำว่า \"ว่า, ว่าเป็น\" อุ. พทฺธํ สรฟ้ คจฺฉามิ. อ. เรา ย่อมถึง ซึ่งพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึง ฯ อุ. ตมหํ พฺรูมิ พุราหุมณํ.(๘/๑๘รr คาถา) อ. เรา ย่อมเรียก ซึ่งบุคคลนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ ฯ ประโยคเทียบ*คียง ๑. อตฺตานฌฺเจ ปิยํ ซญฌา.(๖/๙) หากว่า อ.บุคคล พึงรู้ ซึ่งตน ว่าเป็นที่รักไซร้ ฯ ๒, ปาโปปิ (ปาป) ปสฺสติ ภทฺรํ. (๕//๑๑เ๓) แม้ อ.บุคคลผู้ลามก ย่อมเห็น (ซึ่งกรรมอันลามก) ว่าเจริญฯ ๓. สุวณฺณราชหํสิยา 1]รโต กากีสพึสํ อตฺตานํ อวมฌฺฌติ. อ.บุคคล ย่อมดูหมิ่น ซึ่งตน ว่าเป็นผู้เช่นกับด้วยนางกา ช้างหน้า แห่งพญาหงส์ทองฯ ๔. อมตํ วุจฺจติ นิพฺพานํ.(๒/๖๓) อ.พระน้พพาน อันพระผ้มีพระภาค ย่อมตรัสเรียก ว่าอมตะฯ www.kalyanamitra.org

^ ถู่มิอVสักเกณ'ทกา:แ!jflบาร หลักการแปล ปเคว มึการแปลได้ ๒ แบบ ปเคว ศ้ทท์นี้ เรนนิบาตถ้าแปลก่อนตัวประธาน และกิริยาในประโยคนั้น เช่น เดียวถ้บนิบาตตันข้อความมีบัญญัติไถ้แปลว่า จะป่วยกล่าวไปใย ถ้าแปลทีหลังเนี้อความ ในประโยคนั้นมีบัญญัติไถ้แปลว่า ก่อนนั่นเทียว เรียกชื่อสัมพันธ์ว่า \"กิริยาวิเสสนะ\" แบบที่ ๑ (แปลก่อน) อุ. มาตาปีตโร นาม ปเคว ทีพฺพสมฺปตฺตึ วา ปรฺมชุฌานาทีสมฺปตฺตึ วา ทาตุ่ สมตฺถา ปตฺตาน์ ภวิสฺสนฺติ.(๒/®๕๙) จะป่วยกล่าวไปใย ชื่อ อ,มารดาและบิดา ท. ผู้สามารถ เพื่ออันไถ้ซึ่งสมบัติอัน เป็นทีพย์ หรีอ หรีอว่า ซึ่งสมบัติมีปฐมฌาณเป็นตัน จักมีแก่บุตร ท.ฯ แบบที่ ๒ (แปลหลัง) อุ. สามเณรํ ที ตสฺมี กาเล สิเนรุนา อวตุถรนฺโตปี มาเรตุ่ สมตฺโถ นาม นตฺสิ ปเคว อสินา.(๔/®๒๔), จริงอยู่ (อ.ใครๆ) แม้ท่วมทับอยู่ ซึ่งสามเณร ด้วยภูเขาชื่อว่าสิเนรุ ไนกาลนั้น ชื่อว่าผู้สามารถ เพื่ออันยังสามเณรนั้นไถ้ตาย ย่อมไม่มี. (อ.ใครๆ ชื่อว่าผู้สามารถเพื่ออันยัง สามเณรไถ้ตาย) ด้วยดาบ (ย่อมไม่มี) ก่ ^กอนนนเทยว ฯ หลักการแปล วิเสสลาภี นามนาม บทหนึ่งกล่าวความกว้าง อีกบทหนึ่งหรีอหลายบทกล่าวแยกบทที่มี ความหมายกว้างไถ้แคบเข้า หรีอเข้าไจง่าย คถ้ายๆบทไข ได้ความหมายพิเศษ เหมีอน รุกฺโข ด้นไม้มีความหมายกว้าง เพราะไม้มีหลายชนิด แต่ต้องการได้ความหมายพิเศษ ว่า นิโคฺรโธ ด้นไทร บุจุจลินุโท ด้นจิก โพธิ ด้นโพธิ๋ เป็นอันหมายถึงไม้ชนิดอื่น บทที่กล่าวถึงความ หมายพิเศษที่เรียกว่า '■วิเสสลาภี\" เพราะท่าบทที่กล่าวความกว้างไถ้ได้ความหมายพิเศษเข้าไจ ง่าย วิเสสลาภี มีวิภัตติ และวจนะเดียวกับบทนามนามที่มีความหมายกว้าง บทวิเสสลาภี เวลาแปล ก็ออกสำเนียงอายตนะนิบาตของวิภัตตินั้น แต่หนุนคำว่า \"คือ\" เข้ามา เช่น ถ้า ปฐมาวิภัตติ ก็แปลว่า คือ อันว่า (คือ อ.)ถ้าเป็นพหุวจนะ ก็แปลว่า คือ อ....ท. ทุติยาวิภัตติ ก็แปลว่า คือ ซึ่ง เป็นด้น อุ.เยเกจิ (ชนา) เทวา วา มนุสุสา วา คหฎจา วา ปพุพชิตา วา ต่ \"อกฺโกจฺฉิ มนฺติอาทิวตฺถุก่ โกธํ สกฎธุร่ วิย นทฺธินา ปูติมจฺฉาทีนิ จ กุสาทีที ปุนปปุน่ เวเจนฺตา www.kalyanamitra.org

พระมนาสมคิด จน.ตามใย ๖๕ อุปนยฺหนุติ ฯ (๑/๔๑) อ.ชน ท.เหล่าใดเหล่าหนึ่ง คือ อ.เทวดา ท. หรือ หรือว่า คือ อ. มนุษย์ ท.คือ อ.คฤหัสถ์ ท. หรือ หรือว่า คือ อ.บรรพชิต ท.ย่อมเข้าไปผูกอยู่ซึงความโกรธน้น คือว่า มีวัตถุเป็นต้นว่า อ.บุคคลโน้นได้ด่าแล้ว ซึ่งเราด้งนี บ่อยๆ ราวกะ อ.บุคคล ท. ผู้ข้บเกวียน ข้นอยู่ ซึ่งแอกแห่งเกวียนด้วยชะเนาะด้วย ราวกะ อ.ซาวประมง ท. พันอยู่ ชงสิงของ ท. มีปลาเน่าเป็นต้น ด้วยวัตถุ ท. มีหญ้าคาเป็นต้น ฯ ประโยคเทียบเคียง ๑. ยสฺส เอตา ธนา อตฺถิ อิตุถิขา ปุริสสฺส วา. (คาถา ๓/®๒ฬ อ.ทรัพย์ ท.เหล่านี ของบุคคลใด คือของหญิง หรือ หรือว่า คือของชาย มีอยู่ฯ ๒. โส-(ตว ปุตุโต) อห่ กุสส์ กรืตุวาน กมฺมํ ติทสานํ สหพ.ยด่ ปตฺโต. (คาถา ๑/๒๙) (อ.บุตร ของท่าน) นั้น คือ อ.เรา กระทำแล้วซึ่งกรรม อันเป็นกุศล เป็น ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งสหาย แห่งเทวดาเหล่าไตรทศ ท.ย่อมเป็นฯ ๓. (ตฺวํ วา อฌฺโณ วา มิโค) น้โคุรธเมว เสเวยฺย,น สาฃมุปสิวเส. (๖/®๕) อ.เนึอ คือ อ.ท่าน หรือ หรือว่า คือ อ.เนืออื่น พึงเสพ (คน) ซึงเนือซือนึ่[ครธ ไม่พึงเข้าไปเสพ ซึ่งเนื้อซึ่อว่าสาฃะฯ ๔. (เทวราชา)\"อหิ โส ภนุเตติ (อาห).(๒/๒) (อ.เทวราชา ตรัสแล้ว) ว่า ข้าแต่ ท่านผู้เจริญ อ.สหายนั้น คือ อ.กระผม ด้งนื้ ฯ ๕. อย่(สมโณ) โส ใ^ริโส.(๒/๔๐)อ.สมณะนื้ คืออ.บุรุษ นั้นฯ www.kalyanamitra.org

ภู่มอนสัก;กณ'rการนปสบาล หลักการแปล สรูป บทนามนาม บทเดียว หรือหลายบท ขยายบทที่กล่าวรวม แล้วแยกออกมาเพื่อ ทำ เนื้อความที่ประสงค์ให้ซัดเจน คล้ายๆ กับบทวิเสสลาภี ส่วนสรูปนั้นมี * วจนะ ต่างกันกับ นามนาม เมอแปลบทสรูปนั้นท่านให้ออกสำเนียงอายตนิบาตตามตัวนามนามที่กล่าวรวมๆ เซ่น ปฐมาวิภัตติ หนุนคำว่า \"คือ อ้นว่า\" เข้ามา อุ. จตฺตาโร ธมฺมา วฑุฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พล. ({^/๑๑๖) อ.ธรรม ท. สี คือ อ.อายุ คือ อ. วรรณะ คือ อ. ความสุข คือ อ.พละ ย่อมเจริญฯ อุ. สาวตฺถิย กิร สิริคุตุโต จ ครหทินุโน จ เทฺว สหายกา อเหสํ. {๓/®'๐} ตังจะกล่าวโดยพิศดาร อ.สหาย ท.สอง คือ อ.นายสิริคุตต์ ตัวย คือ อ.นายครหทินน์ ด้วย ได้มีแล้ว ในเมืองสาวัตถี ฯ ประโยคเทียบเคียง ๑. โส อตุถโต ตโย อรูปิโน ขนฺธา \"เวทนาฤฃนฺโธ สญฌากฺขนุโธ สงุฃารฤฃนฺโธติ. (๑/๒๑) อยู่อรรถกถา) (อ.นิสสัตตธรรมและนิซชีวธรรม)นั้นคืออ.ขันธ์ท.อันไมมรูป สาม คือ อ.เวทนาขันธ์ อ.สัญญาขันธ์ อ.สังขารขันธ์ฯ ๒. โกสมฺพิย์ หิ โฆสิตาราเม ปฌฺจสตปฌฺจสตปริวารา เทฺว ภิกฃวิหรึสุ วินยธโร จ ธมฺมกถิโก จ. (๑/๙®') ตังจะกล่าวโดยพิสดาร อ.ภิกสุ ท.สอง คือ อ.พระวินัยธร ด้วย คือ อ.พระธรรมกถึก ด้วย มีภิกษุมีร้อยห้ามีร้อยห้าเป็นประมาณเป็นบริวาร อยู่แล้ว ใน โฆสิตาราม ใกล้เมืองชื่อว่าโกสัมพี ฯ ๓. ปุพฺเพ สนฺนิวาเสน ปจุชุปฺปนฺนหิเตน วา (ทุวีหิ การเณหิ) เอว่ ต่ {เปมํ) (ชายมานิ)ชายเต (คาถา. ๒/๒๑)(อ.ความรัก นั้น) (เมื่อเกิด) ย่อมเกิด ด้วยเหตุ ท.๒ คือ ด้วยการอยู่ร่วมกันในกาลก่อนหรือ หรือว่า คือ ด้วยความเกือกลอันเกิดขึ้นเฉพาะแล้ว (ฉันนั้น) ฯ หมายเหตุ ข้อควรจำ วิเสสลาภิ วจนะ ตรงกัน- สรป วจนะ ต่างกัน www.kalyanamitra.org

พะมพาสมคด จนุดามใย ^ฟ หลักการแปล อนุต, มาน ฟ้จจัย อนุต, มาน ปัจจัยที่ประกอบด้วย ปฐมาวิภัตติ ทั้งเอกวจนะ เ1,ละพหุวจนะ อยู่หน้าตัวประธาน แปลว่า ผู้, อัน อุ. ตตฺถ ตตฺถ นิสีทนุตา หิ ภิฤฃู พุทธาสนํ ปณฌาเปตฺวา ว นิสีทนติ (๑/®๙๕)จริงอยู่ อ.ภิกนุ ท.ผู้เมื่อนั่ง ในที่นั่นๆ ปูลาดแล้ว ซึงพุทธอาสน์เทียว ยอมนังฯ อนุต, มาน ปัจจัย อยู่ข้างหลังตัวประธาน ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ ทั้งเอกวจนะ และพหุวจนะ ไม่นิยมแปลว่า ผู้, อัน อุ. สตฺถา ตสฺส อุปนิสุสยํ โอโลเกตุวา ธมุมํ เทเสนุโต อนุปูพุพีกถํ กเถสิ. (๑/๕) อ.พระศาสดา ทรงตรวจดูแล้ว ซึ่งธรรมอันเป็นอุปนิสัย แหงกุฎุมพีชื่อว่ามหาปาลนน เมื่อทรงแสดง ซึ่งธรรม ตร้สแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกลาวโดย าดับฯ อนุต. มาน ปัจจัย ยังแปลพร้อมกับกิริยาคุมพากเป์ได้อีก เริยกวากิริยาทำพร้อมทัน อุ. ภนุเต มหากปปิโน \"อโห สุข่, อโห สุขนุติ วทาน อุทาเนนุโต วิจรติ (๕/๒๐) ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.พระมหาภัปปินะ ย่อมเทียวเปลงอยู่ ซึงอุทาน วาโอ อ สุฃ โอ อ.สุข ดังนี้ฯ อนุต, มาน ปัจจัย ที่ประกอบวิภัตติตั้งแต่ ทุติยาวิภัตติ จนถึงสัตตมีวิภัตติ ต้อง แปลว่า ผู้, อัน เรียกว่าทำหน้าที่เป็นวิเสสนะ(ยกเว้นที่'ป็นกิริยาคมพากย์ของประโ อน■เทร และสักขณะ) อุ. เอกํ ปูริสํ ฉตุต่ คเหตุวา คจฺฉนุดํ ปสสามิ. อ เรา ยอมเห็น ซึงบุรษ คนหนึ่ง ผู้ถือซึ่งร่มแล้วจึงไปอยู่ฯ อนุต ปัจจัย บางประโยค ทำ หน้าที่เป็นวิเสสนะ(เตไมนิยมไร้)ไนรูปประ ยคลิงด้ตถะ อุ.ตา (อิตุถิโย) เคเห ฌายนุเต เวทนาปริฅฺคหกมฺมฎรานิ มนสิกโรนฺติโย. ก\"\" ทุติยผลํ,กาจิ ตติยผล่ ปาปูณึสุ.(๒/๕๗) อ.หญิง ท,เหล่านั้น ครื่นเมิอตำหนัก ไหม้อยู่ ทํไ ไวในใจอยู่ ซึ่งกัมม้ฎฐานมีกำหนดถือเอาซึ่งเวทนาเป็นอารมณ์. อหญิง ท.บางพวก บรรา แล้ว ซึ่งผลที่สอง, อ.หญิง ท.บางพวก บรรลุแล้ว ซึ่งผลที่สามฯ ที่ยกอุทาหรณ์มานี้เป็นแต่ อนุต ปัจจัยเทานั้น สวน มาน ปัจจัย ก็มีคติ เหมีอน อนุต ปัจจัยฯ www.kalyanamitra.org

