Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับ ม.ปลาย

พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับ ม.ปลาย

Published by สกร.อำเภอหลังสวน, 2020-01-06 03:30:12

Description: พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับ ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนื้อหาท่ตี อ งรู รายวิชา การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รหสั วิชา สค31003 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ หามจําหนาย หนังสอื เรยี นนจ้ี ดั พมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน ลิขสิทธิเ์ ปนของสํานกั งาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร



4 สารบัญ หนา คาํ นาํ 1 คําแนะนําการใชห นงั สอื เรียน 1 โครงสรางรายวชิ า 4 บทที่ 1 การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 7 เรอื่ งท่ี 1 การพัฒนาตนเอง เรื่องท่ี 2 การพฒั นาชมุ ชน เรอ่ื งท่ี 3 การพัฒนาสงั คม บทท่ี 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม 10 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และประโยชนของขอมูล 10 เรอ่ื งท่ี 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครัว 13 เร่ืองท่ี 3 ขอ มลู ชุมชน สังคม 13 บทท่ี 3 การจดั เกบ็ ขอ มูล และวเิ คราะหข อ มูล 15 เรอ่ื งที่ 1 การจัดเก็บขอมูล 15 เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหขอ มลู 17 เรื่องท่ี 3 การนาํ เสนอขอ มลู 18 บทที่ 4 การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 22 เรือ่ งที่ 1 การวางแผน 22 เรอื่ งที่ 2 การมีสวนรว มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม24 บทท่ี 5 เทคนิคการมีสว นรวมในการจดั ทําแผน 28 เรื่องที่ 1 เทคนิคการมีสว นรวมในการจัดทาํ แผน 28 เรอ่ื งที่ 2 การจดั ทําแผน 38 เรื่องท่ี 3 การเผยแพรสูการปฏบิ ัติ 44

5 สารบญั (ตอ) หนา บทท่ี 6 บทบาท หนา ทีข่ องผนู ํา/สมาชิกทดี่ ขี องชมุ ชน สงั คม 47 เร่อื งท่ี 1 ผนู ําและผตู าม 47 เรอ่ื งที่ 2 ผนู ํา ผูตามในการจัดทาํ แผนพัฒนาชุมชน สงั คม 55 เรือ่ งท่ี 3 ผนู ํา ผตู ามในการขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 58 กิจกรรมทา ยเลม 60 แนวเฉลยกจิ กรรม 63 บรรณานกุ รม 65 คณะทาํ งาน 72

6 คาํ แนะนาํ ในการใชเอกสารสรุปเนื้อหาทต่ี อ งรู หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คมรายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนงั สอื เรียนทจ่ี ัดทาํ ขึ้น สําหรบั ผเู รียนทเี่ ปน นักศกึ ษาการศกึ ษา นอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ผเู รียนควรปฏิบตั ิดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และขอบขายเนอ้ื หา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ี กาํ หนด แลวตรวจสอบกับแนวเฉลยกจิ กรรมทา ยเลม ถาผเู รียนตอบผดิ ควรกลบั ไปศกึ ษาและทํา ความเขาใจ ในเนื้อหานัน้ ใหม ใหเ ขาใจกอนทจ่ี ะศกึ ษาเร่อื งตอ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายบทของแตละบท เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของ เน้ือหาในเร่อื งนน้ั ๆ อีกครัง้ 4. หนงั สอื เรียนเลม นี้มี 6 บท คอื บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม บทท่ี 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม บทท่ี 3 การจัดเก็บขอมูล และวิเคราะหขอ มลู บทที่ 4 การมสี ว นรว มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม บทท่ี 5 เทคนิคการมสี ว นรวมในการจดั ทําแผน บทท่ี 6 บทบาท หนา ทข่ี องผูนํา/สมาชิกทดี่ ขี องชุมชน สังคม

7 โครงสรา งรายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสาํ คญั การพัฒนาตนเอง เปนการพัฒนาความสามารถของตนเองใหมศี ักยภาพ สมรรถนะที่ทัน ตอสภาพความจําเปน ตามความกาวหนา และการเปล่ยี นแปลงของสังคม เพ่ือใหตนเองมีชีวิต ที่ดีข้ึน ดังนั้น การที่จะพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมได จะตองมีความรู ความ เขาใจหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ความสําคัญของขอมูล ประโยชนของขอมูลตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ในดานตา ง ๆ รูว ิธกี ารจดั เก็บ วิเคราะหขอมูลดวยวิธีการท่ีหลากหลาย และการเผยแพรขอมลู ความสามารถในการวางแผนพัฒนาตนเองและครอบครวั รเู ทคนิคการมี สวนรว มในการจัดทําแผนพัฒนาชุมชนและสังคม เขาใจบทบาทหนาท่ีของผูนําชุมชน ในฐานะ ผนู ํา และผูตาม ในการจดั ทาํ และขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาชุมชนและสงั คม ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั 1. เพอ่ื ใหผ ูเรยี นมีความรู ความเขา ใจหลกั การพฒั นาชมุ ชน สงั คม 2. บอกความหมายและความสําคัญของแผนชวี ิต และแผนชมุ ชน สังคม 3. วิเคราะหและนาํ เสนอขอ มลู ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สงั คม ดวยเทคนิคและวิธีการ ท่ีหลากหลาย 4. จงู ใจใหส มาชกิ ของชุมชนมีสว นรวมในการจดั ทําแผนชีวติ และแผนชุมชน สังคมได 5. เปนผนู าํ ผตู ามในการจดั ทาํ ประชาคม ประชาพจิ ารณข องชมุ ชน 6. กําหนดแนวทางในการดําเนินการเพ่ือนําไปสูการทําแผนชีวิตครอบครัว ชุมชน สังคม 7. รวมพฒั นาแผนชมุ ชนตามขั้นตอน ขอบขา ยเน้ือหา บทท่ี 1 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม บทที่ 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม บทท่ี 3 การจัดเก็บขอมูล และวเิ คราะหขอมูล บทที่ 4 การมีสว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม บทท่ี 5 เทคนคิ การมีสว นรวมในการจดั ทําแผน บทที่ 6 บทบาท หนาท่ขี องผนู าํ และสมาชกิ ทด่ี ีของชมุ ชน สงั คม

1 บทที่ 1 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม เรื่องที่ 1 การพฒั นาตนเอง 1.1 ความหมายของ “การพฒั นา” การพัฒนา (Development) หมายถึง การทําใหดีข้ึน เจริญข้ึน เปนการทํา ใหส งิ่ ตาง ๆ มคี ณุ คา เพ่ิมข้นึ ในการพัฒนา อาจพัฒนาจากสิ่งที่มีอยูเดิม หรือสรางสรรคสิ่งใหม ขนึ้ มาก็ได 1.2ความหมายของ “การพัฒนาตนเอง” การพัฒนาตนเอง (Self Development) หมายถึง ความตองการของบคุ คล ในการที่จะเพิ่มพูนความรู ความสามารถของตนจากที่เปนอยู ใหมีความรู ความสามารถ เพม่ิ ข้นึ เกิดประโยชนต อตนเอง ครอบครวั และหนวยงาน ในการพัฒนาตนเองสามารถทาํ ได ท้ังการพัฒนาทางรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสตปิ ญ ญา เพอื่ จะไดเ ปน สมาชกิ ทม่ี คี ณุ ภาพ ของสงั คม สามารถดําเนนิ ชีวติ อยใู นชมุ ทชนและสงั คมรว มกับผอู ืน่ ไดอ ยา งมคี วามสขุ 1.3 ข้ันตอนการพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเองเปนการพัฒนาคณุ สมบตั ิท่ีอยูในตวั บคุ คล เปนการจดั การ ตนเองใหม ีเปาหมายชีวิตที่ดี ทง้ั ในปจ จุบนั และอนาคต การพัฒนาตนเอง จะทาํ ใหบ คุ คลสํานึก ในคณุ คาความเปน คนไดม ากย่ิงข้ึน ปราณี รามสูต และจาํ รสั ดวงสุวรรณ (2545 : 125-129) ไดกลาวถึง หลักการ พัฒนาตนเอง แบงออกเปน 3 ขัน้ ตอน ดงั น้ี ขัน้ ที่ 1 การตระหนักรถู ึงความจาํ เปนในการปรบั ปรุงตนเอง เปนความตองการ ในการท่ีจะพัฒนาตนเอง เพ่ือใหช วี ติ ประสบความสําเร็จ ความจาํ เปนในการปรบั ปรงุ ตนเอง มีทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สงั คม และสตปิ ญ ญา ขั้นที่ 2 การวิเคราะหต นเอง โดยการสังเกตตนเอง ประเมินตนเอง และสังเกต พฤตกิ รรมของผอู ่นื รวมท้ังเปรียบเทยี บบุคลกิ ภาพทส่ี ังคมตอ งการ ขนั้ ที่ 3 การวางแผนพฒั นาตนเองและการตง้ั เปาหมาย

2 1.4 แนวทางการพฒั นาตนเอง ในการพฒั นาตนเอง มีแนวทางการพฒั นาในแตล ะดาน ดงั น้ี 1.4.1 การพฒั นาดานจติ ใจ ควรพฒั นาสภาพของจิตท่ีมคี วามรูสึกท่ดี ี ตอ ตนเองและสงิ่ แวดลอม มองโลกในแงดี เชิงสรางสรรค 1.4.2 การพัฒนาดานรา งกาย ควรพัฒนารปู รา งหนา ตา กริ ิยาทา ทาง การแสดงออก น้ําเสียงวาจา การสื่อความหมาย รวมไปถึงสุขภาพอนามัย และการแตงกาย เหมาะกับกาลเทศะ รูปรางและผิวพรรณ 1.4.3 การพัฒนาดานอารมณและความเฉลียวฉลาดทางอารมณ ควรพัฒนา ความสามารถในการควบคุมความรูสึกนึกคิดและการแสดงออก ควบคุมอารมณที่เปนโทษตอ ตนเองและผูอ นื่ 1.4.4 การพัฒนาดานสติปญญา ควรพัฒนาความรอบรู ความฉลาด ไหวพริบ ปฏภิ าณ การวเิ คราะห การตดั สินใจ ความสามารถในการแสวงหาความรู และฝกทักษะใหม ๆ เรียนรวู ถิ ที างการดําเนนิ ชีวติ ท่ีดี 1.4.5 การพัฒนาดานสังคม ควรพัฒนาการปฏิบัติตน ทาทีตอส่ิงแวดลอม ประพฤติตนตามบรรทดั ฐานทางสังคม 1.4.6 การพัฒนาดา นความรู ความสามารถ ควรพฒั นาความรู ความสามารถ ท่ีมีอยใู หก าวหนาย่งิ ขึ้น 1.4.7 การพัฒนาตนเองสูความตองการของตลาดแรงงาน ควรพัฒนาความรู ความสามารถ ทักษะ ความชํานาญทางอาชพี ใหส อดคลอ งกบั ความตองการของตลาดแรงงาน 1.5 วธิ ีการพฒั นาตนเอง วิธีในการพัฒนาตนเองสามารถกระทําไดหลายวิธี ท้ังน้ีขึ้นอยูกับความสนใจ ความถนัด ศักยภาพและความพรอมของแตละบุคคล สิ่งสําคัญคือตองลงมือปฏิบัติเพื่อเพ่ิมพูน ความรแู ละประสบการณข องตนเองอยเู สมอ ท้ังนีเ้ พ่ือใหบ รรลวุ ัตถปุ ระสงคของชีวิตตาม ท่กี าํ หนดไว วิธกี ารในการพัฒนาความรแู ละประสบการณ มดี งั น้ี 1.5.1 การหาความรเู พม่ิ เตมิ อาจใชว ิธีการ ดงั ตอไปน้ี 1) การอานหนังสอื เปน ประจาํ และอยา งตอ เนอ่ื ง 2) การเขา รว มประชมุ หรือเขารับการฝก อบรม 3) การสอนหนงั สอื หรอื การบรรยายตา ง ๆ 4) การรว มกิจกรรมตา ง ๆ ของชุมชนหรือองคการตาง ๆ

3 5) การรว มเปน ทปี่ รึกษาแกบ คุ คลหรือหนว ยงาน 6) การศกึ ษาตอ หรอื เพมิ่ เติมจากสถาบันการศกึ ษาหรือมหาวทิ ยาลัยเปด 7) การพบปะเยีย่ มเยียนบคุ คลหรอื หนว ยงานตาง ๆ 8) การเปน ผูแทนในการประชุมตา ง ๆ 9) การจัดทาํ โครงการพิเศษ 10) การปฏบิ ตั งิ านแทนหวั หนางาน 11) การคนควา หรอื วจิ ยั 12) การศึกษาดงู าน 1.5.2 การเพ่ิมความสามารถและประสบการณ อาจใชวิธกี าร ดังตอ ไปน้ี 1) การลงมอื ปฏิบตั จิ ริง 2) การฝกฝนโดยผูท รงคุณวุฒหิ รือหัวหนางาน 3) การอาน เอกสาร การฟง และการถามผูทรงคณุ วฒุ ิหรอื หัวหนางาน 4) การทาํ งานรว มกับบคุ คลอ่ืน 5) การคน ควาวิจัย 6) การหมุนเวียนเปลย่ี นงานหรือหนาที่ความรบั ผดิ ชอบ 1.6 ประโยชนข องการพัฒนาตนเอง บุคคลท่ีพัฒนาตนเองอยูเสมอ จะไดรับประโยชนทั้งที่เกิดกับตนเองโดยตรง รวมถงึ ประโยชนจากการเก่ยี วขอ งกบั บุคคลอนื่ และสังคม ดังนี้ 1.6.1 ประโยชนท ี่จะเกิดขน้ึ กับตนเอง 1) ประสบความสาํ เร็จในการดํารงชีวิต 2) ประสบความสําเรจ็ ในการประกอบอาชีพการงาน 3) มสี ุขภาพอนามยั สมบรู ณ 4) มคี วามเช่ือมน่ั ในตนเอง 5) มคี วามสงบสุขทางจิตใจ 6) มีความเปนอยแู ละสภาพแวดลอ มทด่ี ี 1.6.2 ประโยชนจ ากการเก่ยี วของกบั บุคคลอน่ื และสงั คม 1) ไดร บั ความเชอื่ ถอื และไววางใจจากเพือ่ นรวมงานและบคุ คลอ่นื 2) สามารถรวมมือและประสานงานกบั บคุ คลอน่ื 3) มคี วามรับผดิ ชอบและความมานะอดทนในการปฏบิ ตั ิงาน

4 4) มคี วามคิดริเรมิ่ สรางสรรคเพอ่ื พฒั นางาน 5) มีความจริงใจ ความเสยี สละ และความซ่อื สตั ยส จุ ริต 6) รักและเคารพหมูคณะ และการทาํ ประโยชนเพ่ือสวนรวม 7) ไดร บั การยกยอง และยอมรบั จากเพือ่ นรวมงาน เรอื่ งท่ี 2 การพฒั นาชุมชน การพฒั นาชุมชน เปน การนาํ คาํ สองคาํ มารวมกัน คือ คําวา “การพัฒนา” กับคําวา “ชมุ ชน” ซึง่ ความหมายของคําวา “การพัฒนา” ไดกลาวถึงแลวในเรื่องของการพัฒนาตนเอง ในที่น้ีจะกลาวถึงความหมายของชุมชน 2.1 ความหมายของ “ชุมชน” ชมุ ชน (Community) หมายถึง กลมุ คนที่อาศยั อยูในอาณาเขตเดยี วกัน มีความรูสึกเปนพวกเดียวกัน มีความศรัทธา ความเชื่อ เชื้อชาติ การงาน มีความสนใจ และ ปฏิบตั ติ นในวถิ ชี ีวิตประจาํ วันทีค่ ลา ยคลึงกัน มคี วามเออ้ื อาทรตอ กัน 2.2 ความหมายของ “การพฒั นาชมุ ชน” การพฒั นาชุมชน (Community Development) หมายถึง การทําใหชุมชนมี ความเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน หรือเจริญขึ้น ท้ังในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม ชว ยยกระดบั ใหคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนดีขึ้น โดยท่ีประชาชนในชุมชน รวมกันวเิ คราะหปญหาและความตองการ วางแผน ลงมือดําเนินการ ติดตามผล ถอดบทเรียน และรว มรบั ประโยชน ทง้ั นีโ้ ดยใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนใหมากท่ีสุด และขอความชวยเหลือ จากรัฐบาลและองคกรตาง ๆ สนับสนุนในกรณีเทาท่ีจําเปน 2.3 ปรัชญาขั้นมลู ฐานของงานพฒั นาชุมชน ในการพัฒนาชุมชน มีปรัชญาซ่ึงเปนความเชื่อพื้นฐานท่ีสําคัญของการ ดําเนินงาน สรปุ ได ดงั นี้ 2.3.1 บุคคลแตละคนยอมมีความสําคัญ และมีความเปนเอกลักษณที่ไม เหมือนกัน จึงมีสิทธิอันพึงไดรับการปฏิบัติดวยความยุติธรรม และไดรับการปฏิบัติอยางมี เกยี รติ โดยไมเลอื กปฏิบัติ 2.3.2 บุคคลแตละคนยอมมีสิทธิ และสามารถที่จะกําหนดวิธีการดํารงชีวิต ของตนไปในทิศทางที่ตนตองการ

