Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 ระดับ ม.ต้น

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 ระดับ ม.ต้น

Published by สกร.อำเภอหลังสวน, 2020-01-04 00:13:26

Description: การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 ระดับ ม.ต้น

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเน้ือหาทตี่ องรู รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน รหสั วิชา สค21003 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจาํ หนา ย หนังสอื เรยี นนจี้ ดั พมิ พด ว ยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพอ่ื การศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรับประชาชน ลิขสทิ ธ์ิเปน ของสาํ นกั งาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร



4 สารบัญ หนา คาํ นาํ คาํ แนะนําการใชเอกสารสรปุ เนือ้ หาทตี่ องรู บทท่ี ๑ หลกั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญของการพัฒนาตนเองและครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ๑ เรอ่ื งท่ี 2 หลกั การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ๓ เรอ่ื งท่ี 3 ประโยชนท ่ไี ดรับจากการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 6 บทที่ ๒ ความหมาย ความสาํ คญั ประโยชนข องขอ มลู เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนข องขอมลู 8 เรือ่ งท่ี 2 ขอมลู ทเี่ กยี่ วของกับการพฒั นาชุมชน 10 เรอ่ื งท่ี 3 ประโยชนข องขอมลู และการนําไปใช ๑1 บทท่ี ๓ วิธีการจดั เกบ็ ขอมลู วิเคราะหขอ มลู ดว ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เรื่องท่ี 1 วธิ ีการจดั เกบ็ และรวบรวมขอมลู ๑3 เรื่องท่ี 2 การวิเคราะหข อ มูล ๑5 เร่อื งท่ี 3 การนําขอมูลไปใชในการจดั ทาํ แผนชวี ติ ชุมชน สังคม ๑5 บทท่ี ๔ การมสี ว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม เรอื่ งท่ี 1 วิธกี ารมสี ว นรว มในการวางแผนการพฒั นาชมุ ชน ๑6 เรอ่ื งที่ 2 ระดับการมสี วนรว มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน ๑9 บทที่ ๕ แนวทางการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม เรื่องที่ 1 เทคนิคการมีสวนรวมในการจดั ทําแผน 20 เรื่องที่ 2 การจดั ทําแผนพัฒนาชมุ ชน ๒9 เรื่องที่ 3 การเผยแพรส ูการปฏิบตั ิ ๓4

สารบญั (ตอ ) 5 บทที่ ๖ การพฒั นาอาชพี ในชมุ ชนและสังคม หนา เรือ่ งที่ 1 อาเซียนกบั การพัฒนาอาชพี เรอ่ื งท่ี 2 จุดเดน ประเทศไทย ในการผลกั ดนั เศรษฐกจิ สรา งสรรค ๓9 เรือ่ งที่ 3 ศกั ยภาพประเทศไทยกับการพฒั นาอาชีพ 40 43 กจิ กรรมทายเลม บรรณานกุ รม 62 คณะผจู ดั ทาํ 65 67

6 คําแนะนําในการใชเ อกสารสรุปเนือ้ หาทีต่ อ งรู หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม รหัสวิชา สค ๒๑๐๐๓ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนหนังสือเรียนสําหรับผูเรียนที่ลงทะเบียนเรียนเปน นกั ศึกษา นอกระบบในการศึกษาแบบเรียนเลมนี้ผูเรยี นควรปฏิบัตดิ งั นี้ ๑. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง และขอบขา ยเนอ้ื หาเปน ลําดับแรก ๒. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอยี ด และทํากิจกรรมตามท่ี กาํ หนด แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมท่ีกําหนดไวทายเลม ถาผูเรียน ตอบผิดเปนสวนใหญ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนอื้ หานนั้ ใหม ใหเ ขา ใจกอนทจี่ ะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ไป ๓. ปฏิบัติกิจกรรมทายเร่ืองของแตละเร่ืองใหครบถวน เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนอื้ หาในเรอ่ื งนัน้ ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนอ้ื หา แตละเรื่อง ผเู รียนสามารถนาํ ไปตรวจสอบกับครผู ูร ูและเพอื่ น ๆ ที่รว มเรยี นในรายวิชาและระดบั เดยี วกนั ได ๔.หนงั สอื เลมนี้มี ๖ บท คอื บทท่ี ๑ หลักการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม บทที่ ๒ ความหมาย ความสําคัญ ประโยชนของขอ มูล บทที่ ๓ วธิ ีการจดั เก็บขอมูล วเิ คราะหข อมูลดว ยวิธกี ารท่ีหลากหลาย บทที่ ๔ การมีสว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม บทท่ี ๕ แนวทางการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม บทที่ ๖ การพฒั นาอาชีพในชุมชนและสังคม

1 บทที่ ๑ หลักการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ปจจุบันเปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปวา คนเปนทรัพยากรที่มีคุณคาของสังคม สังคมจะ พฒั นาและเจริญขึน้ ไปไดข นึ้ อยูก บั คณุ ภาพของคนทเ่ี ปน องคป ระกอบของสังคม นน้ั การจะพฒั นา ชมุ ชนไดจงึ ตองเรมิ่ ตน ทีก่ ารพฒั นาคนเปน อนั ดบั แรก นอกจากน้ี การพัฒนาชมุ ชนตองยึดหลักการ มีสวนรว มของประชาชนเปน ปจจยั พนื้ ฐานท่ีสําคัญ เพราะเปาหมายสดุ ทายของการพัฒนา คือ คน เน่ืองจากคนเปนท้ังทรัพยากรที่จะไดรับพัฒนาและเปนทั้งผูไดรับผลประโยชน จากการพัฒนา นั่นเอง เรื่องที่ ๑ ความหมายและความสาํ คัญของการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ๑.๑ ความหมายของการพัฒนาตนเอง การพฒั นาตนเอง หมายถงึ การปรับปรุงดว ยตนเองใหด ขี นึ้ กวา เดิม ทง้ั ดานรา งกาย จติ ใจ อารมณแ ละสังคม เพอ่ื ใหส ามารถทาํ กจิ กรรมทพี่ ึงประสงคต ามเปา หมายทต่ี นตั้งไว เพื่อการ ดาํ รงชีวติ รว มกบั ผอู ่นื ไดอ ยางปกติสขุ รวมทง้ั เพื่อใหเปนสมาชิกทีด่ ขี องครอบครวั ชุมชน และสังคม ๑.๒ ความสาํ คญั ของการพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเอง คือ การปรับปรุงและพัฒนาตนเอง ทั้งวิธีคิดและการกระทําหรือ พฤติกรรมท่ีแสดงออกทั้งดา นรา งกาย จิตใจ อารมณและสังคม เพ่ือใหสามารถปรับตนเองเขากับ สังคมและส่ิงแวดลอ มท่ีดี การพัฒนาตนเองมคี วามสําคัญสรปุ ไดด ังนี้ ๑) เปน การเตรียมตนเองในดา นตาง ๆ เชน รา งกาย จติ ใจ อารมณ สงั คม รวมท้ัง สติปญ ญาใหส ามารถรบั กบั สถานการณต าง ๆ ทอ่ี าจเกิดขนึ้ ในชวี ิตประจาํ วนั ๒) มีความเขาใจตนเอง เห็นคุณคาของตนเอง ทําใหส ามารถทําหนาที่ตามบทบาทของ ตนเองในครอบครวั ชุมชน และสงั คมไดอ ยางเต็มกาํ ลงั ความสามารถ ๓) สามารถปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั ติ น และแสดงพฤติกรรมใหเปนทย่ี อมรับของบคุ คลรอบ ขา งในครอบครวั ชมุ ชน และสังคม

2 ๔) สามารถกาํ หนดแนวทางการพฒั นาตนเอง ใหพฒั นาไปสเู ปา หมายสูงสุดของชีวิตตามที่ วางแผนไว ๕) เปนแบบอยา งการพฒั นาของคนในครอบครัว ชุมชน และสงั คม ๖) เปน การเตรียมคนใหมีความพรอ มในการดํารงตนใหอ ยใู นสงั คมอยางมนั่ ใจ มีความสุข และเปน กําลงั สาํ คัญของการพฒั นาชุมชนและสังคม ๑.๓ ความหมายของการพัฒนาชมุ ชน การพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทาํ ทีม่ งุ ปรบั ปรุง สงเสริม ใหก ลมุ คนทอี่ ยูร วมกันมีการ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางท่ีดีข้ึนในทุก ๆ ดาน ท้ังดานที่อยูอาศัย อาหาร เคร่ืองนุงหม สุขภาพ รา งกาย อาชีพทมี่ ่นั คง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส นิ โดยอาศยั ความรวมมือจาก ประชาชน ภายในชมุ ชน และหนว ยงานองคก รตาง ๆ ทงั้ จากภายในและภายนอกชุมชน ๑.๔ ความสาํ คญั ของการพฒั นาชุมชน การพฒั นาชุมชนมคี วามสาํ คญั จําแนกไดด ังนี้ ๑) สงเสริมและกระตนุ ใหประชาชนไดม สี วนรวมในการแกไขปญหาพัฒนาตนเอง และชมุ ชน ๒) เปน การสง เสรมิ ใหประชาชนมจี ติ วิญญาณ รจู ักคิด ทํา พัฒนาเพอ่ื สว นรวม และเรียนรูซึง่ กนั และกนั ๓) เปน การสงเสรมิ การรวมกลุมในการดาํ เนนิ ชวี ติ ตามระบอบประชาธปิ ไตย ๔) ทําใหปญ หาของชมุ ชนลดนอ ยลงและหมดไป ๕) ทาํ ใหส ามารถหาแนวทางปองกนั ไมใหปญ หาในลกั ษณะเดยี วกนั เกดิ ขึ้นอกี ๖) ทําใหเกิดความเจริญกา วหนา ขนึ้ ๗) ทําใหเ กิดการอยรู วมกนั อยางมคี วามสขุ ตามสภาพของแตล ะบุคคลและเกิดความ ภาคภูมใิ จในชุมชนของตนเอง ๘) ทาํ ใหชุมชนนาอยู มีความรัก ความสามคั คี เออ้ื อาทรชว ยเหลือเกอ้ื กลู ซง่ึ กนั และกนั ๙) เปนรากฐานสาํ คัญของการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ

3 ๑.๕. ความหมายของการพฒั นาสังคม การพัฒนาสังคม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ดีทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพ่ือประชาชนจะไดมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีข้ึนทั้งทางดานท่ี อยูอาศัย อาหาร เครื่องนุงหม สุขภาพอนามัย การศึกษา การมีงานทํา มีรายไดเพียงพอในการ ครองชพี ประชาชนไดร ับความเสมอภาค ความยุติธรรม มีคุณภาพชีวิต ท้ังนี้ประชาชนตองมีสวน รวมในกระบวนการเปล่ยี นแปลงทุกขน้ั ตอนอยา งมีระบบ ๑.๖. ความสาํ คญั ของการพฒั นาสงั คม เมือ่ บุคคลมาอยรู วมกนั เปนสงั คม ปญหาตา ง ๆ ก็ยอ มจะเกิดตามมาเสมอ ยิง่ สังคมมขี นาด ใหญปญหาก็ยิ่งจะมมี ากและสลับซับซอ นเปนเงาตามตวั ปญ หาหนง่ึ อาจจะกลายเปนสาเหตอุ ีก หลายปญ หาเก่ยี วโยงกนั ไปเปน ลูกโซ ถาปลอ ยไวก จ็ ะเพิม่ ความรนุ แรง เพม่ิ ความสลับซับซอน และ ขยายวงกวา งออกไปเรื่อย ๆ ยากตอ การแกไ ข ความสงบสุขของประชาชนในสงั คมนั้นกจ็ ะไมม ี ดังนนั้ ความสําคญั ของการพฒั นาสงั คม อาจกลาวเปน ขอ ๆ ไดด งั น้ี ๑) ทาํ ใหปญหาของสังคมลดนอ ยและหมดไปในที่สดุ ๒) ปองกันไมใหปญ หาน้นั หรอื ปญ หาในลกั ษณะเดียวกันเกดิ ขนึ้ แกสังคมอกี ๓) ทําใหเกิดความเจริญกา วหนา ขน้ึ มาแทน ๔) ทําใหป ระชาชนในสังคมสมานสามคั คีและอยรู วมกนั อยา งมีความสุขตามฐานะ ของแตละบุคคล ๕) ทําใหเ กิดความเปน ปก แผน ม่ันคงของสงั คม เรื่องที่ ๒ หลักการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ๒.๑. หลกั การพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเองใหประสบความสาํ เรจ็ สามารถอยรู ว มกบั บคุ คลตาง ๆ ใน ครอบครวั และชุมชนไดอ ยา งมีความสขุ มแี นวทางการพัฒนาได ดังนี้ ๑) การสาํ รวจตนเอง เพ่อื จะไดท ราบวาตนเองมคี ณุ สมบัตทิ ด่ี แี ละไมด ีอยา งไรบา ง เพอื่ ทีจ่ ะหาแนวทางการปรบั ปรุงพฒั นาตนเองใหดขี ้ึน

4 ๒) การปลกู ฝงคุณสมบัติที่ดีงาม เปนการนําเอาแบบอยางที่ดีของบุคคลสําคัญท่ี ประทับใจมาเปนตัวแบบ เพื่อปลูกฝงคุณสมบัติทด่ี ีใหกับตนเอง ใหประสบความสําเร็จ สมหวัง ตามทคี่ าดหวังไว ๓) การปลุกใจตนเอง การปลุกใจตนเองใหมคี วามเขมแข็งท่ีจะตอสูกับอุปสรรค ดา นตา ง ๆ นัน้ มีความจาํ เปน ยง่ิ เพราะเมื่อตนเองมจี ติ ใจทีเ่ ขมแขง็ มคี วามมงุ ม่ัน สามารถตอสูกับ ปญหา และอปุ สรรค รวมทั้งสามารถดาํ เนินการพฒั นาตนเองใหบรรลเุ ปา หมาย ๔) การสงเสริมตนเอง เปนการสรางกําลังกาย กําลังใจใหเขมแข็ง สรางพลัง ความคิด ท่ีสามารถปฏิบัติได เชน การเลนกีฬา การออกกําลังกาย การพักผอน การฝกสมาธิ การเขา รบั การฝกอบรมเรอ่ื งทเี่ ราสนใจ เปน ตน ๕) การลงมอื พฒั นาตนเอง การพฒั นาตนเองสามารถทําไดหลายวิธี เชน อา นหนงั สอื เปน ประจาํ รว มกิจกรรมตาง ๆ ของชมุ ชนตามความสนใจ การศึกษาดูงาน การศึกษา ตอ การพบปะเย่ียมเยยี นเพ่อื น หรอื ผทู ่รี จู กั สนิทสนม การหมนุ เวียนเปลย่ี นงาน การทาํ งานรว มกับ ผูอ่นื การพยายามฝก นิสัยทด่ี ดี วยความสม่ําเสมอ การสรา งความสัมพันธท ดี่ ีกบั ผอู ่ืน ฯลฯ ๒.๒ หลักการพฒั นาชุมชน หลกั การพัฒนาชมุ ชนเปนหลกั สําคัญในการดําเนินงานพัฒนาชุมชน เพ่ือสรางสรรคไปสู ความสาํ เร็จตามเปา หมาย โดยอาศยั หลักการ สรปุ ไดดังนี้ ๑) ประชาชนมสี ว นรวมการดําเนินกิจกรรมของการพัฒนาทุกข้ันตอน โดยจะตอง เขามามีสวนเกยี่ วขอ งและมสี วนรว มต้งั แต รว มคดิ ตดั สนิ ใจ วางแผน ปฏบิ ตั แิ ละประเมินผล ตองกลา คิด กลาแสดงออก เพราะผลทเี่ กิดจากการดําเนนิ งานสงผลโดยตรงตอ ประชาชน ๒) พจิ ารณาวัฒนธรรมและสภาพความเปนอยูของชุมชน ในทุก ๆ ดาน จะชวยให การคดิ การวางแผน และการดาํ เนนิ งาน พัฒนาเปน ไปในทิศทางท่ถี ูกตองเหมาะสม ๓) ใหความสําคัญกับคนในชุมชนโดยคนในชุมชนตองเปนหลักสําคัญหรือเปน ศูนยก ลางของการพฒั นา ๔) การพัฒนาตองไมรวบรัดและเรงรีบ การดําเนินงานควรคํานึงถึงผลของการ พัฒนาในระยะยาว ดาํ เนนิ งานแบบคอยเปน คอยไป เพ่อื ใหทกุ คนมคี วามพรอ ม มีความเชื่อม่นั

5 ๕) ทําเปนกระบวนการและประเมินผลอยางตอเนื่อง การพัฒนาชุมชนควร ดาํ เนนิ การดว ยโครงการทห่ี ลากหลายภายใตค วามตองการที่แทจริงของชุมชน ๒.๓ หลักการพฒั นาสังคม การพัฒนาสังคมมีขอบเขตกวางขวาง เพราะปญหาของสังคมมีมาก และสลับซับซอน การแกป ญ หาสงั คมจงึ ตอ งทาํ อยางรอบคอบ และตอ งอาศัยความรว มมือกันของบุคคลจากหลาย ๆ ฝาย และโดยเฉพาะอยา งยง่ิ ประชาชนในสงั คมนัน้ ๆ จะตองรบั รู พรอ มท่จี ะใหขอมูลที่ถูกตองและ เขามามีสวนรวมดวยเสมอ การพัฒนาสังคมจึงตองเปนท้ังกระบวนการ วิธีการ กรรมวิธี เปลีย่ นแปลง และแผนการดาํ เนินงาน ซึง่ มีรายละเอียด คือ ๑) กระบวนการ (Process) การแกปญหาสังคมตองกระทําตอเนื่องกันอยางมี ระบบ เพ่ือใหเกดิ การเปลีย่ นแปลงจากลกั ษณะหนง่ึ ไปสอู ีกลกั ษณะหน่ึง ซึ่งจะตองเปนลักษณะที่ดี กวา เดมิ ๒) วิธีการ (Method) การกําหนดวิธีการในการดําเนินงาน โดยเฉพาะเนนความ รวมมอื ของประชาชนในสงั คมนัน้ กับเจาหนา ท่ีของรฐั บาลที่จะทํางานรว มกนั และวธิ กี ารน้ีตองเปน ที่ยอมรบั วา สามารถนาํ การเปลย่ี นแปลงมาสูส งั คมไดอยา งถาวรและมปี ระโยชนต อสงั คม ๓) กรรมวิธีเปล่ียนแปลง (Movement) การพัฒนาสังคมจะตองทําใหเกิดการ เปล่ียนแปลงใหได และจะตองเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน โดยเฉพาะเนนการเปลี่ยนแปลง ทศั นคติของตน เพอื่ ใหเกดิ สํานึกในการมีสว นรวมรบั ผิดชอบตอผลประโยชนของสวนรวม และรัก ความเจรญิ กา วหนาอันจะนาํ ไปสกู ารเปลย่ี นแปลงทางวตั ถุ ๔) แผนการดําเนนิ งาน (Planning) การพัฒนาสงั คมจะตอ งทําอยางมแี ผน มขี ้ันตอน สามารถตรวจสอบ และประเมนิ ผลได แผนงานนจี้ ะตองมีทุกระดับ นับตั้งแตร ะดับชาติ คือ แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ลงมาจนถึงระดับผูปฏิบัติ แผนงานจึงมี ความสําคญั และจาํ เปนอยา งย่งิ ในการพฒั นาสังคม การพัฒนาสังคมไทย สามารถกระทําไปพรอม ๆ กันท้ังสังคมในเมืองและสังคม ชนบท แตเน่ืองจากสังคมชนบทเปน ท่อี ยูอาศยั ของชนสว นใหญของประเทศ การพัฒนาจึงทุมเทไป ที่ชนบทมากกวาในเมือง และการพัฒนาสังคมจะตองพัฒนาหลาย ๆ ดาน ไปพรอม ๆ กัน โดย เฉพาะทเี่ ปนปจ จัยตอ การพัฒนาดานอื่น ๆ ไดแกการศึกษา และการสาธารณสุข การพัฒนาดาน

6 การศกึ ษา การศกึ ษาเปนปจ จยั สําคญั ทสี่ ุด ในการวัดความเจริญของสงั คม สําหรบั ประเทศไทยการ พัฒนาดานการศึกษายังไมเจริญกาวหนาอยางเต็มที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมในชนบทของไทย จะพบประชาชนทไี่ มรหู นังสือ และไมจบการศึกษาภาคบังคบั อยูคอ นขา งมาก เรือ่ งท่ี ๓ ประโยชนที่ไดร ับจากการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ๓.๑ ทางดานการเมอื ง ๑) ทําใหป ระชาชนจงรกั ภกั ดตี อ รัฐบาล เหน็ วารฐั บาลไมท อดทงิ้ สํานึก บญุ คณุ และเห็นความสําคญั ของรัฐบาล เพราะงานพฒั นารัฐบาลมุงเขา ชวยเหลือประชาชนใน ทางตรงและเขา ถึงตวั ๒) ทําใหประชาชนมีความรสู กึ รับผดิ ชอบ รสู กึ เปน เจาของประเทศย่งิ ข้นึ เพราะงานพัฒนาชุมชนเปน งานทปี่ ระชาชนชว ยเหลอื ตนเอง โดยความสนบั สนนุ ชวยเหลือของ รฐั บาล ๓) อํานวยผลประโยชนใ นการปกครอง เพราะงานพัฒนาชุมชนสงเสรมิ งาน ดา นการปกครองชว ยลดและขจดั ความแตกแยกหา งเหน็ ความกินแหนงแคลงใจ ๔) งานพฒั นาชุมชนสงเสรมิ การปกครองสวนทอ งถนิ่ เพราะเปน งานท่ี สง เสริมใหป ระชาชนรจู ักชวยเหลอื และสรา งสรรคความเจรญิ ในทอ งถน่ิ รวมกนั เปน แบบอาสาสมคั ร ๕) ชวยใหป ระชาชนเปนฝายรฐั บาล ทาํ ใหการรกุ รานแทรกซมึ ของฝา ยตรง ขามไมไดผ ล เพราะปจ จบุ นั ไทยเรามภี ัยทางการเมอื งเปน สงครามจิตวิทยา ตอ สูก นั ในทางแยงชงิ ประชาชน ฝา ยใดมีประชาชนสนบั สนนุ มากก็ไดเปรียบ ๖) การพฒั นาชุมชนเปน การสรางสรรคก ารอยดู ีกินดีใหบ งั เกดิ แกช มุ ชน ถาทุกคนอยดู ีมสี ขุ ยอมเปนหลกั ประกนั ของความสาํ เร็จของการปกครองและความมน่ั คงของชาติ ๓.๒ ดานเศรษฐกิจ ๑) เพ่ิมประสิทธิภาพในการผลติ ๒) การดาํ รงชีพดขี นึ้ มีรายไดม ากขนึ้ มขี า วของใชม ากขน้ึ ใหค วามสะดวก การหมนุ เวยี นของกระแสเงินดีขน้ึ ๓) รายไดป ระชาชาติสงู ขึน้

7 ๓.๓ ดานสังคม ๑) ผลสาํ เรจ็ ของการพัฒนาชุมชนจะสง เสริมความเปนอยทู างดา นอนามัย ๒) ผลสําเรจ็ ของการพัฒนาชมุ ชนจะชวยลดความเหล่ือมลาํ้ แตกตา งในเรอ่ื ง ชนชนั้ ในสังคมใหน อยลง มคี วามเสมอภาคเปน ธรรมแกส งั คม ๓) ผลสาํ เรจ็ ของการพฒั นาชุมชนจะสง เสริมฐานะของสังคมทางการศึกษา โรงเรียนมีบทบาททส่ี ําคัญยิง่ นกั โรงเรียนในโครงการพฒั นาชมุ ชนสรา งดวยความรว มมอื ของ ประชาชนในทอ งถิน่ น้นั ทาํ ใหป ระชาชนมีสว นรบั ผดิ ชอบในการศกึ ษายง่ิ ข้ึน มคี วามรูสึกวา ตนเปน เจาของ ใหการสนับสนนุ ดขี ึ้น

8 บทที่ ๒ ความหมาย ความสําคญั ประโยชนของขอมลู ขอมูลที่เปนขอเท็จจริง ที่เก่ียวของกับการพัฒนาชุมชน มีหลายดานดวยกัน แตละดาน ควรรูและทําความเขาใจ เพราะเปนส่ิงจําเปนและสําคัญสําหรับกระบวนการพัฒนาชมุ ชน ท้ังน้ี เพอื่ เปนเคร่ืองมือในการนาํ ไปสูก ารวางแผน การกาํ หนดทศิ ทาง เปาหมาย การตดั สินใจ การปฏบิ ัติ และประเมินผลของการปรบั ปรงุ และพฒั นาชมุ ชนใหนาอยู และดขี นึ้ กวาเดมิ ในทุก ๆ ดาน เรอื่ งที่ ๑ ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนของขอ มูล ๑.๑ ความหมายของขอ มูล มีผรู ไู ดใ หความหมายของขอมลู ในลกั ษณะเดียวกันสรุปไดวา ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริง ของส่ิงตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา เชน คน สัตว สิ่งของ สถานที่ ธรรมชาติ ฯลฯ ท่ีถูกบันทึกไวเปน ตัวเลข สัญลักษณ ภาพ หรือเสียง ที่ชวยทําใหรูถึงความเปนมา ความสําคัญ และประโยชนของ ส่งิ เหลาน้นั ความหมายของขอมูล ตามพจนานกุ รมราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดใหความหมาย วาขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงสําหรับใชเปนหลักในการคาดการณคนหาความจริง หรือการคิด คาํ นวณ กลาวโดยสรุป ขอมูล หมายถึง ขาวสารหรือขอเท็จจริงท่ีเกิดข้ึนกับส่ิงตาง ๆ ท่ีเปน สัญลกั ษณ ตวั เลข ขอ ความ ภาพหรือเสียงท่ีไดม าจากวธิ ีการตา ง ๆ เชน การสังเกต การนับ การวัด และบนั ทกึ เปน หลกั ฐานใชเพ่ือคน หาความจรงิ ตัวอยา ง เชน ก. สนุ ันทประกอบอาชพี ทาํ นา ข. ตําบลฟา หยาด มีจาํ นวนครวั เรอื น ๓๐๐ ครวั เรอื น ค. อบต.ฟาหยาด ชาวบา นมอี าชพี ทํานา ทาํ สวน ทําไร ง. จงั หวดั ยโสธรมหี องสมดุ ประชาชนอาํ เภอ ๙ แหง

9 จากตวั อยาง จะเห็นวา ขอ ข และ ง เปน ขอมูลทเ่ี ปนตวั เลข ขอ ก และ ค เปนขอมูลที่ไม เปน ตวั เลข จากความหมายและตัวอยางของขอมูลจะเห็นไดวาขอมลู แบงเปน ๒ ความหมาย คือ ขอมูลทมี่ ีลักษณะเปนตัวเลขแสดงปริมาณ เรียกวา ขอมูลเชิงปริมาณ และขอมูลที่ไมใชตัวเลข เรยี กวา ขอ มลู เชงิ คณุ ภาพ ๑.๒ ความสาํ คญั และประโยชนข องขอ มลู ขอ มลู ทีเ่ ปนขอเท็จจรงิ ของส่งิ ตา งๆท่ีอยูรอบตัวเราลว นมีประโยชนตอ การพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคมทั้งนข้ี ้นึ อยกู ับการเลอื กนํามาใชใหถ กู ตอ งเหมาะสมกบั สถานการณ และโอกาส โดยทวั่ ไปขอ มูลจะใหป ระโยชนม ากมาย เชน ๑) เพอ่ื การเรียนรู ศึกษา คน ควา ๒) เพ่อื เปน แนวทางการพฒั นาดานตา ง ๆ ๓) เพอ่ื การนําไปสกู ารปรบั ปรุงแกไขในสิ่งที่ดีกวา ๔) เพอ่ื ใชประกอบเปนหลกั ฐานอา งองิ ประเด็นสาํ คัญ ๕) เพอื่ การวางแผน การปฏิบตั ิ และการประเมินผล ๖) เพอื่ การตดั สนิ ใจ ฯลฯ จากประโยชนดา นตาง ๆ ท่กี ลาวถึง ขอยกตัวอยางประโยชนข องขอ มลู ในการชว ยการตดั สนิ ใจ เชน ถารูขอมูลเก่ียวกับคะแนนการเรียนวิชาคณิตศาสตร ผลคะแนนระหวางเรียนไมนาพึงพอใจ แตผ ูเรียนตองการใหส อบผา นวิชานี้ ผเู รียนจะตองวางแผนการเรียน และเตรียมพรอมกับการสอบ ใหด ี ขยนั เรยี น ขยันทาํ แบบฝกหัดมากขึ้น ผลการเรียนวิชานน้ี าจะผาน แตถ าไมรูขอมูลเลยโอกาส ท่ีจะสอบไมผ า นก็จะมีมากกวา ในการพฒั นาชุมชนและสังคมจําเปนตอ งอาศัยขอมูลดา นตา ง ๆ ไดแ ก ขอ มูลเก่ยี วกับดา น ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา ท่พี ลเมอื ง ทรพั ยากร ส่งิ แวดลอ ม สาธารณสขุ และการศกึ ษา เปนตน

10 เรอ่ื งที่ ๒ ขอ มลู ทเี่ ก่ียวขอ งกบั การพฒั นาชมุ ชน การพฒั นาชมุ ชน จําเปน ตองอาศัยขอ มูลหลาย ๆ ดาน เพือ่ ใชในการเรยี นรแู ละคน หา ความจรงิ ที่เปนพลงั ภายในของชุมชนทย่ี งั ไมไดพัฒนา หรือยงั พฒั นาไมเ ตม็ ที่ ขอมูลทสี่ าํ คัญ ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการพัฒนาชุมชน มีดงั นี้ ๑. ขอมูลดา นภมู ิศาสตร คือ ขอมูลเก่ียวกับความสัมพันธระหวางส่ิงแวดลอมทาง ธรรมชาติกับสังคม เชน จํานวนประชากร ลักษณะของภูมิประเทศ ลักษณะภูมอิ ากาศ เขตการ ปกครองตําบล/อําเภอ/เทศบาล จังหวดั ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปาไม แรธาตุ แหลงนา้ํ การคมนาคมขนสงทางบก ทางน้ํา ทางอากาศ สังคมและวัฒนธรรม เชน เชื้อชาติของประชากร การนับถอื ศาสนา การตั้งถิ่นฐานของประชากร ความเชือ่ ขอบเขตของสถานท่ี สภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ สภาพปญหาและภัยธรรมชาติ ๒. ขอมูลดานประวัติศาสตร คือ ขอมูลเหตุการณท่ีเปนมาหรือเร่ืองราวของ ประเทศชาติตามท่ีบันทึกไวเปนหลักฐาน เชน ประวัติความเปนมาของหมูบาน/ตําบล/ชุมชน/ จังหวัด สภาพความเปนอยูของคนในอดีต การปกครองในอดีต สถานท่ีสําคัญทางประวัติศาสตร เปนตน ๓. ขอมูลดานเศรษฐศาสตร ไดแก ขอมูลการผลิต การกระจาย การบริโภค และ การบรกิ าร รวมท้งั การจดั การทรัพยากรทม่ี ีอยูอยางจํากดั ๔. ขอมูลดานการเมือง การปกครอง ไดแก การเลือกผูนําของคนในชุมชน และ บทบาทของผนู าํ การมสี ว นรวมของคนในชมุ ชน ดา นการปกครอง และการพัฒนา การตัดสินใจ ของผูนําชุมชน โครงสรางอํานาจ ความสัมพันธของคนในชุมชนและระหวางกลุม การรวมกลุม การแบงกลุม เปน ตน ๕. ขอมูลดา น ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ไดแ ก จาํ นวนกลุมที่สง เสริมประเพณี และ วฒั นธรรม การละเลน การกฬี าของทอ งถ่นิ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความเชื่อศาสนา ระบบเครือญาติ เปนตน ๖. ขอมูลดานหนาท่ีพลเมือง หนาท่ี หมายถึง ภาระรับผิดชอบของบุคคลท่ีตอง ปฏิบตั กิ จิ ที่ตอ งทาํ กจิ ท่คี วรทํา เปนส่ิงท่กี ําหนดใหทาํ หรอื หามมิใหก ระทาํ พลเมอื ง หมายถึง พละกําลังของประเทศซงึ่ มีสวนเปน เจา ของประเทศ

11 ขอมูลดานหนาที่พลเมือง เชน ความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ความรบั ผดิ ชอบตอหนาท่ี ความมรี ะเบียบวนิ ยั ความซ่อื สัตย ความเสียสละ ความอดทน การไมทํา บาป ความสามัคคี การรกั ษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  การปฏิบัติตามกฎหมาย การไปใชสิทธิ เลือกตั้ง การพัฒนาประเทศ การปองกันประเทศ การรับราชการทหาร การเสียภาษีอากร การ ชวยเหลอื ราชการ การศกึ ษาอบรม การพทิ ักษป กปองและสืบสานศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ และ ภมู ปิ ญ ญาทอ งถิน่ การอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม ๗. ขอมูลดานทรัพยากร ส่ิงแวดลอม ไดแก สภาพทรัพยากรธรรมชาติ ดิน นํา้ อากาศ การจดั การแหลง นํ้า เชน แมน้ํา ลําคลอง ทะเล ปา ชายเลน สัตวบก สตั วน ้าํ ๘. ขอมูลดานสาธารณสุข ไดแก การปองกันและรักษาโรค ทํานุบํารุงสุขภาพ รา งกาย จิตใจ สังคมจะเจริญ พลเมอื งตองมีสุขภาพดี ๙. ขอมูลดานการศึกษา ไดแก การสรางคนใหมีความรูความสามารถทักษะ พืน้ ฐาน พรอมที่จะตอสูเ พือ่ ตนเองและสังคม พรอมท่จี ะประกอบอาชีพ เชน จํานวนสถานศึกษา ในระดบั ตาง ๆ รายชื่อสถานศึกษา จํานวนครู จํานวนนักเรียนในสถานศึกษานั้น ๆ จํานวนผูจบ การศกึ ษา สภาพปญ หาดา นการศกึ ษา เร่ืองที่ ๓ ประโยชนข องขอ มูล และการนําไปใช ๓.๑ ประโยชนของขอมลู ๓.๑.๑. ประโยชนของขอมูลตอ ตนเอง ๑) ทําใหมนษุ ยส ามารถดํารงชวี ติ อยรู อดปลอดภัย มนษุ ยรจู ักนาํ ขอมลู มาใชใ นการ ดํารงชวี ติ แตโ บราณแลว มนษุ ยร จู กั สงั เกตสง่ิ ตาง ๆ ที่อยูรอบตัว เชน สงั เกตวาดิน อากาศ ฤดูกาล ใดท่ีเหมาะสมกับการปลูกพืชผักกินไดชนิดใด พืชชนิดใดใชเปนยารักษาโรคได สะสมเปนองค ความรแู ลว ถา ยทอดสืบตอกนั มา ขอ มลู ตาง ๆ ทําใหมนุษยสามารถนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช เปน อาหาร สงิ่ ของเครื่องใช ทอี่ ยอู าศัย และยารกั ษาโรคเพ่ือการดาํ รงชพี ได ๒) ชวยใหเ รามีความรคู วามเขา ใจเรอื่ งราวตา ง ๆ ที่เกดิ ขึ้นรอบตัว เชน เรื่องรา งกาย จติ ใจ ความตอ งการ พฤตกิ รรมของตนเอง และผอู ่นื ทาํ ใหมนษุ ยสามารถปรบั ตัวเอง ใหอยูรวมกับ คนในครอบครวั และสังคมไดอ ยา งมีความสงบสขุ

12 ๓) ทําใหตนเองสามารถแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึนใหผานพนไปไดดวยดี การตดั สนิ ใจตอ การกระทาํ หรอื ไมกระทาํ สง่ิ ใดท่ไี มมีขอ มลู หรอื มขี อมลู ไมถูกตองอาจทําใหเกิดการ ผิดพลาดเสียหายได ๓.๑.๒ ประโยชนของขอ มลู ตอชมุ ชน/สงั คม ๑) ทําใหเกิดการศึกษาเรียนรู ซ่ึงการศึกษาเปนสิ่งจําเปนตอการพัฒนาชุมชน/ สังคมเปน อยางยิ่ง ชมุ ชน/สงั คมใดทมี่ ผี ูไดรับการศึกษา การพัฒนาก็จะเขาไปสูชุมชน/สังคมนั้นได งา ยและรวดเร็ว ๒) ขอมูลตา ง ๆ ทสี่ ะสมเปนองคความรูนั้น สามารถรักษาไวและถายทอดความรู ไปสูคนรุนตอ ๆ ไปในชุมชน/สังคม ทําใหเกิดความรูความเขาใจ วัฒนธรรมของชุมชน/สังคม ตนเอง และตางสังคมไดกอใหเ กิดการอยรู ว มกนั ไดอยางสงบสขุ ๓) ชว ยเสรมิ สรา งความรู ความสามารถใหม ๆ ในดานตาง ๆ ทง้ั ทางดานเทคโนโลยี การศึกษา เศรษฐศาสตร การคมนาคม การเกษตร การพาณชิ ย ฯลฯ ท่ีเปนพื้นฐานตอการพัฒนา ชุมชน/สงั คม ๓.๒ การนาํ ไปใช ขอมูลในชีวติ ประจาํ วันมจี ํานวนมากท่นี ําไปใชประโยชนตา ง ๆ กนั เชน ๑) ขอมูลภูมิอากาศ ใชประโยชนในดานการพยากรณอากาศขอมูลประชากร ใชประโยชนทางดานการวางแผนพัฒนาประเทศขอมูลดานการเงิน ใชประโยชนในการพัฒนา เศรษฐกิจ ๒) ขอมูลวิทยาศาสตร ใชประโยชนในดานการวิจัยขอมูลดานทรัพยากร ส่ิงแวดลอม ใชประโยชนในดานการติดตามสถานภาพของส่ิงแวดลอมการตรวจสอบความ เปลย่ี นแปลงของทรัพยากร การวางแผนการพัฒนาทองถ่ินหรือการทองเท่ียว การวางแผนการ จดั การดานสง่ิ แวดลอม ๓) ขอมูลดานภมู ศิ าสตร ใชประโยชนในการประเมินคาความเสียหายของการเกิด ภยั ทางธรรมชาติ ประเมนิ ภาษปี าย โรงเรอื น ทีด่ นิ วเิ คราะหการลงทนุ สรางสาธารณปู โภค

13 บทท่ี ๓ วธิ กี ารจัดเกบ็ ขอ มูล วเิ คราะหขอ มูลดว ยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย การพัฒนาสังคมชมุ ชนมคี วามสําคัญอยางย่ิงท่ีจะตองรูจักวิธีการจัดเกบ็ ขอมูล วิเคราะห ขอมลู ดว ยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย เร่ืองท่ี ๑ วิธกี ารจัดเก็บและรวบรวมขอ มูล วิธีการเก็บขอมูลและรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชนมีหลายวิธี เชน การสังเกต การสมั ภาษณ การใชแ บบสอบถาม การศกึ ษาจากเอกสาร การสนทนากลมุ การสาํ รวจ การจดั เวทปี ระชาคม สวนการจะเลอื กใชเ ทคนคิ วิธกี ารใด จึงจะเหมาะสมขึ้นอยูกับหลาย ๆ ปจจัย เชน แหลง ขอ มูล ความสะดวก ความประหยดั ฯลฯ การศึกษาและรวบรวมขอมูลชุมชน ผูศึกษา สามารถกระทาํ โดยยดึ วตั ถุประสงคข องการศึกษา โดยอาจจําแนกประเด็นหลัก และประเด็นยอย เพอื่ ใหไ ดร ายละเอียดใหครอบคลมุ ทุกดา น เทคนิควธิ กี ารเกบ็ ขอ มลู มวี ิธตี าง ๆ เชน ๑. การสงั เกต เปน วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ มูล โดยผสู งั เกตเฝาดพู ฤติกรรมจริงหรือ เหตุการณ จริง โดยผสู งั เกตอาจเขาไปทาํ กจิ กรรมรว มในเหตุการณ หรือไมม ีสว นรว ม โดยการเฝาดูอยหู า ง ๆ ก็ได การสงั เกตมีทงั้ แบบทมี่ โี ครงสรา ง กับแบบไมมโี ครงสรา ง การสังเกตแบบมีโครงสราง ผูสังเกต ตองเตรียมหัวขอ ขอบขาย ประเด็น ท่ีตองใชในการสังเกตลวงหนา แลวบันทึกรายละเอียดส่ิงท่ี สงั เกตพบเหน็ ตามหัวขอ การสังเกตแบบไมม ีโครงสราง เปนการสังเกตไปเรอ่ื ย ๆ ตามสงิ่ ที่พบเหน็ ๒. การสัมภาษณ เปนวิธีการเก็บขอมูลโดยผูสัมภาษณและผูใหสัมภาษณตองพบหนากัน และมีการสมั ภาษณซ ักถาม โดยใชภาษาเปน ตัวกลางในการสอื่ สาร การสมั ภาษณ มที ั้งแบบ มีโครงสรางและแบบไมมีโครงสราง การสัมภาษณแบบมีโครงสราง ผูสัมภาษณจะเตรียมคําถาม เรียงลําดับคําถามไวลวงหนา ตามวัตถุประสงคของการสัมภาษณ สวนการสัมภาษณแบบไมมี โครงสราง เปนการสัมภาษณแบบพูดคุยไปเร่ือย ๆ จะถามคําถามใดกอนหลังก็ได ไมมีการ เรียงลําดบั คาํ ถาม

14 ๓. การใชแบบสอบถาม ผูเก็บขอมูลจะตองเตรียมและออกแบบ แบบสอบถามลวงหนา แบบสอบถามจะประกอบดวยคําช้ีแจง วตั ถปุ ระสงค รายการขอมูลทีต่ อ งการถาม จําแนกเปนราย ขอ ใหผูตอบ ตอบตามขอเทจ็ จรงิ ๔. การศึกษาจากเอกสาร เปนการรวบรวมขอมูล ที่มีผูเรียบเรียงไวแลว ในลักษณะของ เอกสารประเภทตา ง ๆ เชน บทความ หนังสือ ตํารา หรือเว็บไซต การเก็บขอมูลดวยวิธีนี้จะตอง คาํ นงึ ถึงความทนั สมยั ๕. การสนทนากลุม เปน การรวบรวมขอ มลู ดา นเศรษฐกจิ สังคม ประชากร อาชพี ฯลฯ จาก วงสนทนาทเ่ี ปนผูใหข อ มูลท่ีถูกคัดสรร วาสามารถใหข อมลู ใหค าํ ตอบตรงตามประเด็น คําถามที่ผู ศึกษาตองการ มีการถามตอบและถกประเด็นปญหา โดยเร่ิมจากคําถามท่ีงายตอการเขาใจแลว จึงคอยเขาสูคําถามที่เปนประเด็นหลักของการศึกษา แลวจบดวยคําถามประเด็นยอย ๆ ขณะเดียวกันมีผบู ันทกึ เกบ็ ขอมลู จากคาํ สนทนาพรอมบรรยากาศ และอากปั กิรยิ าของสมาชิกกลุม แลว สรปุ เปน ขอ สรปุ ของการสนทนาแตล ะคร้งั ๖. การสํารวจ การสํารวจขอ มลู ชุมชนทําไดใ นลักษณะตาง ๆ เชน ๑) ขอ มลู ทค่ี รอบครวั ควร ทาํ เอง ไดแ ก บญั ชรี ายรบั -รายจายของครอบครัวแตละครอบครัว รวมทั้งหน้ีสิน ๒) ขอมูลท่ัวไป ของครอบครวั ไดแก จํานวนสมาชกิ อายุ การศึกษา รายได ที่ทาํ กิน เครือ่ งมอื อปุ กรณ ความรขู อง คนในครอบครวั และ การดูแลสขุ ภาพ เปนตน ๓) ขอมูลสวนรวมของชุมชน ไดแก ประวัติความ เปน มาของชมุ ชน ทรัพยากร ความรู ภมู ิปญ ญาเฉพาะดาน การรวมกลุม โครงการของชุมชนผูนํา เปน ตน สําหรับวิธีการเกบ็ ขอมูลดวยเทคนิคการสํารวจอาจใชแบบสอบถาม หรอื แบบสมั ภาษณต าม ความสะดวก ความประหยัดของผเู กบ็ ขอ มูล และไมส รางความยงุ ยากใหก บั ผใู หขอ มูล ๗. การจัดเวทปี ระชาคม เปนการพบปะของผูคนท่เี ปน ผแู ทนระดับของกลุมตาง ๆในชุมชน ซ่ึงผูคนเหลาน้ีมีขอมูล ประสบการณ ความคิดที่หลากหลาย ไดมารวมกันแลกเปล่ียนขอมูล ประสบการณ ความคิด เพื่อรวมกันกําหนดวิสัยทัศน วิเคราะห สถานการณ ปญหา วางแผน ดาํ เนินงาน ติดตามประเมินผลการทํางานรวมกัน เพื่อนําไปสูการพัฒนาชุมชน ใหสามารถบรรลุ เปา หมายรวมกนั สว นเคร่อื งมอื ทีส่ าํ คญั ในการจดั เวทปี ระชาคม คอื ประเด็นคําถามที่มลี กั ษณะเปน คาํ ถามปลายเปด เพอ่ื ทาํ ใหผูรวมเวทีสามารถตอบและอภิปรายไดล ะเอียดตามความรู ความคิดและ

15 ประสบการณข องแตละคน ทําใหไดคําตอบที่เปนขอมูลเชิงลึก ซ่ึงเปนประโยชนตอการวิเคราะห ขอมูลในแตล ะดา นตอไป เรื่องท่ี ๒ การวเิ คราะหข อ มูล หลังจากการเกบ็ ขอมลู เสร็จสิ้นแลว ผเู ก็บขอมูลควรนาํ ผลจากการจัดเก็บขอมลู ไปตรวจสอบ ความถูกตองและความสมบูรณก ับแหลง ขอ มูลอกี ครง้ั เพอื่ ยนื ยนั ความถกู ตอ ง และ เพิม่ เติมขอ มูลใน สวนท่ียังไมสมบูรณใหส มบรู ณม ากทีส่ ุด ขั้นตอนถดั มาคอื การวเิ คราะหขอมลู การวิเคราะหขอ มูล เปนการนําขอ มลู ที่เก็บรวบรวมมาได มาจัดกระทําโดยจําแนก จัดกลุม จัดระบบ หมวดหมู เรียงลําดับ คํานวณคาตัวเลข (เชิงปริมาณ) ตีความ สรุป และนําเสนอใน รปู แบบตาง ๆ ใหสามารถสื่อความหมายได เชน ตาราง แผนภมู ิ ภาพ ฯลฯ ขน้ั ตอนของการวิเคราะหขอมูลชุมชน อาจตองอาศัยผูรูเกี่ยวกับการวิเคราะหขอมูลเขามา ใหค วามรว มมอื ชวยเหลือในการวเิ คราะหและเผยแพรข อมูล แตขณะเดียวกัน ประชาชนในชุมชน ตอ งมสี ว นรว มเขา มาแลกเปลยี่ นเรยี นรเู พอื่ ใหเ กิดการเรียนรรู วมกัน เรอ่ื งที่ ๓ การนาํ ขอ มูลไปใชใ นการจัดทําแผนชวี ติ ชมุ ชน สงั คม การพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมเพ่ือใหเ กิดประโยชนในชีวิตประจําวัน จําเปนตองมีการ วางแผนท่ีดี กอนอืน่ มารจู กั แผนพัฒนาตนเองกนั เปน อยา งแรก แผนพัฒนาตนเอง เปนแผนที่คนใด คนหนึง่ หรือกลุม คนหลายคนกําหนดข้ึนมา เพ่ือเปนแนวทางปฏิบัติในการเสริมสรางและเพ่ิมพูน ลักษณะท่ีจาํ เปน ใหเ กดิ ประสิทธิภาพและเพ่ิมคณุ ภาพจนไปสจู ดุ หมายทตี่ องการ การใชขอมูลจากการวิเคราะหเพ่ือวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมการวางแผนพัฒนา ตนเอง ชุมชน และสังคม จําเปนตองใชขอมูลจากการวิเคราะหมาชวยตัดสินใจเลือกเรื่องท่ีจะ พัฒนา เราอาจตองการพฒั นาหลายเร่อื ง แตข อ มูลจากการวิเคราะหจะชวยในการจัดลําดับความ จําเปน วา เร่ืองใดควรเลอื กมาพัฒนากอ น และเรอ่ื งใดควรรอไวพ ฒั นาภายหลังไดร วมทง้ั ตอ งดูความ เปนไปไดท่ีจะพัฒนา แผนพัฒนาตนเองกําหนดไดจากเหตุและผลในการพัฒนา มีการกําหนด เปา หมายทีจ่ ะ พัฒนาและมองภาพในอนาคตวาจะไดรับความสําเร็จไดอยางไร หลังจากนั้นจึงคิด หา วธิ ีการพฒั นารวมไปถึงปจ จัยหรอื สงิ่ ตา ง ๆที่ชวยใหป ระสบความสําเร็จ

16 บทท่ี ๔ การมีสวนรวมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม คือ การที่ ประชาชนรวมคิด รวมทํา รวมตัดสิน รวมรับผิดชอบ และรวมแกไขปญหา เปดโอกาสใหทุกคน ทกุ กลมุ ในหมบู านมสี วนเกี่ยวของในการตดั สนิ ใจท่จี ะดําเนนิ การใด ๆ เพื่อตัวเขา และเพ่ือหมูบาน ของเขา เริม่ โดยการรวมกลมุ ประชาชน ตามกจิ กรรมพฒั นาที่จดั ขึ้นและคอ ย ๆ เพ่ิมความสามารถ และความรับผิดชอบในการดําเนินการตามกระบวนการพัฒนาใหแกประชาชน ใหสามารถ ดาํ เนนิ งานดว ยตนเองได เรอ่ื งท่ี ๑ วิธกี ารมีสวนรวมในการวางแผนการพฒั นาชมุ ชน การจัดกจิ กรรมการพฒั นาชุมชนท่ีกอใหเ กดิ การมีสวนรวมของประชาชนน้ัน สามารถทําได หลายวิธี เชน การจดั เวทีประชาคม การประชมุ กลมุ ยอ ยเพ่ือระดมความคิดเห็นรวมตอ ประเด็นใด ประเด็นหน่ึง การฝกอบรมเพื่อพัฒนา หรือสงเสริมศักยภาพของประชาชน การประชาพิจารณ เพอ่ื รบั ฟงความคดิ เห็นของประชาชน เก่ยี วกับประเดน็ ทมี่ ผี ลกระทบตอประชาชนจาํ นวนมาก ฯลฯ กิจกรรมตาง ๆ เหลาน้ีประชาชนทุกคนสามารถเขาไปมีสวนรวม เพราะเปนกระบวนการเรียนรู รวมกนั แตก ารเขาไปมีสว นรว มในแตละกจิ กรรมจําเปน ตองเขาใจ และแสดงบทบาทของตนเองให ถกู ตอ ง สอดคลองและเหมาะสมกับกจิ กรรมทจี่ ัดขนึ้ ๑.๑ การมีสว นรวมของประชาชนในเวทีประชาคม เวทีประชาคมเปนกิจกรรมหนึ่งท่ีมีวิธีการกระตุนใหกลุมประชาชนไดเกดิ การเรียนรู อยางมีสวนรวมระหวางผูท่ีมีประเด็นรวมกันโดยจัดเวทีส่ือสารพูดคุยกันขึ้น เพื่อสรางการรับรู สรางความเขาใจในประเด็นปญหารวม เพื่อใหไดขอสรุปและแนวทางแกไขประเด็นน้ัน ๆ แลว ชว ยกนั ผลกั ดันใหเ กิดผลตามแนวทางและเปาหมายท่ไี ดกาํ หนดข้ึนรว มกนั

17 การเขา มามสี ว นรว มของประชาชนในเวทีประชาคม ประชาชนอาจแสดง บทบาทของ ตนเองไดดังนี้ ๑) ควรทําความเขา ใจตอ วตั ถุประสงคข องการทาํ ประชาคมอยางชดั เจน ๒) ควรใชความคดิ และนําเสนอโดยการพูดสื่อสารใหเห็นความเชื่อมโยง และเปน ระบบ ๓) พยายามเขา ใจและเรียนรูรบั ฟงเหตผุ ลของผูอ ่ืน ๔) ควรรับฟงประเด็นและความคิดเห็นของผูอ่ืนอยางต้ังใจ หากไมเขาใจควรซักถาม ผูด าํ เนินการดวยความสภุ าพ ๕) ความคิดเหน็ ควรมคี วามเปน ไปได มีความเหมาะสม ๖) ควรเสนอความคิดเหน็ อยา งสรางสรรค น่นั คือใชเหตแุ ละผลประกอบ ความคิดเห็น ๗) รับฟง และเคารพความคิดเหน็ ของผอู ่ืน เพราะแตละคนมีสิทธิเสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็นอยางเทาเทียมกนั ๘) แสดงความคิดเหน็ ตอ ประเดน็ รว มอยางตรงไปตรงมา ๙) ไมวางตนเปน ผูข ัดขวางตอการดาํ เนินงาน ๑.๒ การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ๑) การมีสวนรวมในการคนหาสาเหตุของปญหา เน่ืองจากปญหาเกิดกับ ประชาชน ประชาชนในชุมชนยอมรูจ ักและเขา ใจปญ หาของตนดที ีส่ ดุ หากไดร วมกลมุ กนั จะสามารถชว ยกนั คิดวิเคราะหปญ หาและสาเหตไุ ดอยา งชัดเจนและรอบดา น ๒) การมสี วนรวมในการรว มคดิ รว มวางแผน ประชาชนอาจรวมกันใชขอมูลท่ีไดจาก การสาํ รวจและเรยี นรูรว มกนั จากการรวมกลุม แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ จากการคนหาศักยภาพของ ชุมชน หรือจากการศึกษาดูงาน แลวนําขอมูลเหลาน้ันมาคิดวางแผนรวมกัน ตัดสินใจรวมกัน ขั้นตอนน้อี าจคอ ยเปน คอ ยไป และอาศยั แกนนําทเ่ี ขมแขง็ ๓) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ เนื่องจากประชาชนมีทุนของตนเอง ต้ังแต แรงงาน ประสบการณและทรัพยากร หากไดรวมกันปฏิบัติโดยใชทุนที่มีอยูยอมทําใหรูสึกถึง ความเปน เจาของรว มกัน เกิดการเรียนรูในการทํางานรวมกัน การแกไขปญหารวมกัน โอกาสท่ีจะนําไปสู เปา หมายจงึ มสี ูงกวา การปฏิบัตโิ ดยอาศัยบคุ คลภายนอก

18 ๔) การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล เมื่อประชาชนเปนผูปฏิบัติ และ ขณะเดยี วกนั ประชาชนควรเปน ผูต ดิ ตามและประเมนิ ผลรว มกนั เพ่ือจะไดรวมกันพิจารณาวาสิ่งที่ ดําเนินการรวมกันน้ันเกิดผลดีบรรลุตามเปาหมายท่ีกําหนดหรือไมเ พียงใด ควรปรับปรุงอยางไร ซ่งึ จะทาํ ใหป ระชาชนเหน็ คุณคาของการทํากจิ กรรมเหลา น้ัน ๑.๓ การมีสวนรวมของประชาชนในการประชุมกลมุ ยอย การประชุมกลุม ยอ ยเปนการประชุมเพอ่ื ระดมความคิด สาํ หรบั การทาํ งานอยา งใดอยางหน่ึง โดยมีผเู ขา ประชุมประมาณ ๔-๑๒ คน องคป ระกอบของการประชมุ กลมุ ยอ ย ๑) กําหนดประเด็นการประชมุ ๒) ผเู ขา ประชมุ ประกอบดวย ประธาน เลขานุการ สมาชกิ กลมุ ๓) เลือกและกาํ หนดบทบาทผูเขา ประชมุ เพอื่ ทาํ หนา ทีต่ าง ๆ เชน ประธานท่ีทําหนาที่ ดาํ เนนิ การประชุม เลขานกุ ารทาํ หนาที่สรุปความคิดเห็นของท่ีประชุม จดบันทึกและรายงานการ ประชุม สมาชิกกลมุ ทาํ หนา ท่แี สดงความเหน็ ตามประเด็น ๔) สถานทก่ี าํ หนดตามความเหมาะสม ๑.๔ วธิ ีการประชุมกลุมยอย ๑) ประธานเปนผูทําหนาที่เปดประชุม แจงหัวขอการประชุมใหสมาชิกในที่ประชุม รับทราบ ๒) ผเู ขา รว มประชุมอาจชวยกันต้ังหัวขอยอ ยของประเด็น บางคร้ังหนวยงานเจาของ เรอื่ งท่จี ดั ประชุมอาจกาํ หนดประเด็นและหวั ขอ ยอ ยไวใหแ ลว ๓) ประธานเสนอประเด็นใหส มาชิกทีป่ ระชุมอภิปรายทีละประเด็น และสรุปประเด็น การพดู คุย ๔) สมาชกิ ทป่ี ระชมุ รวมกันแสดงความคดิ เห็น ๕) เลขานุการจดบันทึกสรุปความคิดเห็นของท่ีประชุม และจัดทํารายงานหลังจาก ประชมุ เสรจ็ ส้ินแลว ๑.๕ การมสี ว นรวมของสมาชิกในการประชมุ กลุมยอย ในการประชมุ กลุมยอ ยจําเปนตองอาศัยความคิดเห็นของสมาชิกทุกคน ดังน้ันเพ่ือให การจัดประชุมบรรลตุ ามเปา หมาย สมาชกิ ในที่ประชุมควรมสี ว นรว มดงั นี้

19 ๑) พดู แสดงความคิดเหน็ พรอ มเหตุผลทลี ะคน ๒) ในการพูดสนับสนุนความคิดเห็นของผูอื่น ควรแสดงความคิดเห็นและใชเหตุผล ประกอบ ๓) ผูเขารวมประชุมสามารถแสดงความคิดเห็น คัดคานความคิดเห็นของผูอื่นได แตควรใชเหตผุ ลและความเปนไปไดใ นการคัดคาน ๔) ควรใชคาํ พดู ทส่ี ภุ าพ เชน ขอโทษ ขอบคุณ ในโอกาสท่เี หมาะสม เรอื่ งท่ี ๒ ระดับการมสี วนรว มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน การมีสว นรวมของประชาชนในกระบวนการพัฒนาชุมชนทุกขั้นตอนของการพัฒนา ตง้ั แตการรว มคดิ รวมวางแผน รวมปฏิบัติ รว มกํากบั ตดิ ตาม รวมประเมินผล และรับผลประโยชน จากการพัฒนาหากการพัฒนาเปนไปตามกระบวนการดังกลาว ถือวาการพัฒนาน้ันเปนของ ประชาชนโดยแทจริง เพราะเปนส่ิงที่ชี้ใหเห็นถึงความพรอม ความต่ืนตัว ความรวมมือ ความ เขม แข็ง เปน ปกแผนของชุมชนซงึ่ เปน ตวั บงชขี้ องการพัฒนาแบบพ่ึงพาตนเอง ระดบั ของการมสี ว น รว มแบง ไดเ ปน ๓ ระดับดังน้ี คือ ๑) ระดับเปนผูรับประโยชนจากการพัฒนา เปนการเขามามีสว นเกี่ยวของ ดวยการ รับผลประโยชนเพียงอยา งเดียว ถอื เปน ระดับต่ําสดุ ของการมีสวนรวม หากชมุ ชนใดประชาชนสวน ใหญมีสวนรวมในระดับน้ี ยังจําเปนที่จะตองพัฒนาความรวมมือ ความเปนปกแผน ใหมีพลังเปน หน่งึ เดียว ยังไมถ อื วาเปน การพัฒนาโดยประชาชน ๒) ระดับเปนผูใหความรวมมือ ประชาชนเขามามีสวนเก่ียวของโดยคอยให ความ รว มมือกับเจาหนา ที่รัฐตามโอกาสและเวลาที่เจาหนา ทรี่ ัฐเปนผูก าํ หนด เปนการใหความรวมมือใน ระดับทด่ี ี แตย ังเปนระดบั ทป่ี ระชาชนยงั ไมไ ดเปนผตู ดั สนิ ใจ และลงมือปฏิบตั ิการเอง ๓) ระดับเปนผูตัดสินใจ ประชาชนจะเปนผูศึกษาสถานการณ และตัดสินใจท่ีจะ ดําเนินการพัฒนาเร่ืองตาง ๆ ตลอดกระบวนของการพัฒนาดวยตนเองนับต้ังแต การรวมมือ วางแผน การปฏิบตั ิ การประเมนิ และการแบง ปน ผลประโยชนรวมกัน เจาหนาที่รัฐเปนเพียงผูให คําปรึกษาหากประชาชนทมี่ สี ว นรว มในลกั ษณะนี้ ถอื วา เปน ระดับสูงสดุ ของการมสี วนรวม

20 บทที่ ๕ แนวทางการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม การสง เสริมใหป ระชาชนมสี วนรว มในการจดั ทาํ แผนพฒั นาชมุ ชนมหี ลายวธิ ี ไดแ ก การจดั เวทปี ระชาคม การประชุมกลมุ ยอย การสัมมนา การสาํ รวจประชามตแิ ละการประชาพจิ ารณ เรอ่ื งท่ี ๑ เทคนิคการมีสวนรว มในการจดั ทาํ แผน ๑.๑ การจัดเวทปี ระชาคม ๑.๑.๑. ขน้ั เตรยี มการ ๑) ศกึ ษา วเิ คราะห ขอ มูลที่เกีย่ วของกบั ชุมชน และท่ีเปน ประเดน็ รว มของ ชุมชน กําหนดประเดน็ เนอ้ื หา และวิธีการ ๒) จัดตั้งคณะทํางานประชาคม พรอมท้ังกําหนดบทบาทหนาท่ีของ คณะทํางาน ใหชัดเจน เชน ผูนําประชาคมทําหนาท่ีกระตุนใหป ระชาชนไดรวมคิดตามประเด็น สรางบรรยากาศ การมีสวนรวมผูชวยผูนําประชาคม ทําหนาท่ีเสนอประเด็นท่ีผูนําประชาคม เสนอไมค รบถว น หรือผดิ พลาด รวมท้งั บรรยากาศใหเกิดการต่ืนตัว เกิดการผอนคลาย ผูอํานวย ความสะดวก ทําหนาทใ่ี หบ ริการดานตา ง ๆ เปน ตน ๓) กําหนดจํานวนประชาชนกลุมตา ง ๆ ทเ่ี ปน ผมู สี ว นไดส วนเสยี ประมาณ ๓๐-๕๐ คน เชน กรรมการหมูบา น ผนู ํากลมุ อาชพี ผนู าํ ทอ งถนิ่ ผูนาํ ตามธรรมชาตแิ ละอาสาสมัคร เปนตน ๔) กําหนดระยะเวลาของการทําประชาคม โดยพิจารณาใหมีความ เหมาะสม ตามความพรอมของประชาชนและข้ึนอยูกับประเด็นการพูดคุย แตตองไมกระทบตอ เวลา การประกอบอาชีพของประชาชน ๕) เตรียมชุมชน สถานที่ วัสดุอุปกรณ สื่อการเรียนรูตาง ๆ ท่ีใชในการ ประชาคม และประสานงานกับทุกฝา ยท่เี กี่ยวของ

21 ๑.๑.๒.ขนั้ ดาํ เนินการ ๑) เตรียมความพรอ มของประชาชนทเ่ี ขา รว มประชาคม เชน สรา ง ความคนุ เคย การแนะนําตัว ละลายพฤตกิ รรม ใหทุกคนไดร จู กั กนั โดยทวั่ ถงึ กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค ขอบเขต กตกิ าในการทาํ ประชาคมใหชดั เจน ๒) แลกเปล่ยี นเรียนรซู ึ่งกันและกนั ทง้ั คณะทาํ งานและประชาชนรว มกัน สะทอ นความคดิ เหน็ ตอประเดน็ ๓) คนหาปจ จยั เกอื้ หนนุ หรอื “ทุน” ในชมุ ชน โดยรว มกันพจิ ารณาจุดเดน จุดดอย ขอ จาํ กดั และโอกาสของการพฒั นาชมุ ชน ระดมสมองคนหา ทรัพยากรตาง ๆ ที่มีอยใู น ชุมชน รวมท้งั ทุนทางสังคม ไดแ ก วฒั นธรรม ประเพณี ระบบเครอื ญาติ ความเออื้ อาทร ฯลฯ เพอ่ื ใชท นุ เหลานเ้ี ปนพลังขับเคลือ่ นกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน ๑.๑.๓.ขัน้ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาํ เนนิ การ ๑) คณะทํางานและประชาชนกลุม เปา หมายรวมกนั แสดงผลประเมนิ จุดเดน จดุ ดอย ขอบกพรอ ง และส่ิงทค่ี วรปรบั ปรุง สาํ หรับการทาํ ประชาคมครั้งตอไป รวบรวม ผลงานท่ีผานมา เพอ่ื เผยแพรแ ละประชาสมั พนั ธ ๒) ติดตามผลหลังการดาํ เนินงาน เม่อื จดั ประชาคมเสรจ็ สน้ิ แลว เชน คณะทาํ งานประชาชนกลุมเปา หมาย และผเู กี่ยวของทกุ ฝาย ตอ งประสานงานเพ่อื ใหเกิดการ สนับสนนุ การดําเนนิ งานตามมตขิ องประชาชนอยางตอเน่ือง ใหกาํ ลงั ใจ ชว ยเหลือกนั และกนั อยา ง จริงจงั ๑.๑.๔. วตั ถุประสงคข องการทําประชาคม ในการทาํ ประชาคมมีวตั ถปุ ระสงคท ่ีสําคัญหลายประการ (ณัฐนรี ศรีทอง, ๒๕๕๒, ๔๑๘-๔๑๙) ดงั น้ี ๑) เพือ่ สง เสริมใหป ระชาชนเกดิ การเรียนรูซ ง่ึ กนั และกันอยา งตอเนอ่ื ง โดยสามารถคดิ วเิ คราะหไดด ว ยตนเอง ๒) เพือ่ สง เสริมใหป ระชาชนไดวเิ คราะหปญหาของชมุ ชน และสามารถ กาํ หนด ทิศทางการทํางานดวยตนเอง

22 ๓) เพื่อสรา งจติ สาํ นกึ สาธารณะใหเ กดิ ขนึ้ ประชาชนในชมุ ชนรูจ ักทาํ งาน เพอ่ื สวนรวม และการพ่ึงพาตนเอง ๔) เพอื่ คนหาผูน าํ การเปลี่ยนแปลง (แกนนาํ ) ในชมุ ชน ๕) เพือ่ เปน การระดมพลังสมองในการคดิ แกป ญ หาทต่ี อบสนองตอ ความ ตอ งการทีแ่ ทจ รงิ ของประชาชน (ประเด็นรว ม) ๖) เพื่อใหประชาชน หนว ยงานตา ง ๆ ทงั้ ภาครฐั และเอกชน มสี วนรวมใน การตดั สนิ ใจ ลงมือปฏบิ ตั ิ และติดตามผล ประเมินผลการทํางานเชิงพฒั นารว มกัน ๗) เพื่อใหมีทางเลือกในการแกไขปญหารวมกนั ของประชาชน โดยเชื่อมโยง ประสบการณตา ง ๆ และพัฒนาการคดิ อยา งเปนระบบ ๘) เพอ่ื กอใหเกดิ เวทีสําหรับการปรกึ ษาหารอื พบปะ พดู คยุ แสดงความ คิดเห็น รว มกนั ของคนในชุมชน การจดั เวทีประชาคม ๑.๒. การประชมุ กลมุ ยอ ย การประชมุ กลุม ยอ ยเปนการประชุมเพือ่ ระดมความคดิ สาํ หรับการทาํ งานอยา งใด อยางหนงึ่ โดยมผี ูเ ขาประชุมประมาณ ๔-๑๒ คน องคประกอบของการประชมุ กลมุ ยอ ย ๑) กาํ หนดประเดน็ การประชมุ ๒) ผูเขาประชุมประกอบดวย ประธาน เลขานุการ สมาชิกกลมุ

23 ๓) เลือกและกําหนดบทบาทผเู ขา ประชมุ เพือ่ ทําหนา ท่ตี าง ๆ เชน ประธานทีท่ ํา หนาที่ดาํ เนินการประชุม เลขานุการทาํ หนา ทสี่ รปุ ความคดิ เหน็ ของทป่ี ระชมุ จดบนั ทึกและรายงาน การประชุม สมาชิกกลุม ทําหนาทแ่ี สดงความเหน็ ตามประเดน็ ๔) สถานท่ีกําหนดตามความเหมาะสม ๑.๒.๑.วธิ ีการประชมุ กลมุ ยอย ๑) ประธานเปนผทู าํ หนาท่ีเปดประชุม แจง หัวขอการประชมุ ใหส มาชิกในท่ีประชุม รบั ทราบ ๒) ผเู ขารว มประชมุ อาจชวยกันต้ังหวั ขอยอ ยของประเดน็ บางครั้งหนวยงาน เจาของ เร่อื งทีจ่ ดั ประชมุ อาจกําหนดประเดน็ และหวั ขอ ยอ ยไวใหแลว ๓) ประธานเสนอประเดน็ ใหสมาชกิ ทปี่ ระชมุ อภปิ รายทลี ะประเด็น และสรปุ ประเดน็ การพูดคยุ ๔) สมาชกิ ที่ประชมุ รว มกนั แสดงความคิดเหน็ ๕) เลขานุการจดบันทกึ สรปุ ความคิดเหน็ ของทป่ี ระชมุ และจดั ทาํ รายงานหลงั จาก ประชมุ เสรจ็ ส้ินแลว การประชุมกลุม ยอ ยในการประชุมกลมุ ยอยจําเปน ตอ งอาศัยความคดิ เห็นของสมาชกิ ทุกคน ดงั นั้นเพอ่ื ใหก ารจดั ประชมุ บรรลตุ ามเปาหมาย สมาชิกในทีป่ ระชมุ ควรมสี วนรว มดังนี้ ๑) พดู แสดงความคดิ เหน็ พรอ มเหตผุ ลทลี ะคน ๒) ในการพดู สนบั สนนุ ความคดิ เห็นของผูอนื่ ควรแสดงความคดิ เห็นและใชเ หตผุ ล ประกอบ ๓) ผเู ขา รว มประชุมสามารถแสดงความคดิ เหน็ คดั คา นความคดิ เห็นของผอู น่ื ได แตค วรใชเหตผุ ลและความเปน ไปไดในการคัดคาน ๔) ควรใชค าํ พดู ท่ีสุภาพ เชน ขอโทษ ขอบคุณ ในโอกาสทีเ่ หมาะสม

24 ประชุมกลุม ยอย ๑.๓ การสมั มนา การสมั มนา ความหมายถงึ การประชุมในเรื่องใดเรื่องหนงึ่ ที่กาํ หนดขนึ้ มา เพือ่ แลกเปลีย่ นความรคู วามคิดเห็น โดยขอ มูลตา ง ๆ จะถกู รวบรวมนาํ มาใชว เิ คราะหร วมกัน ซึ่งผลจาก การสมั มนาจะนาํ มาซึ่งขอ สรุปแนวทางในการแกไขปญ หา ปจ จุบันนี้ การเรียนการสอนในหลายสถาบันการศกึ ษามกี ารนาํ หลกั การสอนแบบวธิ ี สมั มนามาใช คอื ใหนักเรยี น นักศึกษา เปนผรู วบรวมหาขอมลู แลวมารวมกนั แลกเปล่ยี นขอ มลู รวมถึงทาํ การวิเคราะห ๑.๓.๑. องคป ระกอบของการสมั มนา ๑) หวั ขอ และเนื้อหา ที่จะสัมมนา ๒) วัตถุประสงคใ นการสมั มนา เชน แกไขปญหา ,แบงปนความรู ,ปรับเปล่ียน พฤตกิ รรม เปนตน ๓) รูปแบบการสมั มนา เชน การฟง ขอมลู จากวิทยากรผูเช่ียวชาญ แลวรวมกัน ทํางานกลมุ หรือการรว มกันระดมสมองคดิ ในกลุม เปน ตน ๔) ผูเขา รว มสัมมนา ขน้ึ อยกู ับรปู แบบการสัมมนา จะประกอบไปดว ย – วทิ ยากร หรือ ผเู ชี่ยวชาญในเรือ่ งท่ีจดั สัมมนา – ผคู วบคุมการสัมมนา หรือ พิธีกร – ผเู ขา รวมการสมั มนา ซ่งึ มที งั้ ผเู ขารบั ชมรบั ฟง หรือที่รวมแลกเปลีย่ น ความคดิ เห็น ทงั้ นข้ี น้ึ อยูกับรปู แบบการสัมมนา ๕) วนั เวลา และสถานที่จดั สมั มนา

25 ๑.๓.๒. ประโยชนของการสัมมนา ๑) เกดิ ความคดิ สรา งสรรคใ นกลมุ ผูเขารว มสัมมนา ๒) บทสรุปแนวทางแกป ญ หาจากการสมั มนา มาจากขอ มูลทห่ี ลากหลาย ๓) เกดิ ความผกู พนั สามคั คี ในการทํางานรว มกนั ๔) ผลจากการสมั มนา เม่ือนําไปปฏบิ ตั ิมแี นวโนมประสบความสาํ เรจ็ มากกวา วิธีการปฏิบตั ทิ ่ีเกิดการการตดั สนิ ใจตามลาํ พงั ของใครคนใดคนหน่ึง ๕) ฝก ใหเ กิดภาวะผูนาํ และการทาํ งานรว มกนั เปน กลมุ การสัมมนา ๑.๔ การสาํ รวจประชามติ การออกเสียงประชามติ หมายถงึ การนาํ มาใหส ัตยาบัน หรือการนํามาใหรับรองประเทศ ที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยถือวา อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศมาจากประชาชน เพ่อื ใหส มาชิกในสังคมอยูรวมกันเปนปกติสุข มติคนไทยในสังคมจึงถือเปนเรื่องสําคัญ ซ่ึงแตเดิม ประชาชนมจี าํ นวนมากจึงสามารถใชอํานาจออกเสียงตอกิจการบา นเมอื งไดโดยตรง การออกเสียงประชามติเปนรูปแบบหน่ึงของประชาธิปไตยโดยตรง โดยที่ใหประชาชน สามารถแสดงความคิดเห็นตัดสินใจในเรื่องสําคัญ การทําประชามติเปนเร่ืองสําคัญเกี่ยวกับ กฎหมายบา นเมอื ง เกยี่ วเนอ่ื งกบั การบรหิ ารประเทศ จึงเปนเรอื่ งทีเ่ ก่ียวของกบั การบรหิ ารประเทศ

26 ๑.๔.๑.หลักสาํ คญั ของการออกเสยี งประชามติ หลักสาํ คญั ของการออกเสยี งประชามติ มดี ังน้ี ๑) เรอ่ื งท่จี ดั ทําประชามตติ อ งมีความสาํ คัญ และเกยี่ วของกับผลประโยชนข อง ประเทศชาติและประชาชนโดยไมเกย่ี วขอ งกับตัวบคุ คล ๒) เปดโอกาสใหป ระชาชนที่มีสทิ ธิออกเสียงประชามติทุกคนไดแสดงความคิดเห็น อยา งเทา เทียมกัน ๓) ประชาสัมพนั ธข อ ความท่เี ปน ขอมลู ใหผูมสี ิทธอิ อกเสยี งสามารถตดั สนิ ใจไดว าจะ เห็นชอบหรือไมเหน็ ชอบอยางชดั เจน ๔) ใหประชาชนผูมีสทิ ธอิ อกเสียงไดอ อกเสยี งประชามติอยา งอิสระ ๕) ตอ งนาํ ผลการออกเสยี งประชามติไปดาํ เนินการเพ่ือเปนไปตามเจตนารมณของ ประชาชนผมู าออกเสยี ง ๑.๔.๒.ประเภทของการออกเสียงประชามติ การออกเสียงประชามติแบงออกเปน ๒ ประเภทใหญๆ ไดแก ๑) การออกเสียงประชามติแบบบังคับ เปนการออกเสียงประชามติท่ีเขียนบังคับไวตามกฎหมายวา กอนการดําเนินการ เรอื่ งใดๆ ตองจดั ใหมีการออกเสยี งประชามตเิ พอื่ ขอความเห็นชอบหรอื ไมเ หน็ ชอบจากประชาชน กอ น หากเสยี งขางมากใหความเห็นชอบจึงจะสามารถดําเนินการเร่อื งนนั้ ได ๒) การออกเสยี งประชามตแิ บบทางเลือก เปนการออกเสียงประชามตทิ ม่ี บี ญั ญัติเขยี นไววาในกรณีท่เี หน็ สมควร รัฐหรือ องคก รทมี่ อี ํานาจหนาที่ อาจจดั ใหมีการออกเสยี งประชามติเพื่อรบั ฟงความคดิ เหน็ ของประชาชน ในเร่อื งนนั้ ๆกอนท่ีจะดาํ เนนิ การหรืออาจเปดโอกาสใหป ระชาชนสามารถเขาชือ่ เพ่ือขอใหจ ดั ทํา ประชามติในเรอื่ งทีเ่ หน็ วา มคี วามสาํ คัญและกระทบตอ สทิ ธิเสรีภาพของประชาชน

27 การออกเสียงประชามติ ๑.๕ การประชาพิจารณ การประชาพจิ ารณ หมายถงึ การรับฟงความคดิ เหน็ ของประชาชนในเรอื่ งท่ี ผลกระทบของชวี ติ ประชาชนทกุ คน ประชาพิจารณน นั้ ควรจดั ใหไ ดรบั ความคดิ เห็นจากประชาชน ทุกหมูเหลาและทําในวงกวาง ๑.๕.๑.วตั ถปุ ระสงคของการทาํ ประชาพจิ ารณ การทําประชาพจิ ารณเ ปด โอกาสใหบ คุ คลผไู ดรับผลกระทบจากโครงการของรัฐได แสดงความคิดเห็นในสวนที่เกี่ยวของกับโครงการ การประชาพิจารณอาจเปนการประชุมหารือ อยางเปนทางการระหวางเจา หนาท่ีของรัฐและกลุมผูรับผลประโยชน วัตถุประสงคของการทํา ประชาพจิ ารณจงึ มดี ังนี้ ๑) เพื่อเปนการใหข อมลู ทถี่ กู ตอ งและเพยี งพอแกประชาชน ๒) เพ่อื ลดความขัดแยง ระหวางประชาชนกบั ภาครฐั ทเี่ กยี่ วกับการตดั สนิ ใจของรฐั ๓) เพ่อื ใหการตดั สนิ ใจของภาครฐั สอดคลองกับผลประโยชนทจ่ี ะไดร บั ท้ังตอตัว ประชาชนและผลประโยชนข องสวนรวม ๔) เพอื่ เปน ทางเลือกในการมสี วนรวมของประชาชนตอ การตัดสนิ ใจของรัฐ ๕) เพือ่ ใหรัฐสามารถจดั สรรทรัพยากรใหเ กดิ ประโยชนต อสวนรวมมากท่ีสดุ

28 ๑.๕.๒. วิธีการจัดประชาพจิ ารณ วธิ กี ารจดั ประชาพจิ ารณ มดี ังนี้ ๑) ประธานในการพจิ ารณาขา ราชการระดบั สูงเปน ผูดําเนนิ การพิจารณ โดยขา ราชการผูทําหนา ที่ประธานในการพจิ ารณามกั เปนนักกฎหมาย ๒) บุคคลเขา รว มในการพจิ ารณใ นการเชิญบคุ คลเขา รวมประชาพจิ ารณค วร พจิ ารณาวา มีกลุม ผลประโยชนใ ดทเ่ี กย่ี วขอ งและมคี วามสาํ คัญจึงเชญิ กลมุ นนั้ เขา รวมตอไป ๓) สถานทีจ่ ัดการพิจารณก ารจดั ประชาพจิ ารณมักใชส ถานทีท่ อ่ี ยูในเมอื งหลวง ของประเทศแตใ นบางคร้ังกอ็ าจจดั ประชาพจิ ารณใ นระดบั ภูมิภาคท่สี ําคญั ดว ยเชน กนั ๔) เวลาในการจัดการพจิ ารณเวลาในการจัดประชาพิจารณข ้ึนอยกู บั วตั ถุประสงค ของหนว ยงาน ๕) กระบวนการในการพจิ ารณก ารพจิ ารณท างเอกสารเปน กระบวนการพจิ ารณา ที่เหมาะสมกับความตอ งการของหนว ยงานและกลุมผลประโยชนและเหมาะสมกบั ประเดน็ ปญหา ๖) ขน้ั ตอนกอ นการทาํ ประชาพิจารณส ง่ิ สําคัญสําหรับการทําประชาพจิ ารณค อื การแตงตั้งคณะกรรมการเพ่ือทาํ งาน ความสาํ เรจ็ และการยอมรับของประชาชนขน้ึ อยกู ับการ ทาํ งานของคณะกรรมการ ๗) การปฏิบัติตามรายงานของคณะกรรมการประชาพิจารณคณะกรรมการ ประชาพิจารณ มีหนาที่จัดทําสรุป ผลการศึกษาการทําประชาพิจารณข้ันสุดทาย พรอม ขอเสนอแนะเพื่อรายงานตอ ผแู ตงตั้ง ๘) การปฏบิ ตั ติ ามรายงานสรุปผลการศกึ ษาหลังจากการทําประชาพิจารณ จะมี การสรุปสง รายงานใหร ฐั บาลและขอ มลู เหลานั้นจะไดร บั การเผยแพรต อ ประชาชนทนั ที

29 การทาํ ประชาพจิ ารณ เรอื่ งท่ี ๒ การจดั ทาํ แผนพฒั นาชุมชน ๒.๑ ทศิ ทางและนโยบาย แผนพฒั นาชมุ ชนจดั ทําขน้ึ เพือ่ ความเขม แข็งของชุมชนภายใตหลักการสาํ คัญ ดังนี้ ๑) ทาํ ในพ้นื ทใ่ี ดพนื้ ทห่ี น่ึงโดยมชี ุมชนเปนศนู ยกลางประชาชนในชุมชนนนั้ เปน เจา ของการพฒั นามงุ ใหเ ปน ไปตามความตองการของประชาชน ๒) บรู ณาการกระบวนการ บุคลากร แผนงาน งบประมาณของหนว ยงานสนบั สนนุ มุงสกู ารแกไ ขแบบองคร วม โดยมกี ลมุ เปา หมายชดั เจน ๓) รวมพลงั ทกุ ภาคสวนของสังคม สนบั สนนุ การบริหาร พฒั นารูปแบบใหม ๒.๒ กระบวนการการจดั ทาํ แผน การจดั ทาํ แผนพัฒนาชมุ ชนแตล ะชุมชนอาจมีขนั้ ตอนของการดาํ เนินการพัฒนาชมุ ชน แตกตา งกันไป ขน้ึ อยกู ับบริบทสิ่งแวดลอ มของชุมชนน้นั ๆ แตโดยท่วั ไปการจดั ทําแผนพัฒนา ชุมชน มีข้ันตอนตอ เนอ่ื งเปน กระบวนการตามลาํ ดบั ตั้งแตข ้นั การเตรยี มการและวางแผน ขน้ั การ จดั ทาํ แผนพฒั นา และขน้ั การนาํ แผนไปสกู ารปฏบิ ัติ ดังน้ี

30 ๒.๒.๑. ขัน้ การเตรียมการและการวางแผน เปนการเตรียมความพรอ มในดา นตา ง ๆ ดังน้ี ๑) การเตรียมหาบุคคลท่ีเก่ียวของ เชน คณะทํางาน คณะวิชาการ อาสาสมัคร ผนู ํา ฯลฯ ๒) การเตรียมการจดั เวทีสรางความตระหนักรวมในการเปนเจาของชุมชนรวมกัน เชน การรว มคดิ รวมวางแผน รวมปฏิบตั ิ ทกุ ขั้นตอน ๓) การศึกษาพัฒนาการของชุมชน โดยการศึกษา สํารวจ วิเคราะห สังเคราะห ขอ มลู ทกุ ๆ ดานของชมุ ชน เชน ดา นเศรษฐกิจ ดา นประเพณวี ัฒนธรรม ดานการเมืองการปกครอง เปน ตน ๔) การศึกษาดูงานชุมชนตนแบบ เพื่อเรียนรูจากประสบการณตรงจากชุมชน ตนแบบท่ปี ระสบความสําเรจ็ จะไดเ หน็ ตัวอยางการปฏบิ ัติจริงท่ีเปนรูปธรรม เพ่ือที่จะไดนําสิ่งท่ีดี ๆ ที่เปน ประโยชนมาประยุกตใ ชกับชุมชนตนเอง และชวยกนั คดิ วาชุมชนของตน ควรจะ วางแผน บรหิ ารจัดการที่จะนําไปสูก ารพฒั นาไดอ ยางไร ๒.๒.๒.ข้ันการจัดทําแผนพัฒนา ประกอบดว ยขนั้ ตอนยอย ๆ ดงั น้ี ๑) การรว มกันนาํ ขอ มลู ทไ่ี ดจ ากการเตรียมการมารว มกนั วเิ คราะหจ ุดแข็ง จดุ ออน โอกาสและอุปสรรคของชุมชน เพ่อื ประเมนิ ความสามารถ และประสบการณของชมุ ชนเพอ่ื นาํ ไปสู การกาํ หนดภาพอนาคตของชมุ ชนตามทค่ี าดหวัง (วิสยั ทศั น) ๒) การรว มกนั คน หา และกําหนดการเลือกที่เหมาะสมในการพัฒนา (ยทุ ธศาสตร) ๓) รว มกนั กาํ หนดแผนงาน โครงการ กจิ กรรม และเขียนเอกสารแผนงาน โครงการ และกจิ กรรมที่จะพฒั นาแกป ญ หาหรือปอ งกนั ปญหา ๔) นาํ แผนงาน โครงการ และกิจกรรม นําเสนอแลวพจิ ารณารวมกนั และใหข อ มลู เพ่มิ เตมิ เพอื่ ใหเห็นภาพรวมเพ่อื การประสานเชือ่ มโยง และเพอื่ การแบงงานกนั รับผดิ ชอบ ๕) เม่ือคณะทาํ งานทกุ ฝายเห็นชอบ จึงนาํ รา งแผนชมุ ชนไปทาํ การประชาพจิ ารณ แลกเปลีย่ นเรียนรใู นเวที เพื่อสรา งความเขา ใจกับสมาชกิ ของชุมชนทง้ั หมด เปนการรวมใจเปน หนึง่ เดียวทจี่ ะดาํ เนินการพัฒนารว มกันตามแผน

31 ๖) ปรับปรุง แกไ ข แผนใหถกู ตอ งเหมาะสมตามมติ ความคิดเหน็ ท่ีไดจ ากการ ประชาพจิ ารณ ๒.๒.๓.ขนั้ การนาํ แผนไปสกู ารปฏบิ ตั ิ และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน ประกอบดว ย ขน้ั ตอนยอย ๆ ดังน้ี ๑) จัดลาํ ดับความสาํ คญั ของแผนงานโครงการ ๒) วิเคราะหค วามเปนไปไดข องแตล ะโครงการ ๓) จดั ฝก อบรม เพ่มิ เตมิ ประสบการณค วามรูเ กยี่ วกับประเดน็ ทส่ี าํ คญั ท่กี าํ หนดไว ในแผน เพือ่ ขยายผลการเรยี นรูไ ปยงั คนในชุมชน ๔) จัดระบบภายใน เชื่อมโยงเครอื ขายทั้งภายในและภายนอกเพ่อื สรา งความ เขม แข็งใหก บั ชมุ ชน ๕) ดําเนนิ การปฏิบัตติ ามแผน ๖) ตดิ ตามความกาวหนา และประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านตามแผน รวมทง้ั ประเมินผลการดาํ เนินงานโครงการและกจิ กรรมท่อี ยใู นแผน เพือ่ ปรบั ปรุงแผนใหม ีความสมบูรณ ย่งิ ข้นึ ๒.๒.๔. การประเมนิ ผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ หลังจากทุกฝา ยไดร วมมือกนั ทํางานตามแผนชุมชนของตนเองแลวควรจัดประชมุ สรปุ ผลการดําเนินงานรว มมือกนั เมอื่ เสรจ็ ส้นิ โครงการ เพื่อเปน การสรปุ บทเรียนท้ังโครงการวา ไดผลลัพธต ามเปาหมายหรอื ไม นัน่ คอื คนในชมุ ชนมพี ัฒนาการและเกดิ การเปลยี่ นแปลงอยา งไร มสี ง่ิ ทดี่ ี ๆ อะไรเกดิ ขนึ้ บา งท่เี ปน ผลพวงของการพฒั นา มีปญ หาอปุ สรรคอยา งไร มวี ิธีการแกไขให บรรลผุ ลสาํ เรจ็ หรือไม อยา งไร ถา จะพัฒนาตอไปควรปรับปรุงขนั้ ตอนใด ฯลฯ ทั้งนเ้ี พ่อื รวบรวม ขอคดิ เห็นหลังการทํางานแลว ถอดและสรปุ เปน บทเรยี น เพอื่ เปน แนวทางในการทาํ กจิ กรรมหรือ โครงการพฒั นาอน่ื ตอไป

32 ๒.๓ การเขียนโครงการพฒั นาชุมชน ๒.๓.๑. ความหมายของโครงการ มผี ใู หความหมายของคําวา “โครงการ” ไวห ลายความหมาย ดงั นี้ ๑) โครงการ หมายถงึ กลุมกจิ กรรมท่ตี อบสนองวัตถุประสงค โดยมเี วลาเรมิ่ ตน และ สนิ้ สดุ ทช่ี ดั เจน (ศูนยเทคโนโลยที างการศกึ ษา. ๒๕๔๕ : ๓๗) ๒)โครงการ หมายถึง กลุมกิจกรรมที่มีความสัมพันธเก่ียวของกัน มุงตอบสนอง เปาหมายเดียวกัน มีระยะเวลาเร่ิมตน และส้ินสุดท่ีชัดเจน เปนงานพิเศษท่ีตางจากงานประจํา (ทวีป ศิรริ ัศมี. ๒๕๔๔ : ๓๑) ๓) โครงการ หมายถึง กิจกรรมท่ีจัดทําข้ึน เพ่ือจะแสดงใหเห็นวาจะทํางานอะไร อยางไร ทไ่ี หน เม่อื ไร และจะเกดิ ผลอยา งไร (กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. ๒๕๓๗ : ๗) สรุปความหมายของโครงการ หมายถึง กลุมกิจกรรมอยางใดอยางหน่ึงท่ีจัดทําขึ้น โดยมี วัตถปุ ระสงคก ารปฏบิ ัติ และชว งเวลาทชี่ ัดเจน ๒.๓.๒. ลกั ษณะของโครงการ โครงการทดี่ ีโดยท่ัวไปตองมลี กั ษณะท่ีสําคญั ดังนี้ ๑) นําไปปฏบิ ัติได ๒) สอดคลองกับสภาพสงั คม วัฒนธรรม ชมุ ชน ๓) มีรายละเอียดเพียงพอ ระบชุ ว งเวลา กลุมเปา หมายแนวทางการปฏบิ ตั ิ ทรพั ยากร (บคุ ลากร งบประมาณ ฯลฯ) ๔) มตี วั บงชท้ี ่นี าํ ไปสกู ารพฒั นา ๒.๓.๓ . วธิ ีพฒั นาโครงการ โครงการเปน กรอบการคดิ วางแผนเคา โครงการทาํ งานในอนาคต การพฒั นา โครงการ มีขน้ั ตอนพอสรุปไดด งั นี้ ๑) ศึกษาและวเิ คราะหสภาพปจ จุบันของชมุ ชนเพ่ือกาํ หนดปญ หาและ ความ ตอ งการในการพฒั นา ๒) กาํ หนดวตั ถปุ ระสงคและเปาหมายของการทํางาน ๓) กาํ หนดกจิ กรรมและจดั ทํารายละเอียดตามองคป ระกอบของโครงการ

33 ๔) กําหนดทรพั ยากร เชน งบประมาณ บคุ ลากร ๕) กําหนดการตดิ ตาม/ประเมินผล ๒.๔. โครงสรา ง/องคป ระกอบของโครงการ โดยทวั่ ไปการเขยี นโครงการจะตองเขียนตามหัวขอ ตา งๆ เพอื่ ผเู ก่ยี วขอ งทกุ ฝา ย จะไดทราบวาจะทําอะไร อยา งไร ที่ไหน เมอ่ื ไร สําหรบั โครงสรา งหรือองคป ระกอบท่ีมักใชใน การเขียนโครงการ มีดังน้ี ๑) ชือ่ โครงการ ควรเขียนเปนขอ ความที่มีความหมายชัดเจน กระชบั และเขาใจงาย ๒) หลกั การและเหตผุ ล ควรเขยี นลักษณะบรรยายรายละเอยี ดตั้งแต สภาพความ เปนมา เหตผุ ลความจาํ เปน หลกั การมีทฤษฎี นโยบาย สถติ ิทเ่ี ปน ขอ มูลอา งอิงประกอบ ๓) วตั ถปุ ระสงค เปนขอความทแ่ี สดงถึงความตองการทําส่งิ หน่ึงสิ่งใดท่ี สอดคลอง กบั หลักการเหตผุ ล สามารถปฏิบตั ิได อาจระบุปรมิ าณหรือคุณภาพของการดาํ เนินงานดว ย ก็ได ๔) เปาหมายการดําเนนิ งาน เปนรายละเอยี ดทแ่ี สดงผลผลิตของโครงการ ในเชิง ปรมิ าณ และคุณภาพทีม่ ีลกั ษณะเหมาะสมและสอดคลอ งกับวตั ถปุ ระสงค ๕) วธิ ดี ําเนินงาน เปน รายละเอยี ดเกยี่ วกบั กจิ กรรมทจี่ ะปฏิบัตใิ หบ รรลตุ าม วัตถุประสงค กิจกรรมอาจมีมากกวา ๑ กิจกรรม โดยเขียนเรยี งตามลาํ ดับ จากการเร่มิ ตน จนส้นิ สดุ การทาํ งาน แสดงระยะเวลาที่ชดั เจนแตล ะกจิ กรรม อาจแสดงดวยปฏิทนิ การปฏิบัตงิ าน ๖) ระยะเวลา ควรระบรุ ะยะเวลาตง้ั แตเรมิ่ ตน โครงการจนเสรจ็ สนิ้ โครงการ ๗) ทรัพยากรหรอื งบประมาณท่ใี ชในการดาํ เนนิ การ ซงึ่ ตองสอดคลองกบั เปาหมาย และกจิ กรรม ๘) เครือขา ยทเ่ี กีย่ วขอ ง ระบุ กลุมบุคคล ชุมชน หนวยงานทีเ่ กี่ยวขอ งที่สนับสนนุ สง เสรมิ และสามารถขอประสานความรว มมือในการดาํ เนินงาน ๙) การประเมินผล ระบวุ ิธีการประเมินเปน ระยะตลอดการดําเนนิ งาน เชน กอนโครงการ ระหวา ง สิ้นสดุ โครงการ เพอ่ื จะไดท ราบวา งานท่จี ะทําเปนไปตามวตั ถุประสงค และ เปา หมายหรือไม คุณภาพของงานเปนอยา งไร ๑๐) ผรู ับผดิ ชอบโครงการ ระบุ ชือ่ ผรู ับผดิ ชอบ หรือหนว ยงาน พรอ มหมายเลข โทรศพั ท เพอื่ ความชดั เจนและสะดวกในการตดิ ตอ

34 ๑๑) ความสมั พันธก ับโครงการอ่ืน ระบชุ ่อื งาน หรือโครงการ ท่เี กย่ี วของของ หนว ยงาน หรือชุมชนวา มโี ครงการใดบางที่สัมพนั ธกบั โครงการนี้ และเกีย่ วของในลกั ษณะใด เพื่อความรวมมือในการทาํ งาน ๑๒) ผลทค่ี าดวา จะไดร บั เปน ผลท่เี กิดผลจากการทโี่ ครงการบรรลวุ ัตถุประสงค และเปาหมายโดยระบถุ ึงผลทจ่ี ะไดร ับภายหลังการดาํ เนนิ โครงการ ผลดังกลา วควรสอดคลอ งกบั วัตถุประสงคข องโครงการ เรอื่ งท่ี ๓ การเผยแพรสกู ารปฏบิ ตั ิ ๓.๑ การเขียนรายงาน รายงาน คือ เอกสารที่เสนอรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลพื้นฐาน เปาหมาย ผลการ ดําเนินงาน ปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข และขอเสนอแนะในการดําเนินงานของบุคคล กลุม องคกร หรอื หนวยงาน รายงานมีความสําคัญ เพราะเปนเอกสารที่แสดงใหเห็น รายละเอียดของผลการ ดําเนนิ งานทีผ่ านมาวาประสบผลสําเร็จ ไมสําเร็จอยางไร เพราะอะไร มีอุปสรรค ปญหาในการ ดําเนนิ งานดานใด อยา งไร จะมีแนวทางแกไขอยางไร หากจะพัฒนา ตอเนื่องจะมีขอเสนอแนะที่ เปนไปไดอยางไร ๓.๑.๑. การเขียนรายงานผลการดาํ เนนิ งาน การเขียนรายงานผลการดําเนินงานเปนวิธีการนําเสนอผล จากการดําเนินงาน โครงการใดโครงการหนึง่ อยา งมรี ะบบและเปน แบบแผน เพอ่ื ส่ือสารใหผเู กี่ยวของไดรบั ทราบ การเขียนรายงานใหมปี ระโยชนและคณุ ภาพตอผอู า นหรือผูเ ก่ยี วของ ผูเ ขียนรายงานตอ งศึกษา ทําความเขาใจตั้งแตวิธีการเขียน การใชภาษาที่เหมาะสม การรูจักนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับ รายละเอียด และข้ันตอนของการดําเนินงานต้ังแตแรกเร่ิมจนจบ เรียงลําดับต้ังแตความเปนมา วัตถุประสงค วธิ ีดําเนนิ งาน ปญ หาอุปสรรค พรอมขอเสนอแนะ ฯลฯ เพ่ือส่ือสารใหผูอานเขาใจ ตามลาํ ดับ และจดั พมิ พเปน รายงานฉบบั สมบูรณท่ีนา เช่ือถือ สามารถนาํ ไปใชอ า งอิงได

35 ๓.๑.๒. ข้ันตอนการเตรียมการเขยี นรายงาน การเขยี นรายงานท่ีดีมีคุณภาพ ตองมีการวางแผนและเตรียมการอยางเปนลําดับ ขน้ั ตอน ดังน้ี ขั้นท่ีหนึ่ง เตรียมขอมูลที่เกี่ยวของท้ังที่เปนเน้ือหา และสวนประกอบ เชน วัตถปุ ระสงคแ ละขอบขายเนือ้ หา รายละเอียดเนื้อหาท่ีครบถวน ซง่ึ ตองใชเวลาในการรวบรวม ขน้ั ที่สอง กําหนดประเภทของผอู านรายงาน ผเู ขียนจะตองทราบวา รายงาน ท่ีจัดทําขึ้นมีใครบางที่จะเปนผูอาน เพื่อจะไดนําเสนอรายงานดวยรายละเอียด เลือกภาษา ทเ่ี หมาะสมสอดคลอ งกบั ระดบั ของผอู า น ข้ันที่สาม กําหนดเคาโครงเรื่อง หรือกรอบของการเขียนรายงานเปนการ กาํ หนดหวั ขอหลักและหวั ขอยอ ยนัน่ เอง หัวขอของเคาโครงเรื่องควรครอบคลุมประเด็นท่ีตองการ นาํ เสนอ เพื่อชวยใหง ายและสะดวกตอ การเขียน สามารถเรียงลําดับเน้ือหาหรือผลการดําเนินงาน ตงั้ แตเรม่ิ ตน จนจบ ๓.๑.๓. หลกั การวางเคา โครงเร่ืองในการเขียนรายงาน ๑) ควรจัดเรียงลาํ ดบั หวั ขอเร่อื งอยางตอเน่อื ง และสมั พนั ธกนั ๒) การจดั เรยี งหวั ขอ ควรเชื่อมโยงกนั อยางเปนเหตุเปน ผล ๓) ควรคาํ นงึ ถงึ ความสนใจของผอู าน ๔) หวั ขอ แตล ะหัวขอควรครอบคลุมรายละเอยี ดทตี่ อ งการนาํ เสนอ ๓.๑.๔. หลักและขอควรคาํ นงึ ในการเขียนรายงาน การเขียนรายงานทกุ ประเภทใหม คี ุณภาพสามารถนําเสนอและสื่อสารได ตรง ประเดน็ ตามทต่ี องการ ผเู ขยี นควรคาํ นึงถงึ ส่ิงตอ ไปน้ี ๑) ความถูกตอ ง ควรนําเสนอขอมูล รายละเอยี ดเนือ้ หาที่ถูกตอง ไมบดิ เบือน ความจริง นําเสนออยางตรงไปตรงมา ๒) ความกระชับ รัดกุม ตรงประเด็น ตรวจทานอยางละเอียดถี่ถวน หลีกเลี่ยง ถอ ยคาํ ท่ีฟุมเฟอย วลที ่ซี า้ํ ๆ กัน คณุ คาของรายงานไมไ ดว ดั ท่ปี รมิ าณจํานวน หนา แตวัดจากความ ชัดเจน ครบถวน ความตรงประเดน็ ของเน้ือหา

36 ๓) ความชัดเจนและสละสลวย โดยพิจารณาประโยคท่ีงาย ถูกตองตามหลักการ เขยี น หลักไวยากรณ และเครอื่ งหมายวรรคตอน การยอหนา รวมทงั้ การสะกดคํา หลกี เลี่ยงการใช ภาษาถอยคําทีค่ ลมุ เครอื มีหลายความหมาย ควรใชหวั ขอ ยอยเพอ่ื ไมใหสับสน ๔) การเขียนเรียบเรียงรายงาน ซึ่งอาจแบงเน้ือหาจากภายในเลมเปนตอน หรือ เปนบท ตองมีความตอเน่ืองกันตลอดทั้งเลม เม่ือเขียนตนรางเสร็จ ควรไดอานตรวจทานทุก ขอความ อานแลว ไมรสู กึ สะดุดมคี วามตอ เนอื่ ง อยา งสมํ่าเสมอตลอดท้งั เลม ๕) การนําเสนอขอ มลู ในการเขยี นรายงาน มีขอ มูลทน่ี าํ เสนอแบงเปนสอง ประเภท คอื ขอมูลท่ีเปนจาํ นวน สถติ ิ ตัวเลข และขอ มูลทเี่ ปนขอความ บรรยาย สาํ หรับการนําเสนอขอมูล ที่เปนสถิติ ตัวเลข ควรนําเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพตามความเหมาะสม พรอมทัง้ มเี ลขที่และช่ือกํากับตารางหรือแผนภูมิดวย เพื่อผูอานจะไดทราบวาเปนขอมูลเกี่ยวกับ เรือ่ งใด นอกจากนต้ี อ งระบุทมี่ าของขอมลู ใหช ัดเจนอีกดวย สวนขอมูลที่เปนขอความบรรยายตอง นําเสนอขอมูลท่ีเปนสาระสําคัญ หากขอมูลใดที่สําคัญแตเนื้อหาไมตอเนื่องกับกรอบเคาโครงที่ กาํ หนดไว ควรนาํ ไปไวใ นภาคผนวก ท้ังนเ้ี พื่อใหไดรายงานที่เปนเอกภาพ ผอู านอานแลวสามารถ จับประเด็นท่ีนําเสนอไดชัดเจน การนําเสนอขอมูล ตองคํานึงถึงลําดับกอนหลัง โดยเริ่มตนดวย ขอมลู เบอื้ งตน ที่งา ยแกการเขา ใจกอ น แลวจึงนาํ เสนอขอมูลทีซ่ บั ซอ นกวาตามลําดบั ๖) การแบง ยอ หนา โดยท่วั ไปยอหนา แตล ะยอ หนา จะบอกเรอื่ งราวเพยี งประเด็นใด ประเดน็ หน่งึ การจัดแบง ยอหนา ควรเรยี งลาํ ดับ เพ่ือใหเน้ือความตอเน่ืองสัมพันธกัน การแบงยอ หนา ขึน้ อยกู บั จดุ มงุ หมายของผูเขยี นแตละคน เชน ตองการสื่อสารกบั ผูอ าน ตองการเนนขอความ บางตอน ตอ งการชว ยใหผ ูอ านอานขอความแตล ะยอหนาไดร วดเร็ว เปน ตน ๗) การอานทบทวนซึ่งเปนข้ันสุดทายของการเขียน คือ อานทบทวนสิ่งที่เขียน ท้ังหมดวามีขอความใดที่ยังไมสมบูรณ การเรียงลําดับเรื่องมีความเช่ืองโยงกันหรือไม ขอความ สาํ คัญท่ียังไมไดกลาวถงึ จะทําใหมองเห็นจุดทีค่ วรแกไ ข ๓.๑.๕ รูปแบบรายงาน รปู แบบของรายงาน จะประกอบดว ยสว นทสี่ าํ คัญ ๓ สว น คอื สว นประกอบ ตอนตน สว นเนือ้ เรอ่ื ง และสว นประกอบตอนทาย รายงานแตล ะสวนประกอบ ดว ยสว นยอ ย ๆ ดังน้ี

37 ๑). สว นประกอบตอนตน ประกอบดว ย ๑.๑) ปกนอก ระบชุ อื่ เรือ่ ง ช่ือผูทํารายงาน ช่ือหนว ยงาน ๑.๒) ใบรองปก เปนกระดาษเปลา ๑ แผน ๑.๓) ปกใน มีขอความเชนเดยี วกับปกนอก ๑.๔) คํานาํ เปน ขอความเกรนิ่ ทั่วไปเพ่อื ใหผอู านเขา ใจขอบขา ยเน้ือหาของ รายงาน อาจกลา วถงึ ความเปน มาของการสาํ รวจ และรวบรวมขอ มลู และขอบคณุ ผูใหความ ชว ยเหลอื ๑.๕) สารบญั เปนการเรยี งลําดับหวั ขอ ของเน้ือเรอ่ื งพรอมท้ังบอกเลขหนา ของหัวขอเรอื่ ง ๒). สว นเน้ือเร่ือง ประกอบดวย ๒.๑) บทนาํ เปนสว นทบี่ อกเหตผุ ลและความมงุ หมายของการทาํ รายงาน ขอบขายของเรอื่ ง วธิ กี ารดําเนนิ การโดยยอ การศกึ ษาคนควาหาขอ มูล ๒.๒) เน้ือหา ถาเปน เรือ่ งยาว ควรแบง ออกเปน บท ๆ ถา เปนรายงานสน้ั ๆ ไมต องแบงเปนบท แบง เปน หวั ขอตอ เนอื่ งกนั ไป ๒.๓) สรุป เปนตอนสรปุ ผลการศึกษาคน ควา และเสนอแนะประเดน็ ท่คี วร ศึกษาคน ควาเพม่ิ เติมตอไป ๓). สว นประกอบตอนทา ย ประกอบดว ย ๓.๑) ภาคผนวก เปน ขอมลู ที่มิใชเนอื้ หาโดยตรง เชน ขอความ ภาพ สถติ ิ ตาราง ชว ยเสริมรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ แกเนื้อหา ๓.๒) บรรณานกุ รม คอื รายชือ่ หนังสือ เอกสารหรือแหลงขอมลู อน่ื ๆ ที่ใช ประกอบในการเขยี นรายงาน โดยเรยี งลําดบั ตามพยญั ชนะตัวแรกของชอื่ ผแู ตงหรือแหลง ขอ มลู ชอ่ื หนงั สอื ครงั้ ทพ่ี ิมพ จงั หวดั หรือเมืองที่พิมพ สาํ นักพิมพ และปที่พมิ พ ถา ขอมลู ทั้งภาษาไทยและ ภาษาตา งประเทศ ใหข น้ึ ตน ดว ยขอมลู ที่เปน ภาษาไทยกอ น

38 ๓.๒ การเขียนโครงงาน โครงงานเปน งานวจิ ัยเล็กๆ ริเร่มิ จดั ทําเพ่ือการแกปญหา หรอื ตอบขอสงสยั ทีเ่ กดิ ขน้ึ การจัดทาํ โครงงานถกู นาํ มาใชเปนกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่เี นน ผูเรียนเปน สาํ คัญ ซึ่งทาํ ให ผเู รยี นสามารถสรา งความรดู ว ยตนเอง ๓.๒.๑. กระบวนการจดั ทาํ โครงงาน การทาํ โครงงานประกอบดว ยกระบวนการดังน้ี ๑) กําหนดปญ หาและหวั ขอ เรอ่ื ง เปน กระบวนการแรกซง่ึ ผจู ดั ทําโครงงานจะตอ ง พิจารณาวาขณะน้ีกําลงั ประสบปญหาเรอ่ื งใด หรือตอ งการจะศกึ ษาเรอ่ื งใด เชน เม่ือพบวาผลไม ในสวนสกุ และงอมพรอมๆ กนั ชาวบานนาํ ไปบริโภคไมท นั ตองปลอ ยใหเ นา เสียโดยเปลา ประโยชน จงึ คดิ หาวธิ ีการที่จะเกบ็ ถนอมผลไมเ หลา นนั้ ใหอ ยไู ดน าน ๒) ตัง้ สมมติฐาน หรอื คาํ ตอบชวั่ คราว เปนการคดิ วธิ กี ารหรอื แนวทางทคี่ าดวา จะ สามารถแกป ญ หาทเ่ี กดิ ข้ึนได ซึ่งหลงั จากเสร็จสิน้ การทาํ โครงงานแลว จะตอ งนํามาเปรยี บเทยี บกนั วาสมมตฐิ านทต่ี ัง้ ไวกับผลทเี่ กดิ ขนึ้ เปนไปในแนวทางเดยี วกนั หรือไม ๓) ออกแบบการศกึ ษาคนควา ทดลอง เปน การคดิ หาวิธกี าร อาจเปน การทดลอง การคนควา ขอ มลู ซึง่ การทดลองหรอื การคน ควา ขอมลู ทไี่ ด อาจใชเปน วธิ กี ารท่ีสามารถนาํ มา แกไขทีเ่ กิดขน้ึ ได ๔) ลงมอื ปฏบิ ตั ิ เปน การนาํ เสนอขอ มลู ทีไ่ ดศกึ ษาคน ควา หรอื วธิ กี ารที่คาดวาจะ สามารถแกป ญ หาทเ่ี กิดขนึ้ ได มาทดลองใชพสิ ูจนว า ขอ มลู หรือวธิ กี ารเหลา นนั้ แกป ญ หาได ตรงตาม สมมุตฐิ านทต่ี ้งั ไวหรอื ไม ๕) สรุปผล เปน การสรปุ ผลการทดลองหรือผลการปฏบิ ตั วิ าเปน อยางไร ๖) นําเสนอผลงาน การนาํ เสนอผลงานตามโครงงาน สามารถทําไดหลายรูปแบบ ซึง่ การนําเสนอทมี่ ีประสิทธภิ าพ อาจใชสื่อแบบตางๆ ประกอบการนาํ เสนอดวย

39 บทที่ ๖ การพฒั นาอาชพี ในชมุ ชนและสงั คม เร่ืองท่ี ๑ อาเซยี นกบั การพฒั นาอาชพี การขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอาเซียนใหมีความเจริญกาวหนา และแขง ขันไดใ นระดับสากล โดยเฉพาะอยา งยิ่งความเคลื่อนไหวและเปล่ียนแปลงซ่ึงเกิดข้ึนอยาง รวดเร็วและตอเน่ืองใน หลายดานท่ีสงผลใหโลกเขาสูยุคโลกาภิวัตนอันเปนยุคของสังคม ฐานความรู กลไกความรวมมอื ดา นการศึกษาจึงเปน สงิ่ จาํ เปน พน้ื ฐานในการสรา งอาเซยี นสกู ารเปน ประชาคมท่มี คี วามมั่นคงทง้ั ทางดา นเศรษฐกิจ การเมืองและสงั คม โดยเฉพาะการพัฒนาศักยภาพ มนษุ ยเพ่ือสรา งอนาคตทรี่ งุ เรอื งของอาเซยี น การพัฒนามาตรฐานอาชีพท่ีเนนศักยภาพในอาเซียนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริม ทรัพยากรมนุษยใหมีศักยภาพในระดับภูมิภาคและระดับโลก พรอมทั้งสามารถสนองตอบความ ตองการของภาคอุตสาหกรรม ความรวมมอื ของอาเซียนดานการศกึ ษาเปนสว นหนงึ่ ของการจดั ต้งั ประชาคมอาเซียนซง่ึ มี เปาหมายท่ีจะยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนาภูมิภาคอยางยั่งยืนโดยมี ประชาชนเปนศนู ยกลางสาํ หรบั ประเทศไทยประโยชนท่ีจะไดรับในกรอบความรวมมือกับอาเซียน ไดแก ความชว ยเหลือดานวชิ าการ และเทคนิคภายใตโ ครงการตา ง ๆ รวมทง้ั การกําหนดนโยบายท่ี อาศยั การผลกั ดันรว มกนั ภายใตกรอบอาเซียน นอกจากนี้ยังเปนโอกาสในการเสริมสรางศักยภาพ ของประเทศ และโอกาสทจี่ ะมีสทิ ธ์มิ ีเสียงในการผลักดันนโยบายของประเทศสเู วทีระดับนานาชาติ ตลอดจนโอกาสในการรกั ษาผลประโยชนของประเทศไทยในเวทโี ลก ความรว มมือระหวา งประเทศ ไทยดา นการศึกษาเปนไปในทศิ ทางที่สอดคลอ งกบั แนวทางการปฏิรปู การศกึ ษาของประเทศสมาชกิ อาเซียน โดยเฉพาะอยางย่งิ การขยายโอกาสทางการศึกษา การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา การนํา โครงสรา งพน้ื ฐานส่งิ อํานวยความสะดวกและเทคโนโลยีการส่ือสารเขามารองรับการขยายโอกาส และการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษาในเชิงคุณภาพ เพื่อ สรางประชาคมอาเซียนใหเปนดินแดนแหงความสงบสุข สันติภาพและมีความเจริญรุงเรืองทาง เศรษฐกิจอยา งยง่ั ยนื

40 เร่อื งท่ี ๒ จุดเดน ประเทศไทย ในการผลักดนั เศรษฐกิจสรา งสรรค การแบงอุตสาหกรรมสรา งสรรคข องประเทศไทยนั้น คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแหงชาตแิ บงออกเปน ๔ กลุม ๑๕ สาขา คือ ๑) กลุมวัฒนธรรมและประวตั ิศาสตร เชน งานฝม อื การทอ งเทีย่ วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรม และประวตั ศิ าสตร ธุรกจิ อาหารไทยและการแพทยแ ผนไทย ๒) กลุม ศิลปะ เชน ศลิ ปะการแสดง ทัศนศลิ ป ๓) กลมุ สอ่ื เชน ภาพยนตร สงิ่ พิมพ กระจายเสียง เพลง ๔) กลมุ งานสรา งสรรคเพ่ือประโยชนใชสอย เชน การออกแบบ แฟชน่ั ตา ง ๆ อาทิ เสอื้ ผา กระเปา รองเทา เครอื่ งประดับ สถาปต ยกรรม โฆษณา และซอฟแวรต าง ๆ ๒.๑ การนาํ จุดเดนของประเทศไทย มาใชผ ลักดนั เศรษฐกิจสรา งสรรค ชาวตางชาติช่ืนชมเมืองไทยวามีความโดดเดนดานความสามารถสรางสรรค นอกจาก อาหารไทยเปนอาหารอรอยและเปน อาหารเพ่อื สขุ ภาพดา นวัฒนธรรม เชน ดนตรี ศาสนา แฟช่ัน ศิลปะการตอสู (มวยไทย) วิถีการดําเนินชีวิต (แบบไทยพุทธ) กีฬา การละเลนตาง ๆ และชาง ไทย และท่ีสาํ คัญอีกประการหน่งึ คือ เมอื งไทยมีจุดเดนทีเ่ หน็ ไดชัดเจนกค็ อื เรอ่ื ง \"จิตสาํ นึกในการ ใหบริการ\" ในการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรในสาขาบรกิ าร เชน ๑) การโรงแรม ๒) การแพทย พยาบาล และผูชวยในโรงพยาบาล ทั้งการแพทยตะวันตกและ ตะวนั ออก (โดยเฉพาะแพทยแ ผนไทย) งานในสวนของทนั ตกรรม และศัลยกรรมความงาม ๓) อาหารและบริการดานอาหาร ทใี่ ชค วามคิดสรางสรรคมาประดิษฐหรือพัฒนา อาหารไทยใหทันสมัย ประยุกต ปรับปรุงใหดีย่ิงขึ้น มีเมนูนาสนใจ ในสวนของรานอาหารตอง สงเสริมยกระดับใหเปนมาตรฐานสากล คือ การบริหารจัดการรานอาหารเพื่อใหสามารถอยูได อยางย่ังยืน มีการจัดการท่ีเปนระบบ พนักงานเสิรฟไดรับการอบรมใหสามารถใหบริการไดใน ระดบั มาตรฐานสากล เปนตน

41 ๒.๒ จุดเดนของผลิตภัณฑผ าในงานหัตถกรรมพ้ืนบาน ผาในงานหัตถกรรมพื้นบาน โดยทั่วไปมีอยูสองลักษณะ คือ ผาพื้นและผาลาย ผาพื้นไดแก ผาท่ีทอเปนสีพ้ืนธรรมดาไมมี ลวดลาย ใชสีตามความนิยม ในสมัยโบราณสีที่นิยมทอ คือ สีน้ําเงิน สีกรมทา และสีเทา สวนผาลายนั้นเปนผาท่ีมีการประดิษฐลวดลายหรือดอกดวงเพ่ิมข้ึนเพ่ือความงดงาม มีชื่อเรียก เฉพาะตามวิธี เชน ถาใชท อ (เปนลายหรือดอก) เรียกวา ผายก ถาทอดว ยเสน ดายคนละสีกับสีพ้ืน เปนลายขวาง และตาหมากรุก เรยี กวา ลายตาโถง ถาใชเขยี นหรือพิมพจากแทงแมพิมพโดยใชมือ กด เรียกวาผา พมิ พ หรือผาลาย ซ่ึงเปนผาพมิ พลาย ทค่ี นไทยเขยี นลวดลายเปนตัวอยางสงไปพิมพ ท่ีตางประเทศ เชน อินเดียผาเขียนลายสวนมากเขียนลายทอง แตเดิมชาวบานรูจักทอแตผาพ้ืน (คอื ผา ทอพ้ืนเรียบไมยกดอกและมีลวดลาย) สวนผาลาย (หรือผายก) น้ัน เพิ่งมารูจักทําขึ้นใน สมัยรัตนโกสินทรตอนตน หรอื สมัยอยธุ ยาตอนปลาย การทอผาน้มี อี ยูในทุกภาคของประเทศ หลักการและวิธีการน้ันคลายคลึงกันทัง้ หมด แตอาจมีขอ ปลีกยอยแตกตางกนั บา ง การทอจะทาํ ดวยมือโดยตลอดใชเครื่องมือเครื่องใชแบบงาย ๆ ซึ่งตอ งอาศัย ความชํานาญและความประณีต การทอผาท่ีชาวบานทํากันนั้นตองอาศัยความจําและความชํานาญเปนหลัก เพราะไมมี เขยี นบอกไวเปน ตาํ รา นอกจากนีย้ งั พยายามรกั ษารปู แบบและวธิ ีการเอาไวอยา งเครง ครัด จึงนบั วา เปนการอนรุ ักษศลิ ปกรรมแขนงน้ไี วอีกดวย ๒.๓ สถานท่ีทอ งเท่ียว จุดเดนที่นาสนใจ อาณาเขตพื้นท่ีของปาสงวนแหงชาติ ปาเขา พระวิหาร ปาฝงซายลําโดมใหญ ทองที่อําเภอกันทรลักษ จังหวัดศรีสะเกษ และอําเภอน้ํายืน จังหวัดอุบลราชธานี สภาพธรรมชาตทิ มี่ ีทัศนยี ภาพสวยงามเดน ชดั เฉพาะตวั อยหู ลายแหง มีสภาพ ปาไมท อี่ ุดมสมบรู ณ เปนแหลง ของแรธ าตหุ ลายชนดิ ตลอดจนโบราณสถานสําคัญ ๆ อีกหลายจุด ทส่ี ามารถจดั ใหเ ปน แหลงนันทนาการควรคาแกการศึกษาหาความรู และพักผอนหยอนใจไดเปน อยางดอี ีกหลายแหง เชน ผามออแี ดง นับเปนสถานท่ีตรงจุดชายแดนเขตประเทศไทยติดตอกับ ราชอาณาจักรกัมพูชา ใกลทางข้ึนสูปราสาทเขาพระวิหารที่มีทัศนียภาพสวยงาม เปนจุดชมวิว ทิวทัศนพ้นื ท่แี นวชายแดนราชอาณาจกั รกมั พูชา และบรเิ วณปราสาทเขาพระวหิ ารไดอ ยา งสวยงาม และกวางไกลที่สุด จุดสูงสุดของหนาผามออีแดง สามารถสองกลองชมปราสาทเขาพระวิหารได ชัดเจน มีความสวยงามและมคี ณุ คา ทางประวตั ศิ าสตรแ ละโบราณสถานและหากในอนาคตอนั ใกลน ้ี

42 ประเทศไทยสามารถเปด ความสมั พนั ธไมตรีกบั ราชอาณาจักรกัมพูชาไดแลว มีการใชประโยชน รว มกันทัง้ สองประเทศไดอยางใกลช ดิ และมีคายิง่ นกั ปราสาทโดนตวล เปนปราสาทหนงึ่ ทีส่ ําคญั อีก แหงหนึ่งที่มศี ิลปวัฒนธรรมนาศกึ ษาอยมู ากตั้งอยูต รงเขตชายแดนของประเทศไทยอยหู า งจากหนา ผาเพียงเล็กนอย ประมาณ ๓๐๐ เมตร สถูปคู เปนโบราณวัตถุมีอยู ๒ องค ต้ังคูอยูบริเวณทิศ ตะวันตกของผามออีแดง ถา เดนิ ทางจากผามออีแดงไปยงั เขาพระวิหารกจ็ ะผา นสถปู คนู ้ี มลี กั ษณะ เปนสเี่ หลีย่ มและสวนบนกลม กอสรางดวย หินทรายเปนทอนท่ีตัดและตกแตงอีกที นับวาแปลก จากศิลปวฒั นธรรมยคุ อนื่ ใด ทํานบสระตราว สรา งดว ย ทอนหินทรายซึ่งตดั มาจากแหลงตดั หนิ มา วางเรียงกันอยางเปนระเบียบ และตอนน้ีไดมีการบูรณะและทําความสะอาดบริเวณสระตราว สามารถเก็บกักน้ํา นําข้ึนมาใชอุปโภคบริการแกเจาหนาที่ และนกั ทองเที่ยว ณ บริเวณ ผามออี แดง และปราสาทเขาพระวิหารไดอยางเพยี งพอ ในเขตชายแดนฝงตะวันออกและตะวันตกของประเทศไทย ซึ่งมีอาณาเขตติดตอกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ราชอาณาจักรกัมพูชา มีสภาพภูมิประเทศสวยงามดวยทิวเขายาวสุดสายตา ปกคลุมดวยปาไม นํ้าตก และแมนํ้าสาย สําคัญ เชน แมนาํ้ โขง แมน ้าํ สาละวนิ นอกจากเปนแหลงทองเท่ียวแลวยังเปนที่จับจายใชสอยขาว ของเครื่องใชของประเทศเพ่ือนบาน เชน ตลาดการคาชายแดนอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ตลาดการคาชายแดนอําเภอแมสอด จังหวัดตาก ตลาดการคาชายแดนชอ งเม็ก อําเภอสิรินธร จังหวัดอบุ ลราชธานี ตลาดการคาชายแดนจังหวดั มุกดาหาร นอกจากเปนชองทางการคาระหวาง ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานแลวยงั เปน เสน ทางการเดินทางไปทอ งเท่ยี วในประเทศเพอื่ นบาน ไดอ ีกดว ย

43 เรอ่ื งท่ี ๓ ศักยภาพประเทศไทยกับการพฒั นาอาชีพ ๓.๑ ภมู ิศาสตร ประเทศไทยมสี ภาพทางภมู ิศาสตรท ี่หลากหลาย ภาคเหนือเปนพื้นที่ภเู ขาสูงสลับซบั ซอน จุดที่สูงท่ีสุดในประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท ประมาณ ๒,๕๖๕ ตารางกิโลเมตรเหนือ ระดับนํ้าทะเล รวมท้ังยังปกคลุมดวยปาไมอันเปนตนน้ําลําธารท่ีสําคัญของประเทศ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื สวนใหญเปน พนื้ ทขี่ องที่ราบสงู โคราช สภาพของดินคอนขางแหงแลงและไม เอื้ออาํ นวยตอการเพาะปลกู ผกั แมนา้ํ เจา พระยาเกิดจากแมนา้ํ หลายสายทีไ่ หลมาบรรจบกนั ท่ปี ากนํ้าโพ จังหวัดนครสวรรค อันไดแก แมนํ้าปง แมนํ้าวัง แมน้ํายม และแมน้ํานาน ทําใหภาคกลางกลายเปนที่ราบลุมแมนํ้าท่ีมีความอุดมสมบูรณท่ีสุดใน

44 ประเทศ และถือไดวาเปนแหลงปลูกขาวท่ีสําคัญแหงหนึ่งของโลก ภาคใตเปนสวนหน่ึงของ คาบสมทุ รไทย-มาเลย ขนาบดวยทะเลทง้ั สองดาน มีจุดท่ีแคบลง ณ คอคอดกระ แลวขยายใหญ เปนคาบสมทุ รมลายู สวนภาคตะวนั ตกเปน หุบเขาและแนวเทือกเขาซ่ึงพาดตวั มาจากทางตะวันตก ของภาคเหนือ แมนํ้าเจาพระยาและแมน้ําโขงถือเปนแหลงเกษตรกรรมที่สําคัญของประเทศไทย การ ผลิตของอุตสาหกรรมการเกษตรจะตองอาศัยผลผลิตท่ีเก็บเก่ียวไดจากแมน้ําทั้งสองและสาขา ท้ังหลาย อาวไทยกินพื้นท่ีประมาณ ๓๒๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ซึ่งไหลมาจากแมนํ้าเจา พระยา แมนาํ้ แมกลอง แมนา้ํ บางปะกง และแมนา้ํ ตาป ซึง่ เปนแหลง ดงึ ดดู นกั ทอ งเท่ียว เนื่องจากน้ําต้ืนใส ตามแนวชายฝง ของภาคใตแ ละคอคอดกระ อาวไทยยงั เปนศูนยกลางทางอตุ สาหกรรมของประเทศ เนือ่ งจากมที า เรอื หลกั ในสตั หีบ และถอื ไดว าเปนประตทู จี่ ะนาํ ไปสทู า เรืออ่นื ๆ ในกรงุ เทพมหานคร สวนทะเลอันดามันเปนแหลงทรพั ยากรธรรมชาติท่ีมีคุณคามากที่สุด เน่ืองจากมีรีสอรทที่ไดรับ ความนิยมอยา งสงู ในทวีปเอเชีย รวมถึงจังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบ่ี จังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดตรัง เปนตน ผานกแอน ในอุทยานแหง ชาติภูกระดงึ