^^ ดู่รอM«กเาผฑกาJllปflบาริ หลักการ!เปล ฅ ปจจัย ต ปัจจ้ย เมื่อนำมาประกอบกับธาตุแล้ว ที่เป็นปฐมาวิกัตติ ทั้งเอกวจนะ และ พหุวจนะ ถ้าอยูหน้าตัวประธาน แปลวา ผู้, อ้น อ บจมํ อาคโต ภิกฃ ปฺรโต นิสีทิ อ.ภิกษุ ผู'้ มาแล้'ว ก่อน นั่งแล้ว ข้างหน้าฯ ต ปัจจัย ถ้าอยูหล้งตัวประธาน ไมใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ แปลว่า ผู้, อ้น, เป็น หมายถึงมีเนื้อความตอใบอีก ยังไมจบประโยค ถ้าแปลว่า เป็น ขึ้น หุตฺวา มารับ แต่ถ้า แปลวา ผู้ อ้น ไมต้องเติมอะไร อุ ปจฺฉา วินยธโร ตตถ ปวิฎฺใจ (หุตุวา)ตํ อุทกํ ทิสฺวา นิกฺฃมิตฺวา อิตร่ ปุจฺฉิ ฯเปฯ (๑/๙ฬ อ พระวนัยธร เป็นผู้เข้าไปแล้ว ในซุ้มแห่งนื้านั้น ในภายหลัง(เป็น) เห็นแล้ว ซึงน้านั้น ออ ไปแล้ว ถามเลว ซึ่งพระธรรมกถึก นอกนื้ ฯลฯ ต ปัจจัย ถ้าอยู่ทีสุดเนื้อความคือจบประโยค ถ้าไมใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ จะต้อง แปลวา เป็น เ ล้วเติมธาตุทีรับวิกติกัตตามารับ การเติมนั้นก็ต้องสุดแล้วแต่ตัวประธาน หมายเหตุ บรุษตรงกันไมนํยมแปลว่า เป็นก็ไต้ อุ ตสมา เตน อากปเปน นิราสงุโก ว คนุตุวา สตฺถารํ วนฺทีตฺวา พุทุธปปมขํ ภิกขุสงฆ็ อาท ย อาคโต (โหติ) ;๑/๖๖) เพราะเหตุนั้น อ.พระเถระชื่อว่าจุลลกาล เป็น ผู้มีความรังเกียจ ออกแล้ว ต้วยมรรยาทนั้น ไปแล้ว ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดาพาไปแล้ว ซึงหม เห่งภิกษุ มพระพุทธเจ้า เป็นประมุข เป็นผู้มาแล้วย่อมเป็นฯ ต ปัจจย ทีใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ ห้ามแปลว่า ผู้, อ้น อุ ภฤขุ คามี ปิณุฑาย ปวิฎโจ. อ ภิกษุ ข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อก้อนข้าวฯ ต ปัจจัยทีประกอบวิกัตตินามเป็นปฐมบุรุษ เอกวจนะ หริอพหุวจนะ ประธาน เป็นม้ธยมบุรุษ หริออุตตมบุรุษ ต้องแปลว่า เป็น แล้วเติมธาตุที่รับริกติกัตตามารับให้ตรง บรุษกัน เซน ตวํ (อสิ) , ตุมฺเห (อตุถ), อห่ (อมหิ), มย่ (อมห) เป็นต้น อุ กห่ ปน ตฺว่ นิสินโน (อสิ) อิติ.(๑/๓๖) อ ทาน เป็นผู้นั่งแล้ว ณ ทีไหน(ย่อมเป็น)ฯ ต ปัจจัย ที ช้าสมาสกับศัพท์อื่นแล้วใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ไม่ไต้ไม่ว่าประโยคนั้น จะป็นประโ.คธรรมดาหริออนาทรพากยางค์ และลักษณะพากยางค์ต้องแปลว่าเป็น แล้ว www.kalyanamitra.org

พระมหาสมคิค จน.ตามใย ๖๙ ขึ้นกิริยาประกอบด้วยธาตุที่ร้บวิกติภัตตาได้มารับ ถ้าอยู่กลางๆ ก็ขึ้น ทุตฺวา ถ้าสุด ประโยค ก็ใช้ประกอบริภัตติอาขยาตมารับ อุ. เตสุ อนาถปิณฺฑิเกน เอกเมว ทิวส่ สตฺถารํ ปฌุโห น ยู่จุฉิตปุพฺโพ (โหติ). (๑/๔) อ.ปัญหา เป็นปัญหา อัน-ในซน ท.สองเหล่านั้นหนา เศรษฐีซื่อว่าอนาถปีณฑิกะ ไม่เคยทูลถามแล้ว ซึ๋งพระศาสดา ในรันหนึ่งนั่นเทียว (ย่อมเป็น)ฯ ต ปัจจัยที่ประกอบริภัตตินาม ตังแต่ ทุติยาริภัตติ จนถึง สัตตมีริภัตติ ต้องแปลว่า ผู้, อัน ทำ หน้าที่เป็นริเสสนะ (ยกเว้นที่ทำหน้าที่เป็นกิริยาคุมพากย์ประโยค อนาทร และ สักขณะ) อุ. อถนํ ตสุมึ ทีวเส อาคติ มาลากาโร อาห\"ฯเปฯ(อิติ). ครั้งนั้น อ.นายมาลาการ *■ .. .. B . ..a กล่าวแล้ว กะภรรยานั้น ผู้มาแล้ว ในรันนั้น ว่า ฯลฯ ด้งนี้ฯ พิเศษ ต ฟ้จจัย กฎการแปลนอกแบบที่ท่องในหอัก ริสฎโจ มาจาก ริ+สชฺ+ต-เ-สิ .I . 1/ . ส.ละแล้ว (อันเขา) แปลว่า สํสฎโจ สํ+สชุ-!-ต-เ-สิ ช้องแล้ว - ยิฎฺโจ ยชุ-!-อิ+ต-!-สิ \" (อันเขา) ทูซาแล้ว ปุฎฺโร ยู่จฺฉ-hต-!■สิ \" (อันเขา) ถามแล้ว \" ภฎโร ภฌุซ-!-ต-!-สิ (อันเขา) หักแล้ว ๅตุโถ วสุ-!-ต-!-สิ อยู่แล้ว ภคฺโค ภญช-!-ต-สิ (อันเขา) หักแล้ว สุฦโฃ สุสุ-fต-!-สิ แหังแล้ว ปฦโก ปจุ-!-ต-!-สิ (อันเขา) ให้สุกแล้ว (อันเขา) 'พรํ่าสอนแล้ว อนุสิฎโร อนุ-!-สาสุ-!-ต-!-สิ ทฑฺโฒ ทหฺ-!-ต-!■สิ (อันไฟ) ไหม้แล้ว (อันเขา) เผาแล้ว สงฺขโต สิ-!-กรุ-!-ต-!-สิ (อันเขา) กระทำแล้ว นิลีโน นิ-!-ลี-!-ต+สิ (แอบแล้ว) หลีกเร้นแล้ว ฃีโณ ซี-!-ต-!-สิ ฌามํ (เดห่) ฌา■เ-ต-!-สิ สินแล้ว สทโก สฤ-!•ต-!-สิ (อันไฟ) ไหม้แล้ว อาจแล้ว www.kalyanamitra.org

^o ดู่ม็รนรกเกณฑทารนปRบาร หลักการแปล ดูนาทิ ฟ้จลัยเป็น วิเสสนะ คือกิริยาที่ประกอบด้วย ตนๆทิ ชึ่งมีปัจจัย ๓ ตัว คือ ตูน, ตุวา, ตุวาน, ใช้แปลหลังนามได้ โดยไม่ต้องออกสำเนียงกาลว่า \"แล้ว\" แปลเช้ากับบทนามในฐานะริเสสนะ เซ่น รเปตฺวา (เว้น) กตุวา (กระท่า) อุปาทาย (เช้าไปถือเอา) เป็นด้น, รแปตฺวา (เว้น) อุ. อิทานีสฺส ม่ รโเปตุวา อญฝ ปฎิสรณ์ นตฺถิ. อ.ที่พึ่งอื่น เว้น ซึ่งเรา ย่อมไม่มี แก่ภิกษุนั้น ในกาลนั้ ฯ กตฺวา (กระทำ) อุ. \"อธิสีลสิกุฃา อธิจิตุตสิกฺขา อธิปฌฺฌไสิฤฃาติ อิมา ติสุโส สิกฺขา สิฤขนโต โสตาปตฺติมคฺคฎฺจ่ อไทึ กตุวา ยาว อรหตฺตมคฺคฎจา สตฺตวิโธ เสโขฯเปฯ. (^/๒ อรรถกถา)(อ.พระอริยบุคคล) ผู้มีอย่างเจ็ด กระทำ (ซึ่งพระอริยบุคคล) ผู้ตั้งอยู่ใน โสดาปัตติมรรคให้เป็นด้น เพยงใด(แต่พระอริยบุคคล) ผู้ตั้งอยู่ในอรหัตมรรค ซอว่าพระเสขะ เพราะการศึกษา ซึ่งสิกขา ท. สามเหล่านี้ คือ อ.สิกขาคือศีลอันยิ่ง อ.สิกขาคือจิตอันยิ่ง อ.สิกขาคือปัญญาอันยิ่ง ฯลฯ อุปาทาย (เข้าไปถือเอา) อุ.(อานนฺโท)\"ภนุเต ทาสกมุมกเร อุปาทาย สพฺเพ อๆโกสนุตีติ (อาห).(๒/๕๐) (อ.พระอานนท์ กราบทูลแล้ว) ว่า ช้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ซน ท. ทั้งปวง เข้าไปถือเอา ซึ่งทาสและกรรมกร ท. ย่อมด่า ด้งนี้ฯ หมายเหตุ ล้าแปลหลังกิริยาก็ได้ แปลเป็นกิริยาริเสสนะ (ส้มพันธ์เช้ากับกิริยา) หลักการแปล ดูทานิ ฟ้จลัยเป็น กิริยาวิเสสนะ ตูนาที ซึ่งมีปัจจัย ๓ตัว คือ ตูน,ตุวา,ตุวาน ใช้แปลหลังกิริยาไม่ออกสำเนียงกาลว่า \"แล้ว\" เริยกว่า แปลเป็น กิริยาริเสสนะได้ อุ. อถ สตุลา ต่ พยาธินา อภิภูติ กตุวา ทสฺเสสิ.(๕/๑๐๕)ล่าตับนั้น อ.พระศาสดา ทรงแสดงแล้ว ซึ่งรูปนั้น ทรงกระทำให้เป็นรูปอันพยาธิครอบงำแล้วฯ ยังมี รินีา แปลว่า เว้น (ศัพท์นิบาต) อฌฺ[บตุร เว้น (ศัพท์นิบาต) แปลหลังประธาน ท่าหน้าที่เป็น ริเสสนะ แปลหลังกิริยา ท่าหน้าที่เป็น กิริยาริเสสนะ ในที่นี้จะยก อุทาหรณ์ ที่แปลเป็น กิริยาริเสสนะ www.kalyanamitra.org

ฑ»ะมพา«พรด รนฺfทมใย ^® วินา (เว้น) อุ. ภควา นนฺทกุมารํ คเหต,วา คโต, ตุมฺเหหิ ต่ วินา กรสุสติ.(อิติ) (๑/®๐๗) อ.พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพาเอา ซึ่งพระนันทกุมาร เสด็จไปแล้ว นั่นเทียว, จักทรงกระทำ ซึ่งพระนันทกุมารนั้น เว้น จากพระองค์ ท-ฯ อณุฌตุร (เว้น) อุ, อชุชตคฺเคทานาห่ อาๅโส อานนฺท อณุฌคฺเรว ภควตา อณุฌตุร ภิฤฃุสงฺฆา อุโปสถ่ กริสุสามี สงฺฆกมฺมํ กริสุสามี (อิติ). (๑/๑๓๒) แน่ะอานนท์ ผู้มีอายุในกาลนั้มีวันนี้เรนเบี้องต้น อ.เรา จักกระทำ ซึงอุโบสถ, จักกระทำ ซึงล้งฆกรรม เว้นจากพระผู้มีพระเจ้า นั่นเทียว เว้น จากหมู่แห่งภิกษุ ต้งนั้ฯ หลักการแปล ดูนาทิ ปจจัยเป็น เหตุ บทกริยาที่ประกอบด้วย ตูนาที ปัจจัย ซึงมีปัจจัย ๓ ตัว คือ ตูน,ตฺวา,ตุวาน ปัจจัย ๓ ต้วนั้ ยังแปลหลังกิริยาคุมพากย์ได้อีก โดยใช้บอกเหตุแปลว่า เพราะ กิริยาทีประกอบด้วย ตูนาที ปัจจัย ที่แปลว่า \"เพราะ\" มีบทกัตตา (ผู้ทำ) ที่มีได้จำกัดว่าจะประกอบด้วยวิภัตติใด วิภัตติหนึ่ง ต่างจากบทภัตตา (ประธาน) ของกิริยาคุมพากย์ ทีอยู่หลังตน กิริยาด้พท์ที ประกอบด้วย ตูนาที ปัจจัยต้องไม่มี กิริยาและทีสุด แม้บทกิริยานามขยายตนอยู่ช้างหลังอีก ซึ่งจะแปลบทกิริยา ตูนาที ปัจจัยเป็นบทสุดท้าย แสดงบทภัตตา (ผู้กระทำ) ของกิริยาที่ประกอบด้วย ตูนาที ปัจจัย อุ. เสฎ?เตาข \"เสฎจิปุตฺโต โฆสโกติ นาม่ สุตฺวา ว เปม่ ฉวิอาทีนิ ฉินฺทีดฺวา อฎริมีณุซํ อาหจุจ จิตํ.(๒/๒๐) แสดงบทภัตตาของกิริยาคุมพากย์ ซึ่งอยู่ประโยคเดียวกัน อุ. เสฎเธีตาย \"เสฎริปุตุโต โฆสโกติ นามํ สุตฺวา ว เปมํ ฉวิอาทีนิ ฉินฺทีตฺวา อฏุเมีฌฺชํ อาหจจ ขิตํ.(๒/๒๐) แปล อ.ความรัก ตัดแล้ว ซึ่งอวัยวะ ท.มีผิวเป็นต้น จรดซึ่งเยื่อในกระดกตัง อยู่แล้ว แก่ธิดาของเศรษฐี เพราะฟ้ง ซึ่งซื่อว่า อ.นายโฆสกะ ผู้เป็น บุตรของเศรษฐี ด้งนี้เทียวฯ www.kalyanamitra.org

cVlo ถู่มอพรักเกณร?การนปลบาลี ประโยคเทียบเคียง ๑. ตํ สุตฺวา เสฎริโน ■■ย์ กาเรมิ, ตํ น โหติ,นย่ กาเรมิ ตเทว โหตีติ มหนฺต่ โทมนสฺสํ อุปุปชฺชิ. (๒/๒๒) อ. ความโทมนัสใหญ่ ว่า อ.เรา ย่อมยังบุคคลให้ทำ ซึ่ง กรรมใด, อ.กรรมนั้น ย่อมไม่มี, อ.เรา ย่อมไม่ยังบุคคลให้ทำ ซึ่งกรรมใด อ.กรรมนั้นนั่นเทียว ย่อมมีด้งนี้ เกิดซึ่นแล้ว แก่เศรใ!ดู เพราะฟ้ง ซึ่งคำนั้นฯ ๒. สา ■■อย่ เอตฺตกา สมฺปตฺติ ตยา มี นิสฺสาย ลทฺธาติ พุ๊เตตฺวา หสินฺติ อาห. (๒/๒๖} อ.ธิดาของเศรษฐี กล่าวแล้วว่า อ.ดิฉัน คิดแล้ภ่า อ.สมบัติ มีประมาณเท่านี้ อัน ท่านได้แล้ว เพราะอาศัย ซึ่งดิฉันด้งนี้ หัวเราะแล้ว ด้งนี้ฯ ๓. ติ นิ?[สาย พทํ ธนํ ขียิ,{๒/๒๖) อ.ทรัพย์มากสนไปแล้ว เพราะอาศัย ซึ่งท่านฯ ๔. เตสํ เอกสฺมึ ^าเน วสนฺตานั สํวาสมนุวาย ตสฺสา กุจฺฉิสฺมึ คพฺโภ ปติฎฺดูาสิ. (๒/๗๕) เมื่อชน ท.สอง เหล่านั้น อยู่อยู่ ในที่แห่งเดียวกัน อ.สัตว์ผู้เกิดแล้วในครรภ์ ดั้ง อยู่เฉพาะแล้ว ในท้องของหญิงนั้น เพราะอาศัย ซึ่งการอยู่พร้อมกันฯ ๕. รพฺโฌ ติ สุตฺวา อธิมตฺติ ทุโาขํ อุปฺปซฺชิ. {๑/๑๐๘)อ.ความทุกข์มีประมาณยิ่ง เกิดขึ้นแล้ว แก่พระราชา เพราะทรงสดับ ซึ่งข่าวสาส์นนั้นฯ หลักการแปล ประโยคกิริยาปธานน'ย ที่ใช้ ตุวา ปจจัยคุมพากย์ การแปลแยกออกเป็น ๔ แบบคือ แบบที่ ๑ ประโยคที่เริ่มด้นประธานเป็นพหุวจนะ จะจบลงที่ ตุวา ปัจจัย (ใช้คุมพากย์) หลัง ตุวา ปัจจัย จะมีประธานเป็นเอกวจนะ เป็นประโยคเต็ม อุ. เต สพฺเพปี ยาวตายุก่ จตุวา ฯเปฯ อิมสฺมี พุทุธุปฺปาเท เทวโลกา จวิตุวา เชฎจกกฎมฺพิโก กุกฺกุฎวตินคเร ราชกุเล นิพฺพตุติตุวา วยปฺปตุโต มหากปฺปินราชา นาม อโหสิ.(๔/๒®) อ.ชน ท. เหล่านั้น นั้งปวง ติารงอยู่แล้ว สิ้นกาลกำหนดเพียงไร แห่งอายุ ฯลฯ เคลื่อนแล้วจากเทวโลก ในกาลเป็นที่เสด็จอุบัติขึ้น www.kalyanamitra.org

พระมหา?)มคํค จินฺตามใย แห่งพระพุทธเจ้านี้ อ.กุฎมพีผู้เจริญที่สุดบังเกิดแล้ว ในร ซจกุลผ้ถึงเ ล้ว ซึ่งวัย เป็นพระราชาพระนามว่ามหากัปปีนะ ได้เป็น ล้วฯ แบบที่ ๒. ประโยคที่เริ่มด้นด้วยประธานเป็นพหวจนะ จะจบลงที ปัจจัย {ใช้ คุมพากย์) หลัง ตฺวา ปัจจัยเป็นประโยคเต็ม ตรงทีประโยคเต็มจะเ\"มด้วย สพพนามจํ พ ก เอก, เอกจุจ เป็นด้น อุ. เหฎราคงฺคาย จ เทฺว อิตฺถิโย นหายมานา ตํ กาชน อุทเกนาหรีย าน ทิสฺวา เอกา อิตฺถี \"มยฺหเมตํ ภาชนนฺติ อาห.(๘®๗๒) ก็ อ.หญิง ท.สอง อาบอยู่ ในแม่นํ้าคงคาในภย1ตั เห็นแล้วซึ:1ภชนะ นั้น อันๆ นี้าพัดมาอยู่ อ.หญิง คนหนึง กล วแล้วว่า อ ภาช ะนัน เป็นภาชนะของเรา (ย่อมเป็น) ด้งนี้ฯ แบบที่ ๓. ประโยคที่เริ่มด้นด้วยประธานเป็นเอกวจนะ จะจบลที ตวา ปัจจัย (ใ T คุมพากย์) หลังตฺวา ปัจจัยจะเป็นประโยคเต็ม ประโยคเต็มเริมด้นดวยประธ นเปนเอกว.'น - เช่น การปรินิพพานของ พระอานนท์ ในอากาศเหนือแม่นำ อุ. มม สรีรํ มซฺเฌ ภิชฺชิดุวา เอโก ภาโค โอริมตีเร ปตต (๓ ๗) อ.สรีระ ของเรา แตกแล้ว ในท่ามกล ง อ จวน สวนหนึ่ง จ--ตก ไปที่ร่งอันมีในฝืงในฯ แบบที่ ๔. ประโยคหน้าเป็นเอกวจนะ จะจบลงที่ ตฺวา ปัจจัย (ใช้คุมพากย์, หล้ง ตุวา ปัจจัย จะเป็นประโยคเต็ม ประโยคเต็มจะเริ่มด้วยบ ะรานทีเป็นพหุว.นะ อุ. ภิกุขุสตํ ฯเปฯ อรหตุตํ ปตุวา เวหาสํ อกภคคนตว สพฺ■พปี เต ภิฤเ ฯเปฯ (๙๗๘) อ.ร้อยแห่งภิกษุ กล รว เาว « V,ระอรหัต เหาะขึ้นแล้ว ส่เวหาส อ.ภิกษุ ท.เหลาแน ทั:วง า หลักการรวบ ๑๒ ประการ ๑. รวบด้วยอำนาจนิบาต ปี. ว, เอว, นาม {ศัพท์เหล่านืตดอกุ่กั^ '■. .ริยาคุมพากย ใม่ด้องรวบ) จ, วา เฉพาะแต่ที่ควบกับบทหรือประโยคเท่าน้น อุ. อถ นํ อสุสมปท่ เนตุวา สีลเภทํ อกดุวา ว อนุกมฺปาย ปฎิชคุคิ. {๒/๕) ครั้งนั้น อ.ดาบสนั้น นำ ไปแล้ว ซึ่งพระเทวีนั้น ส่อาศรม ไม่กระทำแล้ว ซึ่งความแตก www.kalyanamitra.org

^®' ภู่มํอฬสักเกณtfการนปสบาส แห่งสีลเทยว ปฎับัติเ ล้ว ด้วยความอนุเคราะห์ฯ ๒ รวบด้วยอ้านาจนิทธารณะซึ่งเป็นจำนวนที่รวมแล้วแยกกล่าวส่วนน้อย บทนิทธารณ จะประกอบด้วย ฉ้ฏฐีวิภ้ตติ กับสัตตมีวิภัตติ เท่านั้น ล้าหากมีบทวเสส!เะที่ขยายให้รวบ เปลด้วย เม-ไ เปลหมดเนื้อความให้หนุนคำว่า \"หนา\" เข้ามา เตสุ(โคเณสุ) เอโก(โคโฌ) มโต เทว.(เ|/๑®๓) ข้าแต่พระราชา อ-ในโค ท.เหล่านน หนา-โค ตัวหนึ่ง ตายแล้วฯ ๓ รวบด้วยอำนาจ ย ปัจจัยในนามกิตก์ ซึ่งมี ตูนาที ปัจจัย ขยาย อ, อตฺตโน ปฌฺณานุรูเปน เอกํ วา เทฺว วา นิกาเย สกลํ วา ปน เตปีฎกํ พุทฺธวจนํ อุคคณฺหิตฺวา ตสฺส (พุทฺธวจนสฺส) ธารณํ กถนํ วาจนนฺติ อิท่ (ธุร้) คนฺถธุรํ นาม ๑/๗) อ ธุระนื้ คือ อ.อันเรียน ซึ่งนิกายหนึ่ง หรือ หรือว่า ซึ่งนิกาย ท.สอง ก็หรือว่า ซึ่งพระพุทธพจน์ คือหมวดแห่งปิฎกสามทั้งสิ้น โดยสมควรแก่ปิญญา ของกนแล้วจืงทรงไว้ กล่าว บอก ซึ่งพระพุทธพจน์นั้น ซื่อว่า คันถธุระ ฯ cr รวมด้วยอำนาจเนื้อความ คือ แปลแยกใม่ได้ความไพเราะในเชงอรรถ จัง จำ เป็นต้องรวบ:สื่อให้ได้ความหมายทีถูกต้องทางภาษา อุ นบนมํ ปพฺพาเชนุต. (๕/๒)แต่ว่า อ.ภิกพุ ท.ย่อมไม่ยังข้าพระองค์ให้ บวชฯ ๕ rบด้วยอานาจสัมพันธ์เข้าครึ่งคัพท์ซึ่งล้าแปลแยกบทย่อมเสียเนื้อความและสัมพันธ์ อ เถรสุส อาคตภาว่ ชานาสิ. อ.ท่าน ย่อมรู้ ซึ่งความที่แห่งพระเถระเป็น ผู้มาแล้วฯ ๖ ■ทบด้ว ม่อานาจวิกติกัตตา ที่หนุนคำแปลว่า \"เป็น\" ร ตทา าตฺตาโร มหฤลกภิกขู จตุตาโร พีฬาลา อเหสํ,(๔/๕๓) อ.ภิกพุผู้แก่ ท. ๕ รูป เป็นแนว ๔ ตัว ได้เป็นแล้ว ในกาลนั้นฯ ๗ ร\"i ด้วยอำนาจอุปมา ที่มี อิว (เพียงด้ง) วิย (ราวกะ) ยถา ราวกะ อยู่ด้วย อุ ตสุสา วีหิปหรณกาเล นุสสํ มุทฺธํ ปหรนุตํ วิย อุปฎจาติ. (๑/๕๘) อ.สาก ราวกะว่า ประหารอยู่ ซึ่งศรีษะ ย่อมปรากฎแก่นางยักษิณีนั้น ในกาลเป็นที่ซ้อม ซึ่งข้าว เปสีอก'^ ๘. รวบด้วยอำนาจ ตุ่ ปัจจัยในนามกิตก์ ที่เป็นปฐมาวิภัตติ (อ.) นิยมแปลรวบ ยกเว้นอาลปน นิบาต ส่วนที่เป็น จตุตฺสีวภัตติ (แปลว่าเพอ) ล้าเนื้อความไม่เกี่ยวเนื้องกัน www.kalyanamitra.org

«JSมหาสมค็« จํบุตามใย ฟCfc ไม่ต้องรวบ อุ.ภิกุ'!^นา นาม เอวํ จิตฺตวสิเกน ภวิตํ น วฎฺฎติ.{๒/๑๑๖) อ.อันชื่ออัน ภิกชุ เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งจิตอย่างนี้เป็น ย่อมไม่ควรฯ ๙. รวบด้วยอำนาจ ณ, ณฺๅ ปัจจัยนามกิตก์ อุ. ตตฺถ \"จรนุติ อิริยาปถจารํ อคุคเหตุวา มนสา จาโร เวทีตพฺโพ. (๓/๑๑๙) อ.อันไม่ถือเอาซึ่งอันเที่ยวไปด้วยอิริยาบถ แล้วจึงเที่ยวไปด้วยใจ อันบัณฑิต พึงทราบในบท ท.เหลานั้นหนา แห่งบทว่า จรํ ดังนี้ฯ อุ.ตทา กิร วฑุฒกีหิ ปาทสฺส อโรคกรณภาเวน กตํ อตุตโน อุปการํ ณฺตวา สพฺพเสตสฺส หตุอิโปฅกสุส ทายโก เอกจาริโก หตุถี สารีปตตฺเถโร อโหสิ. (๙/๓) ไต้ยินว่า อ.ช้างผู้เที่ยวไปตัวเดียว ผู้รู้ซึ่งอุปการะ อันนายช่าง ท.กระทำแล้วแก่ตน ด้วยความเป็นคืออันกระทำ ซึ่งเท้าไห่ไปปราศจากโรคแล้วจึงไห่' ซึ่งช่างผู้ลูกน้อย ผู้มีอวัยวะทั้งปวงขาว ในกาลนั้น เป็นพระเถระซื่อว่า สารีบุตร ได้เป็นแล้ว ในกาลนี้ฯ ๑๐. รวบด้วยอำนาจ ต,อนุต.มาน,ปัจจัย ที่แจกตั้งแต่ ทุติยาวิภัตติจนถึงสัตตม็วิภัตติ ทำ หน้าที่เป็นวิเสสนะ อุ. อิมํ ธมุมเทสนํ สตถา สาวตฺถิยํ วิหรนุโต สปริสํ โอเฆน อชฺโฌถริตุวา มาริดี วิฑูฑภํ อารพฺภ กเถสิ.(๓/๕) อ.พระศาสดา ประทับอยู่ในเมืองสาวัตถื ทรงปรารภ ซึ่ง พระเจ้าวิฑูๆาภะ ผู้เป็นไปกับด้วยบริษัท ผู้อันห้วงนำทวมทับแล้วจึงใน้ตายแล้ว ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ฯ ๑๑. รวบด้วยอำนาจ ภาว ดัพท์ ตฺต, ตา ปัจจัยในต้ทธิต อุ.เสฎเ อตุตนา ปาสิดํ วนปฺปตึ นํสฺสาย ลทฺธตุตา ตสุส \"ปาโลติ นามํ อกาสิ. (๑/๓) อ.เศรา:ดู ไต้กระทำแล้ว เพราะความที่แห่งบุตรนั้นเป็นผู้อันตนอาศัยซึ่งด้นไม เป็นเจ้าแห่งป่าอันตนรักษาแล้วจึงได้แล้วฯ ๑๒. รวบด้วยอำนาจความน้ยม ก. ดัพท์เหมือนกัน อุ. อมุหากํ ยานกสุส ปจฺฉโต ปจฺฉโต อาคจฺฉสิ.{๒/๑๕๒) อ.ท่าน ย่อมมา ข้างหลัง ๆ แห่งยานน้อย ของเรา ท.ฯ www.kalyanamitra.org

cVb ถู่มธพสักเกผฑ'กา:นปลบาลี ข. น, โน มา ปฏิเสธบทใดนิยมให้รวบบทนั้น อุ. มา เอวํ วเทถ.(๓/(T๓) อ.ท่าน ท. จงอย่ากล่าว อย่างนี้ฯ ค. นาม,วต,โข มญเโข นิยมรวบกับบทนั้น อุ. ภนฺเต ตุมฺเห อตุถเมว ชานาถ มฌฺเณ.(๔/๑๐๗) ข้าแต่ท่านผู้เจริญอ,พระองค์เห็นจะย่อมรู้ซึ่งสิงอันเป็นประโยชน์นั่นเทียวฯ ง. บางบท บางประโยค มีความนิยมในการรวบเฉพาะรายไม่ทั่วไป อุ. ปาโป ชาโตสิ สามเณร.(๑/๑๕) ดูก้อนสามเณร อ.เธอ เป็นผู้ลามก เกิดแล้ว ย่อมเป็นๆ หลักการเติมรูปประโยคตางๆ ๑. ประโยคอักขณะ ให้เติมอักขโนะกิริยา คือ สมาเน,(สติ). สมาเนสุ, สนฺติยา, สนุตีสุ, เป็นต้น เมื่อกิริยาคุมพากย์ของประโยคอักขณะต่อกับศัพท์อื่น และต้องเติมให้มี ลิงค์ วจนะ วิภัตติ เสมอกัน อุ. เอโก กิร กุฎุมฺพิโก ปิตริ กาลกเต(สน.เต)เฃตฺเตจฆเร จ สพฺพกมฺมานิ อตฺตนา ว กโรนฺโต มาตริ ปฏิซคฺค.(๑/๔๒) ไต้ยินว่า อ.บุตรแห่งกุฎุมพี คนหนึ่ง, ครั้นเมื่อบิดา เป็นผู้มีกาละ อันกระทำแอัว (มือขู่), กระทำอยู่ ซึ่งการงานทั้งปวง ท.ในนาต้วย ในเรือนด้วย ด้วยตนเทียว ปฏิบัติแล้วซึ่ง มารดาฯ ๒. ประโยค อนาทร ให้เติม อนาทรกิริยา คือ สมานสุส, สมานานํ, สนติยา, สนฺตีน่ เป็นต้น เมื่อกิริยาคุมพากย์ของประโยคอนาทรต่อกับศัพท์อื่น การเติมขึ้นมานั้นต้องให้มีลิงค์, วจนะ, วิภัตติเสมอกัน อุ. ตสุส ยู่ตุตสุส วยปฺปตฺตสุส(สมานสฺส)ปิตา กาลมกาสิ, เมื่อบุตรนั้น เป็นผู้ถึงแล้วซึ่งวัย (มือขู่) อ.บิดา ได้กระทำแล้ว ซึ่งกาละฯ ๓, ประโยคที่มี '■ยถาห\" ให้เติม ธมฺมสงฺคาหกตุเถโร หรือ ธมฺมสงุคาหกาจริโย และประโยคหลังให้เติม เอวมาห เข้ามา อุ.(ธมุมสงฺคาหกาจริโย) ยถาห,(ขมุมสงฺคาหกาจริโย) เอวมาห '■อห่ โข อากิโนุโณฯเปฯ วูปกฎุโจ วิหเรยุยนติ.(๑/๕๓)(อ.พระธรรมสังคาหกาจารย์)กล่าวแล้วอย่างไร? www.kalyanamitra.org

พ?รนพา{เม?,ด จํโ4พามใย ^^ (พระธรรมสังคาหกาจารย์) กล่าวแล้ว อย่างนี้ว่า ครั้งนั้น อ.ความคิดนัน ได้มีแล้ว แก่ ช้างนั้น ว่า อ.เราแล เกลื่อนกล่นแล้ว ฯลฯ ผู้หลีกออกแล้ว (จากฝูง) พึงอยู่ ด้งนี (ดังนี)ฯ ๙. ประโยคที่บทว่า เอตทคฺคํ-ยทิท์ ให้เติม ฃนฺธปฌฺจกํ เช้ามา อุ, อถ นํ สตฺถา เอตทคคํ (ขนฺธปฌุจกํ) ภิทขเว มม สาวิกาน่ อุปาลีกานํ ธมุมกถิกาน, ยทิทํ (ขนฺธปณฺจกํ) ชุซฺซุตฺตทติ เอตทคฺเค จเปลี.(๒/๙๘} ครังนัน อ. พระศาสดา ทรงตั้งไว้แล้ว ซึ่งนางอุชชุตรานั้นในเอตทัคคะ ว่า ดูก่อนภิกใ^ ท.อ.ขันธ ปีญจก นีใดคือ อ.นางใเชชุตรา, อ.ขันธป็ญจกนั่น เป็นเลิศแห่งอุบาสิกา ท.ผู้เป็นสาวิกา ของเรา ผู้เป็นธรรมกลีกา ย่อมเป็น ดังนี้ฯ ๕, ประโยค กาโล \"เวลา\" ไม่มีบทลื่นเป็นประธานให้เติม อย์ กาโล ประโยค เวลา ให้เติม อยํ เวลา เช้ามาให้ตรงกับลิงค์ที่ปรากฎอยู่ อุ.กาโล อาๅโส (อยํ กาโล โทติ).(๑/๑๑) ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ.กาลนี้เป็นกาล ย่อมเป็น ฯ อุ. ภิทขาจารเวลา (อยํ เวลา) ภนุเต. (๑/®') ช้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.เวลานี เป็นเวลาเป็นที่เที่ยวไปเพี่อภิกษา ย่อมเป็นฯ ๖. ประโยคที่มีบทว่า สาธุ เพียงบทเดียว หริอสองบท ล้าเลขนอกยังไม่จบประโยค คือยังมีบทเหล่าลื่นต่อไปอก ช้างหลัง อติ ดัพท์ จะด้องขึ้น สมุปฏิจฺฉิตฺวา มาเปิด แล้วแปล เลขในเลย แต่ล้าเลขนอกไม่มีดัพท์ลื่นต่อช้างหลัง อิติ ดัพท์ สุดเนื้อความ ขึ้น สมุปฎิจฉิ สาธุ เลขในแปลว่า อ-ดีละ อุ. สุมุภกาโร \"สาธุติ (ลมฺปฐจุฉิ.)(๒/®๗) อ. บุคคลผู้กระท่าซึ่งหม้อ รับ พร้อมแล้วว่า อ.ดีละ ดังนี้ ฯลฯ. ๗. ประโยคเลขนอกที่มี อนุโมทนํ อกาลี เลขในจะมี เอวํ โหตุ เรียกกันว่า อนุโมทนาทานให้เติม ตยา ปตฺลีตปตฺถนํ หรีอ ตุมุเหหิ ปตฺลีตปตฺถน่ แปลว่า อ.ความ ปรารถนา อันท่าน (อันท่าน ท.)ปรารถนาแล้ว อย่างนี โหตุ แปลว่า จงสำเร็จ อุ. สตฺถา \"เอวํ โหตูติ อนุโมทนํ อกาลี.(๑/๘®') อ.พระศาสดา ได้ทรงกระท่าแล้ว ซึ่งการอนุโมทนา ว่า อ.ความปรารถนา อันท่านปรารถนาแล้ว อย่างนี้ จงสำเร็จ ดังนี้ฯ ๘. ประโยค นาคโสณฺฑิ เลือกเติมได้ ๒ วิธี ดังนี้ ก. เมื่อยังไม่ได้แปลประโยค นาคโสณฺฑิ ให้เติม ห้ (เพราะว่า) เช้ามาเพียงดัพท์ เดียวแทนการเติมประโยคหน้าทั้งหมดก็ได้ www.kalyanamitra.org

15)3อพสัก1ทณฑการแปรบาร อุ.สยมาโน น คจุฉไมิ,(หิ)นตฺถ พาเล สหายตา.(๑/®cf) อ.เรา นอนอยู่ จะไม่ไป. (เพราะว่า) อ.คุณเครื่องความเป็นแห่งสหาย ย่อมไม่มี ในเพราะชนพาลฯ ข. เมือแปลประโยค นาคโสณฺฑิ จบลงแล้ว ให้เติม ตสฺมา ยสฺมา พร้อมด้วย ประโยคหน้าเข้ามา อุ. สยมาโน น คจุฉามิ,นตฺถิ พาเล สหายตา (ยสุมา),(ตสุมา) สยมาโน น คจฺฉามี.(๑/๑๕) อ.เรา นอนอยู่ จะไม่ไป, อ.คุณเครื่องความเป็นแห่งสหาย ย่อมไม่มี ในเพราะซนพาล เหตุใด, เพราะเหตุนั้น อ.เรา นอนอยู่ จะไม่ไปฯ ๙. ประโยคเลขนอกพูดถึง ข่าวสาส์น,ปรบมือ,โฆษณา.ตีกลอง,เป็นต้น ให้เติมหลัง อิติ ศัพท์ว่า โบาปนเหตุกํ แปลว่า มีอันให้รู้...เป็นเหตุ อุ. เถโร ฯเปฯ \"ตุว่ ปมาณ่ น ชานาสีตี (พาปนเหตุกิ) อจฺฉรั ปหริ. (๑/๘) อ.พระเถระฯลฯ ประหารแล้ว ซึ่งนิ้วมือ มีอันให้รู'ว่า อ.ท่าน ย่อมไม่รู้ ซึ่งประมาณ ด้งนิ้ เป็นเหตุฯ ๑๐. บทวิกติกัตตา แปลว่า เป็น ถ้าอยู่กลางประโยค ให้เติม หุตฺวๆ ถ้าอยู่ที่สุดประโยค ให้เติมธาตุที่สามารถรับวิกติถ้ตตาได้ ธาตุที่รับได้มื a ตัว คึอ ชน. อส. ภู. ทุ ธาตุ และ ต้องประกอบด้วยวิภัตติที่คล้ายตามรูปของบทประธานและต้องประกอบกาลตๅมเนิ้aความที่บ่งอยู่ เช่น ปัจจุบันกาล ประธาน เป็น ปฐมบุรุษ เติม โหติ เป็นต้น * อุ. กุมาโร นิวตฺติตุกาโม (ทุตฺวา) อรุจิยา คจุฉนฺโต ตถาคตคารเวน \"ปตฺตํ คโแหถาติ วตฺตํ น สกฺโกติ. (๑/๑๐๖) อ.พระกุมาร เป็นผู้ใคร่เพี่ออันเสด็จกลับ (เป็น) เสด็จไปอยู่ ด้วยความไม่ชอบพระทัย ย่อมไม่ทรงอาจ เพี่ออันกราบพูล ว่า อ.พระองค์ขอจง ทรงรับ ซึ่งบาตร ด้งนิ้ ด้วยความเคารพในพระตถาคตเจ้าฯ * อุ. \"อหํ ตาต กุมาโร (อมฺหิ) ,(๑/๑๐๗) ข้าแต่เสด็จพ่อ หม่อมฉัน เป็นกุมาร (ย่อมเป็น) ฯ ๑๑. บทวิกติก้มมะ ที่แปลว่า ให้, ให้เป็น ถ้าไม่มี ฤร ธาตุ เวลาแปลต้องขึ้นมา อุ. ราชปุริสา ติ ปจุฉาพาห่ (กตุวา) พนฺธิตฺวา กสาหิ ตาเลนตา อาฆาตน นยึสุ. (๓/๑๓๒) อ.ราชบุรุษท.ผูกแล้ว ซึ่งชาวนานั้น(กระทำ)ให้เป็นผู้มีแชนในภายหลัง เฆี่ยนอยู่ ด้วยหวาย ท.น่าไปแล้ว ^ตะแลงแกงฯ www.kalyanamitra.org

vtjsuwnflum รํบุดามโย ฟ9! ๑๒, บทสมาสที่มีบทวตฺชุ ต้นเรื่องให้เติม มย.ๆ ๅจฺจเต เสมอ อุ. ติสฺสตุเถรวตฺธุ (มยา ๅจฺจเต),(๑/๓๕) อ, เรื่อง แห่งพระเถระชื่อว่าติสสะ (อันเรา จะกล่าว)ๆ ๑๓. บทสมาสที่มีบท วตุชุ ต่อท้ายและเรียงอยูในที่สุดเรื่องนิทานให้เติม นิฎฺรีต่ เข้ามา อุ. จฤฃุปาลตุเถรวตุชุ (นิฎจิตํ).(๑/๒๒) อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าจักฃบาล (จบแล้ว)ฯ หลักการแปลพิเศษ ๑. บทนามนามที่ประกอบด้วยฉ้ฎฐีวิภัตติอยู่หน้า ยู่ร. ธาตุ ให้แปลห้ก วิภัตติเป็น ตติยาวิภัตติ ออกสำเนียงอายตนิบาตว่า \"ด้วย\" อุ. โส วาณิโซ ปญจสกฎสตานิ ภณ.ฑสฺส ยู่เรต.วา ภิกฺขนํ อาโรจาเปสิ. ๕/๒๐ อ. พ่อค้านั้น ยังร้อยแห่งเกวียน ห้า ท,ให้เต็มแล้ว ด้วยภัณฑะ ยังบุคคล ให้บอกแจ้งแล้ว แก่ภิกนุ ท.ฯ ๒. ประโยคที่มี เจ, สเจ, ยทิ อยู่ด้วยเวลาแปลจบประโยคให้เติมคำแปลว่า \"ไซร้\" เสริมมาทุกครั้ง อุ. โภติ สเจ เว๗ อาเนสฺสามิ.(๑/๒๐) แน่ะนางผู้เจริญ ล้าว่า อ.เรา จักน่ามา ซึ่งหมอ ไซร้ ฯ ๓. ตโต ขึ้นต้นประโยค แปลว่า ในลำดับนั้น ตโต อยู่เดี่ยวในเลขในแปลว่า ใน ภายหลัง ตโต อยู่คํภับ ปฎจาย ต้องโยคต้วนามเข้ามา เช่น ตโต (ทิวสโต) แต่วันนั้น ตโต (กาลโต) แต่กาลนั้น อุ. (กาลโต)ปฎจาย อุโภปิ (สหายกา) เอกฎุจาเน ติฎฺจนฺติ นิสีทนฺติ.(๓/๙๙) อ.สหาย ท.แม้ทั้งสอง ย่อมยืน ย่อมนั่ง ในที่แห่งเตยวภัน จำ เติมแต่กาลนั้น ฯ ๔. อถ เรียงอยู่ต้นประโยค แปลว่า ครั้งนั้น,สำ ด้บนั้น(อยู่เลขนอก) อถ ใช้แทน สเจ แปลว่า ถ้าว่า อถ ใช้แทน ตโต แปลว่า ในภายหลัง อถ อยู่ภายในเลขใน โยค ภาเว เติม สใ4เต อุ. \"อถ มนุสุสา โสสานิกาน่ ปริปนุถํ กโรนุติ ฯเปฯ (๑/๖๓) ครั้นเมื่อความ เป็นอย่างนั้น (มีอยู่) อ.มนุษย์ ท.จะกระท่า ซึ่งอ้นตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ (แก่ภิกษุ ท.) ผู้มีอ้นอยู่ในปาช้าเป็นปกติ ฯ www.kalyanamitra.org

คู่รอพสักเกโนฑการนปflบาร ๕. ทารแปล บททุติยาวิภ้ตติ ไม่ออกสำเนียงอายตนิบาต เรียกซื่อสัมพันธ์ว่า กิรียา วิเสสนะ นอกเหนือจากพวกนิบาตแลว ยังมีจำพวกที่สำเร็จมาจากนามกิตก์ก็มี ข้อสังเกต การแปลให้นักศึกษาดูธาตุที่ชํ้ากับกิริยาตัวทุติยาวิภัตติ ไม่ต้องออกสำเนียงอายตนิบาต แปล ตามตัพท์ อุ, ตถาคโต หิ ฯเปฯ เอกเมว วสฺสาวาสํ วสื.(๑/๔)(วส ธาตุ) จริงอยู่ อ-พระคถาคต ฯลฯ ประทับอยู่แล้ว ประทับอยู่ฅลอดพรรษา หนึ่งาแนเทียวฯ สำ นวนประโยค เซ่น (วซ ธาตุ) อิสิปพุพชฺซํ ปพฺพซิ, บวชแล้ว บวชเป็นฤษี ฯ (รว ธาตุ) หตฺสิรวํ รวิ. ร้องแล้ว ร้องเพียงตังข้าง ฯ ๖. ข้อสังเกตการแปลบทบางบท ที่ใข้สำเนียงอายตนิบาต ต่างกันคือ ทุติยากับ สัตตมี เซ่น ทิวเส, มาเส,วาเร, สํวจฺฉเร เป็นต้น ในเมื่อมียู่รณสังขยาอยู่หน้า แปลว่า (ไน) อุ. สาปี โข สุนขี ฉฎุเธ วา สตุตเม วา มาเส เอกเมว กุฤฤรํ วิชายิ. (๒/๑๐) อ.นางสุนัข แม้นั้นแล คลอดแล้ว ซึ่งลูกสุนุฃตัวหนึ่ง นั้นเทียวในเดือน ที่ หกหรีอ หรีอว่าที่เจ็ดฯ ล้ามี ปกติสังขยา อยู่หน้า แปลว่า สิ้น ท. อุ. โคปาลโก นิพทฺธํ เทฺว วาเร ปจฺเจกพุทุธสฺส อุปฏฺจานิ ยาติ.(๒/®๐) อ.นายโคบาล ย่อมไป ส่ที่เป็นที่บำรุง แห่งพร์ะปีจเจกพทธเจ้า สิ้นวาระ ท.สอง เนึ่องนิตย์ฯ ๗. หิ สํพท์ที่มี ตสฺมา อยู่ในประโยคหลัง หรือมี กิการณาอยู่ในประโยคหน้า ให้แปล ห ว่า เหตุใด หรือ เพราะว่า อุ. ทนฺธ่ กตํ กุสลํ หิ สมุปตฺตึ ททมานิ ทนฺธเมว ททาติ, ตสฺมา จิตฺตุปฺปา- ทสมนนตรเมว กลฺยาณกมฺม่ กาตพฺพ่.(๕/๔) อ.กุศลอันบุคคลกระทำแล้ว ข้า เมื่อจะให้ซึ่งสมบัติ ย่อมให้ข้านั้นเทียว เหตุ ใด เพราะเหตุนั้น อ.กรรม อันงาม อันบุคคลพีงกระทำไนสำตับแห่งจิตตุปบาท 'น M นนเทยวฯ www.kalyanamitra.org

พระม มคิด คิบุตามใย €®«> ๘. สัพท์ที่จะต้องใช้แปลคู่กัน มีต้งต่อไปนี้ กึ (หรือ) คู่กับ อุทาทุ (หรือว่า) ยสฺมา (เหตุใด) คู่กับ ตสฺมา (เพราะเหตุนั้น) ยถา (ฉันใด) คู่กับ เอว์ (ฉันนั้น) ตถา (ฉันนั้น) ยถา (โดยประการใด) คู่กับ ตถา (โดยประการนั้น) กํณฺจาปิ (แม[ดยแท้) คู่กับ ปน (ถงอย่างนั้น) ยาว (เพียงใด) คู่กับ ตาว (เพียงนั้น) ยตฺตกา (มีประมาณเพียงใด) คู่กับ ตตุตกา(สันมีประมาณเพียงนั้น) อุ.\"ยถา ปน ทารุอาทีหิ นิปผนฺนานิ ตานิ ตานิ ภณุฑานิ ทารุมยาทีนิ นาม โหนุติ,ตถา เอเตปิ มนโต นิผนุนตฺตา มโนมยา นาม.(๑/๒๑) เหมือนอย่างว่า อ.ภัณฑะ ท.เหล่านั้นๆ สันสำเร็จแล้ว (แต่ล้มภาระ ท.) มีไม้เป็นต้น ชื่อว่า เป็นกัณฑะมืกัณฑะสำเร็จแล้วแต่ไม้เป็นต้น ย่อมเป็น ฉันใด, อ.ธรรม ท.แม้ เหล่านั้น ชื่อว่าเป็นสภาพสำเร็จแล้วแตใจ เพราะความที่ {แห่งธรรม ท.) เป็น สภาพสำเร็จแล้วแต่ใจ (ย่อมเป็น)ฉันนั้น ฯ ๘. หิ, จ, ปน อยู่หลัง ยถา ในอรรถกถา ท่านให้แปลว่า เหมือนอย่างว่า อุ. ยถา หิ เขฟสิงฺฆาณิกาทิอสุจิมกฺขิตฎฺจานํ เตเหว อสุจีหิ โธวนุโตปี สุทฺธํ นิคฺคนุธํ กาตุ๊ นํ สฤโกติ. (อยู่ในแก้อรรถ ๑/๙๗) เหมือนอย่างว่า (อ.บุคคล) แม้ล้างอยู่ ชื่งที่สันสันของไม่สะอาดมีนั้าลายและนั้ามูกเป็นต้นเปีอนแล้ว ด้วยของไม่สะอาด ท. เหล่านั้น นั่นเทยว ย่อมไม่อาจ เพื่อสันกระทำให้เป็น ที่หมดจดแล้ว ให้เป็นที่มีกลิ่นออกแล้วฯ อุ. ยถา ปน ตานิ เขฬาทีนิ อสุจินิ วิปุปสนเนน อุทเกน โธวิยมานานิ วินสฺสนุติ. (อยู่ในแก้อรรถ ๑/๔๗) เหมือนอย่างว่า อ.ของไม่สะอาด ท.มีนั้าลายเป็นต้น เหล่านั้น สันสันบุคคลล้างอยู่ ด้วยนั้า สันใส่วิเศษแล้ว ย่อมเลือนหาย ฯ ๑๐. ตุมฺเห ปน มาคู่กันในประโยคเดยว ท่านให้แปลว่า ก็ อ.ท่านเล่า อุ.\"ตุมุเห ปน สามื (อิติ) (๑/๖) ช้าแต่นาย ก็ อ.ท่าน เล่าฯ www.kalyanamitra.org

๘๒ คู่มิรนรกเกผฑการนปลบาสิ พิเศษ กิริยาอาขยาด ธาตุเหล่านี้ถ้าแปลงเป็นอย่างอื่นลง วิภัตติหมวด ภวิสฺสติ คือลบ สฺส ทิ้งเสียงบ้าง คงไว้แต่ ติ, อนุติ, สิ, ถ, อามิ. อาม ในที่นี้จะ ยกตัวอย่างที่ลบ สฺส คงไว้แต่ ติ เท่านั้น วส ธาตุ แปลงเป็นวจฺฉ เช่น วจฺฉติ แปลว่า จักอยู่ วจ ธาตุ แปลงเป็นวกุข เช่น วฤฃติ แปลว่า จักกล่าว ลภ ธาตุ แปลงเป็น ลจุฉ เช่น ลจฺฉติ แปลว่า จักได้ ทิส ธาตุ แปลงเป็น ทกฺข เช่น ทฤขติ แปลว่า จักเห็น กร ธาตุ แปลงเป็น กาห เช่น กาหติ แปลว่า จักกระท่า คัพท์ที่ละม้ายกันเพื่อเทึยบเคียงให้เห็นความต่างกัน อจฺฉริย่ น่าอัศจรรย์ อจฺฉรํ นี้วมีอ กิณฺจิ กฌุจิ อะไรๆ ซึ่งใคร ๆ กิร กรี ได้ยินว่า กระท่าแล้ว ปิฎฺเ ปีฎฺรํ หลัง แป้ง สนุติก่ สำ นัก สนุตก่ ภิฤฃ่ ภิกษา เป็นของมีอยู่ สิปุป ติลปะ ภิกุฃุ ภิกษุ สิง มกฺกโฎ สปุป ง โสณฺฑิ งวง ปฤกนุโต มกกฎโก ข หลีกไปแล้ว สณฺโฑ นิ'ผุพตฺติ บังเกิดแล้ว ปกฺกมนุโต แมลงมุม ทสฺสนตฺถาย เพื่อด้องการแก่อันดู นิพฺพตฺตติ จัฎ ทสุสนตฺถํ อา!jจฺฉน์ อ่าลา, ถามโดยเอื้อเฟิอ ไเจุฉน่ หลีไปอยู่ ย่อมบังเกิด เพื่ออันดู ถาม www.kalyanamitra.org

พรมหาสนคํด จํ!4ตาพโย ๘๓ ศัพท์สก้ดไม่ต้องออกสำเนียงคำแปลมีไว'สำหรับต่อท้ไยศัพท์ เพื่อให้มีลิงค์ ดรงกันกับตัวนาม อทาหรณ์ เช่น อนฺต ตัวอย่าง เช่น สุตฺตใ4ต่ - พระสูตร คต ตัวอย่าง เช่น ทิฎเคต่ - ทิฎฐิ ชาติ ตัวอย่าง เช่น วณุณชาติ - วรรณ (อิตฺ ก ตัวอย่าง เช่น ยุตฺตกํ - ควรแล้ว กมุม ตัวอย่าง เช่น ปณุหากมฺม่ - ปัญหา ชาต ตัวอย่าง เช่น สททซาต่ - ศัพท์ (iสํยง รูป ตัวอย่าง เช่น อตุถรูป - อรรถ ศัพท์อยางเดียวกันแต่แปลไต้หลายนัย อสฺส ม้า อสุส พึงมี อสุส นั้น อสฺส นี้ ปตฺต บาตร - ใบ ปตฺต ถึงแล้ว โหตุ จงสำเร็จ ( เอว่ ปตุถิตปตุถนา) โหตุ จงมี อฌฺฝ อื่น อณุถ] (พุยากใรติ ) ซึ่งพระอรหัตตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง มตุต ประมาณ ( ต่อกับสังขยา) มตฺต สักว่า (ไม่ต่อกับสังขยา) หลักการกำหนดรูปคาถา เพื่อนำไปใช้ในเวลาแปลแก้อรรถ ฉันท์ที่พบมาก ๑. ปัฐยาวัตร ๙. อินทรวงส์ ๒. อินทรวิเชียร ๕. วังสัฎฐ ๓. อุฟนทรวิเชียร ๖. วสันตดิลก ปิฐยาวัตร ( มีมากในธรรมบท ภาค ๑ - ๘) มี ๘ อักษร หรือ ๙ เป็น ๑ บาท, ๙ บาท เป็น ๑ คากา www.kalyanamitra.org

^^ คู่รอพรักเทณรไ'กา!แปสบาล อินทรวิเชียร, อุเปนทรวิเชียร มี ๑๑ อักษร เป็น ๑ บาท. ๔ บาทเป็น ๑ คาถา อินทรวิเชียร เช่น โย จฤขุมา โมหมลาปกฎโร ฯเปฯ อุเปนทรวิเชียร เช่น ย จกฺฃุมา โมหมลาปกฎโร ฯเปฯ อินทรวศ์, วังสัฎฐ มี ๑๒ อักษร เป็น ๑ บาท, ๙บาท เป็น ๑ คาถา อินทรวงษ์ เช่น ยา เทวตา สนฺติ วิหารวาสินี ฯเปฯ วังสัฎฐ เช่น ย เทวตา สนฺติ วิหารวาสน ฯเปฯ วสันตดิลก มี ๑๙ อักษร เป็น ๑ บาท, ๙ บาท เป็น ๑ คาถา เช่น พาทุ่ สหสุสมภินิมฺมีตสาวุธนฺต่ ฯเปฯ คำ แปลคาถา ถ้าเป็นพระพุทธเจ้าตรัส แปลว่า พระคาถา นอกนั้น แปลว่า คาถา ในที่นจะอธิบาย!]ฎฐยาวัตรฉันท์ พร้อมทั้งยกคาถามาให้ดู เพื่อให้นักศึกษา ได้ลองนับอักษร เพื่อสะดวกในการกำหนดขึ้นได้ถูกต้อง {ฉันท์ อื่นก็พึงเทียบตามนี้) ๑. ถ้าบทตั้งมี ๑ บท (ไม่ครบ ๙ อักษร) ให้ขึ้น ปทสฺส แปลว่า แห่งบท ๒. ถ้าบทตั้งมี ๒ บท (ไม่ครบ ๘ อักษร) ให้ขึ้น ปททฺวยสฺส แปลว่า แห่งหมวด สองแห่งบท ๓. ถ้าบทตั้งมี ๓ บท (ไม่ครบ ๘-๑'อักษร) ให้ขึ้น ปทานํ แปลว่า แห่งบท ท. ๔. ถ้าบทตั้งมี ๘ หรือ ๙ อักษร (จะมีบทเดียว หรือ หลายบทก็ตาม) ให้ขึ้น คาถาปไทสฺส แปลว่า แห่งบาทแห่งพระคาถา สตฺถา ฯเปฯ อิมา คาถา อภาสิ อปฺปกา เต มพุสฺเสสุ เย ชนา ปารคามิโน อถายํ อิตรา ปชา ตรีเมวานธาวดิ เย จ โข สมฺมทกฺขาเต ธมฺเม ธมุมานุวตฺดิโน เต ชนา ปารเมสฺสนุดิ มจุจเธยฺยํ สุทุตฺตรํ-อิดิ. www.kalyanamitra.org

ห!รนฬๆสมผเ จิบฺทๆมโน dd รวม ๒ คาถา เวลาที่นำบทที่มาในคาถา มาเป็นบทตั้งไนเวลาแปลแก้อรรถ ให้นักสืกษากำหนด ดังนี้ อุ. ตตฺถ \"อปุปกาติ (ปทสฺส) โถกานพา;)(อตฺโถ)ฯ อปฺปกา จัดเป็น ๑ บท ขึ้น ปทสฺส แห่งบท ถ้า เต มาดัวย ให้ขึ้น ปททฺวยสฺส แห่งหมวดสองแห่งบท ถ้ามีมากกว่า ๒ให้ขึ้น ปทานํ แห่งบท ท. ถ้า มนุสุเสสุ มาด้วยให้ขึ้น คาถาปาทสุส แห่งบาทแห่งพระคาถาเพราะมาครบ ๑ วรรค เรียกว่ามา ๑ บาท ให้'นักสืกษากำหนดอย่างนี้เหมีอนก้นทุกวรรคก็จะสามารถขึ้น ปทสุส, ปททฺวยสฺส, ปทานํ. คาถาปาทสุส ได้โดยไม่ต้องสงสัย เพราะเรากำหนดเอาแต่ละวรรคเป็น ๑ บาท และ ๔ บาท เป็นหนึ่งคาถา ถ้ามาหมดวรรคก็ขึ้น คาถาปาทสุส ได้เลย อุ.\"อถายํ อิตรา ปชาด (คาถาปาทสุส) ยา ปนายํ อวเสสา ปซา สฤกาย- ทิฎริตรีเมวานุธาวติ, อยเมว พหุตราติ (อตุโถ)ฯ (แก้อรรถ ๙/๕๐) หมายเหตุ ศัพ'ท์จำพวกนิบาต ไม่นับเป็นบท เพราะไม่แจกด้วยวิภัตติ หลักการแปลแก้อรรถ ๑. บทในอรรถกทมีอยู่ ๒ ชนิด คือ บทตั้งอย่าง ๑ บทอฒิายอย่าง ๑ ก. บทตง หมายถึงบทที่ยกมาจากคาถาโดยตรงแล้วนำมาเป็นบทตั้ง มี อิติ ดัพ■ท์ อยู่ท้ายบท อุ. ชุจิกมฺมสฺสาติ ฯเปฯ.(๒/๗๓) ซ. บทอธิบาย หมายถึง บทต่างๆ ที่เรียงอยู่หลังบทตั้งทั้งหมด ซึ่งขยายความให้ เด่นชัดขึ้น อุ. สุจิกมฺมสุสาติ นิทฺโทเส•หิ นิรปราเธหิ กายกมุมาทีห สมนฺนาคตสฺส ฯ (la/cicn) ๒. วิธีแปลบทตั้งและบทอธิบายมีอยู่ ๒ วิธีคือ ๑. แปลตั้งอรรถ ๒. แปลไม่ตั้งอรรถ www.kalyanamitra.org

ดู่มอพรักเกผฑการนปรบ'!ส ก. แปลดั้งอรรถมีกฎอยู่ ๓ ข้อ คือ (๑} ถ้ามี\"ตตฺถ\"ตั้งอยู่ข้างหน้าบทตงให้เติม ปเทสุ เข้ามา(โดยมากนิยมแปลถอนความ ตตฺถ ปเทสุ ในบท ท. เหล่านั้นหนา) (๒) ทางด้านหลังบทตั้งที่ยกมาจากคาถา ต้องเพมบทใดบทหนึ่งเหล่านเข้ามา (ก) ถ้าบทตตั้งบทเดียว หลัง อิติ ศัพท์เพิ่ม ปทสสฺส เช่น ตตฺถ \"อกุโกจฺฉีติ(ปทสฺส) ฯเปฯ ฯ (๑/๔๑) (ข) ถ้าบทตั้ง ๒ บทหลัง อิติ ศัพท์ เพิ่ม ปททฺวยสฺส เช่น \"เย จ ตนฺติ(ปททฺวยสฺส) ฯเปฯ (๑/๔๑) (ค) ถ้าบทตั้ง มากกว่า ๒ บทแต่ไม่ถึงบาทคาถา (หรือ วรรคหนึ่ง) หลัง อ็ติ ศัพท์เพิ่ม 'ปทานิ เช่น-ติ โว วทามีติ (ปทานิ)\"เดน การเณน อหํ ตุมฺเห วทามี.(๘/๗) (ฆ) ถ้าบทตั้งมาครบบาทหนึ่ง (วรรคหนึ่ง) หลัง อิติ ศัพท์เพิ่ม คาถาปาทสฺส เช่น \"เย จ ติ นปนยฺหนุตีติ (คาถาปาทสุส)ฯเปฯ ฯ (๑/๔๑) (๓) เติม อิติ ศัพท์ เข้ามาหลังบทอธิบาย และเติม อตฺโถ มาข้างหลัง อิติ ศัพท์ (หากมีแล้วไม่ต้องเติม) ที่เติม อุ. \"อวธีติ ปหริ(อิติ)(อตฺโถ).(๑/๔๑) หลักข้อ ๓ ข้อ ตามที่กล่าวมานี้ จะปรากฎเป็นรูปดังนี้(๔/๑๐๕) อุ. ตตฺถ (ปเทสุ) \"คาถา สคนุติ(ปททฺวยสุส)โย จ สุคฺคโล สตปริจฺเฉทา พหู คาถา ภาเสยฺยาติ(อตฺโถ) (๔/๑๐๕)[อตฺโถ) อ.อรรถ (อ่าน) โย จ ฯเปฯ คาถา ภาเสยฺย อ็ติ ว่าดังนี้(อ่าน)ตฺตถ ปเทสุ ในบทท.เหล่านั้นหนา(อ่าน)ปททฺวยสุส แห่งหมวด๒ แห่งบท(อ่าน) คาถา สติ อิติ ว่าดังนี้ ฯ ส่วนเลขในก็แปลไปตามหลักการแปลดังกล่าวแล้ว ข. แปลโดยไม่ดั้งอรรถ ๑. ประโยคอรรถกถา มี ๅจฺจติ แปลว่า อัน ย่อมกล่าว ๒, ประโยคอรรถกถา มี ปาโร แปลว่า อ.บาลี ๓. ประโยคอรรถกถา มี ปารเสโส แปลว่า อ.บาลีอันเหลือ ๔. ประโยคอรรถกถา มี ลืงฺคริปลฺลาโส แปลว่า เป็นลิงค์วิปัสลาส ๕. ประโยคอรรถกถา มี ปทจฺเฉโท แปลว่า อ.การตัดซึ่งบท ๖. ประโยคอรรถกถา มี นิปาโต่ แปลว่า เป็นนิบาต ๗. ประโยคอรรถกถา มี อาลปติ แปลว่า ย่อมตรัสเรียก ๘. ประโยคอรรถกถา มี เอตฺถ แปลว่า ในคำนี้ www.kalyanamitra.org

พระมพาสมคด จิบุตามใย ๘๗ ร'. ประโยคอรรถกถา มี อธิป.ฟโต .แปลว่า ทรงประสงค์เอาแล้ว ๑๐. ประโยคอรรถกถา มี ตสฺสตฺโถ แปลว่า อ.เนี้อความแห่งคำ อันเป็นพระคาถานั้น ๑๑. ประโยคอรรถกถา มี วตุตํ (ภควตา) โหติ แปลว่า เป็นคำ (อันพระผู้มี พระภาค) ตรัสแล้วย่อมเป็นฯ ๑เอ. ประโยคอรรถกถา มี อท่ วจนํ แปลว่า อ.คำนี้ ๑en. ประโยคอรรถกถา มี อธิวจนํ แปลว่า เป็นซื่อ (เป็นคำ) ๑๔. ประโยคอรรถกถา มี ปท่ แปลว่า อ.บท ๑๕. ที่สุดของประโยคอรรถกถา มี เอต่ วจนํ แปลว่า อ.คำนั่น ๑๖. ที่สุดของประโยคอรรถกถา มี นามํ แปลว่า เป็นซื่อ ๑๗. ที่สุดของประโยคอรรถกถา มี นิปาตมตฺต่ แปลว่า เป็นล้กว่านิบาต ๑๙. ที่สุดของประโยคอรรถกถา มี อยมตฺโถ แปลว่า อ.เนี้อความ (อ.อธิบายนี้) ๑๔. ที่สุดชองประโยคอรรถกถา มี ทสฺเสต แปลว่า ย่อมแสดง ๒๐. ประโยคอรรถกถาแก้เป็นรูปวิเคราะห์ ต้องขน วิคฺคโห แปลว่า อ.วิเคราะห์ ๒๑. ประโยคอรรถกถาเป็นรูปวินิจฉัย ต้องขึ้น วินิจฺฉโย แปลว่า อ. วินิจฉัย ๒๒. ประโยคอรรถกถาแก้เฉพาะบทประธาน อิติ ที่อยู่หล้งบทตั้ง แปลว่า ซื่อว่า รูปประโยค ปทจฺเฉโท, ตสฺสตฺโถ, อยมตุโถ.วิคฺคโท,วินิจฺฉโย ดังนี้ * ปณฺฑิเตน ปทจฺเฉโท กาตพฺโพ. อ.อันตัดซึ่งบท ....อันบัณฑิต พึงกระทำฯ * ตสฺส-คาถาวจนสฺส อตุโถ เวทิตพฺโพ. อ.เนื้อความ แห่งคำอันเป็นพระคาถานั้น...อันบัณฑิต พึงทราบ ฯ * ปณุฑิเตน อยํ-อตุโถ เวทีตพฺโพ. อ.อธิบายนี้ อันบัณฑิต พึงทราบ ฯ * ปณฺฑิเตน วิคฺคโท กาตพฺโพ. อ.วิเคราะห์ อันบัณฑิต พึงกระทำฯ * ปณฺฑิเตน วินิจฺฉโย เวทีตพฺโพ. อ.วินิจฉัย อันบัณฑิต พึงทราบ ฯ www.kalyanamitra.org

๘๘ คู่รอนสักเกฌฑmjuปลบาสิ ๅจฺจติ ประโยคตัวอย่างแปลไม่ตั้งอรรถ ปาใจ - อุ. ตตฺถ (คาถาย่) กิญจาปิ มโนติ อวิเสเสน สพฺพมฺปิ จตุภูมิภจิตฺต์ ปาจเสใส วจุจติ. (๑/๓๓) อ. จิตอันเป็นไปในภูมิสี่ แม้ทั้งปวง (อันบัณฑิต) ลิงฺฅวิปลฺลาใส ปทจฺเฉโท ย่อมเรียกว่า อ. ใจ ดังนี้ (ไนพระคาถา}นั้นโดยความไม่แปลกก้น นิปาโต แม้ก็จรีง ฯ อาลปติ - อุ. •■ปริทหิสฺสตีติปิ ปาโจ.(๑/๗๔) อ.พระบาลี ว่า ปริทหิสฺสติ ดัง เอคฺถ นี้บัางฯ อธิปฺเปโต - อุ. ทิสฺวาติ ปาจเสใส.(๒/๑๕๐) อ.บาลีอ้นเหลือ ว่า ทิสฺวา ดังนี้ฯ ตสฺสตุโถ - อุ.ชิตนุติ(ปทํ) ลิงฺควิปลฺลาใส (โหติ),(๔/๑๐๙)(อ.บท)ว่า ชิต่ ดังนี้ เป็นลิงค์รีปีลลาส (ย่อมเป็น)ฯ - อุ.ตตฺถ (คาถาย่)\"ใปราณเมตน,ตี {ปทสฺส) ปุราณกํ เอตํ (ปทจุเฉโท). (๖/๑๙๖) อ.อ้นตัดซึ่งบทว่า ปุราณก่ เอตํ ดังนี้ (แห่งบท) ว่า โปราณเมต่ ดังนี้ (ในพระคาถา)นั้น )อันบัณฑิต พึงกระท่า)ฯ - อุ\" ตตฺถ (คาถาย่)■■หเวตี (สทฺโท)นิปาโด (โหติ).(๔/๑๙๖) (อ.ดัพท์) ว่า หเว ดังนี้(ในพระคาถา)นั้น เป็นนิบาต (ย่อมเป็น)ฯ - อุ.\"อตุลาติ (สตฺถา) ตํ อุปาสกํ อาลปติ.(๖/®๘๖) (อ.พระศาสดา) ย่อมทักทาย ซึ่งอุบาสกนั้น ว่า ดูก่อน อตุละ ดังนี้ ฯ - อุ. อถวา \"ปเร จาติ ปุพฺเพ มยา\"มา ภิกฺขเว ฯเปฯ เมธคา สมมนตีตี อยเมตฺถ(คาถาปาเท)อตฺโถ.(๑/๖๐) อีกอย่างหนึ่ง อ.อธิบาย นี้ ว่าฯลฯ ดังนี้ (ในบาทแห่งพระคาถา) นิ ว่า ปเร จ ดังนี้ เป็นต้น (อันบัณฑิต พึงทราบ)ฯ - อุ. ตตฺถ (คาถายํ)\"คพฺภนฺติ อิธ(ปเท) มนุสฺสคพฺโภ ว อธิปฺเปโต. (๕/๓๔) อ.สัตว์ ผู้เกิดแล้วในครรภ์ของมนุษย์เทียว {อันพระผู้มีพระ ภาค)ทรงประสงค์เอาแล้'ว(ในบท) นี้ว่า คพฺภํ ดังนี้(ในพระคาถา)นั้น - อุ. ตสฺส-(คาถาวจนสฺส) อตฺโถ ■'ภิทขเว ฯเปฯ โหนตีติ {ปณุฑิเตน) (เวทีตพฺโพ} (๔/๖๙) อ.เนื้อความ (แห่งคำอันเป็นพระคาถา)นื้น ว่า ฯลฯ ดังนี้ (อันบัณฑิต พึงทราบ)ฯ www.kalyanamitra.org

พระมพาสมคํ« จํนฺตามใย ๘๙ วุทุตํ โหติ - อุ, อิทํ ๅตฺตํ โหติ \"ยถา ฯเปฯ วิปฺปมุณฺเจถาติ. ๗/๑๒๙ อ.คำนี ว่า ฯลฯ ดังนี้ เป็นคำอันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว ย่อมเป็น ฯ อิทํ วจนํ - อุ \"ปาเถยฺยนุติ อิทํ (วจนิ) กิณฺจาปิ เหฎจา ๅตฺตเมว. {๗/๖) (อ.คำ)นี้ ว่า ปาเถยฺย่ ดังนี้(อันพระผ้มีพระภาค)ตรัสแล้ว ในหนหลัง นั่นเทียว แม้ก็จริง ฯ อธิวจนํ - อุ. ตตฺถ (ปเทสุ) \"ชนฺตูติ สตฺตาธิวจนเมต\" (ปที)(โหติ)- (๔/๑๑๑) (ในบท ท.)เหล่านั้น หนา(อ.บท) นั่นว่า ชนฺตุ ดังนี้ เป็นชื่อของสัตว์ ปท* (ย่อมเป็น)ฯ เอตํ - อุ. ตตฺถ (ปเทสุ) \"อปุปมาโทติ ปทํ มหนฺตํ อตฺถํ ทีเปติ- (๒/๖๓) นาม* (ในบท ท.) เหล่านั้น หนา อ.บท ว่า อปฺปมาโท ดังนี ย่อมแสดง ซึ่งเนื้อความใหญ'ฯ นิปาตมตฺตํ - อุ. \"ชุขํ เสตีติ เทสนาสีสมตฺตเมตํ (วจน์) โหติ. (๔/๒๑)(อ.คำ) ว่า อยนตฺโถ สุข่ เสติ ดังนี้ นั่น เป็นลักว่าหัวข้อแห่งเทศนา ย่อมเป็นฯ - อุ.\"บุทฺธน.ติ ปฌฺฌาเยต์(ปที)นาม*(โหติ).(๓/๑๖๓)(อ.บท) ว่า มุหฺธ่ ดังนี้ นั่น เป็นชื่อแห่งปัญญา (ย่อมเป็น)ฯ - อุ. ตตฺถ (คาถายํ) \"อุปนีตวโยติ (ปเท) อุปาติ (สทฺโท) นิปาตมตฺตํ (โหติ).(๗/๕) (อ.ดัพท์) ว่า อุป ดังนี้ {ในบท) ว่า อุปนีดวโย ดังนี้ (ในพระคาถา)นั้น เป็นลักว่านิบาต ย่อมเป็นฯ - อุ.\"โอกโมกโตติ เอตฺถ (วจเน) โอกโมกโต อุทกสงฺขาตา อาลยาติ อยมตฺโถ.(๒/๑๑๘)อ.เนื้อความนี้ ว่า จากที่อยู่คือนํ้า คือว่า จากที่อยู่ อันอันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่า นํ้า ดังนี้ {ในคำ) นี้ ว่า โอกโมกโต ดังนี้ฯ ทสฺเสค - อุ.ตตุถ (ปเทสุ) \"ยามน.ติ สตฺถา ฯเปฯ ติณฺณ่ วยานํ อณุฌตรํ วยํ ยามนุติ กตฺวา ทสฺเสติ, (๖/๑๔) อ.พระศาสดา ย่อมทรงแสดง กระทีาซึ่ง-แห่งวัย ท.๓ หนา วัยใดวัยหนึ่ง ให้ชื่อว่า ยาม ดังนี้ ฯลฯ (ในบท ท.) เหล่านั้น หนา ในบทว่า ยามํ ดังนี้นี้ ฯ วิคฺคโห - อุ.\"มโนรมตีติ(ปเท)(วิคฺคโห)(ปณฺฑิเตน กาตพโพ) มโน เอตฺถ รมคืติ มโนรม่.(๓/®๙) (อ.วิเคราะห์)(ในบท) ว่า มโนรมํ ดังนี้(อันบัณฑิต www.kalyanamitra.org

๙๐ ดู่มิอหสัทเกณฑการแปลบาลี วินิจฺฉโย พึงกระท่า) อ.ใจ ย่อมยินดีในดอกปทุมนี้ เพราะเหตุนั้น อ.ดอกปทุมนี้ อิติ ศัพท์ ชื่อว่า ชื่อว่า มโนรมํ (เป็นที่ยินดีแห่งใจ)ฯ - อุ. \"อมตํ ปทนุดี (ปเท)(วินิจฺฉโย}(ปณุฑิเตน เวทิตพฺโพ) (๒/๖๓) อ. วินิจฉัย (ในบท)ว่า อมตํ ปท่ ดังนี้ (อันบัณฑิต พึงทราบ)ฯ (แก้บทประธาน)อุ.ปมาโทติ ปมชฺชนภาโว..(๒/๖๓) อ.ความเป็นคออัน มัวเมา ชื่อว่า ความประมาท ฯ หลักการแปล \"ชื่อว่า\" ในเวลาแปลแก้อรรถหนุนค'าว่า \"ชื่อว่า\" ขึ้นมา ควรถือหลักดังต่อไปนี้ ๑. ถ้าบทใดทีมิได้มาในคาถา ไม่ว่าบทนั้นจะเป็นคุณ หรือ กิริยาก็ตาม เป็นไวพจน์ ของก้นและก้น กล่าวคือมีรูปเสมอกัน เรียงอยู่ข้างหน้า บทที่มาในคาถา ให้แปลบทที่มาใน คาถาหนุนคำว่า \"ชือว่า\" เข้ามา เรียกชื่อสัมพันธ์ว่า สัญญา ส่วนดัวที่เรียงอยู่ข้างหน้าที่มิ ได้มาในคาถา เรียกชื่อสัมพันธ์ว่า สัญญี อุ. ตทหุชาต่ สุวณฺณวณฺณมุปี สมานิ นิจุจํ ปคฺฆรณตฺเถน ไJดีกายํ ปภงฺคุฌ๊. (๕/๑๐๐) (ปภงฺคุถ! มาในคาถา) แปลว่า อ.รูปอันเกิดขึ้นในวันน้น เป็นรูปมีสืเพียงดังว่าสีแห่งทอง เป็นอยู่ เป็นกาย เปีอยเน่า ชื่อว่า เป็นกายผุผัง ย่อมเป็น เพราะอรรถว่าไหลออกเป็นนิตยฺ ฯ (หากมีรูปไม่เสมอกันไม่ใช่หลักการนี้) ๒, ถ้าบทที่มาในคาถา มาอยู่ในอรรถกถา (แก้อรรถ) อยู่หลัง โดยมีบทข้างหน้าเป็น บทเหตุ {ประกอบตติยาวิภัตติ แปลว่า เพราะ)หรือแม้จะเป็นดัพท์ที่ประกอบด้วย ภาว ดัพท์ ตฺต, ตา ปัจจัยในภาวดัทธิต และโตปัจจัยท้ายนาม (เป็นเครื่องหมายปัญจมีวิภัตดี แปลว่า เพราะ)ให้แปลบทที่อยู่หลังบทนั้นว่า \"ชื่อว่า\"(แปลหนุน) (ตติยาวิภัตดีเป็นบทเหตุอยู่หน้า) อุ.\"อุปสนฺตสุสาดี(ปทสุส) อพฺภนฺตเร ราคาทีนิ อุปสเมน อุปสนุตสุส (อตฺโถ) (๙/๗๒) (อ.อรรถ) ว่า ชื่อว่ไผู้เข้าไปสงบแล้ว เพราะความ เข้าไปสงบ (แห่งกิเลส ท.) มีราคะเป็นต้น ในภายใน ดังนี้(แห่งบท)ว่า อุปสนุตสุส ดังนี้ ฯ (โต ปัจจัยปัญจมีวิภัตติเป็นบทเหตุอยู่หน้า) อุ. \"อมตุตญญนต (ปทสฺส) ปริเยส■นมตฺตา ปริคุดหณมตุตา ปริโภคมตุตาติ อิมิสุสา มตฺตาย อชานนโต โภชนมฺหิ www.kalyanamitra.org

พระมVทสมรด ริบุตามโย ฐ;๑ อมตฺตฌฺถJ (อตุโถ).(๑/๖๘) (อ.อรรถ)ว่า ชื่อว่าผู้ไม่!'ซึ่งประมาณ ในโกชนะ เพราะความไม่รู้ ชึ่งประมาณ นคือ อ.ประมาณในการแสวงหา อ.ประมาณในการรับ อ.ประมาณในการบริโภคด้งนี้ (แห่งบท) ว่า อมตฺตฌฺฌุ่ ด้งนี้ฯ (ตฺต ปัจจัย ปัญจมีวิภัตติเป็นบทเหตุอยู่หน้า) อุ. \"โยคกฺเขมํ อนุตฺตรนฺติ (คาถาปาทสุส) เย จตุตาโร โยคา มหาชนํ วฏฺเฎ โอสีทาเปนฺติ เตหิ เฃมํ นิพฺภยํ สพฺเพหิ โลกิยโลกตฺตรธมุเมหิ เสฏจตุคา อนุคุตรน,ติ (อตุโถ).(๒/๖๕) (อ.อรรถ) ว่า อ.โยคะ ท. สี เหล่าใด ยังมหาชน ย่อมให้จมลงในวัฏฏะอันเป็น แดนเกษม คือว่า อันมีภัยออกแล้ว จากโยคะ ท.เหล่านั้น ชื่อว่า อันยอดเยี่ยม เพราะ ความที่แห่งพระนิพพานเป็นธรรมชาติประเสริฐที่สุด กว่าธรรมอันเป็นโลกิยะและโลอุตระ ทั้งปวง ด้งนี้(แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า โยดกเขมํ อนุคุตรํ ด้งนี้ ฯ ๓. ล้ากิริยากิตก์ ประกอบด้วย อนุต, มาน ปัจจัยเรียงไว้หน้า อันเป็นที่ขยายความ แห่งกิริยาอาขยาตที่มาในคาถา มาอยู่ในอรรถกถา ให้แปลบทกิริยาอาขยาตที่อยู่หลังกิริยา กิตก์ว่า \"ชื่อว่า\" เข้ามาเรียกว่า แปลหนุน อุ.\"อุภยตฺถาติ(ปทสุส) อิธ(โลเก)'■กต์ เม กุสล่,อกติ เม ปาปนุติ ปรตฺถ วิปาก่ อนุภวนุโต นนฺทติ (อตุโถ).(๑/๑๔๓) (อ.อรรถ)ว่า ย่อมเพลิดเพลิน ในโลกนี้ ว่า อ.กุศล อันเรากระทำแล้ว อ.บาป อันเราไม่กระทำแล้ว ด้งนี้ เสวยอยู่ ซึ่งวิบาก ชื่อว่า ย่อมเพลิดเพลิน ในโลกอื่น ด้งนี้ {แห่งบท) ว่า อุภยตฺถ ด้งนี้ฯ หลักการแปล วิวริยะ วิวรณะ (ชื่อสัมพันธ์) ในอรรถกถา(แก้อรรถ) การไข ก็คือการแปลความของศัพท์หรือบท ยังไม่ได้ปงชัด ไปหา ศัพท์ หรือ บทอื่น เพี่อให้ได้เนี้อความชัดเจนขึ้น เราเรียกกันว่า \"แปลไข\" ต้องใส่ค่าว่า \"คือ\" เข้ามา ศัพท์ หรือบทหน้า เรียกชื่อลัมพันธ์ว่า \"วิวริยะ\" ศัพท์ หรือ บทหลัง เรียก ชื่อลัมพันธ์ว่า \"วิวรณะ\" ลักษณะของการไข เราลังเกต ศัพท์ หรือบทที่มาในคาถามาอยู่ใน อรรถกถาอยู่หน้า ศัพท์ หรือบทที่ไม่ได้มาในคาถามาอยู่ในอรรถกถาอยู่หลัง แต่เป็นไวพจน์ ของกันและกัน (มีรูปเสมอกัน)คือ ไขศัพท์ไปหาศัพท์ ไขบทไปหาบท ไขประโยคไปหาประโยค www.kalyanamitra.org

ถู่มิอนสักเกณฑ'การแปสบาล และยังมีการไขด้วยอำนาจเนี้อความอีก โดยที่ไม่ได้มาในคาถา (มาอยู่ในอรรถกถา) ด้พท์ หรือบทที่ไขไปนั้น ต้องหนุนคำว่า \"คือว่า\" เข้ามาทุกครั้ง การไฃมีทั้ง ไขวเสสนะไปหาวิเสสนะ ไขประธานไปหาประธาน ไขตั้งแต่ทุติยาเป็นต้นไปไปหาทุติยาเป็นต้น ไขกิริยาไปหากิริยา ไฃวิกติกัตตาไปหาวิกติกัตตา เป็นต้น แต่การไขเหล่านี้กีมีหลักที่พอจะกำหนดได้ดังต่อไปน คือ ๑. ไข ต้พท์ หรือบทที่มาในคาถามาอยู่ในอรรถกถาอยู่หน้าด้พท์หรือบทที่ไม่ได้มา ในคาถา มาอยู่ในอรรถกถาอยู่หลัง ซึ่งเป็นไวพจน์ของกันและกัน (มีรูปเสมอกัน) อุ.\"สทา รมดีติ (ปททฺวยสฺส) เอวรูโป ธมุมปีติ วิปฺปสนฺเนน เจตสา วิหรนฺโต ปณฺฑิจฺเจน สมนุนาคโต สทา รมติ อภิรมติติ.(อตฺโถ)(๔/๒®) แปลว่า (อ,อรรถ) ว่า (อ.ทุคคล) ผู้ดื่มซึ่งธรรม มีอย่างนั้เป็นรูปมีใจอัน ผ่องใสวิเศษแล้ว อยู่อยู่ ผู้มาตามพร้อมแล้ว ด้วยความเป็นแห่งบัณฑิต ย่อมยินดี คือว่า ย่อมยินติยง ในกาลทุกเมื่อ ด้งนี้(แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า สทา รมติ ด้งนี้ ฯ ๒. การไขด้วยอำนาจเนี้อความซึ่งไม่ได้มาในคาถา อุ. \"สุจิกมฺมสุสติ {ปทสส) นิทฺโทเสหิ นิรปราเธหิ กายกมุมาทีหิ สมนุนาคตสฺส (อตฺโถ)(๒/๗๓) แปลว่า (อ.อรรถ) ว่า ผู้มาตามพร้อมแล้ว ด้วยกรรม ท. มีกายกรรมเป็นต้น อันมีโทษออกแล้ว คือว่าอันมีความผิดออกแล้ว ด้งนี้ {แห่งบท)ว่า สุจิกมฺมสฺส ด้งนี้ ๆ การไขทั้งสองคือ การไขศัพท์ และบท ที่มาในคาถาอยู่หน้าศัพท์หรือบท ที่ไม่ได้ มาในคาถาอยู่หลัง และไขด้วยอำนาจเนื้อความ เมื่อแปงออกแล้วก็มีหลักสังเกตอยู่ ๓อย่าง คือ ๑. ไข ศัพท์ ได้แก่ ความตอนเดียวยังได้เนื้อความไม่กระจ่าง จงต้อไขความไปหา เนื้อความอีกตอนหนึ่งใหมีเนื้อความกว้างกระจ่าง ยิ่งขึ้นอีก อุ. ตตฺถ \"อภิตฺถเรถาติ (ปทสุส) \"ตุริตคริต่ สีฆสีฆํ กเรยฺยาติ (อตฺโถ) ฯ (๕/๔) (หมายเหตุ เทียบเคียงให้ดู) แปลว่า (อ.อรรถ)ว่า(อ.ทุคคล) พึงกระทำ ต่วน ๆ คือว่าพลันๆด้งนี้ ในบททั้ง หลายเหล่านั้นหนา (แห่งบท)ว่า อภิคุณรถ ด้งนี้ ฯ ๒. ไขบท ได้แก่ การแปลขยายบทที่เนึ่องกันมีเนื้อความเกี่ยวถึงกันถึงจะต่างธาตุกัน ต่างปัจจัย ต่างศัพท์กัน แต่ต้องมีลิงค์ วจนะวิกัตติ อันเดียวกัน แปลให้ความหมายคล้ายๆกัน เพี่อให้ได้ความหมายชัดเจน ยิ่งขึ้น www.kalyanamitra.org

พ*รมนา#มรด จิโ4ดามโย flvcn อุ. \"สฌณตสฺสาติ (ปทสฺส) กายาทีหิ สณฺณตสฺส นิจฺฉิทฺทสฺส (อตฺโถ)(๒/๗๓) แปลว่า (อ.อรรถ) ว่า ผู้สำ รวมแล้ว คือว่า ผู้มีช่องออกแล้ว ด้วยทวาร' ท. มี กายเรนด้นด้งนี้(แห่งบท) ว่า สณฺฌตสฺส ด้งนี้ ฯ ๓. ไขประโยค ได้แก่ การแปลกิริยาคุมพากย์ที่มาในคาถา ไข \"คือว่า\" ไปหากิริยา คุมพากย์ที่ท่านขยายความในอรรถกถา เพื่อให้ได้ความซัดเจนยิ่งขน อุ. \"นา ปมาทน,ติ(ปทสฺส) ตสมา ตุมุเห มา ปมาทมบุยุณฺเชถ มา ปมาเทน กาล่ วีตินามยิตุถ.(อตฺโถ)(๒/รf๐)ฯ คำ แปล (อ.อรรถ)ว่า เพราะเหตุนั้น อ.ท่าน ท. จงคามประก©บชึ่งกวามประ มาท คือว่า อย่ายังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษแล้ว ด้วยความประมาท ด้งนี้(แห่งบท) ว่า มา ปมาท่ ด้งนี้ฯ จบหลักการแปลแก้อรรถนต่เทึยงเท่านี้ หลักการแปลโดยอรรถ การแปลโดยอรรถ หริอ เผด็จ คือการแปลถือเอาใจความของภาษาเป็นหลัก จุดมุ่งหมายก็เพื่อจะให้ได้ใจความในภาษาไทยอย่างซัดเจน แต่การแปลโดยอรรถนั้นก็จะด้อง รักษารูปไวยากรทนว้ วิธีการแปลโดยอรรถนี้ จะท่าให้นักเรียนสามารถล่าดับเรื่องราวของ ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี ประโยค ประโยคในภาษาบาลี นักศึกษาได้ศึกษารายละเอียดมาแล้วในตอนที่ว่าด้วยการ แปลโดยพยัญชนะ ในการแปลโดยอรรถนี้จะไม่พูดถืงประโยค ๖ ชนัดของไวยากรณ์ แต่จะพูดถึงแต่ประโยคตามเนี้อความของภาษา ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ ๓ บ่ระโยคด้งนี้ ๑. เอก้ตถประโยค (simple sentence) คือประโยค ที่มีเนี้อความลันๆ เป็น บ่ระโยคเดียวมีกิริยาคุมพากย์ เป็นประโยคสมพูรณ์คือมีตัวประธาน และกิริยา www.kalyanamitra.org