Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับ ม.ปลาย

พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับ ม.ปลาย

Published by สกร.อำเภอหลังสวน, 2020-01-06 03:30:12

Description: พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับ ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

44 หัวขอ ลักษณะ/รปู แบบ/แนวทางการเขยี น 15. ตัวชว้ี ัดผลสาํ เร็จ 1. ตวั ช้วี ดั ผลผลติ (output) หมายถึง ตวั ช้ีวัดที่แสดงผลงาน ของโครงการ เปนรปู ธรรมในเชงิ ปริมาณและ / หรอื คณุ ภาพอันเกิดจากงาน ตามวัตถุประสงคของโครงการ 2. ตัวช้ีวดั ผลลพั ธ (out come) หมายถงึ ตัวชวี้ ัดท่ีแสดงถงึ ผลประโยชนจ ากผลผลติ ที่มผี ลตอ บุคคล ชมุ ชน สิ่งแวดลอ ม เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม เรือ่ งที่ 3 การเผยแพรสกู ารปฏบิ ตั ิ 3.1 การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน คอื การเขยี นรายละเอียดตา ง ๆ เก่ยี วกับการดําเนนิ งาน ของบุคคลในหนว ยงาน ซงึ่ รายงานแตละประเภทน้ัน ก็จะมวี ธิ กี ารเขียนทีแ่ ตกตางกนั ออกไป รายงานจึงเปนสิง่ จาํ เปนและสาํ คัญในการบริหารงาน และการท่จี ะเสนอการเขยี นรายงานน้ัน ใหอ อกมาอยางมีประสทิ ธิภาพ และรวดเรว็ นั้น ควรทีจ่ ะมีการวางแผนกําหนดเวลาเร่ิมตนและ เวลาสิน้ สุดของแตล ะรายงานไวด วย 3.1.1 วิธกี ารเขยี นรายงาน 1) เขยี นใหส ้ันเอาแตขอ ความท่จี าํ เปน 2) ใจความสําคญั ครบถวนวา ใคร ทําอะไร ทไ่ี หน เม่ือไร อยางไร 3) เขียนแยกเรือ่ งราวออกเปน ประเด็น ๆ 4) เนื้อความทเี่ ขียนตอ งลาํ ดับไมสับสน 5) ขอมลู ตัวเลข หรอื สถิตติ าง ๆ ควรไดม าจากการพบเห็นจริง 6) ถาตองการจะแสดงความคิดเหน็ ประกอบ ควรแยกความคิดออกจากตวั ขาว หรือเรื่องราวท่เี สนอไปน้ัน 7) การเขียนบนั ทึกรายงาน ถาเปนของทางราชการ ควรเปนรูปแบบที่ใช แนนอน 8) เมอ่ื บันทกึ เสรจ็ แลว ตอ งทบทวนและตั้งคําถามในใจวา ควรจะเพิ่มเติมหรือ ตดั ทอนสวนใดท้งิ หรอื ตอนใดเขียนแลวยงั ไมชดั เจน ก็ควรจะแกไ ขใหเ รียบรอ ย

45 3.1.2 วธิ ีการเขียนรายงานจากการคน ควา 1) รายงานคนควาเชงิ รวบรวม เปนการรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ มาเรยี บ เรียงปะติดปะตอ กันอยา งมีระบบระเบียบ 2) รายงานคนควาเชงิ วิเคราะห เปนการนาํ ขอมูลตา ง ๆ ทีไ่ ดม าวิเคราะห หรือ คนหาคาํ ตอบในประเด็นใหชัดเจน 3.1.3 วิธกี ารนําเสนอรายงาน 1) รายงานดว ยปากเปลา หรือเสนอดวยวาจา โดยการเสนอแบบบรรยายตอ ที่ ประชุมตอผบู ังคบั บญั ชา ฯลฯ ในกรณพี ิเศษเชนนี้ ควรจัดเตรียมหัวขอ ที่สําคญั ๆ ไวใ หพ รอ ม โดยการคัดประเด็นเร่ืองที่สําคัญ จัดลาํ ดบั เรือ่ งทีจ่ ะนาํ เสนอกอนหนาหลังไว 2) รายงานเปนลายลักษณอกั ษรมักทําเปนรปู เลม เปนรปู แบบการนาํ เสนอ อยางเปนทางการ 3.1.4 ลกั ษณะของรายงานที่ดี 1) ปกสวยเรยี บ รปู เลมสวยงาม 2) กระดาษทใ่ี ชม ีคุณภาพดี มีขนาดถูกตอ ง 3) มหี มายเลขแสดงหนา 4) มีสารบัญหรือมีหัวขอ เรื่อง 5) มีบทสรปุ ยอ 6) การเวน ระยะในรายงานมีความเหมาะสม 7) ไมพมิ พขอความใหแนนจนดลู านตาไปหมด 8) ไมม กี ารแก ขูดลบ พมิ พอยา งสะอาดและดูเรียบรอ ย 9) มผี งั หรอื ภาพประกอบตามความเหมาะสม 10) ควรมกี ารสรุปใหเหลอื เพยี งส้ัน ๆ แลว นาํ มาแนบประกอบรายงาน 3.2 การเขยี นโครงงาน โครงงานเปน กจิ กรรมการเรียนการสอนท่เี นนผเู รียนเปน สาํ คัญอยางแทจริง เพราะ ผเู รยี นเปน ผูท ่ีสรา งความรูดวยตนเอง เริ่มจากการเลือกหวั ขอหรือปญ หาทม่ี าจากความสนใจ ความสงสยั หรือความอยากรอู ยากเหน็ ของตนเอง หัวขอของโครงงานควรเปน เร่ืองใหม ท่ี เฉพาะเจาะจง และที่สําคญั ตอ งเหมาะสมกบั ความรูความสามารถของตน การเขียนโครงงาน เปน การกาํ หนดกรอบในการทาํ งาน การเขียนโครงงานโดยทว่ั ไปจะมีองคป ระกอบเชนเดียวกบั

46 การเขยี นโครงการ แตโ ครงงานเปนงานท่ที าํ เสร็จแลว จะมีช้ินงานดว ยเมอื่ มีโครงงาน และ ดําเนนิ การจัดทําโครงงานเสร็จเรียบรอยแลว ชิ้นสดุ ทายคอื การเขยี นรายงานโครงงาน 3.2.1 องคป ระกอบของการเขียนรายงานโครงงาน รายงานของการจัดทําโครงการมีองคประกอบหรือรายการที่ควรนาํ เสนอ ดังน้ี 1) ช่ือโครงงาน ชือ่ ผูทําโครงงาน 2) คาํ นํา - สารบญั 3) ท่มี าของโครงงาน อธบิ ายเหตผุ ลในการทาํ โครงงานนี้ 4) วัตถุประสงคข องการทาํ โครงงาน 5) วิธีดาํ เนินการควรแยกเปน 3 ข้นั ตอน ขั้นตอนที่ 1 การเตรยี มการ ขั้นตอนที่ 2 กระบวนการ วธิ ีดําเนินงานโครงงาน ขั้นตอนที่ 3 ผลงานโครงงาน ประโยชนท ี่ไดร บั 6) สรปุ ผลและขอเสนอแนะ

47 บทท่ี 6 บทบาท หนา ท่ขี องผนู าํ สมาชกิ ท่ีดีของชมุ ชนและสงั คม เร่ืองที่ 1 ผนู าํ และผตู าม ในการจัดทําและขับเคลื่อนแผนพัฒนาชุมชน สังคม สิ่งสําคัญท่ีมีผลตอความสําเร็จ ของการพัฒนาชุมชน และสังคม ก็คือผูนํา เพราะผูนํามีภาระหนาที่และความรับผิดชอบท่ี จะตองวางแผน สั่งการ ดูแล และควบคุมใหการทํางานใด ๆ สําเร็จ ซ่ึงในการปฏิบัติงาน ตาง ๆ จะมีการแบงบทบาท หนาท่ี ความรับผิดชอบ เพื่อใหการทํางานเปนไปดวยความ ราบร่ืน มีปญหา อุปสรรคนอย และงานสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไว ซ่ึงการจัดทําและ ขบั เคลื่อนแผนพัฒนาชุมชน สังคม จะสาํ เรจ็ ไดตองอาศยั การทาํ งานท่มี ผี นู าํ และผตู ามทด่ี ี 1.1 ผูนาํ ความหมายของผูนาํ ผูน าํ (Leader) คอื บุคคลทมี่ ีความสามารถในการชักจงู ใหค นอ่นื ทํางานในสวนตาง ๆ ท่ีตอ งการใหบรรลุเปา หมายและวัตถปุ ระสงคท ี่ต้งั ไว องคป ระกอบของความเปน ผูน าํ 1. ความรู เชน วิชาการ รรู อบ รตู น รูคน รหู นา ท่ี เปน ตน 2. ความคิดและจิตใจ เชน คิดเชิงบวก คิดเชิงวิเคราะห คิดเชิงระบบ หลักคิด สมาธิ วิสยั ทศั น คิดริเริม่ สรา งสรรค เปนตน 3. บุคลกิ ภาพ เชน การวางตน ความม่ันใจ เอกลักษณ อารมณ การพูด การเปน ผูให เปน ตน 4. ความสามารถ เชน รปู แบบการทํางาน การตดั สนิ ใจ เปน ตน ประเภทของผูนํา ผนู ําตามลกั ษณะของการใชอาํ นาจหนา ท่ี แบง ไดเปน 3 ประเภท คอื 1. ผนู าํ แบบเผดจ็ การ หมายถงึ ผูน าํ ทเ่ี นนการบังคับบัญชาและการออกคําส่ัง มักจะ ทําการตดั สนิ ใจดว ยตนเองเปน สวนใหญ และไมคอยมอบหมายอํานาจหนาที่ใหแกผูตาม หรือ ผใู ตบังคับบญั ชามากนัก ลกั ษณะของผนู าํ ชนดิ น้ีเปน ลักษณะเจา นาย

48 2. ผูนาํ แบบประชาธปิ ไตย เปน ผนู าํ ท่ใี หค วามสําคญั กับผูตามหรือผูใตบังคับบัญชา ไม เนน การใชอาํ นาจหนา ที่ หรือกอใหเ กดิ ความเกรงกลัวในตัวผูนํา แตจะใหโอกาสผูตาม ไดแสดง ความคดิ เห็นในการปฏิบตั งิ านทกุ คน จะมโี อกาสเขารวมพจิ ารณาและรวมตดั สนิ ใจไดดวย 3. ผูนาํ แบบเสรนี ยิ ม ผนู ําชนิดนีจ้ ะใหอสิ ระเตม็ ท่ีกับผูต าม หรอื ใหผ ตู ามสามารถทําการ ใด ๆ ตามใจชอบ ผูตามจะตัดสินปญหาตาง ๆ ดวยตนเอง และอาจไดรับสิทธิในการจัดทํา เปาหมายหรอื วัตถุประสงค หรือจัดทาํ แผนงานตา ง ๆ ได ผูนาํ ตามลักษณะการจัดการแบบมุงงานกบั มงุ คน แบง ได 2 ประเภท คือ 1. ผูนําแบบมุงงาน ผูนําชนิดน้ีใหความสําคัญตองาน โดยถือวาคนเปนปจจัยที่จะ นํามาใชชว ยใหการทาํ งานประสบความสาํ เร็จ ซ่งึ จะตองควบคุมดูแลอยางใกลชิด และไมควร มอบอํานาจการตดั สนิ ใจใหกบั ลกู นอง 2. ผนู ําแบบมุงคน ผนู ําชนิดน้ีใหความสําคัญและเห็นคุณคาของคน มีความเชื่อม่ันใน ตัวลูกนอ งหรือผตู าม จะไมข ดั ขวาง และคอยใหความชวยเหลือสนับสนุน สงเสริมใหลูกนองมี สว นรวมในการตัดสินใจตาง ๆ ผนู ําตามลกั ษณะการยอมรับจากกลมุ หรือสังคม แบง ได 5 ประเภท คือ 1. ผนู ําตกทอด คอื ผทู ่กี ลุมหรอื สงั คมใหการยอมรบั ในลักษณะที่เปนการสืบทอด เชน การไดรบั ตาํ แหนง ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ หรือผูท่ีเปนท่ีเคารพนับถือของกลุมหรือสังคมนั้น มากอ น 2. ผนู ําอยา งเปนทางการ คอื บุคคลทก่ี ลมุ หรอื สงั คมใหก ารยอมรับในลักษณะที่เปน ทางการ เชน การไดร บั การแตง ต้งั หรอื ไดร ับการเลือกต้ังอยา งเปนทางการ เนื่องจากมีคุณสมบัติ เหมาะสมท่ีจะเปน ผนู ํา 3. ผูนําตามธรรมชาติ คอื ผนู ําทกี่ ลุมหรือสังคมยอมรับสภาพการเปน ผนู าํ ของบุคคล ใดบุคคลหน่ึงใหเปนผูนํากลุมไปสูเปาหมายอยางไมเปนทางการ และผูนําก็ปฏิบัติไปตาม ธรรมชาติ ไมไดม กี ารตกลงกันแตประการใด 4. ผนู ําลักษณะพิเศษ หรอื ผูนําโดยอํานาจบารมี คือ ผูท่ีไดรับการยอมรับจากกลุม หรือสงั คมในลักษณะท่ีเปนเพราะความศรทั ธา ทั้งน้ีเนอ่ื งจากมคี วามเคารพ เช่ือถือเพราะบุคคล นัน้ มีคณุ สมบตั พิ ิเศษท่ีเปน ทย่ี อมรบั ของกลมุ 5. ผนู ําสัญลกั ษณ คือ บุคคลท่ีไดรับการยอมรับในลักษณะท่ีเปนเพราะบุคคลน้ัน อยใู นตําแหนง หรอื ฐานะอันเปนทเ่ี คารพยกยองของคนทงั้ หลาย

49 ผนู ําทด่ี ี ผนู าํ ท่ดี ี ควรมคี ุณสมบตั ิ ดังนี้ 1. วิสัยทัศน (Vision) ผูนําที่ดีตองมีวิสัยทัศน การมีวิสัยทัศนเปนการมองการณไกล เพอ่ื กาํ หนดทศิ ทางท่ีควรจะเปน ในอนาคต การมองเห็นกอนคนอ่ืนจะทําใหประสบความสําเร็จ กอน และเปน แรงขับทนี่ ําไปสูจดุ หมายทต่ี อ งการ และผูนําจะตองสามารถส่ือสารวิสัยทัศนของ ตนไปยงั ผเู กย่ี วขอ งได และชกั จูงหรือกระตุนใหผตู ามพึงปฏิบตั ไิ ปตามวิสัยทัศนข องผนู าํ น้นั ๆ 2. ความรู (Knowledge) การเปน ผูนํานัน้ ความรเู ปน ส่งิ จาํ เปนท่ีสุด ความรูในที่น้ีมิได หมายถงึ เฉพาะความรเู ก่ียวกับงานในหนาท่ีเทานั้น หากแตรวมถึงการใฝหาความรูเพ่ิมเติมใน ดานอ่ืน ๆ ดวยการจะเปนผูนําท่ีดี หัวหนางานจึงตองเปนผูรอบรู ย่ิงรอบรูมากเพียงใด ฐานะ แหง ความเปนผูน ําก็จะยง่ิ มน่ั คงมากข้ึนเทานั้น 3. ความรเิ ร่ิม (Initiative) ความริเรม่ิ คือ ความสามารถทจี่ ะปฏบิ ัติส่ิงหน่ึงสิง่ ใดใน ขอบเขตอํานาจหนาท่ีไดดวยตนเอง โดยไมตองคอยคําสัง่ หรอื ความสามารถในการแสดงความ คิดเห็นท่จี ะแกไข สงิ่ หนึง่ สง่ิ ใดใหดีข้ึน หรือเจรญิ ขึ้นไดดวยตนเอง ความริเร่ิมจะเจริญงอกงาม ได หัวหนางานจะตองมคี วามกระตอื รอื รน คือมีใจจดจองานดี มีความเอาใจใสตอหนาที่ มีพลัง ใจที่ตองการความสาํ เร็จอยูเบ้ืองหนา 5. มคี วามกลาหาญและความเดด็ ขาด (Courage and Firmness) ผูนาํ ที่ดจี ะตอ ง ไมกลัวอันตราย ความยากลําบาก หรือความเจ็บปวดใดๆ ท้ังทางกาย วาจา และใจ ผูนําที่มี ความกลา หาญ จะชวยใหสามารถเผชิญตองานตางๆ ใหสําเร็จลุลวงไปได นอกจากความกลา หาญแลว ความเด็ดขาดกเ็ ปน ลักษณะหนงึ่ ทจี่ ะตองทําใหเกิดในตัวของผูนํา 5. การมมี นษุ ยสมั พันธ (Human Relations) ผูนําที่ดีจะตองรูจักประสานความคิด ประสานประโยชนสามารถทํางานรวมกบั คนทกุ เพศทกุ วัย ทุกระดับการศึกษาได ผูนําที่มีมนุษย สมั พันธดีจะชวยใหปญ หาใหญก ลายเปนปญหาเล็กได 6. มีความยตุ ิธรรมและซือ่ สตั ยส จุ ริต (Fairness and Honesty) ผูนาํ ท่ีดีจะตองอาศัย หลักของความถูกตอง หลักแหงเหตุผลและความซ่ือสัตยสุจริตตอตนเองและผูอ่ืน เปนเครื่องมือในการวินิจฉัย สั่งการ หรือปฏิบัติงานดวยจิตท่ีปราศจากอคติ ปราศจากความ ลําเอยี ง ไมเ ลน พรรคเลน พวก 7. มีความอดทน (Patience) ความอดทนจะเปนพลังอันหนึ่งท่ีจะผลักดันงานใหไปสู จุดหมาย ปลายทางไดอ ยา งแทจ รงิ

50 8. มีความตื่นตัว (Alertness) ความต่ืนตัว หมายถึง ความระมัดระวัง ความสุขุม รอบคอบ ความไมประมาท ไมยืดยาดหรือขาดความกระฉับกระเฉง มีความฉับไวในการ ปฏิบัติงานทันตอเหตุการณ ความต่ืนตัวเปนลักษณะที่แสดงออกทางกาย และทางจิตใจ จะตองหยุดคิดไตรตรอตอเหตุการณตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น รูจักใชดุลยพินิจท่ีจะพิจารณาสิ่งตาง ๆ หรือเหตุการณตาง ๆ ไดอยางถูกตอง คือ ผูนําท่ีดีจะตองรูจักวิธีควบคุมตัวเองน่ันเอง (Self Control) 9. มคี วามภักดี (Loyalty) การเปน ผนู าํ หรือหวั หนาที่ดนี ัน้ จาํ เปน ตองมคี วามจงรกั ภักดี ตอหมูคณะตอสวนรวมและตอองคการ ความภักดีนี้ จะชวยใหผูนําไดรับความไววางใจ และ ปกปองภัยอนั ตรายในทกุ ทศิ ไดเ ปน อยางดี 10. มีความสงบเสงี่ยมไมถือตัว (Modesty) ผูนําท่ีดีจะตองไมหยิ่งยโส ไมจองหอง ไมวางอํานาจ และไมภูมิใจในสิ่งที่ไรเหตุผล ความสงบเสง่ียมนี้ถามีอยูในผูนําหรือหัวหนางาน คนใดแลว กจ็ ะทําใหผ ตู ามหรอื ลูกนอ งมีความนับถอื และใหค วามรว มมือเสมอ การเสริมสรา งภาวะผูนาํ ชมุ ชน การเสริมสรา งภาวะผูน ําชุมชน หมายถึง การทาํ ใหผ ูน าํ ชมุ ชนมีภาวะผูนาํ เพมิ่ ขน้ึ หรือ การทําใหผูนาํ ชุมชนมกี ารปรับปรุงความสามารถในการทําหนาท่ีหรือการเขาไปมีบทบาทในแต ละดานใหก ับชมุ ชนไดด ีขนึ้ การเสรมิ สรางภาวะผูน ํา ไดแก การพัฒนาบคุ ลิกภาพ การพัฒนา รูปลักษณ การพัฒนาทักษะในการติดตอส่ือสาร การพัฒนาความทรงจํา และการพัฒนา ความคดิ ริเริ่มสรางสรรคโ ดยมรี ายละเอียดดงั นี้ 1. การพัฒนาบุคลิกภาพของผูนํา ไดแก การเสริมสรางมนุษยสัมพันธ เชน การ ควบคุมตนเอง การรับฟงผูอ่ืน การมีความซ่ือสัตยตองาน เพื่อนรวมงาน การรูจักถอมตน การใหความรวมมือกับผูอื่น การถนอมน้ําใจผูอื่นเปนตน การเขาใจความตองการของชุมชน และการสรา งภาพลักษณ เชน ความม่ันใจในตัวเอง แรงจูงใจในการทํางาน การปรับตัวเขา กบั ผอู น่ื การแสดงความคิดเหน็ เปนตน 2. การพัฒนารปู ลกั ษณของผนู าํ ไดแ ก การออกกาํ ลังกาย การรับประทานอาหาร ท่ีเปนประโยชนถูกหลักโภชนาการ การรักษารูปรางและสัดสวน การรูจักการแตงกาย และ การพัฒนามารยาท เชน มารยาทในการแนะนําตัว มารยาทในโตะอาหาร มารยาทตอคน รอบขา ง มารยาทในที่ทาํ งาน มารยาทในการประชุม เปน ตน

51 3. การพัฒนาทักษะในการติดตอสื่อสาร ไดแก การพูด การฟง การสื่อสารทาง โทรศัพท การพดู ในทช่ี มุ ชน การวิเคราะหก ลุมผูฟง การวเิ คราะหเนอ้ื หา การอาน การเขียน การใหคาํ แนะนาํ คําปรึกษา 4. การพัฒนาความทรงจํา ไดแก การจํารายละเอียดของงาน การจํารายละเอียด เก่ียวกับบคุ คลการจําเกย่ี วกบั ตวั เลข 5. การพัฒนาความคิดริเริ่มสรา งสรรค เปน การพัฒนาเพื่อหาวิธีการใหม ๆ ทําใหกลา คิด กลาแสดงออก ทาํ ใหม องโลกกวา ง และมคี วามยืดหยุน สรางผลงานใหม ๆ ภาวะผูนําของชุมชน 1. ดา นการบรหิ ารตนเอง ผนู าํ ควรเปน ผมู ีความรคู วามสามารถ มีคุณธรรม ศลี ธรรม จริยธรรมมีวนิ ัยในตนเอง และมีบุคลกิ ภาพดี 2. ดานการบริหารงาน ผูนําควรมีการวางแผน การปรับปรุงแกไขงบประมาณ การเงิน บัญชี การบริหารงบประมาณ การพัฒนางานอยางตอเน่ือง การควบคุมและ ประเมนิ ผล การสรางและการพัฒนาทมี งาน และการมคี วามรับผดิ ชอบตอชมุ ชน 3. ดา นการบรหิ ารสังคม ผูน ําควรมมี นษุ ยสมั พนั ธทดี่ ี ความเปนประชาธิปไตย การ ประสานงานดี และการเปน ทป่ี รึกษาทด่ี ี หนา ท่ขี องผูนาํ ชุมชน ในการทําหนาทเี่ ปน ผนู าํ ชมุ ชนนน้ั จะตองเปนผูรกั ษาหรือประสานใหส มาชิกของชุมชน อยรู ว มกัน คือ ตองอยใู กลชดิ กบั ชมุ ชน มคี วามสมั พันธกบั คนในชุมชน และเปนที่ยอมรับของ คนในชุมชน อีกท้ังผูนําจะตองเปนผูปฏิบัติภารกิจของชุมชนใหบรรลุวัตถุประสงค คือ ตองรับผิดชอบในกระบวนการวิธีการทํางานดวยความม่ันคงและเขาใจ และตองทํางานให บรรลุเปาหมาย นอกจากน้ัน ผูนําชุมชนจะตองมีบทบาทในการสนับสนุนใหเกิดการติดตอ สัมพนั ธในกลมุ คือ จะตอ งปฏิบัติงานในลักษณะอํานวยความสะดวก ใหสมาชิกในชุมชนเกิด การตดิ ตอสัมพนั ธและปฏิบตั ติ อ กันดวยดกี ารตดิ ตอ สอื่ สารท่ีดีจึงเปนส่ิงสําคญั และเปน การชวย ใหห นา ที่ผูนําชุมชนบรรลเุ ปา หมาย แนวทางในการทําหนา ท่ผี นู าํ ชมุ ชน 1. สรางความสามัคคใี หเ กดิ ข้ึนในชมุ ชน 2. กระตนุ ใหสมาชกิ ทําส่ิงที่เปนประโยชนตอ ชุมชน

52 3. พฒั นาสมาชิกใหเ กิดภาวะผนู าํ 4. รว มกับสมาชิกกาํ หนดเปาหมายของชมุ ชน 5. บรหิ ารงาน และประสานงานในชมุ ชน 6. ใหค ําแนะนาํ และชี้แนวทางใหก บั ชมุ ชน 7. บาํ รงุ ขวญั สมาชิกในชุมชน 8. เปนตวั แทนชุมชนในการติดตอ ประสานงานกบั หนวยงานอ่นื ๆ 9. รบั ผดิ ชอบตอผลการกระทําของชมุ ชน บทบาทผนู ําชมุ ชน ดา นเศรษฐกิจ 1. ทาํ ใหค รัวเรอื นสามารถพงึ่ ตนเองได 2. สง เสริมอาชีพทต่ี อบสนองตอ ความตอ งการของชมุ ชน 3. สง เสริมวสิ าหกจิ ชุมชนตามความเหมาะสม ดานการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มในชมุ ชน 1. บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยา งเหมาะสม 2. เสริมสรางสภาพแวดลอ มท่ดี ี 3. วางระบบโครงสรา งพน้ื ฐานเพียงพอตอความตอ งการ ดานสุขภาพอนามัย 1. วางระบบโครงสรา งพน้ื ฐานเพ่อื สขุ ภาพจากการมีสวนรวมของชุมชน 2. จดั การเพื่อเสริมสรา งสขุ ภาพ 3. การปอ งกนั โรค 4. การดแู ลสขุ ภาพดว ยตนเอง ดานศาสนา วฒั นธรรม และประเพณี 1. การนับถือศาสนาที่ยึดเหนีย่ วจติ ใจ 2. การมีวิถชี วี ิตแบง ปน เอ้ืออาทร 3. การอนุรกั ษสบื สานวฒั นธรรมประเพณีของชุมชน ดานการพฒั นาคน 1. การจดั การความรู / ภูมปิ ญ ญา 2. การพัฒนาผูนาํ / สมาชกิ ในชมุ ชน

53 ดา นการบริหารจัดการชุมชน 1. การจัดทาํ ระบบขอมูล 2. การจัดทําแผนชมุ ชน 3. การจดั สวสั ดิการชมุ ชน 4. การเสริมสรา งการเมือง การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย ดานความมั่นคงปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยสิน 1. การปอ งกันรักษาความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส ินของชมุ ชน 2. การปอ งกนั ภัยธรรมชาติ 1.2 ผตู าม ความหมายของผตู าม (Followers) และภาวะผตู าม (Followership) ผูตาม และภาวะผูตาม หมายถึง ผูปฏิบัติงานในองคการที่มีหนาที่ และความ รั บ ผิ ด ช อ บ ที่ จ ะ ต อ ง รั บ คํ า ส่ั ง จ า ก ผู นํ า ห รื อ ผู บั ง คั บ บั ญ ช า ม า ป ฏิ บั ติ ใ ห สํ า เ ร็ จ แ ล ะ บ ร ร ลุ วตั ถุประสงค พฤติกรรมของผูต าม 5 แบบ ดังนี้ 1. ผูตามแบบหา งเหิน มลี ักษณะเปน คนเฉื่อยชา มคี วามเปนอสิ ระ และมีความคิด สรางสรรคส งู สวนมากเปนผูตามที่มีประสิทธิผล มีประสบการณ และผา นอุปสรรคมากอน 2. ผตู ามแบบปรบั ตาม หรอื เรยี กวา ผตู ามแบบครับผม มลี ักษณะเปนผทู ม่ี ีความ กระตือรือรน ในการทํางาน แตขาดความคิดสรางสรรค 3. ผูต ามแบบเอาตวั รอด มีลักษณะเลอื กใชพ ฤตกิ รรมแบบใดข้ึนอยกู ับสถานการณท ี่ จะเอ้ือประโยชนก บั ตวั เองไดม ากทสี่ ดุ และมีความเสีย่ งนอยทีส่ ดุ 4. ผตู ามแบบเฉ่ือยชา มีลักษณะชอบพ่งึ พาผอู ่นื ขาดความอิสระ ไมม คี วามคิดรเิ ริม่ สรา งสรรค 5. ผตู ามแบบมปี ระสทิ ธผิ ล มลี กั ษณะเปนผูทมี่ คี วามตง้ั ใจในการปฏิบัตงิ านสงู มี ความสามารถในการบริหารจดั การงานไดดวยตนเอง ลกั ษณะผตู ามที่มีประสิทธผิ ล ดังนี้ 1. มคี วามสามารถในการบริหารจัดการตนเองไดดี 2. มคี วามผกู พันตอองคก ารและวัตถุประสงค

54 3. ทํางานเต็มศักยภาพ และสดุ ความสามารถ 4. มีความกลาหาญ ซอื่ สตั ย และนา เช่ือถือ การพัฒนาศกั ยภาพตนเองของผูต าม การพัฒนาลักษณะนิสยั ตนเองใหเ ปนผตู ามทมี่ ีประสทิ ธิผล มี 7 ประการ คอื 1. ตองมีนิสัยเชงิ รุก 2. เรม่ิ ตนจากสวนลกึ ในจติ ใจ 3. ลงมือทําสิง่ แรกกอน 4. คดิ แบบชนะทง้ั สองฝา ย 5. เขา ใจคนอ่นื กอนจะใหค นอื่นเขา ใจเรา 6. การรวมพลัง หรือทํางานเปน ทีม 7. ลับเลอ่ื ยใหค ม หรือพฒั นาตนเองอยูเสมอ แนวทางสง เสรมิ และพฒั นาผตู ามใหม คี ณุ ลกั ษณะผตู ามทพี่ งึ ประสงค มีดงั น้ี 1. การดแู ลเอาใจใส เรอื่ งความตองการข้ันพ้ืนฐานของมนุษยใ หกบั สมาชิกและเปน ธรรม 2. การจงู ใจดวยการใหรางวลั คําชมเชย 3. การใหค วามรู และพัฒนาความคดิ โดยการจัดโครงการฝก อบรม สัมมนา และ ศึกษาดูงาน 4. ผนู ําตองปฏิบตั ิตนใหเ ปน แบบอยาง 5. มีการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านอยางตอเน่อื ง 6. ควรนาํ หลกั การประเมนิ ผลงานที่เนนผลสมั ฤทธิ์ 7. สงเสริมการนาํ หลกั ธรรมมาใชในการทํางาน 8. การสง เสรมิ สนับสนนุ ใหผ ูตามนําหลกั ธรรมาภบิ าลมาใชใ นการปฏบิ ตั งิ านอยา ง จรงิ จัง

55 เรอ่ื งที่ 2 ผนู ํา ผูต ามในการจัดทาํ แผนพัฒนาชุมชน สงั คม แผนชุมชน คือ เคร่ืองมือพัฒนาชุมชนท่ีคนในชุมชนรวมตัวกันจัดทําขึ้นเพ่ือใชเปน แนวทางในการพัฒนาชุมชนของตนเองใหเปนไปตามสภาพปญหาและความตองการที่ชุมชน ประสบอยูรวมกัน โดยคนในชุมชนรวมกันคิด ตัดสินใจ กําหนดแนวทางและทํากิจกรรม ก า ร พั ฒ น า ข อ ง ชุ ม ช น ด ว ย ห ลั ก ก า ร พึ่ ง ต น เ อ ง ต า ม ศั ก ย ภ า พ ภู มิ ป ญ ญ า วิถีชีวติ วฒั นธรรม ทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ ม ในทอ งถิน่ เปน หลัก การจัดทาํ แผนพฒั นาชุมชนน้ัน ผนู ําชมุ ชนจะตอ งเปน ผรู เิ รมิ่ จัดทําโดยสรางการมีสวน รว มของคนในชมุ ชน ดงั นี้ 2.1 การเตรยี มความพรอมทีมงาน 2.1.1 ทมี งานจดั ทําแผน ผูนําชุมชนรวมกับทีมงานพัฒนาชุมชนระดับอําเภอเผยแพรความคิด สราง ความรู ความเขาใจแกสมาชิกในชุมชนเก่ียวกับแผนชุมชนถึงกระบวนการเทคนิคการเปน วิทยากร บทบาทหนาท่ี ความสําคัญในการจัดทําแผนชุมชนเพื่อคนหา คัดเลือกบุคคลเปน คณะทาํ งานระดบั หมูบาน/ชุมชน รว มกบั ทกุ ภาคสวนโดยพิจารณาผูท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมกับ การทํางาน ตองการทํางานเพ่ือชุมชน ชุมชนใหการยอมรับใหเปนคณะทํางาน เชน กํานัน ผูใหญบาน ผูนําตามธรรมชาติ แกนนําอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) อาสา พัฒนาชุมชน (อช.) ภูมิปญญา ผูเฒาผูแก พระสงฆ นักวิชาการทองถิ่น บุคคลในองคการ บรหิ ารสว นตําบล (อบต.) สว นราชการและหนว ยงานเอกชน เปน ตน 2.1.2 ทมี งานผสู งเสริมกระบวนการจดั ทําแผน ทมี งานภาคเี ครือขายในการจดั ทําแผน เปนภาคกี ารพฒั นาซ่ึงมีทง้ั ภาคราชการ ภาคประชาสงั คม สถาบันวิชาการ และองคกรพฒั นาเอกชน จาํ นวน 19 องคกร ไดแ ก 1) ภาคราชการ จํานวน 11 องคกร คือ กรมการปกครอง กรมสงเสริมการ ปกครองสวนทองถนิ่ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.) กรมสงเสริมวิชาการเกษตร กรมการพัฒนาชุมชน (พช.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) กรมประชาสัมพันธ องคการส่ือสารมวลชนแหงประเทศไทย (อสมท.) ธนาคารเพ่ือการเกษตร และสหกรณก ารเกษตร (ธกส.) สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ (สศช.) และสาํ นักงานกองบัญชาการทหารสูงสดุ (บก.สงู สุด)

56 2) ภาคประชาสังคม จํานวน 3 องคกร คือ สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ (สทบ.) และสํานักงาน คณะกรรมการกองทุนเพอ่ื การวิจัย (สกว.) 3) สถาบนั วิชาการ จาํ นวน 2 องคก ร คือ ทบวงมหาวิทยาลัย และสถาบันราชภัฏ 4) ภาคเอกชน จํานวน 3 องคกร คือ มูลนิธิหมูบาน วิทยาลัยการจัดการทาง สงั คม (วจส.) และสถาบันชุมชนทอ งถ่ินพฒั นา 2.2 การเตรียมความพรอ มขอ มลู และพ้นื ท่ี 2.2.1 ขอมูล ไดแก ขอมูลความจําเปนพ้ืนฐาน (จปฐ.) ขอมูลพื้นฐานระดับ หมูบ า น/ชมุ ชน (กชช. 2 ค) คอื ขอมลู พื้นฐานของหมบู านท่ีแสดงใหเหน็ สภาพท่วั ไปและปญหา ตาง ๆ ของหมูบาน ไดแก โครงสรางพ้ืนฐานเศรษฐกิจ สุขภาพและอนามัย ความรูและ การศึกษา ความเขมแข็งของชุมชน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม สภาพแรงงาน ยาเสพติด ขอมลู ศักยภาพชุมชน 2.2.2 พ้ืนท่ี คือ ความพรอมของพื้นที่มีดานใดบาง เชน ทุนทางสังคม ไดแก บุคคล ภูมิปญญา ทุนทางเศรษฐกิจ ไดแก ทรัพยากรในการประกอบอาชีพ ทุนของชุมชนที่ เอ้อื ตอ การวางแผนชมุ ชน 2.3 การดาํ เนินการจัดทาํ แผนชมุ ชน การจัดทําแผนพัฒนาชุมชนนั้น คณะทํางานซึ่งเปนแกนนําชุมชนในการจัดทําแผน ใชเ วทีประชาคมในการประชุมเพือ่ วางแนวทางดวยกระบวนการกลมุ ชุมชน ดงั น้ี 2.3.1 การศกึ ษาชุมชน คณะทํางานของชุมชนนาํ พาสมาชิกชุมชนใหศ กึ ษาเรยี นรูช ุมชนของตนเอง เชน สภาพการเงินของครัวเรือนเปนอยางไร สภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอดีตกับ ปจ จุบนั แตกตา งกันหรือไม อยางไร เน่ืองจากเหตุใดสภาพสังคมน้ันพฤติกรรมของคนในชุมชน พึงประสงคเ ปนไปตามจารตี ประเพณี วัฒนธรรมเพียงใด เปนตน 2.3.2 สาํ รวจรวบรวมขอ มลู ชมุ ชน ผูนําและสมาชิกในชุมชนรวมกันออกแบบเคร่ืองมือสํารวจขอมูลเอง หรือนาํ แบบสาํ รวจขอ มลู ที่หนวยงานมีอยู เชน กชช. 2ค หรือ จปฐ. มาปรับปรุงเพ่ิมเติมขอมูล ท่ตี อ งการทราบ แลว นาํ ไปสาํ รวจขอมลู ชุมชน หรอื สํารวจขอมูลโดยการจดั เวทีประชาคม

57 เพอื่ เรยี นรสู ภาพปญ หาและความตอ งการของชมุ ชน ซงึ่ ผูสาํ รวจขอมลู และผูใหขอมูลก็คือคนใน ชุมชนนัน้ เอง 2.3.3 วิเคราะหข อ มูล/สงั เคราะหข อมูล คณะทํางานชุมชน ผูนําชุมชน สมาชิกในชุมชนรวมกับทีมงานสงเสริม กระบวนการจัดทําแผนชุมชนนําขอมูลท่ีเก็บรวบรวมมาแยกแยะตามประเภทของขอมูล เชน ขอมูลดานครอบครัว ดานเศรษฐกิจ ดานอาชีพ ดานสังคม ดานการคมนาคม ดานการศึกษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ดานการสาธารณสุข ดานการเมืองการปกครอง ดานโครงสราง พนื้ ฐานทจ่ี าํ เปนตอการดํารงชีวิต ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนตน ซึ่งจะทําให ทราบถึงปญ หาและสาเหตุของปญหาในชมุ ชน 2.3.4 จดั ทาํ แผนชมุ ชน ตามข้นั ตอนดงั น้ี 1) ยกรา งแผนชุมชน คณะทํางานจดั ทาํ แผนเชญิ บุคคลทม่ี ีความรอบรูและมีสวน เกี่ยวของกับการทําแผนประชาชนในชุมชน ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทํารางเคาโครงของแผน ชมุ ชน จัดทาํ แผนงาน โครงการกจิ กรรมบนพื้นฐานของขอ มลู ชมุ ชนทสี่ อดคลอ งกบั แนวนโยบาย ของรฐั ยดึ หลักแนวทางการพ่ึงตนเองอยางยง่ั ยืน 2) ประชาพจิ ารณแผนชุมชน จัดประชมุ ประชาคมสมาชิกชมุ ชนเพอ่ื นําเสนอราง แผนใหส มาชกิ ในชมุ ชนรว มแสดงความคิดเหน็ รวมกนั พิจารณาตรวจสอบขอ มูล แกไ ข ปรับปรุง เพ่ิมเตมิ แผนงานโครงการ กิจกรรมใหถูกตองตามความเปนจริงและเปนปจจุบัน สอดคลองกับ สภาพปญหาและความตองการของชุมชน ประชาชนในชุมชนใหความเห็นชอบ ยอมรับเปน เจาของรวมกันเพื่อผลักดันแผนชุมชนใหเกิดการใชงานไดจริง แลวจัดทําเอกสารเปนรูปเลมที่ สามารถอางอิง นําไปใชในการประสานงาน การสนับสนุนใหเกิดโครงการ กิจกรรมตามที่ กําหนด ตลอดจนใชเปนเครื่องมือการดําเนินงานพัฒนาชุมชนและประสานความรวมมือ ยกระดบั คุณภาพชวี ิตที่ดขี ึน้ ของสมาชิกในชมุ ชนและสามารถตรวจสอบระดบั ความกา วหนาของ การพัฒนากับแนวทางที่วางไวได 2.3.5 การประสานแผนหรือการบูรณาการแผนพัฒนาชุมชน มีขั้นตอน ดังน้ี 1) คณะทํางานแผนระดับหมูบาน/ชุมชน นําแผนชุมชนตนเองเขารวม บูรณาการแผนพัฒนาระดับตําบล/เทศบาล โดยคณะทํางานระดับตําบล/เทศบาล เปนผูอํานวยการบูรณาการ จากนั้นจะมอบแผนพัฒนาของหมูบาน/ชุมชน และแผนพัฒนา

58 ระดับตําบล/เทศบาล ใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ินและหนวยงานภาคีเครือขาย นําไป บูรณาการกับแผนพัฒนาทองถ่ินและแผนพัฒนาของหนวยงานภาคีตาง ๆ และนําไปสูการ ปฏิบตั ิ 2) ในระดับอําเภอก็จะนําแผนพัฒนาชุมชนมาบูรณาการเขากับ แผนพัฒนาระดับอําเภอและแผนพัฒนาของทุก ๆ อําเภอก็จะถูกนํามาบูรณาการเขากับแผน ระดบั จังหวัด ซงึ่ แผนพฒั นาชมุ ชน สังคมนี้ ภาครฐั จะสามารถนํามากาํ หนดเปนแผนยุทธศาสตร ในการพฒั นาจงั หวัดไดเ ปน อยางดี เน่ืองดวยแผนน้ันเกิดขึ้นมาจากการมีสวนรวมในการพัฒนา จากประชาชนในทองถ่นิ 3) ใหคณะทํางานแผนซ่ึงเปนผูนําในการจัดทําแผนตองติดตามผลวา แผนพัฒนาท่ีไดจัดทาํ ข้นึ เปน อยางไร มีหนวยงานใดบางท่ีแปลงแผนพัฒนาชุมชนไปดําเนินการ ดําเนนิ การแลว มีผลอยา งไร แกปญ หาไดหรอื ไม แผนใดไมไดรับการนําไปสูการปฏิบัติ แลวสรุป เปนขอ มูลเพือ่ ใชเ ปนแนวทางในการจัดทาํ แผนพฒั นาหมบู า น/ชมุ ชนในคร้ังตอ ไป 4) ใหค ณะทาํ งานแผนทาํ การทบทวนปรับปรุงแผนพัฒนาอยางตอเนื่อง ทุกป เพ่ือใหเกิดกระบวนการเรียนรูในการจัดทําแผนพัฒนาชุมชนและสังคมแบบมีสวนรวม และใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพ หรือ ยกระดับคุณภาพของคนในหมูบาน/ชุมชน ตอ ไป เรื่องที่ 3 ผูนาํ ผตู ามในการขับเคลือ่ นแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม เม่ือจัดทําแผนชุมชนเปนรูปเลมเอกสารเรียบรอยแลว ผูนําชุมชน องคกรชุมชน และ ประชาชนในชุมชนทุกฝายควรมีสวนรวมขับเคล่ือนนําไปสูการปฏิบัติจึงจะมีคุณคาและเกิด ประโยชนต อชุมชน ซง่ึ แนวทางในการขบั เคลอ่ื นมดี งั น้ี 1. คณะทํางานระดับหมูบาน/ชุมชน และประชาชน ซึ่งเปนสมาชิกของชุมชน จัดประชุมปรึกษา หารือรวมกันพิจารณาการนําโครงการและกิจกรรมท่ีกําหนดไวในแผนไป ดาํ เนินการใหบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคโดยใหดาํ เนินการ ดังนี้ 1.1 จัดลําดับความสําคัญของโครงการ/กิจกรรม วาโครงการใด มีความสําคัญที่ ตองดําเนนิ การกอ น-หลัง 1.2 จดั ประเภทของแผนงาน ซึ่งแบงออกเปน 3 ประเภท คอื 1.2.1 แผนชมุ ชนท่ชี ุมชนสามารถดําเนนิ การไดเอง

59 1.2.2 แผนชุมชนท่ีชุมชนและหนวยงานภายนอก รว มกันดําเนนิ การ 1.2.3 แผนชมุ ชนทต่ี องประสานหนว ยงานภายนอก เขามาใหก ารสนับสนนุ 2. แบงบทบาทหนาท่ีของคณะทํางาน อาสาสมัคร สมาชิกชุมชน เปนผูรับผิดชอบ แผนงาน โครงการ/กิจกรรม เพอ่ื ผลกั ดนั ใหม กี ารนําไปปฏิบัติจริงในชุมชน 3. รวมกันดําเนนิ กิจกรรมของโครงการใหบรรลผุ ลตามทตี่ ัง้ ไวใ นแผน 4. ติดตามผลความกาวหนาในการดําเนินงาน ตลอดจนปญหาและอุปสรรคของ การดาํ เนินโครงการตามแผนงาน เพื่อจะไดชวยกันแกไขปญ หาอุปสรรคท่เี กดิ ขึน้ 5. ประเมินผลการดําเนินงาน วาผลท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินโครงการและ กจิ กรรม เปนไปตามวัตถุประสงคท ่ีต้งั ไวห รือไม เพียงใด

60 กิจกรรมทายเลม ใหนกั ศึกษาทํากจิ กรรมตอไปนี้ ขอ 1 ใหบ อกความหมายของคาํ ตอไปนี้ - การพฒั นาตนเอง - การพฒั นาชมุ ชน - การพัฒนาสังคม และนกั ศึกษาอธิบายวาจะนาํ ความรเู รอื่ งการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ไปประยุกตใช ในการพฒั นาตนเองในชีวิตประจาํ วันไดอ ยางไร ขอ 2 ใหน ักศึกษาเกบ็ รวบรวมขอมลู ครอบครวั ของตนเอง ตามแบบสํารวจ ตอ ไปน้ี แบบสํารวจขอมูลครอบครัว 1. สมาชิกในครอบครวั มีจาํ นวนทง้ั หมด........................คน 2. หวั หนา ครอบครัว 2.1 ชอื่ ................................................อายุ..............ป 2.2 อาชพี หลัก......................................รายไดต อ ป....................บาท 2.3 อาชพี รอง/อาชีพเสริม..............................รายไดตอป. ...........บาท 2.4 รายไดรวมตอป. ................................บาท 2.5 ระดบั การศึกษาสูงสุดของหัวหนา ครอบครวั .................................................. 2.6 โปรดระบบุ ทบาทในชุมชนของหวั หนาครอบครัว (เชน กํานนั , ผใู หญบา น, สมาชิก อบต. ฯลฯ) .................................................................................................................................

61 3. โปรดใสรายละเอียดเก่ยี วกบั สมาชิกภายในครอบครวั ทุกคนทีอ่ าศยั อยรู วมกัน ในตาราง ตอไปนี้ ความสมั พันธ อาชพี อาชีพ รายได การศึกษา กําลัง บทบาท ช่อื – ชอื่ สกลุ อายุ กบั หวั หนา หลกั รอง/ เฉลย่ี ตอ สงู สุด ศึกษา ในชมุ ชน ครอบครัว เสรมิ ป ระดบั

62 4. การถือครอง/การใชป ระโยชนของที่ดิน  มี  ไมม ี การถือครองทด่ี ิน  เปน ของตนเอง  รบั การจดั สรรจากทางราชการ การใชประโยชนที่ดิน คอื ....................................................................... ปญ หาท่ดี นิ ........................................................................................... 5. การเพาะปลกู พชื /การกระจายผลผลิต....................................................... จากการขาย................................................................บาท/ป 6. การเลย้ี งสตั ว/การกระจายผลผลิต............................................................. รายไดจ ากการขาย...................................................บาท/ป 7. รายไดเ งินสด จากการทาํ การเกษตร และนอกเหนือจากการทาํ การเกษตร รายไดเ งินสดจากการทําการเกษตร...............................................บาท/ป รายไดเงนิ สดนอกเหนือจากการทําการเกษตร................................บาท/ป 8. รายจา ยหลักในการประกอบอาชีพ................................................บาท/ป รายจา ยประจาํ เดอื นภายในครวั เรือน............................................บาท/ป รายจา ยอื่น ๆ..............................................................................บาท/ป 9. ครอบครวั ของทา น มคี วามเชี่ยวชาญ หรอื ความสามารถพิเศษ ในเรื่องใดบาง ........................................................................................................................................ 10. ความตองการในการพฒั นาอาชพี /ฝกอาชพี /ประกอบอาชพี ......................................................................................................................................... ขอ 3 ใหนักศกึ ษาเขียนโครงการเพอื่ ขอรบั งบประมาณการจัดกจิ กรรมดานการพัฒนาอาชีพใน ชุมชนจากองคก ารปกครองสวนทอ งถิ่น 1 โครงการ ......................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

63 ขอ 4 ใหนักศกึ ษาบอกลกั ษณะของผนู ําทด่ี ี ตามความคิดเหน็ ของตนเอง ....................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ........................................................ แนวเฉลยกจิ กรรมทายเลม ขอ 1. ความหมาย 1. การพัฒนาตนเอง หมายถึง ความตองการของบุคคลในการท่ีจะเพิ่มพูนความรู ความสามารถของตนจากท่ีเปนอยู ใหมีความรูความสามารถเพิ่มข้ึน ท้ังดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสตปิ ญญา เพื่อจะไดเปนสมาชิกที่มีคุณภาพของสังคม สามารถดําเนินชีวิต อยูในชมุ ทชนและสังคมรว มกบั ผอู ืน่ ไดอยางมคี วามสุข 2. การพฒั นาชุมชน หมายถงึ การทาํ ใหชุมชนมีความเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีข้ึน เจรญิ ขึน้ ทัง้ ในดา นเศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม เพื่อใหคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน ดีข้ึน โดยประชาชนในชุมชนมีสวนรวมในทุกข้ันตอน และใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนใหมาก ทส่ี ดุ 3. การพฒั นาสังคม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงใหสังคมมีสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม ดียิ่งขึ้น เพื่อประชาชนมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีข้ึนใน ทุกๆ ดา น ทงั้ ดา น ท่ีอยูอาศัย การศึกษา สุขภาพอนามัย การมีงานทํา รายได บนพ้ืนฐานของ ความเสมอภาคและความยุติธรรม ท้ังน้ี ประชาชนจะตองมีสวนรวมในกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทุกข้นั ตอนอยางมีระบบ

64 ขอ 3 ขั้นตอนการเขยี นโครงการ 9. สถานท่ี 1. ช่ือโครงการ 10. ผรู บั ผดิ ชอบ 2. หลกั การและเหตผุ ล 11. โครงการ/กจิ กรรมที่เกย่ี วขอ ง 3. วัตถุประสงค 12. เครือขาย/หนว ยงานท่ใี หการสนบั สนุน 4. เปาหมาย 13. ผลทค่ี าดวา จะไดร ับ 5. กลมุ เปา หมาย 14. การประเมินโครงการ 6. วิธีดาํ เนนิ การ 15. ตัวช้วี ดั ผลสําเร็จของโครงการ 7. งบประมาณ 8. ระยะเวลาดําเนนิ งาน ขอ 4 ผนู าํ ทดี่ ี ควรมีคุณสมบตั ิ ดงั น้ี 1. มวี ิสัยทัศน (Vision) 2. มคี วามรู (Knowledge) 3. มคี วามรเิ ร่มิ (Initiative) 4. มีความกลา หาญและความเดด็ ขาด (Courage and Firmness) 5. มีมนษุ ยสัมพันธ (Human Relations) 6. มีความยตุ ธิ รรมและซอ่ื สัตยส ุจริต (Fairness and Honesty) 7. มคี วามอดทน (Patience) 8. มคี วามตื่นตัว ( Alertness ) 9. มคี วามภกั ดี (Loyalty) 10. มคี วามสงบเสงีย่ มไมถอื ตวั (Modesty) .........................................................................

65 บรรณานุกรม กรรณกิ า ทติ าราม. การเกบ็ รวบรวมขอมลู . เขาถงึ ไดจ าก http://guru.sanook.com/search/ knowledge_search.php (22/7/2552) กระบวนการจดั ทําแผนชมุ ชน. เขาถงึ ไดจ าก http://www.iad.dopa.go.th.subject/cplan/process-cplan.ppt (25/2/2554) กระบวนการวางแผน เขาถึงไดจาก http://www.pitajarn.lpru.ac.th/-chitlada/WEB page/om/3pdf. (8/8/2552) กองทุนสนับสนนุ การวิจัย (สกว.), สํานักงานภาค. การสนทนากลุม (Focus Group Discussion). เขา ถงึ ไดจาก http://www.vijai.org/Tool vijai/12/02.asp (30/1/2549) กัลยา วานิชยบัญชา. สถติ ิสาํ หรบั งานวิจยั . พิมพครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลยั , 2549. การประเมินประสทิ ธิภาพของภาวะผนู าํ . เขา ถึงไดจ าก http://www.nrru.ac.th/article/ leadership/page1.5.html (16/8/2009) การพัฒนาสังคม. เขาถงึ ไดจาก http:// www.phetchaburi.m- society.go.th/p.htm.(5/9/2552) การพัฒนาสงั คมโดยการมีสว นรว ม. เขาถึงไดจ าก http://dnfe.5.nfe.go.th/lip/soc2/8031-2_4.htm. (25/8/2552.) การมสี วนรวม. เขาถึงไดจ าก http://www.thaipoliticsgovernment.org/wiki (25/8/2552) การมสี วนรวมของประชาชนในการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตจิ งั หวดั ภเู กต็ . เขาถงึ ไดจ าก http://www.oknation.net/blog/singh/2009/08/18/entry. (8/8/2552) การวางแผน. เขา ถึงไดจ าก http://www.cado.mnre.go.th. (8/08/2552)

66 การศึกษานอกโรงเรียน, กรม. การวเิ คราะหน โยบายกรมการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาํ ป งบประมาณ 2540-2545. กรงุ เทพฯ: รังสีการพิมพ, 2546. การศกึ ษานอกโรงเรียน, กรม. ความหมายของคาํ เกี่ยวกบั แผนงาน โครงการ. กรงุ เทพฯ: ศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา, 2545. การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม. เอกสารการอบรมการวางแผนการศกึ ษานอกโรงเรยี น. กรุงเทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย, 2540. การศกึ ษาและพฒั นาตอ เนือ่ งสิรินธร, สถาบัน. เอกสารประกอบการฝก อบรมกลุมขาราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา. นครราชสมี า : มติ รภาพการพมิ พ, 2551. การเสริมสรา งภาวะผูนําชมุ ชน. เขา ถึงไดจาก http://www.uinthai.com/index. php?lay= show&ac=article&Id=538667754&Ntype=119 (14/8/2009) เกรยี งศักดิ์ เขยี วย่ิง. การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษยแ ละบคุ คล. ขอนแกน : ภาควิชา สงั คมศาสตร คณะมนุษยศาสตรแ ละสังคมศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน , 2539. ขอ มูลดา นภมู ศิ าสตรแ ละการปกครอง. เขา ถงึ ไดจ าก http://www.spb3.obec.go.th_ geo.htm (18/8/2552) ขั้นตอนการดําเนนิ การจัดทําแผนหมบู าน/ชมุ ชน (เครอื่ งมือการเรยี นรูของชมุ ชนทองถิ่น). เขา ถึงไดจาก http://www.pattanalocal.com/n/52/13.pdf (18/ 3/2554) คนเกบ็ ขยะ (การมสี ว นรวมของประชาชน) เขา ถงึ ไดจาก http://gotoknow.org/blog/rubbish/73541. (28/8/2552) คลงั ปญญาไทย. การนําเสนอขอ มลู . เขาถงึ ไดจ าก http://www.panyathai.or.th (1/7/2552) ความรพู นื้ ฐานการพัฒนาชมุ ชน. เขาถึงไดจ าก http://royalprojects.kku.ac.th/king/files. (29/8/2552) ความหมายของผนู ํา. เขาถึงไดจ าก http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page1.1.html (16/8/2009) ความหมายของแผนชุมชน. เขาถึงไดจาก http://www.thailocaladmin.go.th (5/4/2554) ความหมายแผนงาน. เขาถึงไดจาก http://www.3.cdd.go.th/phichit/b03.html (5/4/2554)

67 ความหมาย “แผนแมบ ทชุมชนพึ่งตนเอง”. เขาถึงไดจาก http://www.thailocaladmin.90.th/ workle_book/eb3/5p8_1.pdf (5/4/2554) เครอื ขายครอบครวั , มลู นิธ.ิ ตวั ตนของหน.ู ..ตอ งชวยสงเสรมิ . เขาถึงไดจาก http://www. familynetwork.or.th/node/15673 (15/7/2552) จิตติ มงคลชัยอรญั ญา. แนวทางการพฒั นาสังคม (ทีเ่ หมาะสม) เขาถงึ ไดจาก http:// socadmin.tu.ac.th/kanabady (5/9/2552) จติ ราภา กณุ ฑลบตุ ร. การจัดระบบขอ มลู และสารสนเทศทางการศึกษา. เขาถงึ ไดจ าก http://www.chittrapa.net/index.php?option=com_content&task=view& id=35&Itemid=mid=36 (10/7/2552) เฉลมิ ขวญั สตรี, โรงเรยี น. หนา ทพ่ี ลเมอื งและวฒั นธรรมไทย. เขา ถึงไดจ าก http://nucha.chs.ac.th/1.1htm (18/8/2552) ชาญชยั อาจนิ สมาจาร. พฒั นาตนเองสคู วามเปน ผบู ริหาร. กรุงเทพฯ : พมิ พทอง, ม.ป.ป. ชูเกียรติ ลีสวุ รรณ. การวางแผนและบริหารโครงการ. จติ วัฒนาการพมิ พ, 2545. ตะวนั ออกเฉียงเหนือ, ศูนยการศกึ ษานอกโรงเรียนภาค. คูมอื การอบรมกระบวนการวางแผน แบบมสี ว นรวม. อุดรธานี : ศริ ิธรรมออฟเซท็ , 2542. ใต, ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาค. รายงานการวจิ ัยปฏบิ ตั กิ ารแบบมีสวนรว มในการ พฒั นากระบวนการจดั ทําแผนชุมชนตามโครงการบรู ณาการแผนชุมชนเพอ่ื ความเขมแขง็ ของชุมชนและเอาชนะความยากจนในภาคใต. สงขลา, 2547. (อัดสาํ เนา) ธงชยั สันติวงษ. หลกั การจดั การ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานชิ , 2540. ธนู อนญั ญพร. กระบวนการพฒั นาชุมชน., 2549 (อดั สาํ เนา) นเรศวร, มหาวทิ ยาลยั . ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม. โครงการเครือขา ยเฝา ระวงั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ลุมน้าํ วังทอง. เขาถึงไดจาก http://conf.agi.nu.ac.th/nrs-new/wangtong/hist.php. (7/7/2552) แนวคดิ ผนู าํ ยคุ ใหม. เขา ถงึ ไดจ าก http://sa.sa.ku.ac.th/index.php?option=com_content& task=view&id=75&Itemid=107 (16/8/2552) แนวคดิ และความเขาใจเก่ยี วกับการพฒั นาสังคมไทย. เขา ถึงไดจาก http://dnfe5.nfe.go.th/

68 ilp/so02/so20_5.html (1/7/2552) แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพแผนชมุ ชน. เขา ถึงไดจาก http://Kaewpany.rmutl.ac.th/2552/attachments/1475_ dev-plan.pdf (25/2/2554) บทความอาหารสมองเรอ่ื ง : การสนทนากลุม (Focus Group Discussion). เขา ถึงไดจาก http://www.vijai.org/articles data/show topic.asp?Topicid=98(30/1/2549) บทบาท หนาที่ และลกั ษณะผูนาํ ชมุ ชนทด่ี .ี เขาถึงไดจาก http://www.uinthai.com/index. php?lay=show&ac=article&Id=538667753&Ntype=119 (14/8/2009) บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น, สํานัก. คาํ ชแ้ี จงการจดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ป งบประมาณ 2551. (อดั สําเนา) ปราชญา กลาผจญั และพอตา บตุ รสุทธวิ งศ. การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย. กรงุ เทพฯ : ธนะ การพมิ พ, 2550. ปราณี รามสูต และจํารัส ดว งสวุ รรณ. พฤติกรรมมนษุ ยก บั การพฒั นาตน. พิมพค รงั้ ที่ 3 กรุงเทพมหานคร :ธนะการพมิ พ, 2545. ปองทิพย เทพอารยี . การศกึ ษาการพฒั นาตนเองของครูในโรงเรยี นอนบุ าลเอกชน กรุงเทพ มหานคร. สารนิพนธ กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลัยมหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ, 2551. แผนการทํางานและการมีสวนรว มโดยการแกป ญ หาเอดสใ นชุมชน เขา ถงึ ไดจ าก http://www.phayaocitil.net/joomla/index.php?. (26/8/2552) แผนชุมชนประจําป พ.ศ. 2553. เขา ถงึ ไดจาก http://payakhan.go.th/document/ 1298599706.doc (8/4/2554) พรชัย ธรณธรรม. สารานุกรมไทยฉบบั เยาวชน. เขา ถงึ ไดจาก http://www.guru.sanook. com/search/knowledge_search.php?q...1 (15/7/2552) พัฒน บณุ ยรัตพันธ.ุ ปรัชญาพฒั นาชมุ ชน. เขา ถึงไดจาก http://royalprojects.kku.ac.th/king/ files/(29/8/2552) พฒั นาชมุ ชนจังหวดั มหาสารคาม, สาํ นักงาน. เอกสารประกอบการประชมุ การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารภาคีพ่ีเลีย้ งระดบั ตาํ บลและแกนนําระดบั ตําบล เพ่อื เพม่ิ

69 ประสิทธิภาพแผนชุมชน. มหาสารคาม : สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด มหาสารคาม, 2550. (อัดสําเนา) ไพโรจน ชลารักษ. ทักษะการจดั การความรู. เขาถึงไดจ าก http://lib.kru.ac.th/eBook/4000111/ doc1-2. html (10/7/2552) ไพโรจน ทิพมาตร. หลักการจดั การ. นนทบุรี : ไทยรมเกลา , 2548. ไพศาล ไกรสทิ ธิ.์ เอกสารคาํ สอนรายวิชาการพฒั นาตน. ราชบรุ ี : คณะครุศาสตร สถาบันราช ภฏั หมบู านจอมบงึ , 2541. ยนื ภูวรรณ. การนําเสนอขอ มลู . เขาถึงไดจาก http://www.school.net.th/library/snet2/ knowledge_math/pre_dat.htm (22 /7/2552) ยุวัฒน วุฒเิ มธี. ปรัชญาของการพัฒนาชมุ ชน. เขา ถึงไดจาก http://royalprojects.kku.ac. th/king/files/(29/8/2552) ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525. พมิ พคร้งั ท่ี 6. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทัศน, 2539. ราชภัฏเทพสตร,ี มหาวิทยาลยั . การรูสารสนเทศ. เขา ถงึ ไดจ าก http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo01/info06.html ราชภฏั นครศรธี รรมราช, มหาวิทยาลยั . เทคโนโลยกี ารศกึ ษา. เขา ถงึ ไดจาก http://www.nrru.ac.th/preeteam/rungrot/page13004asp (1/7/2552) ลกั ษณะภาวะผนู าํ . เขา ถงึ ไดจาก http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page1.4.html (16/8/2009) วรชั ยา ศิรวิ ัฒน. ลักษณะผูต ามทมี่ ปี ระสิทธิผลกบั แนวทางการพฒั นาผูตามในยคุ ปฏริ ูประบบ ราชการ. วารสารพฒั นาชุมชน. (กุมภาพันธ 2547) : 27-34. วราภรณ นกั พณิ พาทย. ความคดิ เหน็ ของขา ราชการมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒทม่ี ตี อ การพฒั นาบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. ปริญญานพิ นธ กศ.ม., 2545. (อดั สาํ เนา) วเิ ลขา ลสี วุ รรณ. ศูนยก ารเรียนชมุ ชน : ชุมชนเขมแขง็ สสู ังคมแหง การเรยี นร.ู กรงุ เทพฯ : บริษัทสวุ ิตา เอน็ เตอรไ พรส จาํ กดั , 2550.

70 ศศธิ ร พรมสงฆ. Web site เพอื่ การเรยี นการสอนรายวชิ าสถติ วิ เิ คราะห. เขาถึงไดจาก http://student.nu.ac.th/429/12.htm (10/7/2552) ศิรพิ งษ ศรีชยั รมยร ตั น. ผนู าํ ที่ดคี วรมคี ณุ สมบตั อิ ยา งไร. เขาถึงไดจาก http://www.sombatlegal. com/index.php?lay=show&ac=article&Id=421796 (25/8/2552) สงเสริมสวัสดกิ ารสงั คมแหง ชาต,ิ คณะกรรมการ. แผนพฒั นาสวัสดกิ ารสังคมและสงั คม สงเคราะหแ หง ชาติ ฉบบั ท่ี 4 (พ.ศ. 2545-2549) (อดั สาํ เนา) สถติ แิ หงชาต,ิ สํานักงาน. การเกบ็ รวบรวมขอมลู . เขา ถงึ ไดจ าก http://service.nso.go.th/ nso/knowledge/estat/esta1_6.html (22 /7/2552) สนธยา พลศรี. ทฤษฎแี ละหลกั การพัฒนาชุมชน. พมิ พค ร้งั ท่ี 4 กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, 2545. สมจิตร เกดิ ปรางค และนุตประวณี  เลิศกาญจนวัต. การสมั มนา. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พ สงเสริมวชิ าการ, 2545. สญั ญา สญั ญาววิ ฒั น. การพฒั นาชุมชน. พมิ พคร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร, 2525. สัญญา สัญญาวิวัฒน. การพฒั นาชมุ ชนหลกั การและวิธีปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ : แพรพ ิทยา, 2515. สญั ญา สัญญาวิวัฒน. ทฤษฎแี ละกลยทุ ธก ารพัฒนาสังคม. พมิ พค รัง้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พจ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั , 2540. สโุ ขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. บณั ฑติ ศึกษา สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร. ประมวลสาระชดุ วิชา บรบิ ททางการบริหารการศึกษา หนว ยท่ี 11-15 กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัย, 2546. สพุ ล พลธีระ. การประชุม. สารเทคนคิ การแพทยจ ฬุ าฯ 4, 2533. สุวิมล ตริ กานันท. การประเมนิ โครงการ : แนวทางสกู ารปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, 2544. หนวยที่ 5 การเขียนรายงาน เขา ถึงไดจ าก http://www.tice.ac.th/Online/Online2- 2549/bussiness/.../n5.htm (17/7/2552) อรพนิ ท สพโชคชยั . การมสี ว นรว มของประชาชนในการพฒั นาระบบราชการ. เขา ถงึ ได จาก http://www.plan.ru.ac.th/newweb/opdc/data/participatory.pdf. (28/8/2552)

71 Administrator. การสนทนากลุม แบบเรยี น -learning. ภาควชิ าพฒั นาชมุ ชน คณะสังคม สงเคราะหศาสตร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร : กรงุ เทพฯ, 2547. IT Destination Tech Archive [00005]. ความหมายของขอมูล. เขาถงึ ไดจาก http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00005 (1/7/2552) Judith Sharken Simon. How to Conduct a Focus Group. เขา ถงึ ไดจาก http://www.tgci.com/magazine/99fall/focus1.asp (30/1/2549) Noina koku GEO. ความหมายของขอ มูลสารสนเทศ สารสนเทศภูมศิ าสตร ฐานขอ มลู . เขา ถงึ ไดจาก http://www.noinazung-06blogspot.com 2009/06geographic-information-system-gis.html (10/7/2552) UNESCO / APPEAL. HandBook : Non-formal Adult Education Facilitator, Module 4 Participatory Learning. Bangkok, 2001. UNESCO / APPEAL. Monitoring and Evaluation of literacy and continuing education programmer. Bangkok, 1999.

72 คณะผูจดั ทาํ ท่ปี รกึ ษา เลขาธกิ าร กศน. นายสุรพงษ จําจด รองเลขาธิการ กศน. นายประเสริฐ หอมดี ผูอ าํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ นางตรนี ุช สขุ สเุ ดช และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผอู าํ นวยการ สถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื นายวิเชยี รโชติ โสอบุ ล รองผอู ํานวยการ สถาบัน กศน. นายทรงเดช โคตรสิน ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ผูส รปุ เนอ้ื หา ครู ชาํ นาญการ กศน.อาํ เภอหนองววั ซอ นางพวงเพชร ชมมี ครู กศน.อําเภอหนองแสง นางนงลกั ษณ แกวนามเมอื ง ครู กศน.อาํ เภอเพญ็ นายเทพพร เตม็ ตาวงษ ครู กศน.อําเภอหนองหาน นายเสกสรร สงวนนาม ครู ชํานาญการ กศน.อําเภอหนองวัวซอ ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ครู กศน.อําเภอหนองแสง นางพวงเพชร ชมมี ครู กศน.อาํ เภอเพญ็ นางนงลักษณ แกว นามเมือง ครู กศน.อําเภอหนองหาน นายเทพพร เตม็ ตาวงษ นายเสกสรร สงวนนาม ผอู อกแบบปก กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป และการศกึ ษาตามอัธยาศยั

73


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook