Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 ระดับ ม.ต้น

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 ระดับ ม.ต้น

Published by สกร.อำเภอหลังสวน, 2020-01-04 00:13:26

Description: การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 ระดับ ม.ต้น

Search

Read the Text Version

45 ภมู ิภาค สภาวจิ ัยแหงชาติไดแ บงประเทศไทยออกเปน ๖ ภูมิภาค ตามลักษณะธรรมชาติ รวมถึง ธรณีสันฐานและทางน้ํา รวมไปถึงรูปแบบวัฒนธรรมมนุษย โดยภูมิภาคตาง ๆ ไดแ ก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต ภูมิภาคทาง ภูมิศาสตรท้ังหกนี้มีความแตกตางกันโดยมีเอกลักษณของตนเองในดานประชากร ทรัพยากร พ้ืนฐาน ลักษณะธรรมชาติ และระดบั ของพัฒนาการทางสงั คมและเศรษฐกิจ ความหลากหลายใน ภูมิภาคตา ง ๆ เหลา นีไ้ ดเปนสว นสําคญั ตอ ลกั ษณะทางกายภาพของประเทศไทย ปา สนในจังหวดั เชียงใหม ภาคเหนอื มลี ักษณะภมู ิประเทศแบบภเู ขาสูงสลับกับหบุ เขาและพ้ืนท่ีสูงซึ่งติดตอกับเขตที่ ราบลุมตอนกลางของประเทศ มที วิ เขาทว่ี างตัวยาวในแนวเหนอื -ใต ระหวางทิวเขาจะมีหุบเขาและ แองทีร่ าบระหวา งภูเขาเปนท่ีต้ังของตัวจังหวัด เชน จังหวัดเชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน นาน และแพร ทิวเขาที่สําคัญไดแ ก ทิวเขาถนนธงชยั ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาขุนตาน ทิวเขาผีปนนํ้า และทวิ เขาหลวงพระบาง ชว งฤดหู นาวในเขตภูเขาของภาคเหนอื อุณหภูมติ ่ําเหมาะสมตอการปลูก ไมผ ลเมืองหนาว อาทิ ล้นิ จีแ่ ละสตรอเบอร่ี แมน ้ําในภาคเหนอื หลายสาย รวมไปถงึ แมนํ้าปง แมนํ้า วงั แมนํา้ ยม และแมนํ้านาน ไหลมาบรรจบกนั และกอใหเ กิดเปน ท่ีราบลุม แมน้ําเจา พระยา ในอดีต ลักษณะทางธรรมชาติเหลานี้ทาํ ใหภ าคเหนือสามารถทาํ การเกษตรไดห ลายประเภท รวมไปถึงการ ทํานาในหบุ เขาและการปลกู พืชหมุนเวยี นในเขตพนื้ ที่สงู

46 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ประกอบดวยจังหวัด ๒๐ จังหวัดมีเน้ือท่ี ๑๖๘,๘๕๔ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณหนึ่งในสามของพ้ืนทท่ี ้ังประเทศ สภาพพ้นื ที่อยูบนท่ีราบ สูง มีแมนํ้าโขงเปนแมนํ้าสายหลัก อาชีพหลัก คือ การทํานา ปลูกออย มันสําปะหลัง ยางพารา และผลิตผา ไหมเปน อตุ สาหกรรม ซง่ึ มีบทบาทสําคัญตอ เศรษฐกิจ เนอ่ื งจากผาไหมเปน ทน่ี ยิ มทง้ั คนไทยและชาวตา งชาติ ภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื แบงลกั ษณะภมู ิประเทศเปน ๕ เขต ไดแ ก ทวิ เขาดา นทิศตะวนั ตก ประกอบดว ยทวิ เขาดงพญาเย็น มลี กั ษณะเดน คือ สว นที่ เปนหินทรายจะยกตวั สูงขนึ้ เปน ขอบชนั กับพืน้ ทภี่ าคกลาง และมภี ูเขายอดตัดจํานวนมาก ไดแก ภู เรอื ภหู อ ภหู ลวง ภกู ระดงึ เปนภูเขาหนิ ทราย พบภูเขาหนิ ปนู แทรกสลบั อยูบาง ทวิ เขาทางดานใต มีทิวเขาสันกาํ แพงและทวิ เขาพนมดงรักเปน ทวิ เขาหลัก ทวิ เขา สนั กาํ แพงมีลักษณะเปนหินปนู หินดินดานภเู ขาไฟ และหินทราย สวนทิวเขาพนมดงรกั เปนทิวเขา ทีเ่ ปนภูเขาหนิ ทราย และยงั มีภูเขาไฟดบั แลวตง้ั อยู ทวิ เขาตอนกลาง เปนเนนิ และภเู ขาเต้ีย เรียกวา ทิวเขาภูพาน ที่ราบแองโคราช เปนพนื้ ท่รี าบของลมุ น้ําชี และมูล ที่ไหลลงสูแมน้ําโขง เปนท่ีราบ ท่มี เี น้อื ท่ีกวา งท่สี ดุ ของประเทศ จุดเดนของแองโคราชคือ มีการพบซากดึกดําบรรพ ไมกลายเปน หนิ ชางโบราณและไดโนเสารจาํ นวนมาก แองสกลนคร เปนท่รี าบบรเิ วณฝง แมน ํ้าโขง มีแมน ้ําสายส้ัน ๆ เชน แมนํ้าสงคราม เปนตน บรเิ วณนี้มีหนองนาํ้ ขนาดใหญ เรียกวา \"หนองหาน\" เกิดจากการยบุ ตวั จากการละลายของ เกลอื หนิ

47 ทวิ เขาเพชรบูรณ ภาคกลาง เปนพ้ืนที่ทม่ี ีความสมบูรณทางธรรมชาติ จนไดรับการขนานนามวา \"อูขาวอู น้ํา\" มีระบบชลประทานทีไ่ ดพ ฒั นาสําหรบั เกษตรกรรมทํานาในภาคกลาง โดยไดพฒั นาตอเนื่องมา ต้ังแตอาณาจักรสุโขทัย มาจนถึงปจจุบัน ภูมิประเทศเปนท่ีราบลุมมีแนวภูเขาเปนขอบดาน ตะวันออกและตะวันตก ไดแกทิวเขาเพชรบูรณ และทิวเขาถนนธงชัย ลักษณะทางภูมิศาสตร บริเวณภาคกลางตอนบนเปนท่ีราบเชิงเขา ลานพักลํานํ้า และเนินตะกอนรูปพัด สวนดาน ตะวนั ออกเปนทีร่ าบลาดเนินตะกอนเชิงเขาและภูเขาโดดเตี้ย ๆ ซึ่งเปนภูเขาไฟเกา พบท้ังหินบะ ซอลต หนิ ไรโอไลต และหินกรวดภเู ขาไฟ มพี ้นื ทีร่ าบลมุ แมน าํ้ ยม แมนา้ํ เจา พระยาตอนบน และแม น้ําปาสกั สวนภาคกลางตอนลางมีลกั ษณะเปนท่ีราบลุมโดยตลอด มีลานตะพักลํานํ้า เปนท่ีราบนํ้า ทว มถึง และคนั ดนิ ธรรมชาติยาวขนานตามแมนํา้ เจา พระยา แมนํา้ ลพบรุ ี แมนํ้าปาสัก แมนํ้าทาจีน ทร่ี าบภาคกลางตอนกลางมีชื่อเรียกวา \"ทุงราบเจาพระยา\" เร่ิมต้ังแตจังหวัดนครสวรรคไปจนสุด อาวไทย ภาคตะวนั ออก ประกอบดวย ๗ จังหวดั มีอาณาเขตทิศเหนอื ติดกบั ภาคกลางและภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือ ทิศตะวันออก ตดิ กับราชอาณาจักรกมั พูชา ทิศใตแ ละทิศตะวันตก ตดิ กบั อาว ไทย มีเนอ้ื ท่ี ๓๔,๓๘๐ ตารางกโิ ลเมตร ภมู ปิ ระเทศของภาคตะวันออกแบงได ๔ ลกั ษณะ คอื

48 ภูมิประเทศสวนทิวเขา มีทวิ เขา สนั กาํ แพง ทิวเขาจนั ทบรุ ี และทวิ เขาบรรทดั ภมู ปิ ระเทศสวน ทเ่ี ปนท่ีราบลมุ นํ้า คือ ทรี่ าบลุม นํ้าบางปะกงทรี่ าบชายฝง ทะเล ตัง้ แตปากแมน ํา้ บางปะกงไปจนสดุ เขตแดนทจ่ี ังหวดั ตราด สว นใหญชายฝงทะเลจะมหี าดทรายสวยงาม ทั้งสวนเกาะและหมเู กาะ เชน เกาะสชี ัง เกาะเสมด็ หมเู กาะชา ง และเกาะกดู เมอื งพัทยา ภาคตะวันตก ประกอบดวย ๕ จังหวัด มีเน้ือท่ี ๕๓,๖๗๙ ไร มีเทือกเขาตะนาวศรีเปน เทือกเขายาวตั้งแตภาคเหนือมาถึงภาคตะวันตกของประเทศ และเปนพรมแดนทางธรรมชาติ ระหวางไทยกับพมา สภาพภูมปิ ระเทศของภาคตะวันตกมีลักษณะเชนเดียวกับภาคเหนือ โดยมี ภูเขาสงู สลับกบั หบุ เขาซึ่งมีแมนา้ํ ไหลผาน มที ่รี าบลมุ น้ําสําคญั ไดแ ก ทร่ี าบลุมนํ้าปง -วัง ที่ราบลุม นํ้าแมกลอง และที่ราบลุมนํ้าเพชรบุรี ภาคตะวันตกมีพ้ืนที่ปาท่ีอุดมสมบูรณเปนจํานวนมาก ทรัพยากรน้ําและแรธาตุเปนทรัพยากรที่สําคัญของภาค โดยอุตสาหกรรมเหมืองแรถอื วาเปน อุตสาหกรรมหลกั นอกจากน้ีภาคตะวันตกยังเปน ทต่ี ง้ั ของเข่อื นทส่ี ําคญั ของประเทศ

49 หาดมาหยา ในหมูเกาะพีพี ภาคใต เปนสวนหน่งึ ของคาบสมุทรแคบ ๆ มคี วามแตกตางกับภาคอื่น ๆ ของไทยทั้งใน ดาน สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และทรัพยากร ลักษณะภูมิประเทศของภาคใตแบงเปน ๔ แบบ ไดแ ก ทวิ เขา ประกอบดวยทวิ เขาสําคัญ ไดแ ก ทวิ เขาภเู กต็ ทิวเขานครศรธี รรมราช และ ทิวเขาสันกาลาคีรี ท่ีราบฝง อาวไทยและท่ีราบฝงอันดามัน โดยทีร่ าบฝง อาวไทยต้ังอยูทางตะวันออก ของภาคใต มีลักษณะเปนอาวขนาดใหญกระจัดกระจาย ชายฝงคอนขางเรียบตรงและมีหาด ทรายสวยงาม และยังมสี วนทีเ่ ปน หาดเลนและโคลนจะเปน ปาชายเลน มีลักษณะเดนคือมีแหลมที่ เกิดจากการทับถมของทรายและโคลน ๒ แหง ไดแก แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช และแหลมตาชี จังหวดั ปตตานี และมที ะเลสาบสงขลา เปนทะเลสาบ ๓ นํ้า คอื น้ําเค็ม นาํ้ จดื และ นาํ้ กรอ ย ซึ่งจะตางกันตามสภาพการรับนาํ้ ท่ีไหลเขาทะเลสาบ ที่เกดิ จากคล่ืนและกระแสนํ้าพัดพา ตะกอนทรายไปทบั ถมเปน แนวสันทราย สว นท่รี าบฝงทะเลอันดามัน จะอยูดานตะวันตกของภาค มีลกั ษณะเปน ชายฝง แบบยุบตัว มีท่ีราบแคบเน่ืองจากมีชายเขาและหนา ผาติดชายฝง และมีหาด ทรายขาวแคบ ๆ

50 เกาะ ภาคใตมีเกาะและหมูเกาะมากมาย โดยฝงอาวไทยมีเกาะสําคัญเชน เกาะ สมุย เกาะพงัน หมูเกาะอางทอง เปนตน สวนฝงอันดามันมีเกาะภูเก็ต ซึ่งเปนเกาะท่ีใหญท่ีสุดใน ประเทศไทย หมูเกาะพีพี หมเู กาะสมิ ลิ ัน เกาะตะรเุ ตา เศรษฐกจิ ของภาคใตข นึ้ อยกู ับการผลติ ยางสําหรับอตุ สาหกรรม การปลูกมะพรา ว การทํา เหมืองแรดีบุก และการทองเทย่ี ว โดยเฉพาะอยางยิ่ง จังหวัดภูเก็ต ซึ่งไดรับความนิยมอยางมาก ลักษณะเดนของภมู ิประเทศแบบมวนตัวกับภูเขาและการขาดแมน ํ้าสายใหญ ๆ มแี นวภูเขาซ่ึงเรียง ตวั กันในแนวเหนอื -ใต และ ปา ฝนเขตรอนอนั ลึกลับไดท ําใหเ กิดการโดดเดีย่ วในยคุ เร่มิ ตน และการ พฒั นาทางการเมอื งแยกตางหากกับ สวนอ่ืน ๆ ของประเทศ การเขาถึงทะเลอันดามันและอาว ไทยทําใหภาคใตเปนทางผานของท้ังพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท โดยมีศูนยกลางอยูที่จังหวัด นครศรีธรรมราช และศาสนาอิสลาม โดยอดีตมีศูนยกลางอยูที่อาณาจักรปตตานีซง่ึ มีพรมแดน ติดตอกบั ประเทศมาเลเซยี ๓.๒ ภมู อิ ากาศ พนื้ ท่สี วนใหญข องประเทศไทยมีลักษณะภูมอิ ากาศแบบรอนช้ืนหรอื แบบสะวันนา ตามการแบง เขตภมู อิ ากาศแบบเคปิ เปน ในขณะท่ีภาคใตแ ละทางตะวันออกสดุ ของภาคตะวันออก เปนเขตภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอน ทั่วประเทศมีอุณหภูมิเฉล่ียระหวาง ๑๙-๓๘°C ในฤดูแลง อุณหภูมิเพ่ิมสูงข้ึนอยางรวดเร็วในชวงครึ่งหลังของเดือนมีนาคม โดยสูงกวา ๔๐°C ในบางพ้ืนท่ี ในชว งกลางเดอื นเมษายนเมือ่ ดวงอาทิตยเคลอ่ื นผานจุดเหนอื ศรี ษะ มรสุมตะวันตกเฉียงใตซ่ึงพัดเขาสูประเทศไทยระหวางเดอื นพฤษภาคมและกรกฎาคม (ยกเวน ภาคใต) เปน จดุ บง ชวี้ า ประเทศไทยเขา สฤู ดฝู น ซ่ึงกินเวลาจนถงึ เดอื นตุลาคม และเมฆซงึ่ ปก คลุมทําใหอ ณุ หภมู ลิ ดลง แตม คี วามช้นื สงู มาก เดือนพฤศจกิ ายนและเดือนธนั วาคมเปนจุดเรม่ิ ตน ของฤดแู ลงและอุณหภูมิในเวลากลางคืนเหนือพ้ืนดินสามารถลดตํ่าลงกวาจุดเยือกแข็ง อุณหภูมิ เพิ่มสงู ขนึ้ อกี คร้งั ในชว งเดอื นมกราคม เมื่อดวงอาทติ ยส อ งแสงมายังภมู ปิ ระเทศ ฤดแู ลงในภาคใตมี ระยะเวลาสน้ั ท่ีสุด เน่ืองจากการที่ภาคใตตั้งอยูใกลทะเลจากทุกดานในคาบสมุทรมลายู พ้ืนที่ท้ัง ประเทศไดรับปริมาณฝนอยางเพียงพอ ยกเวนบางพ้ืนท่ีเทาน้ัน แตระยะเวลาของฤดูฝนและ ปริมาณฝนมคี วามแตกตางกนั ไปตามภูมิภาคและระดับความสงู

51 ประเทศไทยยังคงมีความหลากหลายทางชีวภาพของท้ังพืชและสัตวอยูมาก อันเปน รากฐานอันมน่ั คงของการผลิตในภาคการเกษตร และประเทศไทยไดมีผลไมเมืองรอนหลากชนิด พน้ื ทร่ี าว ๒๙% ของประเทศไทยเปนปาไม รวมไปถึงพื้นที่ปลูกยางพาราและกิจกรรมปลูกปาบาง แหง ประเทศไทยมเี ขตรกั ษาพนั ธุส ตั วปากวา ๕๐ แหง เขตหามลาสัตวปาอีก ๕๖ แหง โดยพ้ืนที่ ๑๒% ของประเทศเปนอุทยานแหงชาติ (ปจจุบันมี ๑๑๐ แหง) และอีกเกือบ ๒๐% เปน เขตปา สงวนประเทศไทยมีพืช ๑๕,๐๐๐ สปชีส คิดเปน ๘% ของสปชีสพืชทั้งหมดบนโลกในประเทศไทย พบนกจาํ นวน ๙๘๒ ชนดิ นอกจากนี้ ยังเปน ถ่นิ ทีอ่ ยูของสตั วสะเทินนาํ้ สะเทนิ บก นก สัตวเลี้ยงลูก ดวยนํา้ นม และสัตวเล้ือยคลานกวา ๑,๗๑๕ สปช ีส ๓.๓ ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศไทยเปนประเทศทม่ี ีทรัพยากรธรรมชาติอยูอ ยา งมากมาย แบงได ดงั นี้ ทรัพยากรดิน ในประเทศไทยแบงออกเปน ๔ ชนิด ไดแก ดินเหนียว พบไดในบริเวณ แอง โคราชที่ราบลมุ แมนํ้าบางปะกง แมน ้ําแมกลอง แมน าํ้ ตาป แมนา้ํ ปากพนัง ดินรวน พบมากใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลางตอนบน และภาคเหนือ ดินทราย พบมากใน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ดินอนิ ทรีย พบมากในปา พรุ เชน ปาพรสุ ิรินธร จงั หวัดนราธวิ าส ทรัพยากรปาไม ปา ไมจะกระจายอยูท่ัวประเทศ มีลักษณะแตกตา งกันตามภูมิประเทศ และภมู ิอากาศ มี ๒ ประเภท ไดแก ปาผลัดใบ พบไดใ นทุกภูมิภาค แตภาคใตพ บนอ ยที่สดุ และปา ไมผ ลัดใบ สวนใหญอ ยูในพน้ื ทภ่ี าคใต และบนภูเขาสงู ทม่ี ีความชมุ ชน้ื เชน อทุ ยานแหง ชาติดอย อินทนนท อทุ ยานแหง ชาตเิ ขาใหญ อุทยานแหง ชาติภูสอยดาว เปน ตน ทรัพยากรนํ้า ในประเทศไทยมีแหลงน้ําสําคัญ ๒ แหลงคือ จากน้ําผิวดิน ซึ่งมีแมนํ้า เจาพระยาเปนแมน้ําสายสําคัญท่ีสุดของประเทศ นอกจากน้ียังมีแมนํ้าตาง ๆ ตามภูมิภาค เชน แมนํา้ มลู ชี ปง วงั ยม นาน แมก ลอง ตาป เปนตน และจากนาํ้ บาดาล ทรัพยากรแรธาตุ พบอยทู ่วั ไปในทุกภมู ิภาคของประเทศไทย แตกตางกันตามสภาพทาง ธรณีวทิ ยา เชน สังกะสีพบมากในภาคตะวนั ตกและภาคเหนือ ดีบุกพบมากในภาคใต แรรัตนชาติ พบมากในภาคตะวันออก และแรเช้ือเพลงิ ซึง่ พบมากในอาวไทย เชน แกสธรรมชาติ สวนลิกไนต จะพบมากในภาคเหนือ

52 ๓.๔ ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ ประเทศไทย ต้ังอยูบนพื้นฐานของเอกลักษณและความศรัทธาของไทยสมัยใหม ทําให พทุ ธศาสนาในประเทศไทยไดมีการพัฒนาตามกาลเวลา ซึ่งรวมไปถึงการรวมเอาความเชื่อทองถิ่น ที่มาจากศาสนาฮินดู การถือผี และการบูชาบรรพบุรุษ สวนชาวมุสลิมอาศัยอยูทางภาคใตของ ประเทศไทยเปนสวนใหญ รวมไปถึงชาวจีน โพนทะเลที่เขามามีสวนสําคัญอยูในสังคมไทย โดยเฉพาะอยา งย่งิ ในพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและใกลเคียง ซ่ึงการปรับตัวเขากับสังคมไทยไดเปน อยา งดี ทําใหก ลมุ ชาวจนี มตี ําแหนงและบทบาททางเศรษฐกิจและการเมอื ง วัฒนธรรมไทยมีสวนท่ีคลายคลึงกับวัฒนธรรมเอเชีย กลาวคือ มีการใหความเคารพแก บรรพบรุ ุษ ซ่ึงเปนการยึดถือปฏิบัติกันมาอยางชานาน ชาวไทยมักจะมีความเปนเจาบานและ ความกรณุ าอยางดี แตก ็มคี วามรูส กึ ในการแบง ชนชัน้ อยา งรนุ แรงเชน กนั ความอาวุโสเปนแนวคิดที่ สําคัญในวัฒนธรรมไทยอยา งหน่งึ ผอู าวุโสจะตองปกครองดูแลครอบครัวของตนตามธรรมเนียม และนอ งจะตอ งเช่อื ฟงพี่ การทักทายตามประเพณีของไทย คอื การไหว ผูนอยมักจะเปนผูทักทายกอนเมื่อพบกัน และผูท่ีอาวโุ สกวา กจ็ ะทกั ทายตอบในลกั ษณะท่คี ลาย ๆ กนั สถานะและตําแหนงทางสงั คมก็มีสวน ตอ การตัดสินวาผูใดควรจะไหวอีกผูหน่ึงกอนเชนกัน การไหวถือวาเปนสัญลักษณในการใหความ เคารพและความนบั ถอื แกอ กี ผหู นึ่ง ศิลปะ พระที่นงั่ ไอศวรรยทิพยอาสน พระราชวังบางปะอนิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

53 จติ รกรรมไทย เปนลักษณะอุดมคติ เปนภาพ ๒ มิติ โดยนําส่ิงใกลไวตอนลางของ ภาพ สิ่งไกลไวตอนบนของภาพ ใชส ีแบบเบญจรงค คือ ใชห ลายสแี ตม ีสที ีโ่ ดดเดน เพยี งสเี ดยี ว ประติมากรรมไทยเดิม ชางไทยทํางานประติมากรรมเฉพาะส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ เชน พระพุทธรูป เทวรูป โดยมีสกุลชางตาง ๆ นับตั้งแตกอนสมัยสุโขทยั เรียกวา สกุลชางเชียงแสน สกุลชางสุโขทัย สกุลชางอยุธยา และสกุลชางรัตนโกสินทร โดยใชทองสําริดเปนวัสดุหลักในงาน ประติมากรรม เนอ่ื งจากสามารถแกะแบบดว ยขผี้ ้งึ และตกแตง ไดแ ลวจงึ นาํ ไปหลอโลหะ เมื่อเทียบ กบั ประตมิ ากรรมศิลาในยุคกอนน้ัน งานสาํ ริดนบั วา ออนชอยงดงามกวามาก สถาปตยกรรมไทย มีปรากฏใหเห็นในชั้นหลัง เนื่องจากงานสถาปตยกรรมสวน ใหญชาํ รุด ทรุดโทรมไดงาย โดยเฉพาะงานไม ไมปรากฏรองรอยสมัยโบราณเลย สถาปตยกรรม ไทยมีใหเห็นอยูในรูปของบานเรือนไทย โบสถ วัด และปราสาทราชวัง ซ่ึงลวนแตสรางข้ึนให เหมาะสมกบั สภาพอากาศและการใชส อยจริง แกงมสั มั่น อาหารไทย อาหารไทยเปนการผสมผสานรสชาติความหวาน ความเผ็ด ความเปร้ียว ความขม และ ความเค็ม สว นประกอบซึ่งมกั จะใชในการปรงุ อาหารไทย รวมไปถงึ กระเทยี ม พรกิ นา้ํ มะนาว และ นํ้าปลา และวตั ถดุ บิ สําคญั ของอาหารในประเทศไทย คอื ขา ว โดยมีขาวกลองและขาวซอมมือเปน

54 พน้ื มีคุณลกั ษณะพิเศษ คือ ใหค ุณคา ทางโภชนาการครบถวน และใหสรรพคณุ ทางยาและสมุนไพร อาหารที่ข้ึนชือ่ ที่สุดของคนไทย คือ นํา้ พรกิ ปลาทู พรอ มกับเครอ่ื งเคียงทจี่ ัดมาเปน ชดุ สว นอาหาร ทไี่ ดรับความนยิ มและเปนที่รูจักไปทั่วโลกน้ันคือ ตมยํากุง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ เว็บไซต CNNGO ได จดั อนั ดับ ๕๐ เมนูอาหารท่อี รอยท่ีสุดในโลกโดยการลงคะแนนเสียงทางเฟสบุคปรากฏวา แกงมัสมั่น ไดร ับเลอื กใหเ ปน อาหารทีอ่ รอ ยทีส่ ดุ ในโลก ภาพยนตรไ ทย ภาพยนตรไทยมีประวัติความเปนมาท่ียาวนาน ปจจุบันประเทศไทยมีภาพยนตรท่ีมุงสู ตลาดโลก เชน ภาพยนตรเรื่อง ตมยํากุง ท่ีสามารถข้ึนไปอยูบนตารางบ็อกซออฟฟศใน สหรัฐอเมริกา และยังมีภาพยนตรไทยหลายเรื่องท่ีเปนท่ียอมรับในเทศกาลภาพยนตร ลาสุด ภาพยนตรเ รอ่ื ง ลงุ บุญมีระลึกชาติ กํากับโดย อภชิ าตพงศ วีระเศรษฐกุล ไดรับรางวลั ปาลมทองคํา จากงานเทศกาลภาพยนตรเ มอื งคานส คร้ังท่ี ๖๓ นับเปนภาพยนตรจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉยี งใตเรื่องแรกท่ีไดร ับรางวัลน้ี นอกจากนั้นปจจุบันเยาวชนไทยไดหันมาสนใจผลิตหนังสั้นเขา ประกวดในระดบั นานาชาติ เปนความคิดสรางสรรคง านท้งั ทเ่ี ปนหนงั ส้นั และแอนนิเมชน่ั ดนตรไี ทย ดนตรีในประเทศไทยนนั้ ไดร บั อิทธิพลมาจากประเทศตา งๆ ดนตรีไทยเปนดนตรีท่ีมีความ ไพเราะ นาฟง มี ๔ ประเภท ไดแก ดีด สี ตี เปา ในอดีตดนตรีไทยนิยมเลนในการขับลํานําและ รองเลน ตอมามีการนําเอาเคร่ืองดนตรีจากตางประเทศเขามาผสม ดนตรีไทยนิยมเลนกันเปนวง เชน วงปพ าทย วงเคร่ืองสาย วงมโหรี ดนตรีไทยเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันมากขึ้น โดยใช ประกอบงานมงคล งานอวมงคล ฯลฯ ในปจจุบัน ดนตรีไทยไมคอยเปนทีน่ ิยมกันแพรหลายนัก เน่อื งจากหาดไู ดยาก คนสวนใหญจ งึ ไมค อยรจู กั ดนตรไี ทย

55 การปลอ ยโคมลอยในงานประเพณยี ่เี ปง เทศกาลประเพณี เทศกาลประเพณีในประเทศไทยน้ันมีความหลากหลายและอลังการ ทั้งประเพณีไทย ดั้งเดิม เชน ประเพณสี งกรานต ประเพณลี อยกระทง ประเพณีตักบาตรดอกไม ประเพณีบุญบ้ังไฟ และประเพณที ีเ่ ปนสากล เชน เทศกาลวนั ครสิ ตมาส เทศกาลวันขึ้นปใหม ฯลฯ สรุปจุดเดนของประเทศไทย ท้ังดานทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และ ทําเลทตี่ ้ัง ประเพณี วัฒนธรรม และวถิ ชี วี ติ และความสามารถของคนไทย ท่ีสามารถนํามาเปนจุด ขายเพื่อการสรางงาน อาชพี ใหกบั คนไทยไดอ ยางมากมาย หากสามารถดึงศักยภาพเหลาน้ันมาคิดและหาแนว ทางการสรางงานทส่ี อดคลองกบั ความรู ความสามารถของตนเองได

56 ๓.๕. กลมุ อาชีพที่สัมพันธก ับศกั ยภาพของประเทศไทย อาชีพ หมายถึง การทํากิจกรรม การทํางาน การประกอบการที่ไมเปนโทษแกสังคม และมรี ายไดต อบแทน โดยอาศยั แรงงาน ความรู ทกั ษะ อปุ กรณ เครอ่ื งมือ วิธีการ แตกตา งกนั ไป ประเภทและลักษณะของอาชพี การแบง ประเภทของอาชพี สามารถจัดแบงตามลักษณะ ไดเปน ๒ ลกั ษณะ คือ การแบงตามเน้ือหาวิชาของอาชีพ และแบงตามลักษณะของการประกอบ อาชพี ลักษณะท่ี ๑ การแบงอาชีพตามเน้ือหาวิชาของอาชีพ สามารถจัดกลุมอาชีพตาม เน้อื หาวิชาไดเปน ๖ ประเภท ดังนี้ ๑) อาชีพเกษตรกรรม ถอื วาเปนอาชีพหลัก และเปนอาชีพสําคัญของประเทศ ปจ จบุ นั ประชากรของไทยไมนอยกวารอยละ ๖๐ ยังประกอบอาชีพนี้อยู อาชีพเกษตรกรรมเปน อาชีพเกี่ยวเนื่องกับการผลิต การจัดจําหนายสินคา และบริการทางดานการเกษตร ซึ่งผลผลิต ทางการเกษตร นอกจากใชในการบริโภคเปนสวนใหญแลวยังใชเปนวัตถุดิบในการผลิตทาง อุตสาหกรรมอกี ดวย อาชพี เกษตรกรรม ไดแ ก การทาํ นา ทาํ ไร ทําสวน เลีย้ งสัตว ฯลฯ ๒) อาชีพอุตสาหกรรม การทําอุตสาหกรรม หมายถึง การผลิตสินคาอัน เนื่องมาจาก การนําเอาวัสดุ หรือสินคาบางชนิดมาแปรสภาพใหเกิดประโยชนตอผูใชมากข้ึน กระบวนการประกอบการอุตสาหกรรม ประกอบดว ย วตั ถดุ บิ หรือสินค้า กระบวนการ สินค้าสําเร็จรูป ผ้บู ริโภค ผผลาผนลติ จําหนา ย ไดผ ลผลติ ในขั้นตอนของกระบวนการผลิต มปี จ จยั มากมายนบั ตั้งแตแ รงงาน เคร่อื งจกั ร เคร่อื งมือ เครอื่ งใช เงินทนุ ท่ดี นิ อาคาร รวมทงั้ การบริหารจดั การ การประกอบอาชพี อตุ สาหกรรมแบง ตามขนาด ไดด ังนี้ ๒.๑) อุตสาหกรรมในครอบครัว เปนอุตสาหกรรมท่ีทํากันในครัวเรือน หรือ ภายในบา น ใชแรงงานคนในครอบครัวเปนหลัก บางทีอาจใชเคร่ืองจักรขนาดเล็กชวยในการผลิต

57 ใชวัตถดุ ิบ วสั ดุท่หี าไดในทองถ่นิ มาเปน ปจจัยในการผลิตอุตสาหกรรมในครัวเรือนเชน การทอผา การจักสาน การทํารม การทําอิฐมอญ การทําถั่วเนาแผน น้ําพริกลาบ น้ํามันงา ฯลฯ ลักษณะการ ดาํ เนนิ งานไมเ ปนระบบมากนัก รวมทั้งการใชเทคโนโลยีแบบงาย ๆ ไมยุงยากซับซอน และมีการ ลงทุนไมม าก ๒.๒) อตุ สาหกรรมขนาดยอ ม เปนอตุ สาหกรรมท่มี กี ารจา งคนงานไมเ กนิ ๕๐ คน ใชเงนิ ทนุ ดาํ เนินการไมเกนิ ๑๐ ลา นบาท อุตสาหกรรมขนาดยอ ม ไดแ ก โรงกลึง อูซอมรถ โรงงาน ทําขนมปง โรงสีขาว เปนตนในการดําเนินงานของอุตสาหกรรม ขนาดยอมมีขบวนการผลิตไม ซบั ซอน และใชแ รงงานทมี่ ีฝม อื ไมม าก ๒.๓) อตุ สาหกรรมขนาดกลาง เปน อตุ สาหกรรมท่ีมีการจางคนงานมากกวา ๕๐ คน แตไมเกิน ๒๐๐ คน ใชเงินทุนดําเนินการมากกวา ๑๐ ลานบาท แตไมเกิน ๑๐๐ ลานบาท อุตสาหกรรมขนาดกลางไดแ ก อุตสาหกรรมทอกระสอบ อุตสาหกรรมเสอ้ื ผาสาํ เร็จรปู เปน ตน การ ดําเนินงานของอุตสาหกรรมขนาดกลางตองมีการจัดการที่ดี แรงงานที่ใชตองมีทักษะ ความรู ความสามารถในกระบวนการผลติ เปนอยางดี เพื่อทีจ่ ะไดสนิ คา ทมี่ ีคุณภาพระดับเดยี วกัน ๒.๔) อุตสาหกรรมขนาดใหญ เปน อุตสาหกรรมท่ีมีคนงานมากกวา ๒๐๐ คนขึ้น ไป เงนิ ทนุ ในการดําเนินการมากกวา ๒๐๐ ลานบาท อุตสาหกรรมขนาดใหญ เชน อุตสาหกรรม ผลิตแบตเตอร่ี อุตสาหกรรมถลุงเหล็ก อุตสาหกรรมประกอบรถยนต อุตสาหกรรมผลิต เครื่องใชไฟฟา เปนตน อุตสาหกรรมขนาดใหญมีระบบการจัดการที่ดี ใชคนที่มีความรู ทักษะ ความสามารถเฉพาะดา น หลายสาขา เชน วศิ วกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกสใ นการดาํ เนินงานผลิตมีกรรมวธิ ี ท่ยี งุ ยาก ใชเ ครอื่ งจกั ร คนงาน เงนิ ทนุ จาํ นวนมากขนึ้ มกี ระบวนการผลิตทีท่ ันสมัยและผลิตสินคา ไดท ลี ะมาก ๆ มกี ารวา จา งบคุ คลระดับผูบริหารท่มี ีความสามารถ ๓) อาชพี พาณิชยกรรมและอาชพี บรกิ าร ๓.๑) อาชพี พาณิชยกรรม เปนการประกอบอาชีพท่ีเปนการแลกเปลี่ยนระหวาง สินคากบั เงนิ สว นใหญจะมลี ักษณะเปนการซ้ือมาและขายไป ผูประกอบอาชีพทางพาณิชยกรรม จึงจดั เปนคนกลาง ซงึ่ ทาํ หนาท่ีซ้ือสินคา จากผูผลิตและนํามาขายตอใหแกผูบริโภค ประกอบดวย การคาสงและการคา ปลีก โดยอาจจัดจําหนายในรปู ของการขายตรงหรอื ขายออม

58 ๓.๒) อาชพี บรกิ าร หมายถึง อาชีพทท่ี าํ ใหเ กิดความพอใจแกผซู อ้ื การบรกิ ารอาจเปน สินคา ทีม่ ีตัวตน หรือไมมีตัวตนก็ได การบริการท่ีมีตัวตน ไดแก บริการขนสง บริการทางการเงิน สว นบรกิ ารทไ่ี มม ีตัวตน ไดแ ก บรกิ ารทอ งเท่ียว บรกิ ารรกั ษาพยาบาล เปนตน ๓.๓) อาชีพพาณิชยกรรม จึงเปนตัวกลางในการขายสินคา หรือบริการตาง ๆ นับต้ังแตการนําวัตถุดิบจากผูผลิตทางดานเกษตรกรรม ตลอดจนสินคาสําเร็จรูปจากโรงงาน อุตสาหกรรม รวมท้ังคหกรรม ศลิ ปกรรม หตั ถกรรม ไปใหผ ซู อ้ื หรือผูบริโภค อาชีพพาณิชยกรรม จึงเปนกิจกรรมท่ีสอดแทรกอยูทุกอาชีพในการประกอบอาชีพ พาณิชยกรรม หรือบริการ ผปู ระกอบอาชพี จะตองมีความสามารถในการจัดหา มีความคิดริเริ่ม และมีคุณธรรม จึงจะทําให การประกอบอาชีพเจริญกาวหนา ๔) อาชพี คหกรรม การประกอบอาชพี คหกรรม เชน อาชีพทเี่ กี่ยวกับการประกอบ อาหาร ขนม การตดั เยบ็ การเสริมสวย ตดั ผม เปน ตน ๕) อาชีพหัตถกรรม การประกอบอาชีพหัตถกรรม เชน อาชีพที่เกี่ยวกับงานชาง โดย การใชมือใน การผลิตชิ้นงานเปนสวนใหญ เชน อาชีพจักสาน แกะสลัก ทอผาดวยมือ ทอเสื่อ เปน ตน ๖) อาชีพศลิ ปกรรม การประกอบอาชพี ศิลปกรรม เชน อาชพี เก่ยี วขอ งกบั การแสดงออก ในลักษณะตา ง ๆ เชน การวาดภาพ การปน การดนตรี ละคร การโฆษณา ถา ยภาพ เปน ตน ลักษณะที่ ๒ การแบง อาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพ การจัดกลุมอาชีพ ตาม ลกั ษณะการประกอบอาชีพ แบงออกเปน ๒ ประเภท คือ อาชพี อสิ ระ และอาชพี รบั จา ง ๑) อาชีพอิสระ หมายถงึ อาชพี ทุกประเภททผ่ี ูป ระกอบการดาํ เนินการดวยตนเอง แตเพยี งผเู ดยี วหรือเปนกลมุ อาชพี อิสระเปนอาชพี ที่ไมตอ งใชคนจํานวนมาก แตห ากมคี วามจําเปน อาจมีการจางคนอ่ืนมาชวยงานได เจาของกิจการเปนผูลงทุน และจําหนายเอง คิดและตัดสินใจ ดวยตนเองทุกเรื่อง ซ่ึงชวยใหการพัฒนางานอาชีพ เปนไปอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณ การประกอบอาชีพอสิ ระ เชน ขายอาหาร ขายของชํา ซอมรถจักรยานยนต ฯลฯ ในการประกอบ อาชีพอิสระ ผูประกอบการจะตองมีความรู ความสามารถในเร่ือง การบริหารการจัดการ เชน การตลาด ทาํ เลทีต่ ั้ง เงนิ ทนุ การตรวจสอบ และประเมนิ ผล นอกจากนี้ยังตองมี ความอดทนตอ

59 งานหนัก ไมทอถอยตอปญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้น มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และมองเห็นภาพ การดําเนนิ งานของตนเองไดตลอดแนว ๒) อาชีพรับจาง หมายถึง อาชีพที่มีผูอื่นเปนเจาของกิจการ โดยตัวเองเปนผูรับจาง ทํางานให และไดรบั คาตอบแทนเปนคาจาง หรือเงินเดอื น อาชพี รับจางประกอบดว ย บคุ คล ๒ ฝาย ซง่ึ ไดตกลงวา จา งกนั บุคคลฝา ยแรกเรียกวา \"นายจาง\" หรือผวู าจา ง บุคคลฝายหลงั เรียกวา \"ลูกจาง\" หรือผูรบั จาง มีคาตอบแทนท่ีผูวาจางจะตองจายใหแก ผูรับจางเรียกวา \"คาจาง\" การประกอบอาชีพรับจาง โดยทั่วไปมลี ักษณะ เปนการรบั จางทํางานในสถานประกอบการหรือ โรงงาน เปนการรับจางในลักษณะการขายแรงงาน โดยไดรับคาตอบแทนเปนเงินเดือน หรือ คาตอบแทนท่ีคดิ ตามช้ินงานทที่ าํ ได อตั ราคาจา งขึ้นอยูก ับการกําหนดของเจาของสถานประกอบการ หรือนายจาง การทํางานผรู ับจา งจะทําอยภู ายในโรงงาน ตามเวลาที่นายจางกําหนด การประกอบ อาชีพรับจาง ในลักษณะน้ีมีขอดี คือ ไมตองเส่ียงกับการลงทุน เพราะลูกจางจะใชเครื่องมือ อุปกรณท ่นี ายจางจัดไวใหทํางานตามท่ีนายจางกําหนด แตมีขอเสีย คือ มักจะเปนงานท่ีทําซ้ํา ๆ เหมือนกันทุกวัน และตองปฏิบัติตามกฎระเบียบของนายจาง ในการประกอบอาชีพรับจางนั้น มีปจจัยหลายอยางท่ีเอื้ออํานวยใหผปู ระกอบอาชีพรับจางมีความเจริญกาวหนาได เชน ความรู ความชาํ นาญในงาน มนี ิสัยการทํางานที่ดี มีความกระตือรือรน มานะ อดทน และ มีวินัยในการ ทาํ งาน ยอมรบั กฎเกณฑแ ละเช่ือฟงคําสั่ง มีความซื่อสัตย สุจริต ความขยันหมั่นเพียร รับผิดชอบ มีมนุษยสมั พนั ธท ่ดี ี รวมทัง้ สุขภาพอนามัยที่ดี อาชีพตา ง ๆ ในโลกมีมากมาย หลากหลายอาชีพ ซึ่งบุคคลสามารถจะเลือกประกอบอาชีพไดตามความถนัด ความตองการ ความชอบ และความสนใจ ไมว าจะเปนอาชพี ประเภทใด จะเปนอาชีพอิสระ หรืออาชีพรับจาง ถาหากเปน อาชพี ทส่ี ุจรติ ยอมจะทําใหเ กิดรายไดม าสตู นเอง และครอบครัว ถา บุคคลผูนั้นมีความมุงม่ัน ขยัน อดทน ตลอดจนมีความรู ขอมูลเก่ียวกับอาชีพตาง ๆ จะทําใหมองเห็นโอกาสในการเขาสูอาชีพ และพัฒนาอาชีพใหม ๆ ใหเกดิ ขนึ้ อยูเ สมอ กระทรวงศึกษาธกิ าร โดย ฯพณฯทา นรัฐมนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีนโยบาย การจัด การ ศึ กษาเพ่ือการ มีงาน ทําใหสถาบัน การศึกษา และสถ านศึกษา ในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาอาชพี ใน ๕ กลมุ ดังน้ี

60 ๑) เกษตรกรรม ๒) อุตสาหกรรม ๓) พาณชิ ยกรรม ๔) ความคดิ สรางสรรค ๕) บรหิ ารจัดการและบริการ โดยพฒั นาหลักสูตรการเรยี นการสอนใหสอดคลองกับศักยภาพที่มีอยใู นทองถ่ิน รวมถึง สนองตอตลาดแรงงานในระดับทองถิ่น ประเทศ และภูมิภาคของโลก ประชาชนไทยสามารถรับ บริการการศึกษาอาชีพได ณ ศูนยฝกอาชีพชุมชนของสถาบันการศึกษา สถานศึกษาตาง ๆ โดยเฉพาะศนู ยฝ กอาชพี ชุมชน กศน. ในระดับอาํ เภอไดท ่ัวประเทศ การมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพ การมองเห็นโอกาสและความสามารถที่จะนําโอกาสน้ันมาประกอบอาชีพไดกอนผูอ่ืน เปนหวั ใจสําคัญของการประกอบอาชพี หากผใู ดประกอบอาชพี ตามท่ีตลาดตอ งการ และเปนอาชีพ ที่เหมาะสมกับสภาพการณในขณะน้ัน ผูนั้นยอมมีโอกาสประสบความสําเร็จ เราสามารถพัฒนา ตนเองใหม องเห็นโอกาสในการประกอบอาชพี ดงั น้ี ๑) ความชํานาญจากงานทท่ี ําในปจ จุบนั การงานท่ีทําอยูในปจจุบันจะเปนแหลง ความรู ความคิดที่จะชวยใหมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพไดมาก บางคนมีความชํานาญ ทางดา นการทําอาหาร ตัดเย็บเส้ือผา ซอ มเครื่องใชไฟฟา ตอทอน้ําประปา ชางไม ชางปูกระเบื้อง เปนตน ซึ่งสามารถนําความชํานาญดังกลาวมาพัฒนาและประกอบเปนอาชีพขึ้นมา บางคนเคย ทาํ งานที่โรงงานทาํ ขนมปง เมื่อกลับไปภูมิลําเนาของตนเอง สามารถใชประสบการณที่ไดรับไป ประกอบอาชีพของตนเองได ๒) ความชอบ ความสนใจสวนตัว หรืองานอดิเรก เปนอีกทางหนึ่งที่จะชวยให มองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพ บางคนชอบประดิษฐดอกไม บางคนชอบวาดรูป เปนตน บคุ คลเหลาน้อี าจจะพฒั นางานท่ีชอบ งานอดเิ รกไดก ลายเปน อาชพี หลักทที่ ํารายไดเปน อยางดี ๓) การฟงความคิดเห็นจากแหลงตาง ๆ การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ บุคคลกลุมตา ง ๆ เปน แหลงความรแู ละกอใหเกิดความคดิ รเิ รม่ิ เปนอยา งดี ในบางครัง้ เรามีความคิด

61 อยูแลว การไดคุยกับบุคคลตาง ๆ จะชวยใหการวิเคราะหความคิดชัดเจนข้ึน ชวยใหมองไป ขา งหนาไดอ ยางรอบคอบ กอ นท่จี ะลงมอื ทํางานจรงิ ๔) การศกึ ษา คน ควา จากหนงั สือ นิตยสาร หนงั สอื พิมพ การดูวดี ทิ ศั น ฟง วิทยุ ดูรายการโทรทัศน เปนตน จะชวยทาํ ใหเกิดความรูและความคิดใหม ๆ ได ๕) ขอมูล สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนว ยราชการและเอกชน รวมทั้งแผนพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ ในการมองหาชองทางในการประกอบอาชีพ ผูท่ีจะมองหาอาชีพ พัฒนา อาชีพจึงควรใหความสนใจในขอมูลขาวสารตางๆ เพื่อติดตามใหทันตอเหตุการณ แลวนํามา พิจารณาประกอบการตดั สินใจในการประกอบอาชพี ๖) ทรัพยากรรอบ ๆ ตัว หรือในชมุ ชน ทเี่ กยี่ วขอ งกบั การประกอบอาชีพ ท้ังดาน ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ท่ีเอื้อตอการ ประกอบอาชพี ซึง่ แตละพ้นื ทแ่ี ตกตา งกันนอกเหนอื ไปจากความรู ความสามารถท่มี อี ยู

62 กจิ กรรมทายเลม คําช้ีแจง ใหนักศึกษาคนควาเรื่องตอไปน้ี และสรุปใจความสําคัญพรอมบันทึกใหไดใจความ สมบูรณ ขอ ๑. ใหนักศกึ ษาบอกความหมายของการพฒั นาสงั คม ชุมชน และยกตวั อยา งประโยชน ทไี่ ดร บั จาก การพฒั นาสังคมชมุ ชน บอกเปน ขอ ๆ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................... ขอ ๒. ใหนักศึกษาอธิบายวิธีการ การจัดเก็บขอมูล เพื่อพัฒนาสังคม ชุมชน มีวิธีการ อยางไรบา ง บอกเปน ขอ ๆ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................

63 ขอ ๓. ใหนักศึกษาบอกขั้นตอน การจัดเวทีประชาคม มีข้ันตอนอยางไรบาง บอกเปน ขอ ๆ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................. ขอ ๔. ใหนกั ศึกษาเขียนโครงการ การพฒั นาสงั คมชมุ ชน โดยมหี ัวเร่ือง ตอ ไปน้ี ๑. ช่ือโครงการ ........................................................................................................................... ๒. หลักการและเหตผุ ล ........................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๓. วตั ถปุ ระสงค ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ๔. เปา หมาย ............................................................................................................................................................ ...........................................................................................................................................................

64 ๕. วธิ ดี ําเนนิ การ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๖. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๗. งบประมาณ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๘. เครอื ขายที่เกย่ี วของ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๙. การประเมินโครงการ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๑๐. ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๑๑. โครงการท่เี ก่ียวขอ ง ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๑๒. ผลทคี่ าดวา จะไดร บั ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

65 บรรณานกุ รม กรรมวธิ ีขอ มลู .ฝา ย สถติ ภิ มู อิ ากาศของประเทศไทยในคาบ ๓๐ ป (พ.ศ.๒๕๐๔-๒๕๓๓). รายงาน กระมล ทองธรรมชาติ ดร. และคณะ, สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.๑, อักษรเจรญิ ทศั น อจท. จาํ กัด, ๒๕๔๘. การศกึ ษานอกโรงเรียน, กรม. ชดุ วิชาการพฒั นาโครงการ. กรงุ เทพฯ : บริษทั สามเจรญิ พาณิชย จํากดั , ๒๕๓๗. การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม. ชุดวิชาวจิ ยั ทางการศกึ ษานอกโรงเรยี น การเกบ็ รวบรวมขอมลู เพอ่ื การวิจัย. กรุงเทพฯ : บริษัทประชาชน จาํ กดั , ๒๕๓๘. การศกึ ษานอกโรงเรียน, กรม. ชุดวชิ าวิจัยทางการศกึ ษานอกโรงเรยี น การวิเคราะหขอ มลู . กรงุ เทพฯ : บริษทั ประชาชน จํากดั , ๒๕๓๘. การศึกษาและพัฒนาตอเนอ่ื งสริ นิ ธร สถาบัน. กระบวนการจดั การศกึ ษานอกโรงเรียนและ อัธยาศัย. เอกสารประกอบการอบรมวทิ ยากรกระบวนการจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สราง ความเขมแขง็ ของชุมชน, นครราชสีมา : ๒๕๔๔. เกรียงศักด์ิ หลิวจันทรพัฒนา. การวิเคราะหขอมูลทางการแพทยและสาธารณสุขดวย คอมพิวเตอร. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๘. ชยนั ต วรรธณะภตู .ิ คมู อื การวิจยั เชิงคณุ ภาพเพอ่ื งานพฒั นา. ขอนแกน : สถาบันวิจัยเพื่อการ พัฒนามหาวทิ ยาลัยขอนแกน , เอกสารอดั สาํ เนา. ณัฐนรี ศรที อง. การเพิ่มศกั ยภาพภาวะความเปน ผนู าํ ในงานพฒั นาชมุ ชน. กรงุ เทพฯ : โอ เอส พรนิ้ ตง้ิ เฮาส, ๒๕๕๒. ใต, ศนู ยการศกึ ษานอกหอ งเรียนภาค. ชดุ วชิ าแผนแมบ ทชุมชน. สงขลา : เทมการพิมพ, ๒๕๔๘. ทวีป ศริ ริ ัศม.ี การวางแผนพฒั นาและประเมนิ โครงการ. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทนุ สนบั สนุน การวจิ ยั (สกว.), ๒๕๔๔.

66 เทคโนโลยีทางการศึกษา, ศนู ย ความหมายเกีย่ วกบั แผนงานโครงการ. กรุงเทพฯ : กราฟฟค โกร, ๒๕๔๕. บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน. สํานัก คูมอื การจัดกระบวนการเรียนรูเพอ่ื จดั ทาํ แผนชุมชน. กรุงเทพฯ : รงั ษกี ารพมิ พ, ๒๕๔๖. ปารชิ าติ วลัยเสถยี ร และคณะ. กระบวนการและเทคนคิ การทาํ งานของนักพฒั นา. กรุงเทพฯ : สํานกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวิจยั (สกว.), ๒๕๔๓. สถาบนั พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื . คูมือการ ทาํ วจิ ยั อยางงาย. อุบลราชธานี : บริษัท ยงสวัสด์ิอินเตอรก รปุ จาํ กดั , ๒๕๕๒. สัญญา สัญญาวิวัฒน. ทฤษฎีและกลยุทธก ารพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ : สาํ นักพมิ พแ หง จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย, ๒๕๔๓. เสรี พงศพ ศิ . วิธีทาํ และวิธคี ิดแผนชีวติ เศรษฐกิจชมุ ชน. กรุงเทพฯ : ๒๕๔๖. http://www.bic.moe.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id= ๑๙๒&Itemid=๑๔๘ http://www.aseanthailand.org/index.php http://blog.eduzones.com/offy/๕๑๗๔ http://www.geocities.com/jea_pat/ http://www.jd.in.th/e.learning/th๓๓๑๐๑/pan๐๘/t๓๐๕.๘๐๐๒.html. http://www.tddf.or.th/tddf//:braly/doc/libraly-๒๐๐๗-๐๒-๒๘-๒๔๐.doc. http://www.nmt.or.th/TOTOP/Lists/OTOP๒/AllItems.aspx.

67 ท่ีปรกึ ษา คณะผจู ัดทํา นายสรุ พงษ จําจด นายประเสริฐ หอมดี เลขาธิการ กศน. นางตรนี ชุ สขุ สุเดช รองเลขาธิการ กศน. ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบ นายวิเชียรโชติ โสอบุ ล และการศกึ ษาตามอัธยาศัย นายทรงเดช โคตรสิน ผูอํานวยการ สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื รองผูอํานวยการ สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ผสู รปุ เน้อื หา ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอมหาชนะชยั นางกรรณิการ รอบคอบ ขา ราชการบํานาญ นางอบเชย แกว สขุ ครู กศน.อาํ เภอมหาชนะชยั นางพานชิ คําแพง ครู กศน.อําเภอมหาชนะชยั นางสาวสาวติ รี แผน ศลิ า ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ครชู าํ นาญพเิ ศษ สถาบัน กศน. นายสมชาย คําเพราะ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ผพู มิ พต น ฉบบั เจาหนาที่ สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื นายกมั ปนาท ประชมุ แดง กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ ผูอ อกแบบปก และการศกึ ษาตามอัธยาศัย นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป

68