5 2.3.3 บุคคลแตละคนถาหากมีโอกาสแลว ยอมมีความสามารถท่ีจะเรียนรู เปล่ยี นแปลงทัศนะ ประพฤติปฏบิ ตั ิ และพัฒนาขดี ความสามารถ ใหมีความรับผิดชอบตอสังคม สูงขน้ึ ได 2.3.4 มนุษยทุกคนมีพลังในเร่ืองความเปนผูนํา ความคิดริเริ่มและความคิด ใหม ๆ ซึ่งซอนเรนอยู ขณะเดียวกัน พลังความสามารถเหลาน้ีสามารถเจริญเติบโต และนํา ออกมาใชได ถาพลังท่ซี อนเรน เหลาน้ไี ดร ับการพัฒนา 2.3.5 การพัฒนาพลังและขีดความสามารถของชุมชนในทุกดานเปนส่ิงที่พึง ปรารถนา และมีความสาํ คัญย่งิ ตอชีวติ ของบคุ คล ชมุ ชน และรัฐ 2.4 แนวคิดพน้ื ฐานของการพัฒนาชมุ ชน แนวคิดพน้ื ฐานของการพัฒนาชมุ ชน มคี วามสาํ คญั ตอ การพัฒนาชมุ ชน ซึ่งสมาชกิ ของชุมชน ผนู าํ ชมุ ชน หรอื นักพัฒนาจากภายนอกชุมชนควรนํามาใชเปนหลักในการ กําหนดแนวทางการพัฒนาชุมชน แนวคิดพ้ืนฐานของการพัฒนาชมุ ชน มดี ังนี้ 2.4.1 การมีสวนรวมของประชาชน (People’s Participation) เปนหัวใจของ การพัฒนาชุมชน โดยยึดหลักของการมีสวนรวมท่ีวา ประชาชนมีสวนรวมในการคิด ตัดสินใจ วางแผนปฏบิ ัตกิ าร บาํ รงุ รกั ษา ติดตาม ประเมนิ ผล และรบั ประโยชน 2.4.2 การพ่ึงตนเอง (Self-reliance) เปนแนวทางในการพัฒนาที่สําคัญ ประการหนึ่ง ท่ีตองพัฒนาใหประชาชนสามารถพ่ึงตนเองไดมากข้ึน โดยมีรัฐคอยใหการ ชว ยเหลือสนับสนุน ในสวนทีเ่ กนิ ขีดความสามารถของประชาชน ตามโอกาสและหลักเกณฑ ทเ่ี หมาะสม 2.4.3 ความคิดริเริ่มของประชาชน (People’s Initiative) ในการทํางานกับ ประชาชนตองยึดหลักการที่วา ความคิดริเริ่มตองมาจากประชาชน ซึ่งตองใชวิถีแหง ประชาธิปไตย และหาโอกาสกระตุนใหการศึกษา ใหประชาชนเกิดความคิด และแสดงออก ซงึ่ ความคิดเห็นอันเปนประโยชนต อ ชมุ ชน หมบู า น ตําบล ของตน 2.4.4 ความตอ งการของชมุ ชน (Community Needs) ในการพัฒนาชุมชนตอง ใหประชาชน และองคกรประชาชน คิด และตัดสินใจบนพ้ืนฐานความตองการท่ีแทจริงของ ชุมชน เพ่ือใหเกิดความคิดท่ีวางานพัฒนาชุมชนเปนของประชาชน และจะชวยกันดูแลรักษา ตอ ไป

6 2.4.5 การศึกษาตลอดชีวิต (Life-long Education) การทํางานพัฒนาชุมชน ถือเปนกระบวนการใหการศึกษาตลอดชีวิตแกประชาชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคน การให การศึกษาดังกลาวตองดําเนินการอยา งตอ เน่ืองไปตราบเทาทบี่ คุ คลยงั ดาํ รงชวี ติ อยใู นชมุ ชน 2.5 หลักการพฒั นาชุมชน จากปรชั ญา และแนวคดิ พนื้ ฐานของการพฒั นาชุมชน ไดนํามาใชเปนหลักการ พฒั นาชุมชน ซึง่ นกั พฒั นาตองยดึ เปนแนวทางปฏิบัติ ดงั นี้ 2.5.1 หลกั ความมีศักดิ์ศรี และศักยภาพของประชาชน และเปดโอกาส ใหประชาชนใชศักยภาพท่ีมีอยูใหมากท่ีสุด จึงตองใหโอกาสประชาชนในการคิด วางแผนเพื่อ แกป ญหาชุมชนดวยตัวของเขาเอง นกั พฒั นาควรเปน ผกู ระตุน แนะนาํ สงเสรมิ 2.5.2 หลักการพ่ึงตนเองของประชาชน ตองสนับสนุนใหประชาชนพ่ึงตนเอง ได โดยการสรางพลังชุมชนเพ่ือพัฒนาชุมชน สวนหนวยงานของรัฐหรือองคกรภายนอกจะ สนบั สนุนอยูเบอ้ื งหลัง และชว ยเหลือในสว นท่ีเกินความสามารถของประชาชนและชุมชน 2.5.3 หลักการมีสวนรวมของประชาชน เปนการเปดโอกาสใหประชาชนรวม คดิ ตดั สินใจ วางแผน ปฏิบัติตามแผน และติดตามประเมินผลในกิจกรรม หรอื โครงการใด ๆ ที่จะทําในชุมชน เพ่ือใหประชาชนไดมีสวนรวมอยางแทจริงในการดําเนินงาน อันเปนการ ปลกู ฝง จิตสาํ นึก ในเรอ่ื งความเปนเจาของโครงการและกิจกรรมพัฒนา 2.5.4 หลกั ประชาธิปไตย ในการทาํ งานพัฒนาชมุ ชนจะตอ งเร่ิมดวยการพูดคุย ประชุมหารอื รว มกนั คดิ รว มกนั ตัดสนิ ใจ และทํารวมกัน รวมถึงรับผิดชอบรวมกันภายใตความ ชวยเหลือซึง่ กนั และกัน ตามวิถที างแหงประชาธปิ ไตย นอกจากหลกั การพัฒนาชมุ ชนทีก่ ลาวมาแลว องคก ารสหประชาชาติ ยังไดกาํ หนด หลกั การดําเนินงานพัฒนาชมุ ชนไว 10 ประการ ดังนี้ 1. ตองสอดคลอ งกับความตองการท่แี ทจ ริงของประชาชน 2. ตองเปน โครงการเอนกประสงคที่ชว ยแกปญ หาไดหลายดาน 3. ตอ งเปลย่ี นแปลงทศั นคติไปพรอม ๆ กับการดาํ เนนิ งาน 4. ตองใหประชาชนมีสว นรว มอยา งเตม็ ที่ 5. ตอ งแสวงหาและพฒั นาใหเกิดผนู ําในทองถนิ่ 6. ตอ งยอมรับใหโอกาสสตรี และเยาวชนมสี วนรวมในโครงการ 7. รัฐตองเตรียมจัดบรกิ ารใหก ารสนบั สนนุ

7 8. ตอ งวางแผนอยางเปน ระบบ และมปี ระสิทธภิ าพทุกระดบั 9. สนบั สนนุ ใหองคก รเอกชน อาสาสมัครตาง ๆ เขา มามีสว นรว ม 10. ตองมกี ารวางแผนใหเ กิดความเจรญิ แกช ุมชนทส่ี อดคลอ งกบั ความเจรญิ ในระดบั ชาติ เรื่องที่ 3 การพฒั นาสงั คม 3.1 ความหมายของการพฒั นาสงั คม การพัฒนาสังคม (Social Development) หมายถึง กระบวนการ เปล่ียนแปลงที่ดีทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพื่อให ประชาชนมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีขึ้น ทั้งดานที่อยูอาศัย อาหาร เคร่ืองนุงหม สุขภาพอนามัย การศกึ ษา การมงี านทาํ มรี ายไดเพยี งพอตอ การครองชีพ ประชาชนไดรับความเสมอภาค ความ ยุติธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี ท้ังน้ี ประชาชนตองมีสวนรวมในกระบวนการเปลี่ยนแปลงในทุก ขั้นตอน อยา งมีระบบ 3.2 ความสําคัญของการพัฒนาสงั คม เม่ือบุคคลมาอยูรวมกันเปนสังคม ปญหาตาง ๆ มักจะเกิดตามมาเสมอ ยิ่งสังคม มีขนาดใหญ ปญหาก็ยิ่งจะมีมากและมีความสลับซับซอนเปนเงาตามตัว ปญหาหนึ่ง อาจจะกลายเปนสาเหตุของอีกหลายปญหาหนึ่ง เก่ียวโยงกันเปนลูกโซ ถาปลอยไวก็จะเพ่ิม ความรุนแรง เพ่ิมความสลับซับซอน และขยายวงกวางออกไปเรื่อย ๆ ยากตอการแกไข ประชาชนในสังคมน้ันกจ็ ะไมม ี ความสงบสขุ ดังนนั้ ความสําคญั ของการพัฒนาสังคม อาจกลาว เปนขอ ๆ ได ดังน้ี 3.2.1 ทาํ ใหป ญหาของสังคมลดนอ ยลง และหมดไปในทส่ี ดุ 3.2.2 ปองกันไมใ หปญ หานั้นหรอื ปญ หาในลกั ษณะเดียวกันเกิดข้ึนอีก 3.2.3 ทาํ ใหส ังคมเกดิ ความเจรญิ กา วหนา 3.2.4 ทําใหประชาชนในสังคมสมานสามัคคีและอยูรวมกันอยางมีความสุข ตาม ฐานะของแตล ะบคุ คล 3.2.5 ทาํ ใหสังคมเกดิ ความเปนปกแผน มคี วามมัน่ คง 3.3 แนวคิดในการพัฒนาสังคม การพัฒนาสังคมมีขอบเขตกวางขวาง เพราะปญหาของสังคมมีมาก และ สลับซับซอน การแกปญหาสังคมจึงตองทําอยางรอบคอบ และตองอาศัยความรวมมือกันของ บุคคลจากหลาย ๆ ฝา ย และโดยเฉพาะอยางย่งิ ประชาชนในสังคมนน้ั ๆ จะตองรับรู พรอมท่ีจะ

8 ใหขอมูลท่ีถูกตอง และเขามามีสวนรวมในการพัฒนา การพัฒนาสังคมจึงเปนท้ังกระบวนการ วธิ กี าร กรรมวิธเี ปลีย่ นแปลง และแผนการดําเนนิ งาน ซง่ึ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี 3.3.1 กระบวนการ (Process) การพัฒนาสงั คมตอ งกระทาํ ตอ เนื่องกันอยางมีระบบ เพ่ือใหเกิดการเปล่ียนแปลงจากลักษณะหน่ึงไปสูอีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งตองเปนลักษณะที่ดี กวาเดิม 3.3.2 วิธกี าร (Method) การพัฒนาสังคมตองกาํ หนดวิธกี ารในการดําเนินงาน โดยเนนความรวมมือของประชาชนในสังคมน้ันกับเจาหนาที่ของรัฐบาลท่ีจะทํางานรวมกัน วิธีการดังกลา วนต้ี อ งเปน ท่ียอมรบั รวมกนั วา สามารถนําการเปลย่ี นแปลงมาสสู งั คมไดอยางถาวร และมีประโยชนต อสงั คม 3.3.3 กรรมวิธีเปล่ียนแปลง (Movement) การพัฒนาสังคมตองทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลง ใหได และจะตองเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน โดยเฉพาะอยางยิ่งคือการ เปลีย่ นแปลงทศั นคติ เพ่ือใหคนในสังคมเกิดสํานึกในการมีสวนรวมรับผิดชอบตอผลประโยชน ของสวนรวม และรักความเจริญกา วหนาอนั จะนาํ ไปสูการเปล่ียนแปลงทางวัตถุตอ ไป 3.3.4 แผนการดําเนินงาน (Plan) การพัฒนาสังคมตองทําอยางมีแผน มีข้ันตอน สามารถตรวจสอบ และประเมินผลได แผนงานน้ีจะตองมีทุกระดับ นับต้ังแตแผนระดับชาติ หรอื แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ลงมาจนถงึ แผนพฒั นาระดับผปู ฏิบตั ใิ นระดับพ้นื ที่ 3.4 การพฒั นาสังคมไทย การพัฒนาสังคมไทย สามารถกระทําทั้งการพัฒนาสังคมในเมืองและการ พฒั นาสงั คมชนบทควบคูกันไป แตเ นือ่ งจากสังคมชนบทเปนท่ีอยูอาศัยของประชาชนสวนใหญ ของประเทศ ดังน้ัน การพัฒนาจึงทุมเทไปท่ีชนบทมากกวาในเมือง การพัฒนาสังคมสามารถ ดําเนนิ การพัฒนาหลาย ๆ ดาน ไปพรอ ม ๆ กนั โดยเฉพาะดานท่ีสงผลตอการพัฒนาดานอื่น ๆ ไดแก การศึกษา และการสาธารณสขุ การพฒั นาดานการศกึ ษา การศกึ ษาเปน ปจจัยสาํ คญั ทีส่ ุดในการวดั ความเจริญของ สงั คม สาํ หรบั ประเทศไทย การพัฒนาดา นการศกึ ษายงั ไมเจริญกาวหนา อยา งเต็มที่ โดยเฉพาะ อยางยิง่ สงั คม ในชนบทของไทยยังมีประชาชนที่ไมรูหนังสือและไมจบการศึกษาภาคบังคับ อยูคอ นขา งมาก ความสําคญั ของการศกึ ษาท่ีมีตอบุคคลและสังคม การศึกษากอใหเกิดความเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดี ทําใหคนมีความรู ความเขาใจ ในวิทยาการใหม ๆ กระตนุ ใหเกิดความคดิ สรางสรรค ปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง ตลอดทั้งมีเหตุผล

9 ในการแกปญหาตาง ๆ การพัฒนาดานการศึกษา ก็คือ การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพ ของบคุ คล และเมื่อบุคคลซ่ึงเปนสมาชิกของสังคมมีคุณภาพแลว ก็จะทําใหสังคมมีการพัฒนา ตามไปดวย สถาบนั ทีส่ าํ คญั ในการพฒั นาการศกึ ษา ไดแ ก บาน วดั โรงเรยี น หนว ยงาน อน่ื ๆ ทั้งของรฐั และเอกชน การพัฒนาดานสาธารณสุข การสาธารณสุข เปนการปองกันและรักษาโรค ทํานุ บํารงุ ใหป ระชาชนมีสุขภาพและพลานามัยท่ีดี มีความสมบูรณทั้งทางรางกายและจิตใจ สังคม จะเจริญรุงเรืองกาวหนาได จําเปนตองมีพลเมืองที่มีสุขภาพอนามัยดี ดังนั้น ในการพัฒนา ประเทศจงึ จําเปน ตอ งจัดใหม ีการพฒั นาดา นสาธารณสุข เพราะการพัฒนาดานนี้มีความสําคัญ ทั้งตอ ตัวบคุ คลและสงั คม การบริหารงานของทุกรัฐบาล มเี ปา หมายมงุ ไปทีก่ ารสรา งความกนิ ดอี ยดู ี มีคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ีใหแกป ระชาชน เพื่อใหคนมคี วามสุข มรี ายไดม ่ันคง มีสขุ ภาพดี ครอบครัวอบอุน ชุมชน เขมแข็ง และสังคมอยเู ย็นเปน สขุ มคี วามสมานฉนั ท และเอ้ืออาทรตอกัน ในดานการพัฒนาทาง สังคมน้นั อาจกลา วไดวา มีความมงุ หมายเพื่อใหคนมีความเจรญิ มั่นคงใน 10 ดาน ดงั นี้ 1. ดานการมงี านทําและรายได 2. ดา นครอบครัว 3. ดา นสุขภาพอนามยั 4. ดา นการศึกษา 5. ดา นความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส นิ (สวนบุคคล) 6. ดานที่อยูอ าศัยและสงิ่ แวดลอ ม 7. ดานสิทธิและความเปนธรรม 8. ดานสังคม วฒั นธรรม 9. ดา นการสนบั สนุนทางสงั คม 10. ดานการเมือง ธรรมาภิบาล และความมนั่ คงของสงั คม

10 บทที่ 2 ขอ มูลตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม เร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนข องขอ มูล 1.1 ความหมายและชนิดของขอ มลู ขอมูล (Data) หมายถึง ขอเท็จจริง (Facts) หรือปรากฏการณ (Phenomena) หรือ เหตุการณ (Events) ที่เกิดขึ้น หรือมีอยู เปนอยูเองแลวตามปกติ ซ่ึงถูกตรวจพบและ ไดรับการบันทึกหรือเก็บรวบรวมไวใชประโยชน หากขอเท็จจริง หรือปรากฏการณ หรือ เหตุการณ เหลาน้ันไมมีผูใดพบเห็น และไมไดมีการบันทึกรวบรวมไวดวยวิธีการใด ๆ ก็ตาม ความเปน ขอมูลก็ไมเกิดขึ้น ไพโรจน ชลารักษ (2552 : 1) ชนิดของขอมูลสามารถจําแนกได หลายแบบ ดงั น้ี 1.1.1 จําแนกตามลักษณะของขอ มูล จาํ แนกออกเปน 2 ชนิด ดงั น้ี 1) ขอมลู เชิงคณุ ภาพ หมายถงึ ขอมลู ทีไ่ มส ามารถบอกไดวามีคามากหรือนอย แตส ามารถบอกไดว าดหี รือไมด ี หรอื บอกลักษณะความเปนกลมุ ของขอ มูล เชน เพศ ศาสนา สีผม อาชพี คุณภาพสนิ คา ความพึงพอใจ ฯลฯ 2) ขอมลู เชิงปริมาณ หมายถึง ขอ มูลทีส่ ามารถวัดคา ไดว า มีคา มากหรอื นอย ซงึ่ สามารถวดั คา ออกมาเปนตัวเลขได เชน อายุ สว นสงู น้ําหนกั อณุ หภูมิ ฯลฯ 1.1.2. จําแนกตามแหลง ท่ีมาของขอมูล แบง ออกไดเปน 2 ชนดิ ดังนี้ 1) ขอมูลปฐมภมู ิ หมายถงึ ขอมูลท่ีผใู ชเปนผเู กบ็ รวบรวมขอมูลเอง เชน การสอบถาม การทดลองในหอ งทดลอง การสงั เกต การสมั ภาษณ เปน ตน 2) ขอมูลทตุ ิยภมู ิ หมายถงึ ขอ มลู ท่ผี ูใชน ํามาจากหนวยงานอื่นหรือผูอื่นท่ีไดทํา การเก็บรวบรวมไวแลวในอดตี เชน รายงานประจาํ ปข องหนวยงานตา ง ๆ ขอ มูลทอ งถน่ิ ซงึ่ แตล ะ อบต. เปน ผรู วบรวมไว เปน ตน 1.1.3 จําแนกตามเนื้อหาสาระของขอ มูล จาํ แนกเปน ชนิด ดังนี้ 1) ขอ มลู ดา นภมู ศิ าสตร คือ ขอมูลเก่ียวกับสภาพพ้ืนท่ีและสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ เชน ลักษณะของภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะทางกายภาพของ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เปน ตน

11 2) ขอมูลดานประวัติศาสตร คือ ขอมูลเหตุการณที่เปนท่ีมาหรือเรื่องราวของ ชุมชน สังคม ประเทศชาติตามที่บันทึกไวเปนหลักฐาน เชน ประวัติความเปนมาของหมูบาน/ ชุมชน/ตําบล/ จังหวัด สภาพความเปนอยูของคนในอดีต การปกครองในอดีต สถานที่สําคัญ ทางประวตั ศิ าสตร เปน ตน 3) ขอมูลดา นเศรษฐกจิ คอื ขอ มลู เกี่ยวกับการผลิต การบรโิ ภค การซอื้ ขาย การกระจายสินคาและบริการ รายได รายจา ย ที่มาของรายได ที่ไปของรายจา ย 4) ขอ มลู ดา นการเมืองการปกครอง ขอมูลดานการเมือง คือ ขอมลู เกยี่ วกับการ ไดมาซ่ึงอํานาจในการปกครองและการบริหารราชการแผนดิน และการใชอํานาจที่ไดมาเพื่อ สรางความผาสุกใหแกประชาชน เชน ระบอบการปกครอง ระบบการเลือกต้ัง การแบงเขต เลอื กตั้ง พรรคการเมือง คณะกรรมการเลอื กตั้ง การออกเสียงเลอื กตัง้ เปนตน สวนขอมูลการ ปกครอง หมายถึง ขอมูลการทํางานของ เจาหนาท่ีของรัฐซึ่งจะดําเนินการตามกฎหมายและ นโยบายท่ีรัฐมอบใหดําเนินการ โดยมุงท่ีจะสราง ความผาสุก ความเปนระเบียบ ความสงบ เรียบรอ ยใหเกิดขึ้นในสังคม เชน การแบง เขตการปกครอง ท่ตี ้ังและอาณาเขตของการปกครอง ผูนําทอ งถน่ิ องคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน เปนตน 5) ขอมูลดานศาสนาและวัฒนธรรม คือขอมูลเกี่ยวกับ ศาสนาท่ีประชาชนนับ ถอื ศาสนสถาน ท่ีตั้งศาสนสถาน วันสําคัญทางศาสนา ความเชื่อ ประเพณี ภาษา วรรณกรรม ดนตรี นาฏศลิ ป ศิลปกรรม เปนตน 6) ขอมูลดานหนาที่พลเมือง คือ ขอมูลเก่ียวกับ หนาที่ความรับผิดชอบของ บคุ คลทีต่ อ งปฏบิ ตั ิกิจทีต่ อ งทาํ เชน การปกปองสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย การปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย การไปใชส ทิ ธเ์ิ ลอื กต้ัง การมีสว นรวมในการพัฒนาประเทศ การปอ งกนั ประเทศ การรับราชการทหาร การเสียภาษีอากร การชวยเหลือราชการ การศึกษา อบรม การพิทักษปกปองและสืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาของชาติ การอนุรักษ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม การรักษาสาธารณสมบัติ การเสียสละ การมีจิตอาสาเพื่อ ประโยชนของสวนรวม เปนตน 7) ขอ มลู ดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ คือ ขอมูลเก่ียวกับส่ิงตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา เชน ดนิ น้าํ พืชพรรณ ปา ไม ทุงหญา สัตว แรธ าตุ พลังงาน แมน ํ้า ทะเล เปนตน

12 8) ขอมูลดานสาธารณสุข เชน จํานวนโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน สถานี อนามัยประจําตําบล จํานวนแพทย พยาบาล เจาหนาท่ีสาธารณสุข จํานวนคนเกิดคนตาย สาเหตุการตาย โรคทพ่ี บบอ ย โรคระบาด เปน ตน 9) ขอ มูลดา นการศกึ ษา เชน จํานวนสถานศกึ ษา รายชื่อสถานศึกษา จํานวนครู จํานวนนกั เรยี นในสถานศกึ ษา จาํ นวนผจู บการศกึ ษา สภาพปญ หาดา นการศกึ ษา เปนตน 1.2 ความสําคัญของขอมลู ขอ มลู มคี วามสําคัญและมีประโยชนตอการดําเนินชีวิตของบุคคล และการดํารงอยู ของชุมชนและสังคม เพราะขอมูลสามารถนํามาใชเพื่อการส่ือสาร การตัดสินใจ การเรียนรู การศึกษาคนควา การกําหนดแนวทางในการพัฒนา การปรับปรุงแกไข ตลอดจนใชเปน หลักฐานสาํ คัญตา ง ๆ ในทน่ี จ้ี ะจําแนกความสําคญั ของขอ มลู ออกเปน 2 ระดับ คือ ความสําคัญ ของขอมลู ท่ีมตี อปจ เจกบุคคล และความสาํ คัญทม่ี ีตอ ชมุ ชนและสงั คม 1.2.1 ความสาํ คัญของขอมลู ที่มตี อปจเจกบคุ คล 1) ทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูรอดปลอดภัย เพราะมนุษยรูจักนําขอมูล มาใชใ นการดํารงชีวติ แตโบราณแลว มนุษยรูจักสังเกตสิ่งตางๆ ท่ีอยูรอบตัว เชน สังเกตวา ดิน อากาศ ฤดูกาลใด ที่เหมาะสมกับการปลูกพืช ผักกินไดชนิดใด พืชชนิดใดใชเปนยารักษา โรคได เปนตน การสะสม ขอมูลตางๆ แลวถายทอดสืบตอกันมา ทําใหมนุษยสามารถนํา ทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชเ ปนอาหาร สิ่งของเครื่องใช ท่อี ยอู าศัย และยารักษาโรคเพื่อการดํารง ชพี ได 2) ชว ยใหมีความรคู วามเขา ใจเรื่องราวตา ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนรอบตัว เชน ความเขาใจ เก่ยี วกบั รางกาย จิตใจ ความตองการ และพฤติกรรมของมนุษย เปนตน ทําใหมนุษยสามารถ ปรบั ตวั เอง ใหอ ยูรวมกับคนอ่นื ในครอบครัวและสังคมไดอ ยางมคี วามสขุ 3) ชวยใหการตัดสินใจในการแกปญหาตาง ๆ มีประสิทธิภาพ ท้ังที่เปนการ ตดั สนิ ใจตอการกระทําหรือไมกระทําส่ิงใด เพราะการตัดสินใจโดยที่ไมมีขอมูลหรือมีขอมูลไม ถกู ตอ งอาจทาํ ใหเกดิ การผดิ พลาดและเสียหายได 1.2.2 ความสําคัญของขอมูลท่ีมีตอ ชมุ ชนสงั คม

13 1) ขอมูลทําใหเกิดการศึกษาเรียนรู ซ่ึงการศึกษาเปนสิ่งจําเปนตอการพัฒนา ชมุ ชนและสงั คมเปน อยา งยิง่ ทั้งนี้เนอ่ื งจากชุมชนและสังคมใดมสี มาชิกของชมุ ชนและสังคมเปน ผูม กี ารศกึ ษา การพัฒนาก็จะเขา ไปสูชุมชนและสงั คมนัน้ ไดง ายและรวดเร็วขึ้น 2) ขอ มลู ทส่ี ะสมเปนองคค วามรสู ามารถรกั ษาไวและถายทอดความรูไปสูคนรุน ตอไปของชมุ ชนและสังคม ทําใหเกิดความรูความเขาใจระหวางคนในชุมชนและสังคมเดียวกัน และคนตางชุมชนและสังคม กอใหเกิดการอยูรวมกันไดอยางสงบสุข ทั้งในปจจุบันและใน อนาคต 3) ขอมูลชวยเสริมสรางความรู ความสามารถใหม ๆ ในดานตาง ๆ ท้ังดาน การเกษตร การคา การพาณชิ ย เทคโนโลยี การคมนาคม อตุ สาหกรรม และอื่นๆ ที่เปนพ้ืนฐาน เพอ่ื การพฒั นาชมุ ชนและสงั คม 1.3 ความสมั พันธของขอมูล ขอมลู ในดา นตางๆ มกั มคี วามเกีย่ วขอ ง สมั พันธและเชื่อมโยงกัน ในการนําขอมูลมา ใชในการวางแผนการดําเนินงานพัฒนาชุมชนและสังคมน้ัน ผูใชขอมูลจึงตองนําขอมูลในทุก องคประกอบ ทุกประเภท ตลอดจนขอมูลที่มีความเปนปจจุบัน มาประกอบการพิจารณา ตัดสินใจ ทั้งนี้ เพื่อใหการวางแผนมีความสอดคลองกับวัตถุประสงค เปาหมายของการพัฒนา ลดหรือขจัดความเส่ียงท่ีจะเกิดผลกระทบในดานลบ และกอเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชนและ สังคม เร่อื งท่ี 2 ขอ มูลตนเอง ครอบครัว 2.1 ขอมลู ตนเอง คือ ขอ มูลความเปน ตัวเราซงึ่ มสี ิ่งทแ่ี สดงใหเห็นถึงความแตกตาง จากผูอน่ื ทง้ั ภายนอกทีส่ ามารถมองเหน็ ได เชน ช่ือ – นามสกุล วัน เดือน ปเกิด อายุ สัญชาติ เชอื้ ชาติ สถานภาพ สผี ิว รปู รา ง สว นสงู นาํ้ หนกั อาชีพ รายได และภายในตัวเรา เชน อารมณ บคุ ลิกลักษณะ ความคิดความรสู กึ และความเชื่อ เปน ตน 2.2 ขอมลู ครอบครวั เ ป น ข อ มู ล ข อ ง ก ลุ ม ค น ตั้ ง แ ต 2 ค น ขึ้ น ไ ป ท่ี มี ความสัมพันธเก่ียวของกันทางสายโลหิต การสมรส หรือการรับผูอื่นไวในความอุปการะ เชน บตุ รบญุ ธรรม คนใช ญาตพิ นี่ อง มาอาศยั อยดู ว ยกนั ในครัวเรือนเดยี วกัน เปนตน ขอมูลครอบครัว เชน จํานวนสมาชิกในครอบครัว ขอมูลตนเองของสมาชิกใน ครอบครัว สภาพที่พักอาศัยและสภาพแวดลอม ระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน รายได – รายจา ยรวมตอ เดือน หรอื ตอป ของครอบครวั เปน ตน

14 เร่อื งที่ 3 ขอ มูลชุมชน สงั คม 3.1 ขอ มูลชุมชน ดังไดกลาวามาแลววา ชมุ ชน หมายถงึ กลมุ คนทีอ่ าศยั อยูในอาณาเขตเดียวกนั มีวัฒนธรรม ความเชื่อ จารีตประเพณีเดียวกัน มีความสัมพันธ และมีวิถีชีวิตประจําวัน คลา ยคลึงกนั ชุมชนมลี กั ษณะหลายประการเหมือนกับสังคม แตมีขนาดเล็กกวา มีความสนใจ รวมท่ีประสานสัมพันธกันในวงแคบกวาขอมูลชุมชน จึงเปนขอมูลเก่ียวกับส่ิงตางๆ ในชุมชน เชน ขอมูลดานภูมิศาสตร ขอมูลดานประวัติศาสตรและความเปนมา ขอมูลดานเศรษฐกิจ ขอมูลดานการเมืองและการปกครอง ขอมูลดานการศึกษา ขอมูลดานศาสนาและวัฒนธรรม และขอ มูลดา นทรัพยากรและสิง่ แวดลอ ม เปนตน 3.2 ขอ มลู สงั คม สังคม มีลักษณะคลายกับชุมชน แตมีขนาดใหญกวา ขอบเขตของขอมูลมีขนาด กวางกวา สังคมมีที่มาจากการท่ีกลุมคนมากกวาสองคนข้ึนไปอยูอาศัยรวมกันเปนเวลาอัน ยาวนานในพ้ืนที่เดียวกัน คนในกลุมมีความสัมพันธเกี่ยวของกัน มีระเบียบแบบแผนรวมกัน เพอ่ื ใหการดาํ รงอยูเ ปนไปดว ยดี มีกิจกรรมรว มกนั มีประเพณีและวฒั นธรรมท่ใี ชเปนแนวทางใน การดําเนินชีวิตอยูรว มกันในสังคมอยา งสงบสขุ คลา ยคลงึ กัน ขอมูลทางสังคมมีลักษณะคลายกับขอมูลชุมชน แตมีจํานวนหรือปริมาณมากกวา ขอ มูลดงั กลา วประกอบดว ย ขอมลู ดานภูมิศาสตร ขอมูลดานประวัติศาสตรและความเปนมา ขอมูลดานเศรษฐกิจ ขอมูลดานการเมืองและการปกครอง ขอมูลดานการศึกษา ขอมูลดาน ศาสนาและวัฒนธรรม และขอมูลดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ขอมูลดานความม่ันคง และ ขอ มูลดานสาธารณสขุ

15 บทท่ี 3 การเก็บรวบรวมขอมูล และการวเิ คราะหขอ มูล เร่อื งท่ี 1 การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล เปนขั้นตอนท่ีใหไดมาซึ่งขอมูลที่ตองการ มีความหมาย รวมทงั้ การเกบ็ ขอมลู ข้ึนมาใหม และการรวบรวมขอ มูลจากผูอ่ืนท่ีไดเก็บไวแลว หรือไดรายงาน ไวในเอกสารตา ง ๆ ซ่งึ การเกบ็ รวบรวมขอมูลมีเทคนคิ และวิธีการหลายวิธี ดงั น้ี 1.1. การเกบ็ รวบรวมขอ มูลจากระบบรายงาน (Reporting System) เปน ผล พลอยไดจากระบบการบรหิ ารงาน เปน การเก็บรวบรวมขอ มลู จากรายงานหรือจากเอกสารที่ ทําไวประกอบการทํางานซึ่งการเก็บรวบรวมขอมูลจากรายงานสวนมากใชเพียงครั้งเดียว จากรายงานดังกลาว อาจมีขอมูลเบ้ืองตน บางประเภทที่สามารถนํามาประมวลเปนยอดรวม ขอ มูลสถติ ไิ ด วธิ เี กบ็ รวบรวมขอ มูลจากรายงานของหนว ยบริหาร เปนวธิ ีการรวบรวมขอมูลสถิติ ท่ไี มส้นิ เปลืองคา ใชจายในการดําเนินงานมากนัก คาใชจายที่ใชสวนใหญก็เพ่ือการประมวลผล พมิ พแบบฟอรมตาง ๆ ตลอดจนการพิมพรายงาน วิธีการนใ้ี ชกันมากท้งั ในหนวยงานของรัฐและ เอกชน หนวยงานทมี่ กี ารเกบ็ รวบรวมขอมูลสถติ ใิ นระดบั ประเทศ ประกอบดวย สํานักงานสถิติ แหง ชาติ สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และกระทรวง ทบวง กรม ตา งๆ 1.2การเกบ็ รวบรวมขอมลู จากทะเบยี น (Registration) เปน ขอ มูลสถติ ทิ รี่ วบรวม จากระบบทะเบียน มีลักษณะคลายกับการรวบรวมจากรายงานตรงที่เปนผลพลอยได เชนเดียวกัน จะตางกันตรงที่ แหลงเบื้องตนของขอมูลเปนเอกสารการทะเบียน ซ่ึงการเก็บมี ลักษณะตอเน่ือง มีการปรับแกหรือเปล่ียนแปลง ใหถูกตองทันสมัย ทําใหไดสถิติท่ีตอเน่ืองเปน อนกุ รมเวลา ขอมูลที่เก็บโดยวิธีการทะเบียน มีขอรายการไมมากนัก เนื่องจากระบบทะเบียน เปนระบบขอมูลท่ีคอนขางใหญ ตัวอยางขอมูลสถิติท่ีรวบรวมจากระบบทะเบียน ไดแก สถิติ จํานวนประชากรท่กี รมการปกครอง ดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมจากทะเบียนราษฎร ประกอบดวย จํานวนประชากร จาํ แนกตามเพศเปนรายจงั หวดั อําเภอ ตําบล ขอ มลู ทะเบยี นยานพาหนะของ กรมการขนสงทางบก ที่จะใหไดขอมูลสถิติจํานวนรถยนต จําแนกตามชนิดหรือประเภทของ รถยนต เปนตน

16 1.3การเกบ็ รวบรวมขอ มลู โดยวิธีสํามะโน (Census) เปนการเก็บรวบรวมขอ มลู สถติ ขิ องทุก ๆ หนว ยของประชากรที่สนใจศกึ ษาภายในพ้ืนท่ีท่ีกําหนด และภายในระยะเวลาที่ กําหนด การเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดวยวิธีน้ี จะทําใหไดขอมูลในระดับพื้นที่ยอยในระดับ หมบู าน ตําบล อําเภอ และจังหวดั ตามพระราชบัญญัติสถิติ พ.ศ.2508 ไดบัญญัติไววา สํานักงานสถิติแหงชาติเปน หนวยงานเดยี วทสี่ ามารถจัดทาํ สาํ มะโนได และการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดวยวิธีการสํามะโน เปนงานที่ตองใชเงินงบประมาณ เวลาและกําลังคนเปนจํานวนมาก สวนใหญจะจัดทําสํามะโน ทกุ ๆ 10 ป หรอื 5 ป 1.4การเก็บรวบรวมขอมลู โดยวธิ สี าํ รวจ (Sample Survey) เปนการเกบ็ รวบรวม ขอมลู สถิติ จากบางหนวยของประชากรดวยวธิ ีการเลือกสุม ตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูลสถิติ ดว ยวิธีนี้ จะทาํ ใหไดขอ มูลในระดบั รวม เชน จังหวดั ภาค เขตการปกครอง และรวมท่ัวประเทศ และขอ มูลท่ไี ดจ ะเปนคาโดยประมาณ การสํารวจเปนวธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมูลที่ใชงบประมาณ เวลา และกําลังคนไมมากนัก จึงสามารถจัดทําไดเปนประจําทุกป หรือทุก 2 ป ปจจุบันการ สาํ รวจเปนวิธีการเกบ็ รวบรวมขอมลู สถติ ิทมี่ ีความสาํ คญั และใชกันอยางแพรห ลายมากที่สดุ ทั้งในวงการราชการและเอกชน ไมวาจะเปนการสํารวจเพ่ือหาขอมูลทางดานการเกษตร อุตสาหกรรม สาธารณสุข การคมนาคม การศกึ ษา และขอ มลู ทางเศรษฐกจิ และสังคมอนื่ ๆ 1.5 การเก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีการสังเกต (Observation) เปนวิธีเก็บขอมูล โดยการสังเกตโดยตรงจากปฏิกิรยิ า ทา ทาง หรอื เหตกุ ารณ หรอื ปรากฏการณ ที่เกิดข้ึนในขณะ ใดขณะหนงึ่ และจดบันทึกไวโดยไมมีการสัมภาษณ วิธีนี้ใชกันอยางกวางขวางในการวิจัย เชน การใหเจา หนาทสี่ ังเกตปฏิกิรยิ าของผูขับรถยนตบ นทอ งถนนภายใตสภาพการจราจรตาง ๆ กัน การใหเ จาหนาทพี่ ฒั นาชมุ ชนสังเกตการประชุมและการมีสวนรวมในการออกความคิดเห็นของ สมาชกิ อบต. เปน ตน 1.6 การเก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีการบันทึกขอมูลจากการวัดหรือนับ (Counting) วิธนี ้ีจะมีอปุ กรณเพื่อใชใ นการวดั หรือนบั ตามความจาํ เปนและความเหมาะสม เชน การนบั จาํ นวนรถยนตท ีแ่ ลน ผานที่จดุ ใดจุดหนึ่ง ก็อาจใชเคร่ืองนับโดยใหรถแลนผานเครื่องนับ หรอื การเก็บขอมูลจํานวนผูมาใชบริการในหองสมุดประชาชน ก็ใชเครื่องนับเม่ือมีคนเดินผาน เครือ่ ง เปนตน

17 เร่อื งที่ 2 การวิเคราะหข อ มูล การวิเคราะหข อมลู เปนขนั้ ตอนการนาํ ขอมลู ทเี่ ก็บรวบรวมไดมาประมวลผลและทํา การวิเคราะห โดยเลือกคาสถิติท่ีนํามาใชในการวิเคราะหใหเหมาะสม คาสถิติท่ีนิยมใชในการ วิเคราะหขอ มูล ไดแ ก 2.1 ยอดรวม (Total) คือ การนําขอมูลสถิติมารวมกันเปนผลรวมทั้งหมด เชน จํานวนนักศกึ ษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนตนในจังหวัดตราด จํานวนประชากรท้ังหมดใน จังหวัดระยอง จํานวนคนท่ีเปนไขเลือดออกในภาคตะวันออก จํานวนคนวางงานทั้งประเทศ เปนตน 2.2 คาเฉลี่ย (Average, Mean) หมายถึง คาเฉลี่ยซ่ึงเกิดจากขอมูลของผลรวม ท้ังหมดหารดวยจํานวนรายการของขอมูล เชน การวัดสวนสูงของนักศึกษา กศน. ระดับ ประถมศกึ ษา จาํ นวน 10 คน วัดไดเ ปนเซนตเิ มตร มดี งั น้ี คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 สว นสงู 155 165 152 170 163 158 160 168 167 171 สวนสูงโดยเฉลย่ี ของนักศกึ ษา กศน. ระดบั ประถมศกึ ษา คอื = 155 165 152 170 163 158 160 168 167 171 10 = 1629 10 = 162.9 เซนตเิ มตร 2.3 สัดสวน (Proportion) คือ ความสมั พันธของจํานวนยอยกบั จาํ นวนรวม ทั้งหมด โดยใหถือวาจํานวนรวมทั้งหมดเปน 1 สวน เชน การสํารวจการลงทะเบียนเรียนของ นักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 500 คน ลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชา ภาษาไทย จํานวน 300 คน ลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชาภาษาอังกฤษ จํานวน 200 คน ดังนั้น สัดสวนของนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชาภาษาไทย = 300 = 0.60 และ 500 สัดสวนของนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชาภาษาอังกฤษ = 200 หรือ 1- 0.60 = 500 0.40

18 2.4 รอยละหรือเปอรเซ็นต (Percentage or Percent) คือ สัดสวน เม่ือเทียบตอ 100 สามารถคํานวณได โดยนํา 100 ไปคูณสัดสวนที่ตองการหาผลลัพธก็จะออกมาเปนรอยละ หรอื เปอรเซ็นต ตวั อยา ง ใน กศน. อําเภอแหงหน่ึง มีนักศึกษาทั้งหมด 650 คน แยกเปนนักศึกษา ระดับประถมศึกษา จํานวน 118 คน นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 250 คน และนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 282 คน เราจะหารอยละหรือเปอรเซ็นต ของนักศึกษาแตล ะระดบั ไดด ังน้ี ระดับประถมศึกษา = 118 100 = 18.15 % ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 650 = 38.46 % ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย = 43.38 % = 250 100 100 % รวมท้ังหมด 650 = 282 100 650 เร่ืองท่ี 3 การนาํ เสนอขอ มูล โดยท่ัวไปแลวการนําเสนอขอ มลู แบง เปน 2 วธิ ี คือ การนําเสนอขอ มูลอยางไม เปน แบบแผน และการนําเสนอขอมลู อยางเปน แบบแผน ซ่งึ มีรายละเอยี ด ดังน้ี 3.1การนาํ เสนอขอ มลู อยางไมเ ปน แบบแผน การนําเสนอขอมูลอยางไมเปนแบบแผน เปนการนําเสนอขอมลู ทีไ่ มตอ งยึดมั่น ตามกฎเกณฑแ ละแบบแผนอะไรมากนัก มีวิธยี อยที่นิยมใช 2 วิธี คอื 3.1.1 การนาํ เสนอขอมลู ในรูปขอ ความ เปนการนําเสนอขอ มูลโดยการ บรรยายเก่ียวกับขอ มูลนั้น ๆ เชน ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศึกษา อัตราสวนนักเรียนตอ อาจารยในปการศกึ ษา 2556 คอื 19 ตอ 1 ในปการศึกษา 2557 อัตราสวน คือ 21 ตอ 1 และ ในปก ารศกึ ษา 2558 อตั ราสว น คือ 22 ตอ 1 จะเหน็ ไดวา อตั ราสวนของนักเรียนตออาจารย มี แนวโนม เพิ่มข้นึ อยา งเหน็ ไดช ดั

19 3.1.2 การนาํ เสนอขอมูลในรปู ขอความก่งึ ตาราง เปนการนาํ เสนอขอ มลู โดย การแยกขอ ความและตวั เลขออกจากกนั เพ่ือไดเปรียบเทียบความแตกตางของขอมูลไดชัดเจน ยงิ่ ข้นึ เชน จากการสาํ รวจตลาดสดแหงหนงึ่ ผลไมบางชนิดขายในราคา ดังตอไปน้ี สม เขียวหวาน กิโลกรมั ละ 35 บาท ชมพู กโิ ลกรมั ละ 25 บาท มะมวง กโิ ลกรมั ละ 40 บาท สับปะรด กิโลกรัมละ 25 บาท เงาะ กโิ ลกรัมละ 15 บาท มังคุด กโิ ลกรัมละ 25 บาท 3.2การนําเสนอขอ มลู อยางเปน แบบแผน การนําเสนอขอมูลอยางเปนแบบแผน เปนการนําเสนอท่ีจะตองปฏิบัติตาม หลักเกณฑที่ไดกําหนดไวเปนมาตรฐาน ตัวอยางการนําเสนอแบบนี้ เชน การนําเสนอในรูป ตาราง กราฟ และแผนภมู ิ เปนตน 3.2.1 การนําเสนอในรปู ตาราง ขอมูลตาง ๆ ท่ีเกบ็ รวบรวมมาไดเม่อื ทําการ ประมวลผลแลวจะอยูใ นรปู ตาราง สวนการนําเสนออยางอื่นเปนการนาํ เสนอโดยใชขอมูลจาก ตาราง จํานวนขา ราชการ ในโรงเรียนแหงหนึง่ มี 22 คน จาํ แนกตามระดับการศกึ ษาสูงสดุ ดังน้ี ระดับการศกึ ษาสูงสดุ จาํ นวนขาราชการ(คน) ปริญญาเอก 1 ปรญิ ญาโท 16 ปรญิ ญาตรี 5 ต่าํ กวาปริญญาตรี 0 22 รวม

20 3.2.2 การนําเสนอดวยกราฟเสน เปน แบบทีร่ ูจกั กนั ดีและใชก ันมากท่ีสดุ แบบ หนึ่ง เหมาะสาํ หรับขอ มลู ทอี่ ยใู นรปู ของอนุกรมเวลา เชน ราคาขาวเปลอื กในเดือนตาง ๆ ปรมิ าณสนิ คาสง ออกรายป ราคาผลไมแ ตล ะป เปนตน ตวั อยาง : ราคาขายปลีกลองกอง ทต่ี ลาดกลางผลไมแ หง หน่ึง ในระยะเวลา 5 ป มดี งั นี้ ป พ.ศ. 2548 2549 2550 2551 2552 ราคา (บาท) : 120.- 95.- 80.- 65.- 40.- กิโลกรัม จากขอมลู ทีก่ ลา วมา สามารถนําเสนอแนวโนมของราคาขายปลกี ลองกอง 5 ป ดวยกราฟเสนไดด งั น้ี ราคา ราคาลองกอง 140 120 100 80 60 40 20 0 พ.ศ. 2548 พ.ศ.2549 พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 พ.ศ.2552 3.2.3 การนําเสนอดว ยแผนภูมแิ ทง ประกอบดว ยรูปแทงสเี่ หล่ยี มผืนผา ซ่ึง แตล ะ แทงมี ความหนาเทา ๆ กนั โดยจะวางตามแนวตง้ั หรือแนวนอนของแกนพกิ ดั ฉากก็ได

21 ตัวอยา ง: นกั ศกึ ษา กศน. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ทส่ี อบผา นในหมวดวชิ า คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย และพัฒนาสงั คมและชุมชน นกั ศกึ ษา กศน .ม.ตน้ ทสี อบผา่ น คน 8000 2350 2135 2035 6734 7000 5600 6000 5000 หมวดวชิ า 4000 คณิตศาสตร์ 3000 วิทยาศาสตร์ 2000 ภร์าษาอังกฤษ 1000 ษ ภาษาไทย 0 ัพฒนาสังคมฯ 3.2.4 การนาํ เสนอดว ยรปู แผนภูมวิ งกลม เปน การแบงวงกลมออกเปนสวนตา ง ๆ ตัวอยาง: แผนภมู แิ สดงผลการสอบของนกั ศึกษาที่สอบผา นจาํ แนกตามหมวดวชิ า พัฒนาสังคมฯ นกั ศึกษา กศน.ม.ตน้ ทีสอบผา่ น คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 36% คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย 12% พฒั นาสังคมฯ วิทยาศาสตร์ 11% ภาษาองั กฤษ 11% ภาษาไทย 30%

22 บทที่ 4 การมีสวนรวมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม เรอื่ งที่ 1 การวางแผน การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกําหนดวัตถุประสงค เพือ่ การตดั สินใจ เลอื กแนวทางในการทํางานใหด ที ีส่ ดุ เพ่ือใหบรรลุตามท่ีตองการในระยะเวลา ทก่ี ําหนด ความสําคัญของการวางแผน 1. เพือ่ ลดความไมแ นนอนและความเสยี่ งใหเหลอื นอ ยที่สุด 2. สรางการยอมรบั ในแนวคดิ ใหม ๆ 3. เพือ่ ใหการดาํ เนนิ งานบรรลเุ ปา หมาย 4. ลดข้ันตอนการทํางานทซี่ าํ้ ซอ น 5. ทาํ ใหเ กิดความชดั เจนในการทาํ งาน วัตถุประสงคในการวางแผน 1. ทําใหรูทศิ ทางในการทํางาน 2. ทําใหความไมแนน อนลดลง 3. ลดความเสียหายหรือการซํ้าซอ นของงานทีท่ ํา 4. ทําใหรมู าตรฐานในการควบคมุ ใหเปนไปตามที่กําหนด ขอดีของการวางแผน 1. ทาํ ใหเกิดการปรบั ปรงุ การทาํ งานใหดขี น้ึ 2. ทําใหเ กิดการประสานงานดียิง่ ขนึ้ 3. ทาํ ใหการปรับปรงุ และการควบคมุ ดีข้ึน 4. ทําใหเกดิ การปรบั ปรงุ การบรหิ ารเวลาใหด ขี ึ้น หลักพ้นื ฐานการวางแผน 1. ตอ งสนบั สนนุ เปาหมายและวตั ถปุ ระสงคข ององคก ร 2. เปน งานอันดับแรกของกระบวนการจัดการ 3. เปน หนา ทข่ี องผบู รหิ ารทกุ คน 4. ตองคํานงึ ถงึ ประสิทธภิ าพของแผนงาน

กระบวนการในการวางแผน 23 กําหนดวตั ถปุ ระสงค์ กําหนดข้อตกลงตา่ ง ๆ ที เป็ นขอบเขตในการวางแผน พิจารณาข้อจํากดั ตา่ ง ๆ ทีอาจเกดิ ขนึ ในการวางแผน นําแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ พฒั นาทางเลอื ก - ทําตารางการปฏบิ ตั ิงาน (แสวงหาทางเลือก) - มาตรฐานการทํางาน - ปรบั ปรุง / แก้ไข ประเมินทางเลอื ก (พิจารณาความเสยี ง) ลกั ษณะของแผนทด่ี ี 1. มีลักษณะชเ้ี ฉพาะมากกวามลี ักษณะกวา ง ๆ หรอื กลาวท่ัว ๆ ไป 2. มกี ารจําแนกความแตกตา งระหวางสง่ิ ที่รแู ละไมรใู หชัดเจน 3. มีการเชอ่ื มโยงอยา งเปนเหตเุ ปนผล และสามารถนําไปปฏิบัติได 4. มลี กั ษณะยืดหยนุ สามารถปรบั ปรุงและพฒั นาได 5. ไดรบั การยอมรับจากผทู เี่ ก่ยี วขอ งทุกฝา ย

24 เร่ืองท่ี 2 การมสี ว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม การมีสวนรวม หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมในทุกข้ันตอน ของการพัฒนาทัง้ ในการแกไขปญ หาและปองกันปญหา โดยเปดโอกาสใหมีสวนรวมในการคิด ริเร่ิมรวมกําหนดนโยบาย รวมวางแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตามแผน รวมตรวจสอบการใช อํานาจรัฐทุกระดับรวมติดตามประเมินผลรับผิดชอบในเร่ืองตาง ๆ อันมีผลกระทบกับ ประชาชน ชมุ ชนและภาคสวนตา งๆ ในพ้นื ท่ี การมีสวนรวมของประชาชน เปนกระบวนการที่ประชาชนและผูท่ีเก่ียวของมี โอกาสไดเขารวมในการแสดงทัศนะ รวมเสนอปญหา ประเด็นสําคัญท่ีเกี่ยวของ รวมคิด รว มตัดสินใจ รว มแกไ ขปญ หา รว มติดตาม และรวมรับประโยชน ประชาชนกับการมสี ว นรวมในการพฒั นาสังคม มนุษยถูกจัดใหเปนทรัพยากรท่ีมีคุณภาพที่สุดในสังคม และยังเปนองคประกอบ ท่ีถูกจัดใหเปนหนวยยอยของสังคม สังคมจะเจริญหรือมีการพัฒนาไปไดหรือไมขึ้นอยูกับ คณุ ภาพของประชาชนที่เปน องคประกอบในสงั คมนนั้ ๆ การท่ีสังคมจะพัฒนาไดอยางมีคุณภาพจําเปนอยางย่ิงที่จะตองเร่ิมตนลําดับแรก ท่กี ารพฒั นาหนว ยที่ยอยที่สุดของสังคมกอนคือ การพัฒนาคน และการพัฒนาในลําดับตอมา เร่มิ กนั ท่คี รอบครวั แลวตอ ยอดไปจนถงึ ระดบั ชมุ ชน สงั คม และประเทศ ตอ ไป 2.1. การพัฒนาตนเอง และครอบครัว การพัฒนาตนเอง เปนการพัฒนาตนเองดวยตนเอง เปนการเสริมสราง เพ่ิมพูน ความรู ประสบการณ บุคลิก ลักษณะ อุปนิสัยท่ีดี ตลอดจนความสามารถในการจัดการดาน อารมณ ซึ่งจะสง ผลใหเกิดประโยชนต อ ตนเองและผอู นื่ และมสี วนชวยทําใหส ังคมเกิดความ สงบสุข การจะใหทุกคน ทุกกลุมในหมูบานมีบทบาทในการตัดสินใจที่จะดําเนินการใด ๆ เพ่ือหมูบานได ประชาชนแตละคนควรชวยกันแสดงความคิดเห็นท่ีเปนประโยชนแกสวนรวม และตองเพมิ่ ความรู ความสามารถพฒั นาตนเองใหเปนผูรอบรูอยูเ สมอ มีขอ มูลเพียงพอ เปน ประโยชน และมสี าระสาํ คัญสอดคลอ งกบั เร่ืองที่จะดําเนินการ การพัฒนาตนเองจึงถือเปน จดุ เรมิ่ ตน ท่สี าํ คญั ของการพัฒนาครอบครัว ชมุ ชน และสังคม การพัฒนาครอบครัว คือการที่สมาชิกของครอบครัวรวมกันพัฒนาชีวิตความ เปนอยูของสมาชิกของครอบครัวใหดีข้ึน สมาชิกแตละคนของครอบครัวตองรับผิดชอบตอ หนาท่ีของตน มีความเอื้อเฟอ มีคณุ ธรรม รจู กั การพ่ึงพาตนเอง มีความรว มมือรว มใจ

25 มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค มีความเช่ือมั่น เอื้ออาทรตอกัน และพัฒนาตนเองในทุกๆ ดานอยู เสมอ สถาบันครอบครัวเปนหนวยท่ีเล็กที่สุดในการพัฒนา ดังน้ัน การพัฒนาครอบครัวอยาง ตอเน่ืองและมีคุณภาพ จะสงผลดีตอการพัฒนาชุมชนและสังคม และเปนตัวขับเคลื่อนความ เจริญกาวหนา ใหแกประเทศในอนาคต ในการพฒั นาชนบทหรือการพฒั นาเมอื งนนั้ การแสวงหาแนวทางและวธิ กี ารเพ่ิมพูน ความรู ประสบการณ ใหค นในพืน้ ท่นี ัน้ ๆ มีความสามารถและเรยี นรทู ีจ่ ะเขามามีสวนรว มในการ ดําเนินงาน ถือเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญ ทั้งน้ี การพัฒนาคนท่ีดีท่ีสุด คือ การรวมกลุม ประชาชนใหเปนองคกรเพื่อพัฒนาคนในกลุม เพราะกลุมคนเหลาน้ันจะกอใหเกิดการเรียนรู ฝก การคดิ และการแกป ญ หา และสรางเสริมบุคลิกภาพ ผานกระบวนการทํางานรวมกัน ซึ่งจะ ชว ยใหค นไดร ับการพัฒนาในดา นความคิด ทัศนคติ ความมีเหตุผล ซึ่งเปนรากฐานท่ีสําคัญของ ระบอบประชาธปิ ไตย 1.2 การพฒั นาชุมชน และสงั คม การพัฒนาชมุ ชน และสังคม หมายถงึ การทํากิจกรรมท่ีมผี ลตอคุณภาพชีวิตของทุก คนในชุมชนรวมกนั ดงั นัน้ การพฒั นาชุมชนและสังคม จึงตองใชการมีสวนรวมของประชาชนใน ชุมชนและสังคม รวมกันคิดเก่ียวกับปญหาตางๆ ตัดสินใจและลงมือปฏิบัติรวมกันในกิจกรรม เพอ่ื แกป ญหาทเ่ี ปนปญ หาสวนรวม เหตทุ ีต่ องใหประชาชนเขา มามีสว นรว ม เนือ่ งจากประชาชน รวู าความตองการของตนเองคืออะไร ปญหาคืออะไร จะแกป ญหาน้ันอยา งไร 1.3 หลักการพัฒนากับการมีสวนรวมของประชาชน 1.3.1 การมสี วนรว มในการคน หาปญหาและสาเหตุของปญ หา เปน ข้ันตอนทส่ี ําคัญทีส่ ุด เพราะถา ประชาชนไมเขาใจปญหาและวิเคราะหหา สาเหตุของปญหาดวยตนเองไมได กิจกรรมตาง ๆ ท่ีตามมาก็จะไมเกิดประโยชน เนื่องจาก ประชาชนขาดความรู ความเขาใจ และไมสามารถมองเหน็ ความสาํ คญั ของกจิ กรรมนนั้ สง่ิ ทส่ี ําคญั ท่สี ุด คอื ประชาชนทอี่ ยกู บั ปญ หาและรูจักปญหาของตนเองดีท่ีสุด แตใ นกรณที ีม่ องปญ หาไมอ อกก็อาจจะขอความรวมมือจากเพื่อน ประชาชนในชุมชนใกลเคียง หรอื เจา หนาทีข่ องรัฐทรี่ ับผิดชอบในเรอ่ื งนนั้ ๆ มาชว ยวเิ คราะหป ญหาและหาสาเหตุของปญหา กไ็ ด

26 1.3.2 การมสี วนรวมในการวางแผนการดาํ เนนิ งาน ในการวางแผนการดําเนนิ งานหรือกิจกรรม เจาหนาท่ีของรัฐควรที่จะตองเขาใจ ประชาชนและเขาไปมีสวนรวมในการวางแผน โดยคอยใหคําแนะนํา ปรึกษา หรือชี้แนะ กระบวนการดาํ เนนิ งานใหก ับประชาชนจนกวาจะเสรจ็ สิ้นกระบวนการ 1.3.3 การมีสว นรวมในการลงทนุ และปฏบิ ตั ิงาน เจาหนา ทีร่ ัฐควรจะชวยสรา งแรงบนั ดาลใจและจิตสาํ นึกใหประชาชน โดยใหรูสึกถึง ความเปนเจาของ ใหเกิดสํานึกในการดูแล รักษา หวงแหนสิ่งน้ัน ถาการลงทุนและการ ปฏิบัติงานทั้งหมดมาจากภายนอก ในกรณีท่ีเกิดความเสียหายประชาชน จะไมรูสํานึกหรือ เดอื ดรอ นตอความเสยี หายท่เี กิดขนึ้ เน่อื งจากไมใชของตนเองจงึ ไมมีการบํารงุ รกั ษา ไมตอง หวงแหน นอกจากจะมีการเขามามีสวนรวมในการปฏิบัติงานดวยตนเอง จะทําใหเกิด ประสบการณต รง โดยเรยี นรจู ากการดาํ เนนิ กิจกรรมอยางใกลชิดและสามารถดําเนินกิจกรรม ชนดิ นั้นดว ยตนเอง ตอ ไปได ขณะเดยี วกัน บคุ คลควรมคี า นยิ มทเี่ ก้ือหนุนในการพัฒนาสังคมอีก ดวย ไดแก การเสียสละ การมีระเบียบวินัย ความอดทน ขยันขันแข็ง มานะอดออม ไมสุรุยสรุ าย ซอ่ื สัตย การเออ้ื เฟอ เผอื่ แผ ตรงตอเวลา ฯลฯ 1.3.4 การมีสว นรวมในการติดตามและประเมินผลงาน ควรใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการติดตามและประเมินผลงาน เพ่อื ทีจ่ ะสามารถบอกไดว างานท่ีทําไปนน้ั เปน ไปตามแผนหรือไมเพียงใด ผลที่เกิดข้ึนสอดคลอง กับเปาหมายและวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวหรือไม เพียงใด มีปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน หรือไม ควรปรับปรุงแกไขอยางไร ดังนั้น ในการติดตามและประเมินผลควรใหประชาชนใน ชุมชนน้นั และบุคคลภายนอกชุมชนมีสวนรวมอยางเต็มที่ ซึ่งจะทําใหประชาชนเห็นคุณคาของ การทํากิจกรรมนนั้ รวมกนั ตวั อยา งท่ี 1: การมสี ว นรว มของประชาชนในการอนรุ ักษวัฒนธรรม ในการอนุรักษวัฒนธรรมดั้งเดิมของหมูบานวัฒนธรรมถลาง บานแขนน หมูบาน วัฒนธรรมถลาง จังหวัดภูเก็ต จัดเปนหมูบานที่สืบสานความรูด้ังเดิมของภูเก็ตต้ังแตสมัยทาว เทพกระษัตรี อีกทั้งวฒั นธรรมในการปรงุ อาหารซ่งึ เปนอาหารตํารับเจาเมืองในสมัยโบราณของ ภเู ก็ต และศิลปวัฒนธรรมดานนาฏศิลปของภูเก็ต เชน การรํามโนราห ไดมีการถายทอดและ เปด โอกาสใหผูท่ีสนใจเขารวมสืบสานวัฒนธรรมดั้งเดิม และสามารถที่จะพัฒนาเปนชุมชนที่มี

27 ความเขม แขง็ ซ่งึ เปน ผลสบื เน่ืองมาจากการสงเสรมิ การมีสวนรวมของประชาชนในการสืบสาน วฒั นธรรมทองถนิ่ ใหด าํ รงอยอู ยางยัง่ ยนื ตัวอยางท่ี 2: การมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษสิ่งแวดลอมในเขตวน อุทยานแหงชาติ สริ นิ าถ จงั หวัดภูเก็ต เปนผลสืบเน่อื งจากการบกุ รกุ ทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยการ เขา ไปขุดคลอง การปลอ ยน้ําเสยี จากสถานประกอบการ สง ผลใหป ระชาชนทีอ่ ยูบริเวณโดยรอบ ไดรับผลกระทบ และเสียหาย จากการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ทําให ประชาชนและภาครัฐไดเขามามีสวนรวมในการจัดระบบการบําบัดน้ําเสีย และการขุดลอกคู คลอง เพอ่ื ปองกนั และอนุรกั ษสิ่งแวดลอมใหค งอยูใ นสภาพท่เี ปน ธรรมชาติตอ ไป ตัวอยางท่ี 3: การบริหารจดั การของเสยี โดยเตาเผาขยะและการบาํ บัดของเสียของ เทศบาลนครภเู ก็ต จงั หวดั ภเู กต็ สืบเน่ืองจากปริมาณขยะที่มีมากถึง 500 ตันตอวัน ซ่ึงเกินความสามารถในการ กําจัด โดยเตาเผาทมี่ อี ยูสามารถกําจดั ขยะได 250 ตนั ตอ วนั หลมุ ฝงกลบของเทศบาลมีเพียง 5 บอ ซ่งึ ถกู ใชงานจนหมด และไมส ามารถรองรับขยะไดอ กี ประชาชนไดเ ขา ไปมสี วนรวมโดยใหค วามรวมมือในการคัดแยกขยะกอนท้ิง ซ่ึงแยก ตามลกั ษณะของขยะ เชน 1. ขยะอินทรยี  หรอื ขยะเปยกท่สี ามารถยอยไดตามธรรมชาติ เทศบาลนครภูเก็ต ได นาํ ไปทาํ ปยุ หมักสาํ หรับเกษตรกร 2. ขยะรีไซเคิล เชน แกว พลาสติก กระดาษ ทองแดง เปนตน นําไปจําหนา ย 3. ขยะอันตราย เชน ถา นไฟฉาย หลอดไฟ เปนตน นําไปฝงกลบและทาํ ลาย 4. ขยะทวั่ ไป นาํ เขาเตาเผาขยะเพอื่ ทําลาย ในการจัดกระบวนการดังกลาว สงผลใหประชาชนมีสวนรวมในการสงเสริม สิ่งแวดลอมท่ีดีใหกับจังหวัดภูเก็ต อีกท้ังเปนการบูรณาการในการดําเนินกิจกรรมรวมกัน ระหวางสวนราชการ เทศบาลนครภูเก็ต และภาคประชาชน เปนการสรางการมีสวนรวม ระหวางองคกรปกครองสวนทองถ่ินกับประชาชนในการรวมกันสรางสรรคส่ิงแวดลอมท่ีดี เพอ่ื คนในภูเก็ต

28 บทท่ี 5 เทคนิคการมสี วนรวมในการจดั ทําแผน เรือ่ งท่ี 1 เทคนคิ การมสี ว นรวมในการจดั ทาํ แผน 1.1 การมสี วนรวมของประชาชนในการจดั ทาํ แผน การเปด โอกาสใหป ระชาชนมสี วนรวมในการจดั ทาํ แผน ตัดสินใจ ในการ วางโครงการสาํ หรับประชาชนเอง มีวัตถุประสงคเพอื่ 1.1.1 ใหป ระชาชนยอมรบั ในแผนการดาํ เนินงาน และพรอมจะรวมมอื เปนการลด การตอ ตา น และลดความรูส ึกแตกแยกจากโครงการ 1.1.2 ใหประชาชนไดรวมตดั สนิ ใจเกย่ี วกับสถานการณ ปญหาความตอ งการ ทิศทางของการแกปญ หา และผลลพั ธท จ่ี ะเกิดขน้ึ 1.1.3 ใหประชาชนมีประสบการณต รงในการรว มแกปญ หาของประชาชนเอง ทําใหประชาชนเกดิ การเรยี นรใู นกระบวนการแกป ญ หา 1.2 การจัดทําเวทีประชาคม เวทีประชาคม เปนวิธีการกระตุนใหเกิดการเรียนรูอยางมีสวนรวม ระหวางคนที่มี ประเด็นหรือปญหารวมกันโดยใชเวทีในการสื่อสารเพื่อการรับรูและเขาใจในประเด็น/ปญหา และชวยกันหาแนวทางแกไขประเด็นปญหานั้น ๆ ซ่ึงมีขั้นตอนในกระบวนการจัดทําเวที ประชาคม ดังน้ี 1.2.1 เตรยี มการ การเตรยี มทีมงานจดั เวทปี ระชาคม ควรแบง เปน 2 สวน คอื 1) ผูอาํ นวยการเรยี นรหู ลักหรอื วิทยากรกระบวนการหลกั ท่ีมหี นาที่ ขบั เคลือ่ นการมีสวนรวมเวทีประชาสงั คมทงั้ กระบวน และเปน วิทยากรหลักทที่ ําใหเกิดการ แสดงความคดิ เหน็ รวมกันระหวางผูเขา รว มอภิปรายในเวทปี ระชาคม 2) ผูสนบั สนุนวิทยากรกระบวนการ ซึง่ อาจจะแสดงบทบาทเปนวิทยากรเอง หรือผจู ดบนั ทึกการประชมุ ผสู นับสนนุ ฯ มหี นาทีเ่ ตมิ คาํ ถามในเวทีเพื่อใหประเด็นบางประเด็น สมบูรณมากย่ิงข้ึน สังเกตลักษณะทาทีและบรรยากาศของการอภิปราย สรุปประเด็นท่ี อภปิ รายไปแลว และใหขอมูลเพ่มิ เตมิ ทเ่ี กีย่ วกับกลุมและบรรยากาศแกว ทิ ยากรหลัก หากพบวา ทิศทางของกระบวนการเบย่ี งเบนไปจากวัตถปุ ระสงค หรอื ประเด็นทีต่ ้งั ไว

29 1.2.2 ดําเนินการเวทปี ระชาคม ในกระบวนการนผี้ ูอ ํานวยการเรยี นรหู รอื วิทยากรกระบวนการหลกั มบี ทบาท มากที่สดุ ขนั้ ตอนในกระบวนการน้ปี ระกอบดวย 1) การทําความรจู ักกันระหวางผูเขา รวมอภิปราย คอื การละลายพฤตกิ รรมใน กลุมและระหวางกลุมกบั ทมี งาน เพ่ือสรา งบรรยากาศทด่ี รี ะหวางการอภปิ ราย 2) บอกวัตถุประสงคของการจัดเวทีประชาคม เพื่อใหผูเขาอภิปรายไดเตรียม ตัว ในฐานะผูมีสวนเก่ียวของกับประเด็น/ปญหา การบอกวัตถุประสงคของการจัดเวที ประชาคมนีส้ ามารถทาํ ไดหลายวิธี อยางไรกต็ ามการทีจ่ ะเลอื กใชวิธีไหนน้ันตองคํานึงถึงความ ถนัดและทักษะของวิทยากรกระบวนการ และการกระตุนใหเกิดการมีสวนรวมของผูรวม อภปิ ราย ควรใชภาษาท่สี อดคลองกบั ภมู หิ ลงั ของผเู ขา รวมอภิปราย และตอ งใหผ ูร วมอภิปราย ในเวทปี ระชาคมรสู กึ ไวใจตั้งแตเ ร่ิมตน 3) การเกริ่นนําเขา สทู ีม่ าท่ีไปของประเด็นการอภปิ รายในเวทีประชาคม เพื่อให ผูเขารวมอภิปรายไดเขาใจที่ไปที่มา และความสําคัญของประเด็นตอการดําเนินชีวิต หรือวิถี ชีวิต ทั้งนี้จุดมุงหมายของข้ันตอนน้ีคือกระตุนใหผูเขารวมอภิปรายในฐานะผูมีสวนเก่ียวของ โดยตรงตอประเด็น/ปญหา ตองชวยกันผลักดันหรือมีสวนรวมในกระบวนการแกไขปญหาท่ี สง ผลกระทบโดยตรง 4) การวางกฎ และระเบียบของการจัดเวทีประชาคมรวมกัน ขั้นตอนน้ีเปน ขั้นตอนกอนการเร่ิมอภิปรายในประเด็นท่ตี งั้ ไว มีจุดมุงหมายเพื่อรวมกันกําหนดขอบเขต และ การวางระเบียบของการจัดทําเวทีประชาคมรวมกันระหวางผูดําเนินการอภิปรายและผูรวม อภิปราย ท้ังน้ีเพ่ือปองกันความขัดแยงระหวางการอภิปราย อยางไรก็ตามหากกติกา ท่ีผูเขารวมไดเสนอแตเปนกฎพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับกิจกรรมระดมสมอง เชน เวทีประชาคม นั้น วทิ ยากรกระบวนการจําเปน ท่ีตองเสนอในทปี่ ระชมุ ซึ่งอาจจะเสนอเพ่ิมเติมภายหลังจากท่ี ผเู ขารวมเวทปี ระชาคมไดเ สนอมาแลว กฎพน้ื ฐาน คอื (1) ทุกคนตองแสดงความคิดเห็น (หรือหากเปนกลุมใหญ ตัวแทนของแต ละกลมุ ตอ งแสดงความคิดเห็น) (2) กาํ หนดเวลาทแ่ี นนอนในการพดู แตละครงั้ (3) ไมแทรกพดู ระหวางคนอนื่ กําลังอภปิ ราย

30 (4) ทกุ คนในเวทีประชาคมมีความเทา เทยี มกันในการแสดงความคิดเห็นไม วาผูเขารว มจะมีสถานะทางสงั คม หรือสถานภาพทตี่ า งกนั เชน ลูกบา น ผใู หญบาน ผูรบั บริการ ผูใหบรกิ าร ผูหญงิ ผูช าย เปนตน (5) ทุกคนสามารถเสนอประเด็นใหม ๆ ได แตตองตรงกบั ประเดน็ หลกั ที่ เปนประเด็นอภปิ ราย (6) วิทยากรหลักเปน เพยี งคนกลางท่ชี วยกระตนุ ใหเ กดิ การพูดคุย และ สรุปประเด็นทเ่ี กิดจากการอภปิ ราย ไมใ ชผเู ชี่ยวชาญในการแกป ญ หา 5) การอภิปรายประเด็นหรือปญหา ในขั้นตอนน้ีวิทยากรกระบวนการ/ ผูอาํ นวยการเรยี นรตู อ งดําเนนิ การอภิปรายใหบรรลุตามวัตถุประสงค ตามกระบวนการ และ ตามแผนท่ีวางไว นอกจากน้ัน ทีมงานเองก็ตองชวยสนับสนุนใหเวทีประชาคมดําเนินการไป อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และตามแผนทไี่ ดต กลงกนั ไว วิทยากรหลกั สามารถใชว ธิ ีการอ่ืน ๆ เขามา ชวยสนบั สนนุ การซกั ถามเพ่อื กระตุน การมสี ว นรวมในเวทีใหมากท่สี ดุ 6) การสรุป เปนข้ันตอนสุดทายของการจัดเวทีประชาคม ซ่ึงวิทยากรหลัก/ ผูอํานวยการเรียนรูตองสรุปผลของการอภิปราย โดยแยกเปนผลท่ีไดจากการพูดคุยกันเพื่อ นําไปเปนแนวทางในการแกปญหาตอไป ผลท่ีไมสามารถสรุปไดในเวทีและจําเปนตอง ดําเนินการอยางใดอยางหน่ึงตอไป ในขั้นตอนนี้จําเปนตองมีการทบทวนรวมกัน และทําเปน ขอตกลงรวมกันวาจะตองมีการดําเนินการอยางไรกับผลท่ีไดจากเวทีประชาคม โดยเฉพาะ อยางยิ่งอาจระบุอยางชัดเจนวาใครจะตองไปทําอะไรตอ และจะนัดหมายกลับมาพบกัน เพือ่ ติดตามความคืบหนา กนั เมอ่ื ไร อยา งไร 1.2.3 ติดตาม-ประเมนิ ผล เปน กระบวนการตอเนอื่ งหลงั จากการจัดเวทปี ระชาคมเสรจ็ สิ้นแลว ซงึ่ สามารถแบง กระบวนการนีเ้ ปน 2 ข้นั ตอนใหญ คือ การตดิ ตาม และการประเมินผล 1) ขั้นตอนการติดตาม เปนการตามไปดูวามีการดําเนินการอยางใดอยาง หนึ่งหรือไมตามท่ีไดตกลงกันไว ขั้นตอนนี้จําเปนตองเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูที่มีสวน เกี่ยวของไดเขามามีสวนรวมในการติดตามผล โดยอาจจะกําหนดบทบาทหนาที่ทําแผนการ ตดิ ตาม และกาํ หนดวธิ ีการติดตามรว มกนั และมีการติดตามรวมกันอยางสมํ่าเสมอตามแผนที่ วางไว ขนั้ ตอนนีจ้ ะชวยใหผ เู ขารว ม ในเวทีประชาคม เขาใจความสําคัญของการทํางานรวมกัน ในฐานะเจาของประเด็น/ปญหาและเรียนรูจากประสบการณการติดตามเพ่ือนําไปเพิ่มทักษะ การจัดการปญหาของชาวบา นเองในอนาคต

31 2) ขั้นตอนของการประเมินผล คือ (1) เพ่ือตรวจสอบการเปล่ียนแปลงภายหลังการจัดเวทีประชาคมวา ประชาชน มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนหรือไม เม่ือมีการจัดการอยางใดอยางหนึ่งแลว เชน เมื่อมี การผลักดันประเด็นใดประเด็นหน่ึงท่ีเปนปญหาเขาสูความสนใจของผูมีอํานาจในการกําหนด นโยบาย หรือบรรจุอยใู นนโยบายของรฐั แลว เปนตน (2) เพ่ือประเมินทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการจัด เวทปี ระชาคมท้ังหมดวา ไดรับความรวมมือมากนอยเพียงใด ลักษณะและกระบวนการท่ีทํา เอ้ือตอ การแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันหรือไม ผลท่ีไดรับคุมคาหรือไมและบรรลุตาม วตั ถุประสงคท ่วี างไวหรอื ไมอยา งไร การสรปุ ขอ มูลที่ไดจ ากการติดตามและการประเมินผล จะชวยใหท ั้งผจู ัดเวที ประชาคมและเขารว มไดมีบทเรียนรวมกนั และสามารถนาํ ประสบการณท ่ีไดไปใชพ ฒั นาใน การจัดกจิ กรรมประชาคมอื่น ๆ ตอ ไป 1.3 การประชมุ กลุมยอย หรือการสนทนากลมุ การสนทนากลุม หมายถงึ การรวบรวมขอ มลู จากการสนทนากับกลุมผูใหขอมูลใน ประเดน็ ปญ หาทเี่ ฉพาะเจาะจง โดยมผี ูด ําเนินการสนทนา (Moderator) เปนผูคอยจุดประเด็น ในการสนทนา เพื่อชกั จูงใหก ลมุ เกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นตอประเด็นหรือแนวทางการ สนทนาอยางกวา งขวางละเอียดลึกซ้ึง โดยมีผูเขารวมสนทนาในแตละกลุมประมาณ 6-10 คน ซง่ึ เลือกมาจากประชากรเปาหมายทก่ี าํ หนดเอาไว (สํานักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจยั , 2549) 1.3.1 ข้ันตอนการจัดสนทนากลุม นักวชิ าการทา นหนงึ่ ชื่อ จูดติ ชาเกน ไซมอน (Judith Sharken Simon) กลาววา การสนทนากลุม ไมไ ดจ ัดทาํ ไดใ นระยะเวลาอันสัน้ กอนทจี่ ะมีการประชมุ ควรมกี าร เตรียมการไมนอยกวา 4 สปั ดาห บางครัง้ กวา ท่จี ะปฏบิ ตั ิไดจริงอาจใชเวลาถงึ 6-8 สปั ดาห กอ นท่ีจะมกี ารดาํ เนินงาน ผูรว มงานควรมกี ารตกลง ทําความเขาใจเกีย่ วกับหวั ขอ การสนทนา และทดสอบคําถาม เพอ่ื ใหม ีความเขา ใจตรงกัน เพ่ือใหก ารสนทนาที่เกดิ ข้ึนเปนไปตาม ระยะเวลาทก่ี าํ หนด ซ่งึ มีข้นั ตอนในการจดั สนทนากลมุ ดงั น้ี 1) กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค (6-8 สปั ดาหกอ นการสนทนากลมุ ) 2) กาํ หนดกลุมผรู ว มงานและบุคคลกลุม เปา หมาย (6-8 สัปดาหกอ นการสนทนา กลมุ )

32 3) รวบรวมท่ีอยูและเบอรโทรศัพทของผูรวมงาน (6-8 สัปดาหกอนการสนทนา กลุม) 4) ตดั สนิ ใจวา จะทําการสนทนาเปนจํานวนก่ีกลุม (4-5 สัปดาหกอนการสนทนา กลมุ ) 5) วางแผนเรือ่ งระยะเวลาและตารางเวลาการสนทนา (4-5 สัปดาหก อนการ สนทนากลุม) 6) ออกแบบแนวคําถามที่จะใช (4-5 สัปดาหกอนการสนทนากลุม ) 7) ทดสอบแนวคาํ ถามท่สี รา งข้ึน (4-5 สปั ดาหก อ นการสนทนากลมุ ) 8) ทาํ ความเขาใจกับผูด าํ เนินการสนทนา และผูจดบนั ทึก (4-5 สปั ดาหกอ นการ สนทนากลมุ ) 9) คัดเลือกผเู ขารวมกลุม สนทนา และจัดทาํ บัตรเชิญสง ใหผูรว มสนทนา (3-4 สัปดาหก อ นการสนทนากลุม) 10) โทรศัพทเ พอ่ื ติดตามผลและสง บตั รเชญิ ใหผูรวมงาน (3-4 สัปดาหก อน การสนทนากลมุ ) 11) การจัดการเพ่ือเตรยี มการทําสนทนากลุม เชน จัดตาํ แหนงท่ีนั่ง จดั เตรียม เคร่อื งมืออุปกรณ เปนตน 12) แจง สถานทใี่ หผูเ ขารวมสนทนาทราบลว งหนา 2 วนั 13) จัดกลุมสนทนา และหลังจากการประชมุ ควรมีการสง จดหมายขอบคณุ ผรู วมงานดว ย 14) สรปุ ผลการประชุม วเิ คราะหขอมูลและสงใหผ รู ว มประชุมทุกคน 15) การเขยี นรายงาน 1.3.2 การดาํ เนนิ การสนทนากลมุ 1) แนะนําตนเองและทมี งาน ประกอบดวย พิธกี ร ผูจดบันทกึ และผูบริการทว่ั ไป โดยปกตไิ มควรใหม ผี สู ังเกตการณ อาจมีผลตอการแสดงออก 2) อธบิ ายถงึ จุดมุงหมายในการมาทําสนทนากลุม วตั ถุประสงคข องการศึกษา 3) เร่มิ เกริ่นนาํ ดวยคาํ ถามอุนเครื่องสรา งบรรยากาศเปนกนั เอง 4) เมอื่ เรมิ่ คุนเคย เรม่ิ คําถามในแนวการสนทนาทจี่ ัดเตรียมไวท ง้ิ ชว งใหม ีการถก ประเด็น และโตแ ยง กันใหพอสมควร

33 5) สรา งบรรยากาศใหเกิดการแลกเปล่ียนความคดิ เห็นตอ กัน ควบคมุ เกมไมให หยุดน่ิง อยาซักถามคนใดคนหน่ึงจนเกินไป คําถามท่ีถามไมควรถามคนเดียว อยาซักถาม รายตัว 6) ในการน่ังสนทนา พยายามอยาใหเ กดิ การขมทางความคิด หรือชักนําผอู ่นื ให เห็นคลอ ยตามกับผทู ีพ่ ูดเกง ควรสรางบรรยากาศใหค นทไ่ี มคอ ยพูดใหแสดงความคดิ เห็นออกมา ใหไ ด 7) พธิ ีกรควรเปน ผูคุยเกงซกั ถามเกง มีพรสวรรคใ นการพูดคยุ จังหวะการถามดี ถามชา ๆ ละเอียด ควรมกี ารพดู แทรกตลกอยา งเหมาะสมดวย 1.3.3 ขอ ดขี องการจัดสนทนากลุม 1) ผเู กบ็ ขอ มูล เปนผูไดรบั การฝกอบรมเปนอยางดี 2) เปนการน่งั สนทนาระหวางผูดาํ เนนิ การกับผรู ู ผใู หข อมลู หลายคนทเ่ี ปน กลมุ จงึ กอ ใหเ กิดการเสวนาในเร่อื งที่สนใจ ไมม ีการปดบัง คําตอบท่ีไดจากการถกประเดน็ ซึง่ กนั และกัน ถอื วาเปนการกล่นั กรองซึ่งแนวความคดิ และเหตผุ ล โดยไมม ีการตปี ระเด็นปญหาผดิ ไป เปน อยา งอ่ืน 3) การสนทนากลมุ เปนการสรางบรรยากาศเสวนาใหเ ปนกนั เองระหวางผนู ํา การสนทนาของกลุมกับสมาชิกกลุมสนทนาหลาย ๆ คนพรอมกัน จึงลดสภาวการณเขินอาย ออกไปทําใหสมาชิกกลมุ กลาคุยกลา แสดงความคิดเหน็ 4) การใชว ิธีการสนทนากลุม ไดขอมูลละเอียดและสอดคลองกับวัตถุประสงคของ การศึกษาไดสาํ เร็จหรือไดด ีย่งิ ขึน้ 5) คําตอบจากการสนทนากลมุ มีลกั ษณะเปนคําตอบเชิงเหตุผลคลา ย ๆ กบั การรวบรวมขอ มูลแบบคณุ ภาพ 6) ประหยัดเวลาและงบประมาณของผดู าํ เนนิ การในการศึกษา 7) ทําใหไ ดร ายละเอียด สามารถตอบคําถามประเภททาํ ไมและอยางไรไดอยาง แตกฉาน ลึกซงึ้ และในประเดน็ หรอื เร่ืองท่ไี มไดค ิดหรือเตรียมไวกอนกไ็ ด 8) เปนการเผชิญหนา กนั ในลกั ษณะกลมุ มากกวา การสัมภาษณตวั ตอตัว ทาํ ใหมี ปฏกิ ริ ยิ าโตต อบกันได 9) การสนทนากลุม จะชวยบง ช้ีอทิ ธิพลของวัฒนธรรมและคุณคา ตา ง ๆ ของสงั คม นัน้ ได เน่อื งจากสมาชกิ ของกลุมมาจากวัฒนธรรมเดียวกนั 10) สภาพของการสนทนากลุม ชวยใหเ กิดและไดข อมูลที่เปน จรงิ

34 1.4 การสมั มนา “สัมมนา” แปลวา รวมใจ เปนศัพทบัญญัติใหตรงกับ คําวา Seminar ความหมายของการสัมมนาคอื การประชุมของกลมุ บคุ คลทีม่ คี วามรู ความสนใจ ประสบการณ ในเรอื่ งเดยี วกัน ทม่ี จี ดุ มุงหมายเพ่ือรวมกันวิเคราะหและหาแนวทางการแกปญหาที่ประสบอยู ตามหลกั การของประชาธปิ ไตย 1.4.1 ประโยชนข องการสัมมนา 1) ผูจดั สามารถดําเนนิ การจดั สัมมนาไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ 2) ผเู ขา รว มสัมมนาไดรับความรู แนวคิดจากการเขา รว มสัมมนา 3) ชว ยทาํ ใหระบบและวิธกี ารทํางานมปี ระสิทธภิ าพสูงขนึ้ 4) ชว ยแบง เบาภาระการปฏิบัติงานของผบู งั คับบัญชา 5) เปนการพัฒนาและสง เสรมิ ความกา วหนา ของผปู ฏิบัติงาน 6) เกิดความริเริม่ สรา งสรรค 7) สามารถสรางความเขาใจอันดีตอเพือ่ นรวมงาน 8) สามารถรวมกนั แกป ญ หาในการทํางานได และฝก การเปนผนู ํา 1.4.2 องคป ระกอบของการสมั มนา 1) ผดู ําเนินการสัมมนา 2) วิทยากร 3) ผเู ขารวมสัมมนา 1.4.3 ลักษณะทวั่ ไปของการสมั มนา 1) เปนประเภทหนึ่งของการประชุม 2) มีการยดื หยุนตามความเหมาะสม 3) เปนองคความรูและปญ หาทางวชิ าการ 4) เปนกระบวนการรวมผทู ีส่ นใจในความรูทางวิชาการท่มี รี ะดับใกลเ คียงกัน หรือแตกตา งกนั มาสรา งสรรคองคความรใู หม 5) อาศยั หลกั กระบวนการกลมุ 6) เปน กิจกรรมทเี่ รงเรา ใหผ ูเขารว มสัมมนา มีความกระตือรอื รน 7) มโี อกาสนาํ เสนอ พดู คุย โตต อบซักถาม และแสดงความคดิ เห็นตอ กัน 8) ไดพ ัฒนาทกั ษะ การพูด การฟง การคิด และการนําเสนอความคิด ความ เช่ือ และความรอู ื่น ๆ ตลอดจนการเขียนรายงานหรือเอกสารประกอบการสมั มนา

35 9) ฝก การเปน ผนู าํ และผตู ามในกระบวนการเรียนรู 10) เล็งถึงกระบวนการเรียนรู (process) มากกวาผลท่ีไดรับ (product) จาก การสมั มนาโดยตรง 1.5 การสาํ รวจประชามติ ประชามติ (Referendum) หมายถึง การลงประชามติ, คะแนนเสียงท่ี ประชาชนลง ความหมายตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง มติของ ประชาชน สวนใหญในประเทศที่แสดงออกในเรื่องใดเรื่องหน่ึงหรือในท่ีใดท่ีหนึ่ง มติของ ประชาชนท่รี ัฐใหส ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนรบั รองรา งกฎหมายท่สี ําคัญ ท่ผี า นสภานิติบัญญัติแลว หรอื ใหตัดสินปญ หาสําคญั ๆ ในการบริหารประเทศ 1.5.1 ประเภทการสํารวจประชามติ การสํารวจประชามตทิ างดานการเมือง สวนมากจะรจู ักกันในนามของ Public Opinion Polls หรอื การทําโพล ซึง่ เปน ทรี่ จู กั กันอยา งแพรหลาย คอื การทําโพลการเลอื กต้งั (Election Polls) แบง ได ดงั น้ี 1) Benchmark Survey เปน การทาํ การสาํ รวจเพอ่ื ตองการทราบความเห็น ของประชาชนเกยี่ วกบั การรับรเู ร่อื งราว ผลงานของผูสมัคร ชื่อผูสมัคร และคะแนนเสียง เปรยี บเทียบ 2) Trial Heat Survey เปนการหย่ังเสียงวา ประชาชนจะเลอื กใคร 3) Tracking Polls คือการถามเพ่ือดูแนวโนม การเปลี่ยนแปลง สว นมากจะทํา ตอนใกลเลือกตัง้ 4) Cross-sectional vs. Panel เปน การทาํ โพล ณ เวลาใดเวลาหน่ึง หลาย ๆ คร้งั เพ่อื ทําใหเ ห็นวาภาพผูสมคั รในแตละหวงเวลามีคะแนนความนยิ มเปนอยา งไร แตไ ม ทราบรปู แบบการเปลีย่ นแปลงทเ่ี กดิ ข้ึนในตัวคน ๆ เดียว จงึ ตอ งทาํ Panel Survey 5) Focus Groups ไมใ ช Polls แตเปน การไดขอ มูลทค่ี อนขา งนาเชือ่ ถือได เพราะจะเจาะถามเฉพาะกลมุ ทรี่ ูและใหค วามสําคญั กบั เรอื่ งน้ัน ๆ จรงิ จัง ปจ จบุ ันนิยมเชิญ ผูเชี่ยวชาญหลาย ๆ ดา นมาใหความเห็นหรอื บางครงั้ กเ็ ชิญกลุมตัวอยางมาถามโดยตรงเลย การทาํ ประชมุ กลมุ ยอ ยยังสามารถใชใ นการถามเพอ่ื ดูวา ทิศทางของคําถามท่ีควรถามควรเปน เชนไรดวย 6) Deliberative Opinion คือการรวมเอาการสํารวจท่ัวไป กับการทําการ ประชุมกลุม ยอ ยเขา ดวยกัน โดยการนําเอาตัวแทนประชาชนมารวมกัน แลวใหขอมูลขาวสาร

36 หรือโอกาสในการอภิปรายประเด็นปญหา แลวสํารวจความเห็นในประเด็นปญหาเพื่อวัด ประเดน็ ทปี่ ระชาชนคดิ 7) Exit Polls เปนการสัมภาษณผูใชสิทธ์ิออกเสียงเม่ือเขาออกจากคูหา เลือกตง้ั เพื่อดวู าเขาลงคะแนนใหใคร ปจจุบันในสังคมไทยนิยมมาก เพราะมีความนาเชื่อถือ มากกวา Polls ประเภทอ่นื ๆ การสํารวจทัศนคติและความคิดเห็นทางดานการตลาด (Marketing Research) สวนมากจะเนนการศึกษาความเห็นของผูใชสินคาและบริการตอคุณสมบัติอันพึงประสงคของ สินคาและบริการ รวมทั้งความคาดหวังในการไดรับการสงเสริมการขายที่สอดรับกับความ ตอ งการของผูใ ชส ินคาและบริการดวย การสาํ รวจความเหน็ เก่ียวกบั ประเด็นทเี่ กีย่ วขอ งกับการอยูรวมกันในสงั คม เปนการสาํ รวจความคิดเห็นของสาธารณชนในมิติท่ีเก่ียวของกับสภาพความเบ่ียงเบนจากการ จัดระเบียบสังคมที่มีอยูในสังคมใดสังคมหนึ่ง เพื่อนําขอมูลมากําหนดแนวทางในการแกไข ปญหาความสัมพันธที่เกิดขึ้นเปนวิธีการที่ใชมากในทางรัฐศาสตรและสังคมวิทยา เรียกวา การวิจยั นโยบายสาธารณะ(Policy Research) 1.5.2 กระบวนการสาํ รวจประชามติ 1) การกําหนดปญหาหรือขอมูลท่ีตองการสาํ รวจ คือ การเลือกส่ิงท่ีตองการจะ ทราบจากประชาชนเกี่ยวกบั นโยบาย บคุ คล คณะบุคคล เหตุการณ ผลงาน และสถานท่ีตาง ๆ เชน ดา นการเมอื ง มักเก่ียวของกับบุคคล นโยบายรัฐ ดานสังคมวิทยา เกี่ยวกับความสัมพันธ สภาพปญหาสงั คมทีเ่ กิดขน้ึ 2) กลมุ ตัวอยาง ตัวแทน คือ การกาํ หนดกลมุ ตัวอยา งของการสํารวจประชามติ ท่ีดีตองใหครอบคลุมทุกเพศ วัย อาชีพ ระดับการศึกษา และรายได เพ่ือใหไดเปนตัวแทนที่ แทจริง ซ่ึงจะมีผลตอการสรุปผล หากกลุมตัวอยางท่ีไดไมเปนตัวแทนที่แทจริงทั้งในดาน คณุ ภาพและปรมิ าณ การสรปุ อาจผิดพลาดได 3) การสรางแบบสอบถาม แบบสอบถาม คือ เครื่องมือวิจัยชนิดหน่ึงใชวัด คาตัวแปรในการวิจัย แบบสอบถามมีสภาพเหมือนมาตรหรือมิเตอรท่ีใชในทางวิทยาศาสตร หรือใชใ นชีวิตประจําวนั เชน มาตรวดั ความดันนํ้า มาตรวัดปริมาณไฟฟา แบบสอบถามที่ใชใน การทาํ ประชามติ คือ มาตรวัดคุณสมบัติของเหตกุ ารณท ีท่ าํ การศึกษา (Likert scale) เคร่ืองมือ วัดทัศนคติ หรือความคิดเห็นที่กําหนดคะแนนของคําตอบในแบบสอบถาม สวนใหญกําหนด นํา้ หนักความเหน็ ตอคําถามแตละขอเปน 5 ระดบั เชน “เห็นดวยอยางย่ิง” ใหมีคะแนนเทากับ

37 5 “เห็นดวย” ใหมีคะแนนเทากับ 4 “เฉย ๆ” หรือ “ไมแนใจ” หรือ “เห็นดวย ปานกลาง” ใหมีคะแนนเทากับ 3 “ไมเห็นดวย” ใหมีคะแนนเทากับ 2 และ ”ไมเห็นดวยอยางย่ิง” ใหมี คะแนนเทา กบั 1 คะแนนของคาํ ตอบเกี่ยวกบั ทัศนคติหรือความคดิ เห็นแตละชุด จะนํามาสราง เปนมาตรวัดระดับของทัศนคติหรือความคิดเห็นในเร่ืองนั้น ๆ การออกแบบสอบถามเปนทั้ง ศาสตรและศิลป การออกแบบสอบถามไดชัดเจน เขาใจงาย สามารถเปดโอกาสใหไดมีโอกาส คดิ ไดบาง เปน ส่ิงท่ีทําไดยาก เปนเร่ืองความสามารถในการเรียบเรียงขอความใหตรงกับความ เขาใจของคนตอบ และคนตอบตอ งเขาใจคลายกนั ดวย จึงจะทาํ ใหไดขอมูลที่มีความนาเช่ือถือ 4) ประชุมเจาหนาท่ีเก็บขอมูล เปนการประชุมเพื่อซักซอมความเขาใจใน ประเด็นคําถามที่ถามใหตรงกัน ความคาดหวังในคําตอบประเภทการใหคําแนะนําวิธีการ สัมภาษณ การจดบันทึกขอมลู การหาขอมลู เพิ่มเตมิ ในกรณที ่ียงั ไมไ ดค าํ ตอบ 5) การเก็บขอมูลภาคสนาม เจา หนาที่เก็บขอมูลจะไดรับการฝกในเรื่องวิธีการ สัมภาษณ การบันทึกขอมูล และการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล การเก็บขอมูลการ สํารวจประชามติสามารถดําเนนิ การได 3 ทางคอื การสัมภาษณแบบเห็นหนา (Face to Face) การสมั ภาษณท างโทรศพั ท และการสง แบบสอบถามทางไปรษณยี  6) การวเิ คราะหข อมูล ในกรณีการสาํ รวจประชามติ การวเิ คราะหข อ มลู สวนมากไมส ลับซบั ซอนเปนขอมูลแบบรอยละ เพ่ือตีความและหยิบประเด็นท่ีสาํ คญั จัดลําดับ ความสาํ คัญ 7) การนําเสนอผลการสํารวจประชามติ มีโวหารท่ีใชนําเสนอผลการสํารวจ ประชามติ ดงั น้ี (1) โวหารท่ีเนนนัยสําคัญทางสถิติ นําเสนอผลโดยสรางความเช่ือม่ันจาก การอา งถงึ ผลท่ีมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ริ องรบั (2) โวหารวาดวยเปนวิทยาศาสตร การนําเสนอผลโดยการอางถึง กระบวนการไดมาซ่งึ ขอมลู ทเี่ นนการสงั เกตการณ การประมวลขอมูลดว ยวิธกี ารทเ่ี ปนกลาง (3) โวหารในเชิงปรมิ าณ นําเสนอผลโดยใชตัวเลขที่สํารวจไดมาสรางความ นาเช่ือถือ และความชอบธรรมในประเดน็ ท่ีศกึ ษา (4) โวหารวาดว ยความเปนตวั แทน การนาํ เสนอขอ มลู ในฐานะที่เปนตัวแทน ของกลมุ ตวั อยา งท่ที าํ การศกึ ษา

38 1.6 การทําประชาพิจารณ การทําประชาพิจารณ หมายถึง การจัดเวทสี าธารณะเพอื่ ใหป ระชาชนโดยเฉพาะ ผเู ก่ยี วขอ งหรอื ผทู ี่มสี วนไดเสียโดยตรง ไดมีโอกาสทราบขอมลู ในรายละเอียดเพอื่ เปน การเปด โอกาสใหม สี วนในการแสดงความคดิ เห็น และมีสว นรวมในการใหขอ มูลและความคดิ เหน็ ตอ นโยบายหรอื โครงการน้ัน ๆ ไมว า จะเปนการเห็นดวยหรอื ไมเหน็ ดวยกต็ าม 1.6.1 ข้นั ตอนการทําประชาพิจารณ ในที่น้ีขอนําเสนอตัวอยางการทําประชาพิจารณของสภารางรัฐธรรมนูญ เพื่อใหรางรัฐธรรมนูญฉบับท่ีจะทําขึ้นน้ีเปนของประชาชนโดยแทจริง สภารางรัฐธรรมนูญได แตง ตั้งคณะกรรมาธกิ าร รับฟงความคิดเห็น และประชาพิจารณข้ึน เพื่อรวบรวมความคิดเห็น ของประชาชนเกย่ี วกับรางรฐั ธรรมนญู โดยมีขน้ั ตอนดงั นี้คอื 1) ขัน้ ตอนท่ี 1 สมาชิกสภารางรัฐธรรมนญู นาํ ประเด็นหลกั และหลักการ สาํ คญั ในการแกไขปญหา ซึ่งแยกเปน 3 ประเด็นคือ ประเด็นเร่ืองสิทธิและการมีสวนรวมของ พลเมือง ประเด็นเรื่องการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ และประเด็นเรื่องสถาบันการเมืองและ ความสัมพนั ธระหวางสถาบันการเมือง ออกไปรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเบ้ืองตน และ นําขอมลู เสนอกรรมาธิการ ภายในชวงตนเดือนเมษายน 2) ขนั้ ตอนท่ี 2 กรรมาธกิ ารรับฟงความคดิ เห็นและประชาพจิ ารณอ อกรับฟง ความคดิ เห็นจากประชาชนจังหวดั ตาง ๆ จนถงึ เดือนมิถนุ ายน 3) ขั้นตอนท่ี 3 คณะกรรมาธิการรับฟงความคดิ เห็นและประชาพิจารณส งผล สรุปความคิดเห็นของประชาชนที่ไดจากการจัดทําสมัชชาระดับจังหวัดใหกรรมาธิการยกราง รฐั ธรรมนญู เร่อื งที่ 2 การจัดทาํ แผน 2.1 แผน แผน (Plan) หมายถงึ การตัดสนิ ใจท่กี ําหนดลว งหนา สาํ หรบั การเลือกใช แนวทาง การปฏบิ ตั ิการ ประกอบดวยปจ จัยสาํ คัญ คือ อนาคต ปฏบิ ตั กิ ารและสิ่งที่ตองการ ใหเกิดขึ้นนั่นคือ องคกร หรือแตละบุคคลท่ีตองรับผิดชอบ (ขรรคชัย คงเสนห และคณะ, 2545)

39 แผนแบง ออกเปน 2 ประเภท ตามขอบเขตของกจิ กรรมทท่ี ํา คือ 2.1.1 แผนกลยุทธ (Strategic plan) เปนแผนที่ทําข้ึน เพ่ือสนองความ ตองการในระยะยาวและรวมกิจกรรมทุกอยางของหนวยงาน ผูบริหารระดับสูงที่วางแผนกล ยุทธจะตองกําหนดวัตถุประสงคของท้ังหนวยงาน แลวตัดสินใจวาจะทําอยางไร และจะ จัดสรรทรัพยากรอยางไรจึงจะทําใหสําเร็จตามเปาหมายนั้น จะตองใชเวลาในการกําหนด กจิ กรรมทีแ่ ตกตา งกนั ในแตละหนวยงาน รวมท้ังทิศทางการดําเนินงานที่ไมเหมือนกัน ใหอยู ในแนวเดียวกนั การตดั สนิ ใจทส่ี าํ คัญของแผน กลยุทธก ค็ อื การเลือกวิธีการในการดําเนินงาน และการจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดใหเหมาะสม เพื่อที่จะนําพาหนวยงานใหกาวไป ขา งหนา อยา งสอดคลอ งกับสถานการณแวดลอ มภายนอกทเี่ ปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2.1.2 แผนดาํ เนินงานหรือแผนปฏิบตั กิ าร (Operational plan) เปนแผนท่ี กําหนดข้ึนมาใชส าํ หรับแตละกจิ กรรมโดยเฉพาะ เพื่อใหบ รรลุเปาหมายของแตล ะกจิ กรรม ซง่ึ เทา กับเปนแผนงานเพ่อื ใหแ ผนกลยทุ ธบรรลผุ ลหรอื เปน การนําแผนกลยุทธไปใชนน่ั เอง แผนดําเนินงานท่แี ยกตามกจิ กรรม ไดแ ก แผนการผลติ แผนการเงนิ แผนการตลาด แผนทรพั ยากรมนุษยและแผนอปุ กรณ ปจ จบุ ันหนว ยงานไดนําแผนท่มี ีขอบขายความรับผิดชอบเช่อื มโยงนโยบายกับ แผนงาน เปน “ยทุ ธศาสตร” คือ การตัดสนิ ใจจากทางเลอื กท่ีเช่อื วาดที สี่ ุด และเปนไปไดท สี่ ดุ เรยี กวา แผนยุทธศาสตร แผนทด่ี ตี องประกอบดว ยคุณลกั ษณะสาํ คัญ คอื กาํ หนดวัตถปุ ระสงคข องแผน อยางชดั เจน สามารถนาํ ไปปฏิบัตงิ าย และสะดวกตอ การปฏิบตั ิ ยดื หยุนไดต ามสภาพการณ กาํ หนดมาตรฐานของการปฏิบัติงานไวลว งหนา มีความละเอยี ดถีถ่ ว น และเปนทย่ี อมรับและ เกิดประโยชนแกผเู ก่ยี วของ สามารถจูงใจใหท ุกคนปฏบิ ตั ิตามแผน 2.2 โครงการ โครงการ (Project) เปน สวนประกอบสว นหน่งึ ในการวางแผนพัฒนาท่ชี ว ยให เห็นภาพ และทิศทางการพัฒนา มีขอบเขตท่ีสามารถติดตามและประเมินผลได ถือเปน สวนประกอบสําคัญของแผน จัดทําขึ้นเพ่ือพัฒนาหรือแกปญหาใดปญหาหน่ึงขององคกร แผนงานที่ปราศจากโครงการยอมเปนแผนงานที่ไมสมบูรณ ไมสามารถนําไปปฏิบัติใหเปน รปู ธรรมได โครงการจึงมคี วามสัมพนั ธก บั แผนงาน

40 การเขียนโครงการขึ้นมารองรบั แผนงานเปน ส่ิงสําคญั และจําเปนยิ่ง เพราะจะทํา ใหงายในการปฏิบัติและงายตอการติดตามและประเมินผล เพราะถาโครงการบรรลุผลสําเร็จ น่ันหมายความวา แผนงานและนโยบายนั้นบรรลุผลสําเร็จดวย โครงการจึงเปรียบเสมือน พาหนะท่ีนําแผนปฏิบัติการไปสูการดําเนินงานใหเกิดผล เพ่ือไปสูจุดหมายปลายทางตามที่ ตอ งการ อกี ทัง้ ยังเปนจุดเชอ่ื มโยงจากแผนงานไปสแู ผนเงนิ และแผนคนอีกดวย โครงการมีลกั ษณะสําคัญ ดังนี้ 1. เปน ระบบ มขี ้นั ตอนการดําเนินงาน 2. มีวัตถปุ ระสงคเ ฉพาะเจาะจง ชัดเจน 3. มีระยะเวลาแนน อน (มจี ุดเรมิ่ ตนและจุดสิ้นสดุ ในการดําเนนิ งาน) 4. เปนเอกเทศและมีผรู บั ผดิ ชอบโครงการอยางชดั เจน 5. ตอ งใชทรัพยากรในการดําเนินการ 6. มเี จาของงานหรอื ผูจ ดั สรรงบประมาณ ในปจจบุ นั สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ได ใชวิธกี ารเขยี นโครงการแบบผสมผสานระหวางแบบประเพณีนิยม และแบบตารางเหตผุ ล ตอเนอ่ื ง ซงึ่ มีองคป ระกอบและรายละเอียด ดังน้ี หัวขอ ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขียน 1. ชื่อโครงการ เปนชื่อท่ีส้ัน กระชับ เขาใจงาย และส่ือไดชัดเจนวาเน้ือหา ส า ร ะ ข อ ง ส่ิ ง ที่ จ ะ ทํ า คื อ อ ะ ไ ร โ ด ย ท่ั ว ไ ป ชื่ อ โ ค ร ง ก า ร มีองคประกอบ 2 สวน คือ สวนที่ 1 เปนประเภทของโครงการ เชน โครงการฝกอบรม โครงการสัมมนา โครงการประชุมเชิง ปฏิบัติการ สวนที่ 2 เปนลักษณะหรือความเกี่ยวของของ โครงการ วาเก่ียวกับเร่ืองอะไร หรือเก่ียวกับใคร เชน กําหนด ตามตาํ แหนง งานของผเู ขารวมโครงการ กาํ หนดตามลักษณะของ เนื้อหาวิชาหลักของหลักสูตรหรือประกอบกันท้ังสองสวน เชน โครงการอบรมอาชีพไมดอกไมประดับ โครงการสรางเสริม สขุ ภาพผูสูงอายุ โครงการจัดการขยะมลู ฝอยชุมชน เปน ตน 2. หลกั การและเหตผุ ล ความสําคญั ของโครงการ บอกสาเหตหุ รอื ปญ หาที่ทําใหเกิด โครงการนข้ี ึ้น และทีส่ ําคัญคอื ตอ งบอกไดว า ถาไดท ําโครงการ

หัวขอ 41 3. วัตถุประสงค ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขยี น แลวจะแกไขปญ หานีต้ รงไหน การเขียนอธบิ ายปญ หาทีม่ า โครงการ ควรนําขอมลู สถานการณปญหาจากทอ งถน่ิ หรอื พน้ื ทท่ี ่ี จะทําโครงการมาแจกแจงใหผ ูอา นเกิดความเขา ใจชดั เจนขึน้ โดย มหี ลักการเขียน ดงั น้ี 1. เขียนในลักษณะบรรยายความ ไมน ยิ มเขียนเปนขอ ๆ 2. เขียนใหชดั เจน อา นเขาใจงา ย และมเี หตผุ ลสนับสนนุ เพยี งพอ ลําดับทีห่ นึง่ เปนการบรรยายถงึ เหตุผลและความจําเปน ในการจัดโครงการโดยบอกท่มี า และ ความสาํ คญั ของโครงการ นน้ั ๆ ลาํ ดบั ทีส่ อง เปนการอธิบายถงึ ปญหาขอ ขัดของ หรือ พฤติกรรมท่ีเบ่ียงเบนจากหลักการที่ควรจะเปน ซึ่งทําใหเกิด ความเสียหายในการปฏิบัติงาน(หรืออาจเขียนรวมไวใ นลําดับแรก ก็ได)สดุ ทายเปนการสรุปวาจากสภาพปญ หาที่เกิดข้นึ ผูรับผิดชอบจึงเหน็ ความจาํ เปนทจี่ ะตอ งจดั ทําโครงการข้นึ ในเรอื่ ง อะไรและสาํ หรบั ใครเพ่ือใหเกดิ ผลอยางไร ระบุสงิ่ ท่ีตอ งการใหเ กิดขึ้นเมือ่ ดาํ เนินการตามโครงการน้ีแลว โดย ตอบคําถามวา “จะทําเพอ่ื อะไร” หรือ “ทําแลว ไดอะไร” โดย ตองสอดคลอ งกบั หลักการและเหตผุ ล วตั ถปุ ระสงคท ี่ดคี วรเปน วตั ถุประสงคเ ชิงพฤตกิ รรม ซึง่ สามารถสังเกตไดและวดั ได องคประกอบของวตั ถุประสงคท ่ดี ี มีดังน้ี 1. เขาใจงา ย ชัดเจน ไมคลมุ เครือ 2. เฉพาะเจาะจง ไมกวางจนเกินไป 3. ระบถุ ึงผลลัพธท ต่ี อ งการ วาสิ่งท่ตี องการใหเกิดข้ึนคือ อะไร 4. สามารถวัดได ท้งั ในแงข องปรมิ าณและคุณภาพ 5. มคี วามเปนไปได ไมเล่อื นลอย หรือทาํ ไดยากเกินความเปน จรงิ คํากรยิ าทีค่ วรใชในการเขียนวตั ถุประสงคของโครงการ แลว ทาํ ใหส ามารถวัดและประเมินผลได ไดแก คําวา เพื่อให แสดง กระทาํ ดาํ เนินการ วดั เลือก แกไข สาธติ ตดั สนิ ใจ

หวั ขอ 42 4. เปาหมาย ลักษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขียน 5. กลุม เปาหมาย วิเคราะห วางแผน มอบหมาย จาํ แนก จัดลาํ ดับ ระบุ อธิบาย 6. วธิ ดี าํ เนินการ แกปญ หา ปรบั ปรงุ 7. งบประมาณ พัฒนา ตรวจสอบ ระบุสิ่งทต่ี อ งการใหเกิดข้ึนท้ังในเชิงปริมาณ และเชงิ คณุ ภาพใน แตละชวงเวลาจากการดําเนนิ การตามโครงการนแี้ ลว โดยตอบ คาํ ถามวา “จะทําเทาใด” ใครคอื กลุมเปาหมายของโครงการ หากกลมุ เปา หมายมหี ลาย กลุมใหบอกชดั ลงไปวา ใครคอื กลุม เปา หมายหลกั ใครคอื กลุมเปาหมายรอง บอกรายละเอยี ดวธิ ดี ําเนินการ โดยระบุเวลาและกิจกรรมการ ดําเนนิ โครงการ (ควรมรี ายละเอยี ดหวั ขอกจิ กรรม) เปนสว นที่แสดงยอดงบประมาณ พรอ มแจกแจงคาใชจา ย ในการดําเนินกจิ กรรมขั้นตา ง ๆ โดยท่วั ไปจะแจกแจงเปน หมวด ยอย ๆ เชน หมวดคา วัสดุ หมวดคาใชจาย หมวดคาตอบแทน หมวดคาครภุ ัณฑ ซึง่ การแจกแจงงบประมาณจะมปี ระโยชนใน การตรวจสอบความเปนไปไดแ ละความเหมาะสม นอกจากนีค้ วร ระบุแหลง ท่มี าของงบประมาณดว ยวา เปน งบประมาณแผน ดิน งบชว ยเหลือจากตางประเทศ เงินกูหรืองบบรจิ าค จํานวนเทา ไร ในการจดั ทํา ประมาณการคา ใชจ ายของโครงการ จะตอ ง ตระหนักวา คา ใชจ ายท้ังหมด แบง ออกไดเปน 2 สว น คอื คาใชจายจากโครงการ หรืองบประมาณสวนทจี่ า ยจริง และ คา ใชจ ายแฝง ไดแ ก คา ใชจายอื่น ๆ ท่ีเกิดขึน้ จริง หรือมีการใช จา ยอยูจรงิ แตไ มส ามารถระบุรายการคาใชจา ยน้ัน ๆ เปน จาํ นวนเงินไดอ ยางชัดเจน ดังน้นั ผูคิดประมาณการตอ งศกึ ษา และทาํ ความเขาใจในรายละเอยี ดโครงการหลักเกณฑและอตั รา การเบิกจายเงินงบประมาณตามระเบียบดวย

43 หวั ขอ ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขยี น 8. ระยะเวลา ตอบคาํ ถามวา “ทาํ เม่อื ใด และนานเทา ใด” (ระบุเวลาเร่มิ ตน ดําเนินงาน และเวลาสน้ิ สุดโครงการอยา งชัดเจน)โดยจะตองระบุ วนั เดือน ป เชน เดยี วกบั การแสดงแผนภมู แิ กนท (Gantt Chart) 9. สถานท่ี เปนการระบุสถานทต่ี ัง้ ของโครงการหรือระบุวากจิ กรรมน้นั จะทาํ ณ สถานทแ่ี หงใด เพ่ือสะดวกตอการประสานงานและจดั เตรยี ม สถานทใ่ี หพรอ มกอ นท่จี ะทาํ กจิ กรรมนนั้ ๆ 10. ผูรับผิดชอบ เปน การระบเุ พ่อื ใหทราบวาหนว ยงานใดเปนเจาของ หรอื รบั ผิดชอบโครงการ โครงการยอ ย ๆ บางโครงการระบุเปน ชือ่ บุคคลผรู บั ผิดชอบเปนรายโครงการ 11. โครงการ/กจิ กรรม หลาย ๆ โครงการที่หนวยงานดาํ เนนิ งานอาจมคี วามเกีย่ วของกัน ทีเ่ กย่ี วขอ ง หรอื ในแตละแผนอาจมโี ครงการหลายโครงการ หรอื บาง โครงการเปน โครงการยอ ยในโครงการใหญ ดงั นนั้ จึงตองระบุ โครงการท่มี ีความเกย่ี วของดว ย 12. เครอื ขาย/ ในการดําเนินการโครงการ ควรจะประสานงานและขอ ความ หนว ยงานที่ใหการ รวมมือกับหนวยงานอื่น หากมีหนวยงานรวมดําเนินโครงการ สนับสนุน มากกวาหนึ่งหนวยงานตองระบุช่ือใหครบถวน และแจกแจงให ชัดเจนดวยวา หนวยงานท่ีรวมโครงการแตละฝายจะเขามามีสวน รวมโครงการใน สวนใด ซึ่งจะเปนขอมูลสะทอนใหเห็นวา โครงการจะประสบผลสําเร็จและเกดิ ผลตอเน่ือง 3. ผลทคี่ าดวา จะไดรับ เมือ่ โครงการนัน้ เสร็จสิ้นแลว จะเกิดผลอยางไรบา งใครเปน ผู ไดรับผลประโยชนโดยตรงและผลประโยชนในดา นผลกระทบของ โครงการ 14. การประเมิน บอกรายละเอียดการใหไดมาซงึ่ คําตอบวาโครงการท่ีจดั น้มี ี โครงการ ประโยชนแ ละคมุ คาอยางไร โดยบอกประเด็นการประเมนิ / ตัวชว้ี ัด แหลง ขอ มูล วิธีการประเมิน ใหส อดคลองกบั วัตถุประสงคห รอื เปาหมายของโครงการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook