กล้วยตากเคลอื บช็อกโกแลต จัดทาโดย พรรวษา พรมเสนา รหัสนักศึกษา 63302010031 ฉัตริน พูลพนสั รหสั นกั ศกึ ษา 63302010034 เสนอ อาจารย์นิพร จุทยั รตั น์ รายงานนีเ้ ป้นสว่ นหน่ึงของ รายวชิ าโครงการ สาขาวชิ า การบญั ชี ประเภท พาณิชยกรรม ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี
กล้วยตากเคลอื บช็อกโกแลต จัดทาโดย พรรวษา พรมเสนา รหัสนักศึกษา 63302010031 ฉัตริน พูลพนสั รหสั นกั ศกึ ษา 63302010034 เสนอ อาจารย์นิพร จุทยั รตั น์ รายงานนีเ้ ป้นสว่ นหน่ึงของ รายวชิ าโครงการ สาขาวชิ า การบญั ชี ประเภท พาณิชยกรรม ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี
ก ใบรบั รองโครงการ ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สงู ชัน้ ปที ่ี 2 (ปวส.) วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี โครงการ โครงการพัฒนาผลติ ภัณฑก์ ลว้ ยตากเคลอื บชอ็ กโกแลต โดย 1. นางสาวพรรวษา พรมเสนา รหัสนกั ศกึ ษา 63302010031 2. นางสาวฉตั รนิ พูลพนัส รหัสนกั ศึกษา 63302010034 ชน้ั ปวส. 2/2 สาขาวชิ าการบัญชี พจิ ารณาเหน็ ชอบโดย ............................................. (นางนิพร จุทัยรัตน์) ครทู ่ปี รึกษาโครงการ แผนกวิชาบัญชี คณะบริหารธรุ กจิ
ข ชอ่ื ผลงาน พฒั นาผลิตภัณฑก์ ลว้ ยตากเคลอื บชอ็ กโกแลต ชือ่ นกั ศึกษา พรรวษา พรมเสนา ฉัตริน พูลพนสั สาขาวชิ าการ การบญั ชี ประเภทวชิ า พาณชิ ยกรรม ปีการศกึ ษา 2564 สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี บทคัดยอ่ วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษาครัง้ น้ี ได้แก่ 1. เพอื่ พัฒนาผลติ ภณั ฑ์กล้วยตากเคลอื บช็อกโกแลต ให้มีความนา่ สนใจย่ิงขน้ึ และเปน็ แนวทางเลอื กแก่ผู้บรโิ ภค 2. เพ่ือพัฒนาบรรจุภัณฑเ์ ปน็ ช่องทางการ จัดจาหน่าย 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของกลุม่ เปา้ หมายผลิตภณั ฑ์กล้วยตากเคลือบช็อกโกแลต โดย กลุม่ เป้าหมายท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาคร้ังนี้ ไดแ้ ก่ ประชาชนท่ัวไป ตลาดนดั บา้ นสวนซอย11และลกู คา้ ออนไลน์ จานวน 30 คน ซ่งึ ได้มาจากการเลือกแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ ในการศึกษา คอื ข้อมลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถามระดับความพึงพอใจของผูบ้ ริโภคทมี่ ตี อ่ ผลติ ภณั ฑก์ ล้วยตากเคลอื บช็อกโกแลต โดยแบง่ เปน็ 4 ด้าน คือ ด้านคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ ดา้ นคุณภาพ บรรจภุ ณั ฑ์ ด้านการออกแบบตราสินคา้ ด้านการใชง้ านและความเหมาะสมผลิตภณั ฑโ์ ดยรวม สถติ ใิ ช้ ในการศกึ ษา ไดแ้ ก่ รอ้ ยละ (Percentage) ค่าเฉลย่ี (Arithmetic Mean) ส่วนเบยี่ งเบน มาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) ผลการดาเนนิ งานโครงการ ดงั น้ี ด้านคณุ ภาพบรรจุภณั ฑ์ โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก และเมอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อ แลว้ บรรจุภณั ฑไ์ มท่ าลายส่งิ แวดล้อม มคี วามพึงพอใจในระดบั มากโดยมีค่าเฉลีย่ 4.23 และบรรจุ ภัณฑส์ วยงาม เป็นท่ีน่าสนใจ รองลงมาคือสะดวกตอ่ การหยิบรับประทาน และมคี วามกะทัดรัดพกพา สะดวก
ค ดา้ นการออกแบบตราสนิ ค้า โดยรวมมคี วามพงึ พอใจในระดับมาก และเมอื่ พิจารณาเป็นราย ขอ้ แลว้ รูปแบบของผลิตภณั ฑ์มีความนา่ สนใจ มีความพึงพอใจในระดับมากโดยมคี า่ เฉลี่ย 4.43 รูปแบบของผลิตภณั ฑม์ คี วามนา่ สนใจ รองลงมาคือรปู ลกั ษณข์ องผลติ ภณั ฑ์และตราน่าสนใจ สะดดุ ตา นาเปน็ ของฝากได้ และมเี อกลกั ษณ์ จดจาได้ง่าย ด้านการใชง้ านและความเหมาะสมผลติ ภณั ฑ์โดยรวม โดยรวม มีความพึงพอใจในระดับ มาก และเมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ แล้ว บรรจภุ ณั ฑผ์ ลิตภณั ฑส์ ะดวกตอ่ การใช้งาน เปิดรับประทานได้ ง่าย โดยรวมมีความพึงพอใจในระดบั มาก 4.33 รองลงมาคือราคาของผลิตภณั ฑก์ ล้วยตากเปน็ ราคาที่ สามารถจับต้องได้ และกลว้ ยเคลือบช็อกโกแลตเน้ือนม่ิ มีรสชาตทิ หี่ วานหอมกาลังดี ด้านการใช้งานและความเหมาะสมผลิตภณั ฑโ์ ดยรวม โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก และเมอ่ื พิจารณาเปน็ รายขอ้ แล้ว ผลติ ภณั ฑม์ ีความเหมาะสม มปี ระโยชนแ์ ละสะดวกต่อใช้งาน โดยรวมมีความพงึ พอใจในระดบั มาก มคี ่าเฉลี่ย 4.25 รองลงมาคอื ความแขง็ แรง ความทนทานและ ระยะการใชง้ านผลิตภณั ฑ์โดยรวม และรปู ลักษณ์ การออกแบบและความสวยงามของผลิตภณั ฑ์ โดยรวม คาสาคญั : กล้วย ชอ็ กโกแลต ความพึงพอใจ
ค กติ ตกิ รรมประกาศ โครงการ พัฒนาผลติ ภัณฑ์กล้วยตากเคลอื บชอ็ กโกแลต ในครง้ั นี้ สามารถสาเรจ็ ลลุ ่วงอย่าง สมบรู ณด์ ว้ ยความเมตตา จากอาจารยน์ ิพร จทุ ยั รตั น์ ท่ีปรกึ ษาโครงการทใี่ ห้คาปรกึ ษาแนะนา แนวทางท่ถี ูกต้อง และเอาใจใสดตี ลอดระยะเวลาในการศกึ ษาและจัดทาโครงการ ผู้ศึกษารสู้ ึกซาบซง้ึ เป็นอย่างยง่ิ จึงขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสงู มา ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคณุ บดิ า มารดา พแ่ี ละเพ่อื น ๆ ทกุ คนที่ไดใ้ ห้คาแนะนาช่วยเหลอื สนบั สนนุ ผู้ ศึกษาโครงการมาตลอด โครงการจะสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไมไ่ ด้ หากไมม่ ีบุคคลดงั กล่าวในการจัดทาโครงการ คุณค่าและประโยชน์ของงานศึกษา ผู้ศกึ ษาขอมอบเปน็ กตญั ญกู ตเวทิตาแดบ่ ุพการี บรู พาจารย์ และผมู้ ีพระคณุ ทกุ ท่านท้งั ในอดีตและปัจจบุ ัน ทีไ่ ดอ้ บรม สงั่ สอน ชีแ้ นะแนวทางใน การศกึ ษา จนทาให้ผู้ศึกษาประสบความสาเรจ็ มาจนตราบทุกวนั น้ี พรรวษา พรมเสนา ฉตั รนิ พูลพนสั
ง สารบญั หน้า ใบรบั รองโครงการ...............................................................................................................................ก บทคดั ย่อ.............................................................................................................................................ข กิตติกรรมประกาศ..............................................................................................................................ค สารบัญ ............................................................................................................................................... ง สารบญั ตาราง .....................................................................................................................................จ สารบญั รูป...........................................................................................................................................ฉ บทท่ี 1 บทนา.....................................................................................................................................1 หลกั การและเหตุผล..............................................................................................................1 วัตถุประสงคข์ องโครงการ.....................................................................................................1 ขอบเขตของการวจิ ยั .............................................................................................................2 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ ...................................................................................................2 นิยามศพั ท์ ............................................................................................................................2 บทที่ 2 เอกสาร ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง .................................................................................3 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ า............................................3 แนวคดิ การวิเคราะห์ทางการตลาดแบบการจดั องคก์ รอุตสาหกรรม.....................................4 แนวคิดเกย่ี วกบั การขอรับรบั รองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน.................................................6 ทฤษฎกี ลยทุ ธท์ างการตลาด (4Ps) และ (8Ps) , กลยุทธต์ ลาดออนไลน์.............................10 การบรโิ ภคและทฤษฎีพฤตกิ กรมผ้บู รโิ ภค (Buyer Behavior’s Model) ..........................19 แนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑ์.........................................................................................20 ทฤษฏีกลไกราคา ................................................................................................................28 แนวความคดิ ของหลกั การบญั ชตี ้นทุน................................................................................30 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง .............................................................................................................31 บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงานโครงการ...................................................................................................33 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง.................................................................................................33 เครือ่ งมอื ท่ีใชก้ ารศึกษา.......................................................................................................33 ข้ันตอนในการสรา้ งเครื่องมือ..............................................................................................33 การเก็บรวบรวมข้อมลู ........................................................................................................34 วิธกี ารวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการศึกษา ................................................................34
สารบญั (ตอ่ ) หน้า บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์...................................................................................................................36 สัญลักษณ์ทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ..................................................................................36 การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล.....................................................................................36 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ................................................................................48 สรุปผลการศกึ ษา................................................................................................................48 อภปิ รายผล.........................................................................................................................50 บรรณานกุ รม .................................................................................................................................... 53 ภาคผนวก ......................................................................................................................................... 54 ภาคผนวก ก แบบขออนมุ ตั โิ ครงการ/แบบเสนอโครงการ ข แบบสอบถาม ค เอกสารประกอบ (ภาพถา่ ย) ประวตั ิผูจ้ ัดทาการศึกษา
สารบัญตาราง ตาราง หนา้ ตารางที่ 1 แสดงความถ่แี ละร้อยละของกล่มุ เปา้ หมายจาแนกตามเพศ .........................................37 ตารางท่ี 2 แสดงความถแ่ี ละรอ้ ยละของกลุ่มเป้าหมายจาแนกตามช่วงอาย.ุ ...................................38 ตารางที่ 3 แสดงความถ่แี ละรอ้ ยละของกลมุ่ เปา้ หมายจาแนกตามสถานะ.....................................39 ตารางที่ 4 แสดงคา่ เฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานโครงการพัฒนาผลติ ภัณฑก์ ลว้ ยตากเคลือบ ชอ็ กโกแลต สรุปเป็นรายด้าน.........................................................................................40 ตารางที่ 5 แสดงคา่ เฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกล่มุ เป้าหมายที่มตี อ่ ผลติ ภัณฑก์ ลว้ ยตากเคลอื บช็อกโกแลตดา้ นคณุ ภาพผลิตภัณฑ…์ …………..............…..…41 ตารางท่ี 6 แสดงคา่ เฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายท่ีมีต่อ ผลติ ภณั ฑก์ ลว้ ยตากเคลือบช็อกโกแลตด้านคณุ ภาพบรรจภุ ัณฑ์....................……………43 ตารางท่ี 7 แสดงค่าเฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของกลุ่มเปา้ หมายท่ีมตี อ่ ผลิตภัณฑก์ ล้วยตากเคลือบช็อกโกแลตด้านการออกแบบตราสินคา้ ..........…………….…44 ตารางที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมายทีม่ ตี อ่ ผลิตภัณฑผ์ ลติ ภัณฑก์ ล้วยตากเคลอื บช็อกโกแลตดา้ นการใชง้ านและความเหมาะสม ผลิตภัณฑ์โดยรวม........................................................................................…………..…46
สารบญั ภาพ หน้า ภาพท่ี 1 เตรยี มกลว้ ยหอม กล้วยน้าว้า,ชอ็ กโกแลต,ไวทช์ อ็ กโกแลต,อลั มอนด์สไลด์และ ซอสสตอเบอรร์ ี่...............................................................................................................68 ภาพที่ 2 นากล้วยนา้ วา้ ทเ่ี ตรียมไวม้ าหัน่ เปน็ ช้ินเลก็ ๆ..........................................................68 ภาพที่ 3 นากล้วยหอมท่ีเตรียมไวม้ าหน่ั เปน็ เป็นซกี ๆแล้วนาไปอบในไมโครเวฟ...........................69 ภาพที่ 4 นาชอ็ กโกแลตมาเค่ียวให้ละลายเพือ่ เตรยี มท่ีจะจุ่มในกล้วย...........................................69 ภาพท่ี 5 นากล้วยไปจมุ่ ในชอ็ กโกแลตแลว้ ทิง้ ใหแ้ ขง็ แล้วนาไปใส่ในแพค๊ เกจจง้ิ ทเี่ ตรียมไว้...........70 ภาพที่ 6 เตรยี มแพค๊ เกจจงิ้ (Packaging) .......................................................................................70
บทท่1ี บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั ของโครงการ กลว้ ย ทน่ี ิยมรับประทานกนั ในบา้ นเรานัน้ มอี ยหู่ ลากหลายสายพนั ธุ์ เชน่ กลว้ ยหอม กล้วย น้าวา้ กล้วยไข่ กล้วยหักมกุ เป็นต้น แต่กลว้ ยทน่ี ิยมมากทสี่ ุดคงหนีไม่พ้นกลว้ ยหอม เนอ่ื งจากกลนิ่ หอมทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณ์ ถา้ พดู ถึงเร่อื งประโยชนก์ ารรับประทานกลว้ ยแค่ 2 ลูกจะช่วยเพ่มิ พลังงานใน ร่างกายไดเ้ ทยี บเทา่ กบั การออกกาลงั กายถึง 90 นาที เพราะกล้วยอดุ มไปดว้ ยนา้ ตาลจากธรรมชาติ รวมถงึ 3 ชนิด คอื ซโู ครส กลูโคส และฟรกุ โทส ซึง่ ชว่ ยเพ่ิมพลังงานใหแ้ กร่ ่างกายน่ันเอง มีการวิจัย โดยใชก้ ลว้ ยรกั ษาโรคกระเพาะ พบวา่ ไดผ้ ลนา่ พอใจ เนือ่ งจากกล้วยไปกระตุ้นให้ผนงั กระเพาะสร้าง เย่อื เมือกมากขึ้น เยอ่ื เมือกนจ้ี ะปดิ แผลทาใหแ้ ผลหายเรว็ ผทู้ ่มี ีปัญหาแผลในกระเพาะจะมีอาการดีขึ้น กระเพาะแขง็ แรงขึน้ โอกาสเปน็ แผลก็นอ้ ยลง แตไ่ มไ่ ปลดกรดอนั จะไปทาลายกลไกธรรมชาติของ ร่างกาย จนทาใหเ้ กิดความแปรปรวนของธาตุในร่างกาย ดังนนั้ กล้วย จึงเป็นท้ังยารกั ษาและปอ้ งกัน โรคกระเพาะในเวลาเดยี วกนั นอกจากนี้ กลว้ ย ยงั ช่วยคลายเครียด ผ่อนคลาย อารมณผ์ ่องใส และ รสู้ กึ มคี วามสขุ เรารกู้ นั ดวี ่าความเครยี ดเปน็ ปจั จยั เสรมิ ทที่ าให้เกิดโรคกระเพาะ กล้วยจงึ ชว่ ยรกั ษา โรคกระเพาะ เนื่องจากกลว้ ยตากเป็นผลิตภัณฑถ์ นอมอาหาร ยดื อายุการเกบ็ ใหน้ านขน้ึ “เมนูสขุ ภาพ” จากภูมิปัญญาความช่างคิดของบรรพบรุ ษุ ที่มมี าเนิ่นนานน้ันยังคงสรา้ งรายไดใ้ ห้กับกลุ่มแม่บ้านใน หลายๆท้องที่ สรา้ งช่ือเสียงโดยเฉพาะในแถบจงั หวดั พษิ ณโุ ลก และอุดมไปดว้ ยสารอาหารคณุ ค่าทาง โภชนาการ ดังนน้ั กล่มุ ผศู้ ึกษาจึงพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ใหเ้ ขา้ ถึงทุกวัย โดยการนากล้วยมาแปรรูปโดยการ ตากและเคลอื บด้วยชอ็ กโกแลต และซอสสตอเบอร์รเี่ พอ่ื ใหก้ ลว้ ยมสี สี ันท่นี ่ารับประทานและมีรสชาติ ทหี่ ลากหลายกว่าเดิม วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 1.เพอื่ พัฒนาผลติ ภัณฑก์ ลว้ ยตากเคลือบชอ็ กโกแลตใหม้ คี วามนา่ สนใจยง่ิ ข้ึนและเปน็ แนว ทางเลือกแก่ผบู้ รโิ ภค 2. เพื่อพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์เป็นช่องทางการจัดจาหน่าย 3. เพือ่ ศึกษาความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมายผลิตภณั ฑก์ ลว้ ยตากเคลอื บช็อกโกแลต
2 ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตดา้ นเนอ้ื หาท่ีใชใ้ นการศกึ ษาคร้งั นี้ ได้แก่ พัฒนาผลติ ภณั ฑ์กล้วยตากเคลือบ ช็อกโกแลต 2. ขอบเขตดา้ นเป้าหมายทใี่ นการศึกษาครง้ั น้ี ไดแ้ ก่ ประชาชนทว่ั ไป ตลาดนดั บ้านสวน ซอย 11 จานวน 30 คน 3. ขอบเขตดา้ นระยะเวลาที่ใช้ในการศกึ ษาครั้งน้ี ไดแ้ ก่ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ตัง้ แตว่ นั ท่ี 1 มถิ ุนายน 2564 ถงึ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2564 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั 1. ไดผ้ ลิตภัณฑก์ ลว้ ยตากเคลอื บช็อกโกแลตใหม้ ีความน่าสนใจย่ิงขึน้ และเปน็ แนวทางเลือก แกผ่ ู้บรโิ ภค 2. ไดผ้ ลติ ภัณฑเ์ ปน็ ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย 3. ไดท้ ราบถึงความพงึ พอใจของกล่มุ เป้าหมายผลติ ภณั ฑก์ ล้วยตากเคลอื บชอ็ กโกแลต นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ (อย่างนอ้ ย 3 คา) กล้วย หมายถงึ เป็นพรรณไม้ล้มลกุ มีหลายชนดิ ในสกลุ บางชนิดก็ออกหน่อแตว่ ่าบางชนดิ ก็ ไมอ่ อกหนอ่ ใบแบนยาวใหญ่ ก้านใบตอนลา่ งเปน็ กาบยาวหมุ้ ห่อซอ้ นกันเป็นลาตน้ ออกดอกที่ปลาย ลาต้นเป็น ปลี และมักยาวเป็นงวง มลี กู เปน็ หวี ๆ ช็อกโกแลต หมายถึง คอื ผลติ ผลที่ได้มาจากเมล็ดของต้นโกโก้ เขตร้อน ช็อกโกแลตเปน็ สว่ นผสมของของหวานหลายชนดิ ไมว่ า่ จะเป็นไอศกรมี ลกู อม คุกก้ี เคก้ หรอื ว่าพาย ชอ็ กโกแลตถอื ได้ วา่ เป็นของหวานอย่างหนงึ่ ทถี่ ูกใจคนท่วั โลก ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรู้สึกหรือความพอใจของบคุ คลทม่ี ีตอ่ ผลติ ภัณฑก์ ลว้ ยตาก
3 บทที่ 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง การดาเนนิ การโครงการ พัฒนาผลิตภัณฑก์ ล้วยตากเคลือบช็อกโกแลต ณ บ้านเลขท่ี 46/99 หมู่ 3 ตาบลบา้ นบงึ อาเภอบ้านบงึ จังหวดั ชลบรุ ี 20000 ระหว่างวันท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 ถงึ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2564 ผู้ดาเนินงานโครงการไดร้ วบรวม เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง มหี ัวข้อ ต่อไปน้ี 1. จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวชิ า 2. แนวคิดการวเิ คราะห์ทางการตลาดแบบการจดั องค์กรอุตสาหกรรม 3. แนวคิดเกย่ี วกบั การขอรับรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชน 4. ทฤษฎกี ลยทุ ธท์ างการตลาด (4Ps) และ (8Ps) , กลยทุ ธต์ ลาดออนไลน์ 5. การบรโิ ภคและทฤษฎพี ฤตกิ กรมผู้บริโภค (Buyer Behavior’s Model) 6. แนวคิดการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 7. ทฤษฏีกลไกราคา 8. แนวความคิดของหลกั การบญั ชตี ้นทนุ 9. งานวิจยั ท่เี กีย่ วขอ้ ง 1. จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาอธบิ ายรายวิชา 1.1 จดุ ประสงค์รายวชิ า 1.1.1 เข้าใจหลักกการและกระบวนการวางแผนจดั ทาโครงการสรา้ งและหรือพัฒนา งาน 1.1.2 ประมวลความรแู้ ละทกั ษะในการสรา้ งและหรอื พฒั นางานในสาขาวชิ าชีพตาม กระบวนการวางแผน ดาเนินงาน แก้ปญั หา ประเมนิ ผล ทารายงานและนาเสนอผลงาน 1.1.3 มีเจตคติและกจิ นสิ ัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบ มวี นิ ยั มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความคิด รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์และสามารถทางานรว่ มกับผูอ้ ื่น 1.2 สมรรถนะรายวิชา 1.2.1 แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั การจัดทาโครงการและการนาเสนอผลงาน 1.2.2 ดาเนนิ การจาทาโครงการ
4 1.2.3 รายงานผลการปฏิบัติงาน 1.3 คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั หลักการจัดทาโครงการ การวางแผน การดาเนนิ งาน การ แก้ไขปญั หา การประเมนิ ผล การจัดทารายงาน และการทาเสนอผลงาน โดยปฏบิ ัติจัดทาโครงสรา้ ง และหรือพฒั นางานที่ใชค้ วามรแู้ ละทักษะในระดบั ฝีมือสอดคล้องกบั สาขาวิชาชีพทศี่ กึ ษา ดาเนนิ การ เป็นรายบุคคลหรือกลุม่ ตามลกั ษณะของงานให้แลว้ เสรจ็ ในระยะเวลาทีก่ าหนด 2. แนวคิดการวเิ คราะห์ทางการตลาดแบบการจัดองค์กรอตุ สาหกรรม กอ่ นท่ีผ้ปู ระกอบการจะเรม่ิ วางแผนการตลาด ผปู้ ระกอบการควรเขา้ ใจก่อนว่า ความตอ้ งการ ผู้บริโภคในยุคปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ไปตามรูปแบบการดารงชวี ิต เทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม และสภาพเศรษฐกิจท่ีเปล่ียนแปลงไป สาหรับผู้ประกอบการรายใดที่สามารถวางแผนกล ยทุ ธ์ให้สอดคล้อง และรวดเร็วทันกับความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคย่อมเปน็ ผู้ได้เปรียบ ในการชว่ งชิงและ ครอบครองพ้ืนที่การตลาดไดม้ ากข้นึ 2.1 ข้อคานงึ ก่อนการวางแผนการตลาด 2.1.1 สภาพความเปน็ อยู่ในสังคมเปลี่ยนแปลงไป ผู้คนในสงั คมมีปฏิสมั พนั ธ์กนั นอ้ ยลง คนทางานมีความเครียดสูงขึ้น ต้องการความสะดวกสบาย ความรวดเร็ว ความเพลิดเพลินและการ พักผ่อนหย่อนใจ ดังน้ัน สินค้าหรือบริการที่หาซื้อได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และกลุ่มสินค้าหรือบริการ เพือ่ ความผอ่ นคลายจะได้ความนยิ มมากขึ้น 2.1.2 ผ้บู รโิ ภคมีระดบั การศกึ ษามากข้ึนและสามารถเข้าถึงข้อมลู ข่าวสารได้งา่ ยมากข้ึน ทาให้มีการหาข้อมูลท้ังในด้านราคา และคุณภาพของสินค้าและบริการมาเปรียบเทียบก่อนการ ตัดสินใจซ้ือ รวมถึงมีการสอบถามความคิดเห็นจากเพื่อนฝูงหรือผู้คนในสังคมออนไลน์ ท่ีมี ประสบการณ์ในการใช้งานสินค้าที่ตนเองสนใจก่อน เพ่ือมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจซ้ือ พฤติกรรมผ้บู ริโภคทใี่ จรอ้ น ไม่ชอบการรอคอย ต้องการความสะดวก รวดเร็ว ทนั ใจ สนิ ค้าหรอื บริการ ที่มีขั้นตอน ยุ่งยาก ต้องรอคอยนาน จะทาให้ผู้บริโภคเบ่ือหน่ายหันไปใช้สินค้าหรือบริการของผู้ท่ี ใหบ้ รกิ ารได้รวดเรว็ และสะดวกสบายกว่า 2.1.3 ผู้บริโภคยุคใหม่มีพฤติกรรมเบื่อง่าย ไม่ชอบความซ้าซาก จาเจ ต้องการความ แปลกใหม่ และมีความคาดหวังการเปล่ียนแปลงใหม่ๆ จากผู้ผลิตอยู่เสมอ ทาให้ผู้ผลิตจะต้องมีการ ปรับปรุงและพัฒนาผลิตภณั ฑ์ (R&D) อย่างตอ่ เน่ือง เพ่ือให้ลูกค้ามีความรู้สึกว่า ได้ใช้สินค้าท่ีทันสมัย
5 อยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะเห็นไดจ้ ากระยะเวลาการออกสินค้ารุ่นใหม่ของผู้ผลิตสมาร์ทโฟนจะมีรอบเวลาที่ ส้ัน 2.1.4 การวางแผนการตลาดต้องมีความยืดหยุ่น คล่องตัว สามารถปรับตัวให้ทันกับ กระแสการเปล่ียนปลงของสังคม ต้องค้นหาจุดเด่นขององค์กรและผลิตภัณฑ์ของตนเองให้พบแล้ว ประกาศให้ชัดเจน เพอื่ ให้สงั คมผบู้ ริโภครับรู้ และสรา้ งเป็นภาพจาในใจของผู้บรโิ ภค 2.1.5 แผนกลยุทธก์ ารตลาดทุกแผนล้วนแต่มคี า่ ใช้จา่ ยทางการเงนิ ท้งั ส้นิ ผู้ประกอบการ ควรวางแผนกลยุทธ์ไว้หลายๆ แนวทาง และเลือกกลยุทธ์การตลาดที่มีความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน มากท่ีสดุ 2.1.6 ใหค้ วามสาคญั กับการสรา้ งความสัมพันธ์ท่ีดกี ับลูกคา้ (Customer relationship management ; CRM) เพราะจะทาให้ลูกค้าเกิดความผูกพันและมีความจงรักภัคดีต่อสินค้าหรือ องค์กร เพื่อเป็นการรักษาลูกค้าเดิมของกิจการไว้ ซ่ึงค่าใช้จ่ายในการรักษาลูกค้าเดิมจะต่ากว่า คา่ ใชจ้ ่ายในการหาลกู ค้าใหมถ่ ึง 5 เทา่ 2.2 ผู้ประกอบการจะต้องจัดทาแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ี กาหนดไว้ 2.2.1 ขั้นตอนเตรียมการ เป็นข้ันตอนที่ควรจะต้องปฏิบัติก่อนการลงมือทาแผนการ ตลาด โดยการรวบรวมข้อมูลภายในองค์กรในด้านบุคลากร และทรัพยากรต่างๆ ท่ีจาเป็นต้องใช้ใน การจัดทาแผนการตลาด รวมถึงประชุมร่วมกับผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อให้ทุกคนในองค์กรได้รับทราบ และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ซ่ึงจะทาให้เกิดความร่วมมือทางานตามแผนการตลาดท่ีจะ กาหนดข้ึน ร่วมกันวางแผนการตลาด พรอ้ มกับแบง่ หน้าท่ีความรับผิดชอบในการจัดทาแผนการตลาด ใหผ้ ้เู ก่ียวขอ้ ง อธิบายวธิ กี ารและขัน้ ตอนต่างๆ ในการปฏบิ ตั ิใหร้ บั ทราบ เร่มิ ไปปฏบิ ตั ิ 2.2.2 ข้ันตอนของการศึกษาหาข้อมูล เป็นขั้นตอนหาข้อมูลท่ีจาเป็นต่อการวางแผน การตลาด กิจการจะต้องรู้ข้อมลู ตลาด มีข้อมลู อยสู่ องประเภทท่ีกิจการต้องรกู้ ่อนวางแผนตลาด 2.2.2.1 ข้อมูลภายนอก หาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้แก่ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ การตลาด สภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมนี้ คู่แข่งขัน เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวโน้มกระแส ความนยิ มของผูบ้ ริโภค 2.2.2.2 ข้อมลู ภายในกจิ การ เปน็ ข้อมูลท่ีได้มาจากการจดบันทึกข้อมูลจากการ ทางานที่ผ่านมาของกิจการเช่น การวิเคราะห์การขายแยกตามรายการผลิตภัณฑ์ ตามรายลูกค้า หรือ
6 ตามพื้นท่ีการขาย ต้นทุนแยกตามสายผลิตภัณฑ์ รวมถึงข้อมูลการใช้จ่ายเพื่อกระตุ้นการขายที่เคย ดาเนินการมา 2.2.3 ขั้นตอนการกาหนดกลยุทธ์การตลาด กิจการควรแบ่งส่วนตลาดของธุรกิจท่ีตนเอง ดาเนินการอยู่ออกเป็นส่วนย่อยๆ โดยเลือกวิธีการแบ่งส่วนตลาดที่เหมาะสมกับสินค้าหรือบริการของ ตนเอง เช่น แบ่งตามลักษณะประชากร หรือแบ่งตามพฤตกิ รรมการบริโภค หรือแบ่งตามภมู ิศาสตร์ที่ อยู่ของผู้บริโภค หรือแบ่งตามลักษณะจิตวิทยา แล้วเลือกกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของตลาดย่อยท่ีคิดว่า เหมาะสมกับเราท่ีสุด จากนั้นทาการกาหนดวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้า เป้าหมาย ซึ่งจะ นาไปส่คู วามสาเร็จของแผนการตลาดทว่ี างไว้ และสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ทีก่ าหนด รวมถงึ มวี ิธีการ ทจี่ ะใช้วัดผลความสาเรจ็ ของแผนการตลาดดว้ ย 2.2.4 ขั้นตอนการทาแผนการตลาดให้ชัดเจน เป็นขั้นตอนท่ีนาเอากลยุทธ์ต่างๆ ท่ี กาหนดขึ้น มาจัดทาเป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ที่แสดงรายละเอียดต่างๆ ทีละขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ ช่วงเวลาในการปฏิบัติ และประมาณการ ค่าใช้จ่ายที่จะต้องใช้ รวมถึงเป้าหมายท่ี ตอ้ งการในแต่ละกลยุทธ์ ตามตัวอย่างดา้ นล่าง 2.2.5 ขั้นตอนการนาไปปฏบิ ตั แิ ละตดิ ตามทบทวนแผน เมอ่ื จัดทาแผนการตลาด เรียบรอ้ ยแลว้ ผปู้ ระกอบการจะต้องนาแผนการตลาดที่จัดทาไว้มาปฏบิ ัติ และจะตอ้ งตดิ ตามทบทวน ประเมนิ ผลจากการดาเนนิ งานตามแผนการตลาด และเพื่อนาผลที่เกดิ ขนึ้ ปรบั ปรุงในรายละเอยี ด ปลกี ย่อยให้สอดคลอ้ งกับสถานการณจ์ รงิ โดยอยู่ภายใตง้ บประมาณและทรัพยากรต่างๆ ทไ่ี ดว้ างแผน ไว้ และเพอื่ ใหแ้ ผนทวี่ างไวม้ ีความทนั สมยั สอดคล้องกับความเปน็ จริงการวางแผนการตลาด จาเป็นตอ้ งมจี ุดเริม่ ต้น และวธิ กี ารดาเนินการไปสู่จดุ สิน้ สุดอยา่ งเปน็ ขั้นตอนทเ่ี รยี กว่ากระบวนการ หากวางแผนการตลาดโดยไม่คานึงถึงกระบวนการเหล่าน้ี จะทาให้การจดั ทาแผนการตลาดมีความ สบั สน ส่งผลให้ประสิทธภิ าพของแผนการตลาดด้อยลง หรืออาจทาใหม้ ีคา่ ใช้จา่ ยทส่ี ูงเกนิ ความจาเป็น กจ็ ะส่งผลให้กาไรจากการดาเนินงานไมเ่ ปน็ ไปตามที่คาดหวัง ดังนั้น ผูป้ ระกอบการจงึ ควรทาความ เข้าใจในแตล่ ะขั้นตอนกอ่ นการวางแผนการตลาดใหด้ ี 3. แนวคดิ เกยี่ วกับการขอรับรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน 3.1 วิสยั ทัศน์ การมาตรฐานไทยขับเคลื่อนสินค้าและบรกิ าร ให้เป็นท่ียอมรับและแขง่ ขนั ได้ ในระดับสากล
7 3.2 นโยบาย มุ่งมั่นดาเนินงานด้านการมาตรฐาน เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้ เกิดประโยชนส์ งู สุด แกผ่ ปู้ ระกอบการ ผู้บริโภคและประเทศชาติโดยรวม 3.3 วตั ถปุ ระสงคก์ ารดาเนนิ งาน 3.3.1 คมุ้ ครองผู้บริโภค 3.3.2 รกั ษาสงิ่ แวดล้อม และทรพั ยพ์ ยากรธรรมชาติ 3.3.3 พัฒนาอตุ สาหกรรมของประเทศให้สามารถแข่งขนั ได้ในตลาดโลก 3.3.4 สรา้ งความเปน็ ธรรมในการซือ้ ขายขจัดปญั หา และอุปสรรคทางการคา้ ที่เกิดจาก มาตรการดา้ นมาตรฐาน 3.4 อานาจหน้าท่ี สมอ. มีอานาจหน้าท่ีในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 มติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ นโยบายและแผนแมบ่ ทของกระทรวงอตุ สาหกรรม 3.5 พันธกิจ 3.5.1 กาหนดมาตรฐานทีต่ รงความตอ้ งการและสอดคลอ้ งกบั แนวทางสากล 3.5.2 กากับดูแลผลติ ภัณฑ์ และการตรวจสอบและรับรองดา้ นการมาตรฐานใหไ้ ดร้ บั การยอมรบั 3.5.3 ส่งเสรมิ และพัฒนาด้านการมาตรฐานของประเทศ 3.6 กจิ กรรมด้านการมาตรฐานของ สมอ. 3.6.1 การกาหนดมาตรฐาน 3.6.1.1 มาตรฐานระดับประเทศ กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ประเภทบังงคับและไม่บังคับตามความต้องการ และการขยายตัวของอุตสาหกรรม การค้า และเศรษฐกิจของประเทศ รวมท้ังนโยบายของรัฐบาล เพ่ือคุ้มครองผู้บริโภค รักษาส่ิงแวดล้อม และ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งเสริมใหภ้ าคอตุ สาหกรรมไทยแข่งขนั ไดใ้ นตลาดโลก 3.6.1.2 มาตรฐานระดับสากล ร่วมกาหนดมาตรฐานกับองค์กรสากลท่ีสาคัญ คื อ อ ง ค์ ก า ร ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ม า ต ร ฐ า น ( International Organization for standardization : ISO) คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอนิกส์ (International Electrotechnical Commission : IEC)
8 3.6.2 การรบั รองคุณภาพผลติ ภัณฑ์ 3.6.2.1 การรับรองตามมาตรฐานของประเทศ สมอ. ให้การรับรองคุณภาพ ผลติ ภัณฑ์ โดยการอนญุ าตให้แสดงเครอ่ื งหมายมาตรฐาน 3.6.2.2 การรับจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ สมอ. ให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ สาหรบั ผลิตภณั ฑท์ ยี่ งั มิได้กาหนดมาตรฐาน โดยการจดทะเบียนผลิตภณั ฑ์ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี 3.6.2.3 การเป็นหน่วยตรวจให้กับสถาบันมาตรฐานต่างประเทศ สมอ. ได้รับ มอบหมายให้เป็นหน่วยตรวจของสถาบันมาตรฐานต่างประเทศ เพ่ือรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ตาม มาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา และประเทศ สาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ นอกจากนี้ยงั ตรวจตดิ ตามผลใหก้ บั ประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ 3.6.2.4 การรบั รองฉลากเขียว (Green Label) สมอ. ร่วมกบั สถาบัน ส่ิงแวดลอ้ มไทยดาเนินโครงการฉลากเขยี วเพ่อื ให้การรับรอง โดยให้ใชฉ้ ลากเขยี วสาหรับผลิตภณั ฑ์ ทัง้ นเี้ พอื่ ชว่ ยลดมลภาวะจากสิ่งแวดลอ้ ม และเพอื่ ผลักดันให้ผ้ผู ลิตใชเ้ ทคโนโลยี หรือวิธีการผลิต ท่ี ใหผ้ ลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม 3.6.3 การรบั รองคุณภาพผลิตภณั ฑช์ ุมชน (มผช.) เป็นการให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนของผู้ผลิตในชุมชนท่ีเกิดจากการ รวมกลุ่มกันประกอบกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงหรือชุมชนในโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ท่ีผ่าน การคัดเลือกจากจังหวัด และ/หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ท่ีสานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ได้ประกาศกาหนดไว้ และจะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชนกบั ผลิตภณั ฑ์ทไี่ ด้รับการรบั รอง 3.6.4 การรับรองระบบงาน 3.6.4.1 การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ สมอ. ได้ดาเนินการรับรอง ขีดความสามารถทางวิชาการ และระบบคุณภาพ การทดสอบของห้องปฏิบัติการสอบเทียบและ ห้องปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐานข้อกาหนดท่ัวไปว่าด้วยความสามารถของห้อ งปฏิบัติการสอบ เทียบและห้องปฏิบัติการทดสอบ (มอก.17025-2543) ซึ่งเหมือนกันทุกประการกับ ISO/IEC 17025 ซ่ึงขอบข่ายของการรับรองอาจเป็นการรับรองการทดสอบหรือสอบเทียบทุกรายการหรือบางรายการ ของห้องปฏบิ ัตกิ ารก็ได้
9 3.6.4.2 การจดทะเบียนบุคลากร ผู้ทรงคุณวุฒิ หลักสูตรและองค์กรฝึกอบรม ด้านการมาตรฐาน เปน็ การให้การจดทะเบียนบุคลากร ผู้ทรงคณุ วฒุ ิด้านการประเมินการจดทะเบยี น หลักสูตรผึกอบรมและองค์กรฝึกอบรมด้านการมาตรฐานในกลุ่มสาขาต่าง ๆ ได้แก่ ระบบการ บริหารงานคุณภาพ ระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตท่ีต้อง ควบคุมในการผลิตอาหาร ระบบห้องปฏิบัติการทดสอบและห้องปฏิบัติการสอบเทียบระบบการ จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยระบบการรับรองผลิตภัณฑ์และระบบอื่น ๆ ตาม มาตรฐานสากลหรอื มาตรฐานอ่นื ๆ ท่สี ากลยอมรับ 3.6.5 การบรกิ ารข้อสนเทศมาตรฐาน 3.6.5.1 บริการข้อสนเทศด้านการมาตรฐาน โดยให้ข้อมูลและตอบข้อซักถาม ทางวิชาการเกี่ยวกับมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชากากร และการรับรองคุณภาพท้ังของไทยและ ต่างประเทศ 3.6.5.2 เป็นศูนย์ตอบข้อซักถาม (Enquiry Point) ของไทย ภายใต้ความตก ลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิคตอ่ การค้า (TBT) ขององคก์ ารการคา้ โลก (WTO) 3.6.5.3 บริการข้อมูลด้านการมาตรฐานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ี http://www.tisi.go.th 3.6.5.4 บริการห้องสมุดมาตรฐาน สมอ. โดยเป็นศูนย์รวมเอกสารมาตรฐาน ท้ังของไทยและของต่างประเทศ ตลอดจนเอกสารทางด้านการรับรองคุณภาพ กฎระเบียบทาง วิชาการและเอกสารอ่ืน ๆ ทีค่ รบถ้วนและทนั สมัยทัง้ ในรปู ของเอกสารและไมโครฟลิ ม์ 3.6.6 การปฏบิ ัตติ ามพนั ธกรณคี วามตกลงภายใตอ้ งคก์ ารการคา้ โลก สมอ. เป็นแกนกลางในการปฏิบัติตามพันธกรณีตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ ความ ตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Agreement on Technical Barriers to Trade : TBT) ยกเวน้ สว่ นทเ่ี กีย่ วข้องกบั สินคา้ เกษตรและอาหาร 3.6.7 งานด้านการมาตรฐานระหวา่ งประเทศและภมู ิภาค 3.6.7.1 กิจกรรมมาตรฐานระหวา่ งประเทศ สมอ. ได้เขา้ รว่ มเป็นสมาชกิ ใน องคก์ ารระหว่างประเทศวา่ ด้วยการ (International Organization for Standardization : ISO) และคณะกรรมาธกิ ารระหวา่ งประเทศวา่ ด้วยมาตรฐานสาขาอเิ ล็กทรอเทคนิกส์ (International Electrotechnical Commission :IEC)
10 3.6.8 การสง่ เสรมิ มาตรฐานและพฒั นาดา้ นการมาตรฐาน สมอ. ดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชน และหน่วยงานภาครัฐ พัฒนาระบบการจักการให้สอดคล้องกับหลักปฏิบัติมาตรฐานสากล เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาขีด ความสามารถของอุตสาหกรรม และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศ และ ส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจแก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้เก่ียวข้องทุกระดับ เพื่อให้ ตระหนักถึงความสาคัญของคุณภาพ และการมาตรฐาน และนาไปใช้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 3.6.9 การพฒั นาบคุ ลากร สมอ. ไดด้ าเนินการพัฒนาบคุ ลากรด้านการมาตรฐานทัง้ ภาครัฐ และเอกชนให้มีขีดความสามารถที่จะดาเนินการด้านมาตรฐาน ใหส้ อดคล้องกับสากล และ เปน็ ทีย่ อมรับ 4. ทฤษฎกี ลยุทธ์ทางการตลาด (4Ps) และ (8Ps) , กลยทุ ธต์ ลาดออนไลน์ 4.1 กลยทุ ธก์ ารตลาด 4Ps เกดิ จากหลกั แนวคดิ ท่วี ่า กอ่ นที่จะมาทาธรุ กจิ หรือการตลาด ควร ทีจ่ ะต้องมคี วามสนใจใหค้ วามสาคญั ในการกาหนดหวั เรอ่ื งสาคญั ท่ธี รุ กจิ ควรนามาพจิ ารณาถึงความ พรอ้ มและใชเ้ ปน็ แนวก่อนเร่มิ ดาเนินการทางธรุ กิจ โดยได้ใช้ P ซง่ึ เปน็ ตัวหน้าของเร่ืองทสี่ นใจ คือ Product-Price-Promotion-Place โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ 4.1.1 ผลิตภณั ฑ์ (Product) คอื สินคา้ บริการท่ีธุรกิจสรา้ งขึ้นเพือ่ ตอบความตอ้ งการหรอื ท่จี ะสง่ มอบใหแ้ ก่ลกู คา้ หรอื ผบู้ รโิ ภค ต้องคานงึ ถึงกลุ่มเป้าหมายที่เหมาะสมและชดั เจน ดูว่ากล่มุ ลูกคา้ เป้าหมายเขาตอ้ งการอะไรบ้างให้ใสใ่ จในรายละเอียดนั้น สนิ ค้าหรอื การบริการท่ีมีแตกตา่ งอย่างไรทา ให้ลกู ค้าเกิดความสะดุดตาสะดุดใจในรูปลกั ษณ์ รวมถงึ การใชง้ าน ความทนทาน และความปลอดภยั ตลอดจนการสรา้ งความประทบั ใจให้แกล่ กู คา้ ทาใหล้ กู คา้ เกดิ ความสนใจและเลอื กซ้อื สินค้าหรือ บรกิ ารของเรา และมีการบอกกันปากตอ่ ปาก เปน็ ตน้ 4.1.2 ราคา (Price) คอื ราคาหรือสง่ิ ทล่ี กู คา้ ต้องจ่ายเพอื่ แลกกบั การไดส้ ินค้าและบรกิ าร อาจจะไมใ่ ชเ่ พยี งแค่เงนิ เท่านนั้ อาจรวมถึงเวลาหรือการกระทาบางอย่าง ดงั นัน้ การต้ังราคาจงึ ตอ้ งให้ เหมาะสม คานวณเร่อื งราคาตน้ ทนุ กบั กาไรวา่ มคี วามคุม้ คา่ หรือไม่ มีกาไรมากนอ้ ยเพียงไร 4.1.3 สถานท่ี (Place) คือ ช่องทางทล่ี กู ค้าจะสามารถเขา้ ถึงสนิ คา้ และบริการของเราได้ เชน่ ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย ช่องทางการให้บริการ รวมถึงทาเลในการจัดจาหนา่ ยสนิ คา้ และบรกิ าร
11 ให้แก่ลกู คา้ ควรจะต้องมคี วามสะดวก ปลอดภยั มปี ระสทิ ธภิ าพ และเขา้ ถึงได้อยา่ งรวดเร็ว สามารถ ทาใหเ้ กิดผลกาไรจากการกระจายสินคา้ ไปส่กู ลุ่มลูกคา้ ใหต้ รงกบั กล่มุ เปา้ หมายมากทส่ี ดุ 4.1.4 การสง่ เสริมการตลาด (Promotion) คือ การส่ือสารการตลาดเพอ่ื ทาใหธ้ ุรกิจ สามารถสอื่ สารไปยงั กลุ่มเปา้ หมายและนาไปส่กู ารโน้นน้าวใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายตัดสินใจซอื้ สนิ ค้าและ บรกิ าร นับว่าเป็นหัวใจสาคญั ของการตลาด โดยในปจั จบุ นั สามารถทาการโฆษณาในส่ือหลายรปู แบบ หรอื อาจเปน็ การทากจิ กรรมเพอื่ ใหล้ ูกค้าได้มาร่วมเพอ่ื จูงใจให้ลกู ค้าสนใจและอยากเลอื กสนิ คา้ หรอื บริการของเรา 4.2 กลยุทธท์ างการตลาด (8Ps) หมายถึง กลยทุ ธท์ างการตลาดสมัยใหมซ่ ่งึ เป็นส่วนผสม ทางการตลาด (Marketing Mix) หรือทเี่ รียกสัน้ ๆ ว่า 8P’s ซึ่งตอ้ งมีแนวทางความคดิ ทางการส่อื สาร การตลาด(IMC)โดยอาศยั เครอื่ งมอื การ ติดต่อสอื่ สารกับผ้บู รโิ ภคแบบสมยั ใหมซ่ ึ่งแบง่ สว่ นขยาย เพม่ิ เตมิ จากเดมิ อีก หลายส่วนท้ังงานศกึ ษาทง้ั ภายในและภายนอกประเทศเชอ่ื มโยงสกู่ ารทาธุรกจิ สมัย ใหม่ซงึ่ เนน้ การสร้างผลกาไรสูงสดุ บนความพอใจของผบู้ รโิ ภคซ่ึงเป็นการทา ธรุ กจิ ระยะยาว (Long-Term Business) พร้อมกับพฤตกิ รรมท่เี ปลีย่ นไปของผู้บรโิ ภคสมัยใหม่ซึ่งเปลี่ยนไปอย่างมาก โดยเฉพาะการแบ่งส่วนการตลาด (Segmentation) ซ่งึ ไมส่ ามารถแบง่ สว่ นการตลาดแบบ เดมิ ๆ ได้ แล้ว ซง่ึ การเอกสารการศกึ ษาในส่วนแรกเปน็ แนวทางทาธุรกจิ และกอ่ ให้เกดิ พฤตกรรมในการเลอื กซือ้ ผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหารส่วนทเ่ี อกสารอ่นื ๆจะชว่ ยในการวางแผนการตลาด ในธุรกจิ ผลิตภัณฑเ์ สรมิ อาหารทีม่ คี วามเกย่ี วข้องและสอดคลอ้ งกบั การศึกษาในครงั้ นแี้ นวคิดทางการวางแผนกลยทุ ธท์ าง การตลาดโดยใช้ 8P’s ซ่ึงประกอบไปดว้ ยส่วนผสมทางการตลาด ดงั นี้ 4.2.1. กลยุทธผ์ ลติ ภัณฑ์ ( Product Strategy ) 4.2.2. กลยทุ ธร์ าคา ( Price Strategy ) 4.2.3. กลยทุ ธก์ ารจัดจาหนา่ ย ( Place Strategy ) 4.2.4. กลยทุ ธก์ ารส่งเสริมการตลาด ( Promotion Strategy ) 4.2.5. กลยุทธก์ ารบรรจุภัณฑ์ ( Packaging Strategy ) 4.2.6. กลยทุ ธก์ ารใชพ้ นักงานขาย ( Personal Strategy ) 4.2.7. กลยทุ ธก์ ารให้ข่าวสาร ( Public Relation Strategy ) 4.2.8. กลยุทธพ์ ลงั ( Power Strategy )
12 4.2.1. กลยทุ ธผ์ ลิตภัณฑ์ (Product Strategy) คือ กลยุทธผ์ ลิตภณั ฑ์น้ัน จะเกีย่ วข้อง กับกระบวนการตดั สนิ ใจ เกย่ี วกบั 4.2.1.1 คณุ สมบตั ผิ ลิตภณั ฑ์ (Product attribute) 4.2.1.2 ส่วนประสมผลิตภณั ฑ์ (Product mix) 4.2.1.3 สายผลติ ภัณฑ์ (Product lines) สิง่ ท่ตี ้องพิจารณาเก่ียวกบั ผลติ ภัณฑ์ 4.2.1.1. แนวความคดิ ด้านผลติ ภัณฑ์ (Product Concept) เปน็ คุณสมบตั ทิ ี่ สาคัญของผลติ ภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของผู้บริโภค Product ได้ ตอ้ งมคี วามชดั เจน ในตัวผลิตภัณฑน์ น้ั ๆ 4.1.1.2. คุณสมบตั ิผลติ ภณั ฑ์ (Product attribute) จะตอ้ งทราบว่าผลิตภณั ฑ์ น้นั ผลติ มาจากอะไร มคี ุณสมบัติอย่างไร ลักษณะทางกายภาพ ฟิสกิ ส์ เคมี ชีวะ ขนาด ความดี ความ งาม ความคงทนทานดา้ นรปู รา่ ง รปู แบของผลิตภัณฑ์ทมี่ อี ยใู่ นตัวของมันเอง 4.2.1.3.ลักษณะเดน่ ของสนิ คา้ (Product Feature) การนาสินคา้ ของบริษทั ไป เปรยี บเทยี บกบั สินค้าของคู่แขง่ ขนั แลว้ มีคณุ สมบตั แิ ตกตา่ งกนั และจะต้องร้วู า่ สนิ คา้ เรามีอะไรเด่น กว่า เชน่ ลักษณะเด่นของ Dior คอื เป็นผลติ ภณั ฑ์ชนั นาจากปารสี 4.2.1.4.ประโยชนข์ องผลติ ภัณฑ์ (Product Benefit) พิจารณาว่าสินค้ามี ลักษณะเดน่ อยา่ งไรบา้ ง และสินค้าใหป้ ระโยชนอ์ ะไรกบั ลูกค้าบ้าง ระหวา่ งการใหส้ ญั ญากับลกู คา้ กบั การพิสจู นด์ ้วยลักษณะเดน่ ของสนิ ค้า 4.2.2. กลยทุ ธร์ าคา (Price Strategy) เปน็ การกาหนดว่าเราจะตั้งราคาแบบใด กลยทุ ธ์ ราคาสูงหรือราคาตา่ สิ่งที่จะตอ้ งตระหนัก คือ ราคาทีได้กาหนดไวน้ นั้ เหมาะสมในการแขง่ ขัน หรอื สอดคล้องกับตาแหน่งผลติ ภณั ฑข์ องสินคา้ นน้ั หรอื ไม่กลยทุ ธ์ ดา้ นราคา (Price strategy) การกาหนด กลยุทธ์ดา้ นราคามีประเดน็ สาคัญทจี่ ะต้องพจิ ารณาดงั น้ี 4.2.2.1 ต้ังราคาตามตลาด ( On going price ) หรือต้ังราคาตามความพอใจ ( Leading price ) 1) ตัง้ ราคาตามตามตลาด (On going price) เหมาะสาหรบั สินค้าท่ี สร้างความแตกต่างได้ยากจงึ ไมส่ ามารถจะตัง้ ราคาใหแ้ ตกต่างจากตลาดคแู่ ข่งขนั ได้ น่ัน คอื การตั้งราคาตามคู่แขง่ ขนั
13 2) ต้ังราคาตามความพอใจ ( Leading price ) เป็นการต้งั ราคาตาม ความพอใจโดยไม่คานงึ ถึงคูแ่ ข่งขัน เหมาะสาหรบั ผลิตภณั ฑ์ทม่ี ีความแตกตา่ งในตราสนิ ค้า สนิ ค้าท่มี เี อกลกั ษณส์ ว่ นตวั มีภาพพจนท์ ดี่ ี จะตงั้ ราคาเท่าไรก็ไม่มีใครเปรียบเทยี บ 4.2.2.2. สนิ คา้ จะออกเปน็ แบบราคาสูง ( Premium price ) เมือ่ แน่ใจใน คณุ ภาพทเ่ี หนอื กวา่ และการยอมรับในราคาของลกู คา้ หรือราคามาตรฐาน (Standard ) เม่ือใชก้ าร ตง้ั ราคาโดยพิจารณาจากราคาของค่แู ขง่ ขนั หรอื ตราสนิ ค้าเพือ่ การแข่งขัน ( Fighting brand ) เป็น สนิ คา้ ดอ้ ยคณุ ภาพกว่าคู่แข่งขันเล็กนอ้ ย จะลงตลาดลา่ ง 4.2.2.3. การต้ังราคาเท่ากันหมด ( One pricing ) คือสินคา้ หลายอย่างทม่ี รี าคา ติดอยบู่ นกล่องหมายถงึ ไมว่ ่าจะขายอยู่ทใ่ี ดฤดูหนาวหรอื ฤดูร้อนราคาก็เท่ากนั หมด หรอื ราคา แตกตา่ งกนั ( Discriminate price ) ข้อดี คอื สามารถเรียกราคาไดห้ ลายราคา แต่ข้อเสียกค็ ือ เราตอ้ ง หาเหตผุ ลในการต้งั ราคาหลายอยา่ ง เพื่อให้คนยอมรบั ได้ 4.2.2.4. การขยายสายผลติ ภัณฑ์ ( Line extension ) ในกรณีนี้การนาเสนอ สนิ คา้ เริม่ ตน้ ด้วยราคาหนงึ่ แล้วมกี ลยุทธ์เผยแพร่ความนยิ มไปยงั ตลาดบน หรอื ตลาดลา่ ง 4.2.2.5. การขยับซ้ือสูงขึน้ ( Trading up ) เปน็ การปรับราคาสูงขึ้นทาให้ได้ กาไรมากข้ึนจึงพยายามขายให้ปรมิ าณมากข้ึนหรือการขยบั ซือ้ ตา่ ลง ( Trading down ) เปน็ การผลติ สนิ ค้าที่มรี าคาแพงให้มีคณุ ภาพกวา่ สินคา้ ทร่ี าคาถูกเลก็ นอ้ ยแต่ ต้งั ราคาสูงกวา่ เพ่ือใหค้ นซอ้ื สินคา้ ท่ี รองลงมา 4.2.2.6. การใชก้ ลยทุ ธ์ด้านขนาด ( Size ) คอื ไม่ทาขนาดเทา่ กบั ผู้ผลิตรายอื่น ๆ 4.2.3. กลยุทธก์ ารจดั จาหนา่ ย (Place Strategy) คือกลยุทธเ์ ก่ยี วกบั วิธีการจัดจาหน่าย จะตอ้ งพจิ ารณาถึงรายละเอยี ดดงั น้ี 4.2.3.1. ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย ( Channel of distribution ) เปน็ เสน้ ทางที่ สนิ คา้ เคล่ือนยา้ ยจากผผู้ ลติ หรอื ผูข้ ายไปยงั ผู้บริโภคหรือผใู้ ช้ ซึ่งอาจจะผา่ นคนกลางหรือไมฝ่ า่ ยคน กลางกไ็ ด้ 4.2.3.2. ประเภทของรา้ นคา้ ( Outlets ) ในทุกวันนจ้ี ะพบได้วา่ ววิ ฒั นาการของ การจัดจาหนา่ ยนนั้ เป็นส่งิ ที่เจรญิ เติบโตรวดเรว็ มากประเภทของร้านคา้ มีมากมายจนแทบจะตามไม่ ทนั จะขอเรยี งลาดับประเภทของรา้ นคา้ จากใหญ่ไปหาเลก็
14 1) รา้ นค้าส่ง ( Wholesale store ) เปน็ ร้านคา้ ทีข่ ายสินคา้ ใน ปริมาณมาก ลกู ค้าสว่ นใหญ่เปน็ คนกลาง 2) ร้านคา้ ขายของถูก( Discount store ) เป็นรา้ นค้าที่ขายสนิ คา้ ราคาพเิ ศษ 3) ร้านห้างสรรพสินค้า( Department store ) 4) ซเู ปอรม์ ารเ์ กต็ ทอ่ี ย่เู ดย่ี ว ๆ (Stand alone supermarket)เป็น ร้านทม่ี ีทาเลเดย่ี วไม่ติดกบั ร้านค้าใดๆ 5) ช้อปปิ้งชุมชน ( Community mall ) เปน็ รา้ นคา้ ทีอ่ ยู่ในย่าน ชมุ ชน 6) Minimart จะเหน็ ได้จากรา้ นคา้ เล็กๆ ตามตกึ อาคารสงู ๆ ใน โรงพยาบาล ซง่ึ ต้ังฮ่ัวเสง็ เริม่ บุกตลาด Minimart พอสมควร 7) ร้านค้าสะดวกซอื้ ( Convenience store ) เป็นรา้ นค้าทีข่ าย สนิ ค้าอุปโภคบริโภค หรือสินค้าสะดวกซือ้ บางร้านจะเปิดบรกิ าร 24 ช่วั โมง 8) รา้ นคา้ ในป๊ัมนา้ มัน 9) ซุ้มขายของ ( Kiosk ) เป็นร้านทีจ่ ดั เปน็ ซ้มุ ขายของ บางคร้งั จดั เป็น บทู 10) เคร่อื งขายอัตโนมัติ ( Vending machine ) เป็นการขายสนิ คา้ ผา่ นเครื่องจักรอัตโนมัติ 11) การขายทางไปษณีย์ ( Mail order ) เปน็ การขายสนิ คา้ ซงึ่ ใช้ จดหมายส่งไปยงั ลูกค้า มกี ารลงในหนงั สอื พมิ พ์ นิตยสาร ถ้าพอใจก็ส่งขอ้ ความสั่งซือ้ ทางไปรษณีย์ 12) ขายโดยแคตตาลอ็ ก ( Catalog sales ) 13) ขายทางโทรทัศน์ ( T.V. Sales ) 14) ขายตรง ( Direct sales ) การขายโดยใช้พนักงานขายออกเสนอ ขายตามบ้าน 15) รา้ นคา้ สวสั ดกิ าร เปน็ ร้านค้าทต่ี ้งั ขน้ึ เพอ่ื อานวยความสะดวกกับ พนักงานตามหน่วยงานราชการ ต่างๆ ของบรษิ ทั หรอื สานกั งานตา่ งๆ
15 16) รา้ นคา้ สหกรณ์ เป็นรา้ นคา้ ที่ตง้ั อยู่ตามมหาวิทยาลยั และ โรงเรยี นต่างๆ 4.2.3.3. จานวนคนกลางในช่องทาง ( Number of intermediaries ) หรอื ความหนาแน่นของคนกลางในชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย( Intensity of distribution ) ในการพจิ ารณา เลือกช่องทางการจัดจาหนา่ ยจะมีกระบวนการ 3 ขน้ั ตอนดังนี้ 1) การพจิ ารณาเลอื กลกู คา้ กลุ่มเปา้ หมายว่าเปน็ ใคร 2) พฤติกรรมในการซื้อของกล่มุ เปา้ หมาย เชน่ ซือ้ เงินสดหรอื เครดติ ต้องจดั สง่ หรือไม่ ซอื้ บอ่ ยเพยี งใด 3) การพิจารณาท่ตี ้ังของลกู คา้ ตามสภาพภมู ิศาสตร์ 4.2.3.4. การสนบั สนนุ การกระจายตวั สนิ คา้ เขา้ สตู่ ลาด (Market logistics ) เปน็ กจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การเคลื่อนย้ายปจั จยั การผลติ และตวั สินคา้ จากแหลง่ ปจั จยั การผลติ ผ่าน โรงงานของผผู้ ลติ แลว้ กระจายไปยงั ผบู้ ริโภค ตวั อยา่ งกลยุทธ์ : ตัง้ ราคาสงู กว่าคู่แข่งรอ้ ยละ 30 เพอ่ื แสดงภาพลักษณข์ องตาแหนง่ ผลติ ภัณฑข์ อง สนิ คา้ ทีอ่ ยใู่ นระดับสูง : ตั้งราคาตา่ สาหรับช่วงฤดกู าลทย่ี อดขายนอ้ ย และตั้งราคาตา่ กว่าผนู้ าเล็กน้อย ในชว่ งฤดูกาลที่ยอดขายดี 4.2.4. กลยุทธก์ ารส่งเสรมิ การตลาด ( Promotion Strategy ) กลยทุ ธ์การสง่ เสรมิ การตลาดจะตอ้ งประสานกับแผนการตลาดโดยรวมและควรกาหนดแผนการสง่ เสรมิ การตลาดท่ี เฉพาะเจาะจง ตวั อย่างกลยุทธ์ : ใชก้ ลยทุ ธ์การส่งเสรมิ การตลาดให้เกดิ ผลประโยชน์สงู สุดกับคคู่ า้ เพอ่ื ใหค้ ู่ค้า สนบั สนุนตราสนิ คา้ ของเรา : ใชก้ ลยุทธส์ ง่ เสรมิ การตลาดใหเ้ กิดผลสูงสุดเพ่ือกระต้นุ ให้เกดิ การซ้ือสนิ ค้าของเรา ในชว่ งท่ยี อดขายตกต่าของปี
16 4.2.5. กลยทุ ธ์การบรรจภุ ณั ฑ์ (Packaging Strategy)การตดั สินใจเลอื กรูปแบบการ บรรจภุ ัณฑ์และประเภทวสั ดุของบรรจภุ ณั ฑม์ กั จะใชก้ บั สนิ คา้ อปุ โภคบริโภคทพี่ ฒั นาใหมห่ รือเมอื่ มี การปรับปรงุ เปล่ียนแปลงสนิ ค้าใหม่กลยุทธ์การบรรจุภัณฑ์มีหลกั ในการพิจารณาดังน้ี 4.2.5.1. บรรจภุ ัณฑน์ ั้นเหมาะสมทจี่ ะบรรจสุ ินค้า ( Put in ) หรอื ไม่ 4.2.5.2. สนิ คา้ เม่อื วางบนชั้นแล้วไดเ้ ปรียบ (เดน่ ) ( Put up ) หรอื ไม่ 4.2.5.3. สนิ คา้ เมือ่ นาเอามาใชแ้ ลว้ เก็บสะดวก ( Put away ) หรือไม่ 4.2.5.4. บรรจภุ ัณฑ์สวยงาม ( Prettiness ) หรอื ไม่ 4.2.5.5. สามารถเชญิ ชวนให้ใช้ ( Pleading ) ได้หรือไม่ 4.2.5.6. บรรจุภัณฑ์สามารถสะทอ้ นตาแหน่งครองใจของสินค้า ( Positioning ) ไดห้ รอื ไม่ 4.2.5.7. บรรจภุ ัณฑ์สามารถสะท้อนบคุ ลกิ ภาพของสินค้า ( Personality ) ได้ หรอื ไม่ 4.2.5.8. บรรจภุ ณั ฑส์ ามารถปกปอ้ งสนิ คา้ ( Protection ) ได้หรอื ไม่ 4.2.5.9. บรรจุภัณฑม์ คี วามสะดวกตอ่ การใช้งาน ( Practicality ) หรอื ไม่ 4.2.5.10.บรรจุภัณฑ์ที่เลอื กนน้ั สามารถทากาไรได้มากข้นึ ( Profitability ) ได้ หรอื ไม่ 4.2.5.11.บรรจภุ ณั ฑน์ ้นั สามารถนามาใช้ในการส่งเสรมิ การตลาด ( Promotion ) ไดห้ รอื ไม่ 4.2.5.12.เป็นการบอกถึงวธิ ีการใชส้ ินคา้ ( Preaching ) ไดห้ รอื ไม่ 4.2.5.13.สามารถดแู ลรักษาสิ่งแวดลอ้ ม ( Preservation ) ไดห้ รอื ไม่ ถ้านาสงิ่ เหลา่ น้ีมาพจิ ารณาท้งั หมดจะเห็นวา่ ในการออกแบบบรรจภุ ัณฑข์ องบริษทั จะเป็นโลโก้ ตัวหนงั สือ ตวั อักษรการเลือกเป็นกระดาษ เปน็ โฟม เป็นฝาจกุ หรอื เครือ่ งหมาย สสี ันต่างๆ บริษัทกจ็ ะได้บรรจุ ภณั ฑท์ ่ดี ี ตัวอยา่ งกลยุทธ์ : เปลยี่ นบรรจภุ ัณฑใ์ หมด่ ้วยสีสันที่สดใสเพอ่ื ให้ผู้บรโิ ภคเหน็ อย่างชดั เจน ณ จดุ ขาย : ตั้งราคาตา่ สาหรับชว่ งฤดูกาลท่ยี อดขายน้อย และตง้ั ราคาต่ากว่าผู้นาเล็กนอ้ ย ในชว่ งฤดกู าลท่ยี อดขายดี
17 4.2.6. กลยทุ ธก์ ารใช้พนักงานขาย (Personal Strategy) การขายโดยใช้พนักงานขายจัดเป็นรูปแบบการปฏิบัติตัวต่อตัวระหว่างกิจการกับลูกค้า ท้ังน้ีเพื่อมุ่งหวังคาสั่งซื้อด้วยรูปแบบการขายที่แตกต่างกัน การขายโดยพนักงานขายนั้นเกี่ยวข้องกับ การจ้างพนักงานขาย การจัดการทั่วๆไปเก่ียวกับพนักงานขาย ตลอดจนการบริหารสินค้าคงคลัง การ เตรียมการเสนอขายและการบริการหลังการขาย ในการพัฒนาแผนกการขายน้ัน กิจการจะเร่ิมต้ังแต่ การตัง้ วตั ถุประสงคแ์ ละปฏิบตั กิ าร ซงึ่ ต้องมีความชัดเจนและสอดคลอ้ งกับประเภทของธุรกจิ โดยอาจ เป็นธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจการบริการ หรือธุรกิจการผลิต จากนั้นจึงกาหนดกลยุทธ์การขาย และการ ดาเนินงาน การขายโดยใช้พนักงานขายนั้นหวงั ผลลัพธ์เพ่ือเพิ่มยอดขายและขณะเดียวกันก็ เพ่ือสร้าง สัมพันธภ์ าพระยะยาวกับลูกค้าอีกด้วย นอกจากนี้การขายโดยใช้พนักงานขายน้ัน ยังมีการใช้โบว์ชวั ร์ เอกสาร ใบปลิว วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เพ่ือช่วยในการนาเสนอขายของพนักงาน ตลอดจนเป็นหลักฐาน อา้ งอิงและสามารถมอบไว้ใหล้ ูกค้าเพือ่ ศกึ ษาข้อมูลเพิม่ เตมิ ตวั อย่างกลยทุ ธ์ : กาหนดตวั เลขอตั ราสว่ นการขาย เช่น จานวนลูกคา้ ที่คาดหวงั ( Prospect ) เมือ่ เทยี บกับจานวนทก่ี ลายเปน็ ลกู คา้ ท่ีซ้ือสินค้าของเราในทส่ี ุดหรอื จานวน ลกู ค้าที่ซอ่ สนิ คา้ เมอ่ื เทียบกบั ลกู ค้าที่เข้ามาในห้างทั้งน้ีเพอื่ การตรวจสอบถงึ ประสิทธภิ าพของพนักงานขาย : คิดคน้ โปรแกรมการใหผ้ ลตอบแทนการขาย ( Incentive Program ) ใหม่ๆ เพ่ือ เป็นรางวัลแกพนกั งานขายทีท่ ายอดขายตามเป้า 4.2.7. กลยุทธก์ ารใหข้ า่ วสาร (Public Relation Strategy) การให้ข่าวสารน้ันคือรูปแบบหนง่ึ ของการตดิ ตอ่ ส่อื สารท่ไี มเ่ สียคา่ ใช้จา่ ยในการ ซ้อื สื่อทงั้ นเ้ี พอ่ื สร้างทศั นคตทิ เี่ ป็นบวกตอ่ สนิ ค้าและกิจการของเรา แต่ปัจจุบันการส่อื สารโดยวธิ ี ดงั กลา่ วอาจมีคา่ ใชจ้ ่ายอ่ืนๆ รวมทัง้ ค่าใชจ้ ่ายทางอ้อมเกย่ี วกบั สือ่ อีกด้วย การใหข้ า่ วสารแกส่ าธารณะ ชน น้ันเป็นรูปแบบหน่ึงของการประชาสมั พนั ธ์ การใหข้ ่าวสารจัดว่าเปน็ การสรา้ งภาพลกั ษณใ์ นระยะ ยาวแก่องค์กร และตอ้ งการใหผ้ ลลัพธน์ อ้ี อกมาในเชิงบวกแก่องคก์ ร สงิ่ ทเ่ี ราต้องพจิ ารณาอย่างยิง่ ใน การให้ข่าวสารคือ กลมุ่ เป้าหมายที่ตอ้ งการได้รับขา่ วสารและส่ือโฆษณาทีจ่ ะใช้เพ่ือการสือ่ ข่าวสาร ตัวอย่างกลยทุ ธ์ : การร่วมมอื กบั สื่อบางสอ่ื เพ่อื จดั เทศกาลในโอกาสพเิ ศษ
18 : กาหนดโปรแกรมการเปดิ ตวั การบริการรูปแบบใหมข่ องธรุ กิจเรา: กาหนดโปรแก รมการเปดิ ตวั การบริการรปู แบบใหม่ของธุรกจิ เรา 4.2.8. กลยทุ ธพ์ ลงั ( Power Strategy ) พลังในท่นี หี้ มายถงึ อานาจในการต่อรองและควบคุม ซึ่งดูเหมอื นจะเปน็ สิ่งท่ยี าก ทส่ี ุดในการเนรมิตให้เกดิ ข้ึน แต่ก็เปน็ สิ่งจาเป็นและขาดเสยี ไม่ไดใ้ นองค์ประกอบ P สว่ นสุดท้ายนี้ เพราะอานาจต่อรองจะเปน็ พลังพเิ ศษท่ีนามาใชต้ อ่ รองแลกเปลย่ี นผลประโยชน์ทางการคา้ ให้บรษิ ัท ได้รบั ข้อเสนอทีด่ ที ี่สุดในกรณที ีไ่ มส่ ามารถตกลงกนั ตามกรอบได้อยา่ งลงตวั กลยทุ ธก์ ารตลาด 8P ท่ไี ด้กลา่ วมานเี้ ปน็ เคร่ืองมอื พน้ื ฐานทนี่ ักธุรกจิ สว่ นใหญ่นาไปใช้เป็น บรรทัดฐานในการทาการตลาด โดยอาจแตกตา่ งตรงท่ีบางบริษทั ประสบความสาเร็จ แตบ่ างบริษัท กลับล้มเหลวอยา่ งไม่เป็นท่า เหตุผลท่เี ปน็ เช่นน้นั ก็เพราะบริษัททลี่ ้มเหลวไมอ่ าจสร้างองคป์ ระกอบ ทางกลยุทธ์ 8P ไดค้ รบตามวงจร ดงั นัน้ ผ้ปู ระกอบการทส่ี นใจจะใชก้ ลยทุ ธ์ 8P นท้ี าการตลาดใหไ้ ด้ผล ต้องเอาใจใส่ทุกรายละเอียดของกลยุทธ์แตล่ ะขอ้ เพอื่ สร้างสรรคต์ ัว P ทั้งแปดให้เกิดขึ้นมาให้ได้ 4.3 กลยุทธต์ ลาดออนไลน์ 4.3.1 กลยุทธ์ที่ 1 ปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน หลากหลายธุรกิจยังคงทา การตลาดรูปแบบเดิม ๆ ท่ีขายออฟไลน์เพียงอย่างเดียว ยุคนี้คงไม่เพียงพออีกต่อไป เม่ือเกิดวิฤตการ แพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด 19 ทาให้มีข้อจากัดต่าง ๆ มากมาย คนออกจากบ้านน้อยลง งด เดินทาง งดนั่งร้านอาหาร งดท่องเท่ียว ใช้ชีวิตอยู่ท่ีพักมากย่ิงข้ึนและนิยมซ้ือของออนไลน์ หรือสั่ง อาหารแบบเดลิเวอรี่เพื่อลดการออกไปสัมผัสเชื้อ ทาให้หลากหลายธุรกิจท่ียังขายรูปแบบเดิม ๆ หยุดชะงัก แก้ไขง่าย ๆ เพียงแค่คุณปรับตัวให้ทันกันสถานการณ์ปัจจุบันเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจ ทันพฤติกรรมของผู้บริโภคและเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การขายง่ายข้ึน เร่งเครื่องการตลาดเชิงรุก บุกตลาดออนไลน์ด้วยการ ออกแบบเว็บไซต์ E-commerce , โฆษณาสินค้าและบริการของคุณให้ ลูกค้าเห็นด้วย Google Ads , โฆษณาออนไลน์บนแพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานมากมาย เช่น Facebook Ads เพียงเทา่ นไี้ ม่ว่าจะวกิ ฤตไหนยอดขายคณุ ก็จะไม่หยุดนงิ่ อีกตอ่ ไป 4.3.2 กลยุทธ์ที่ 2 สู้กับคู่แข่งให้แซงหน้า ปิดยอดขายแบบฉับไว คู่แข่งทางการค้า สาคัญมาก เพราะมกี ลุ่มเป้าหมายเดยี วกัน สินคา้ และบรกิ ารคลา้ ยคลงึ กัน คณุ ควรดงึ ดูดลูกค้าให้สนใจ สินค้าและบริการของมากย่ิงข้ึน เพราะผู้ประกอบการมีจานวนมหาศาลทาให้มีการแข่งขันท่ีสูง คุณ ตอ้ งสู้เพ่ือชัยชนะในการตลาดท่ีดเุ ดือดแบบ Red Ocean เลือกทาการตลาดออนไลน์และสู้ให้ถูกทาง
19 โดยเน้นผู้เช่ียวชาญมาวางแผน ออกแบบ ดาเนินการ วเิ คราะห์ผล เพ่อื ให้ผลลัพธอ์ อกมาดที ่ีสุด เพ่ือท่ี คณุ จะได้เดินเกมสก์ ารตลาดเชิงลุกได้ถกู ทาง และทาการตลาดออนไลนท์ ่ีชว่ ยปิดการขายไดแ้ บบฉับไว การันตดี ้วยประสบการณ์ของผู้เชยี่ วชาญ ท่ีจะทาให้ธรุ กิจของคุณสามารถสร้างยอดขายและพุง่ เข้าหา กลมุ่ เปา้ หมายได้แบบรวดเรว็ จนแซงคูแ่ ขง่ ไดอ้ ยา่ งแน่นอน 4.3.3 กลยุทธ์ที่ 3 เชื่อมโยงทุกช่องทางการขายเข้าหากัน อย่างท่ีเราได้บอกเสมอว่า การขายของเพียงช่องทางเดียวอาจจะไม่เพยี งพออีกต่อไป เพราะไมส่ ามารถรองรับการหล่งั ไหลเขา้ มา ของลูกค้าบนโลกออนไลน์อันมหาศาลได้ และด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคท่ีเปลี่ยนไปในทุก ๆ ปี ทา ให้ลกู ค้ามีตวั เลือกหลากหลายช่องทาง หากคุณยังคงขายด้วยช่องทางเดิม ๆ ก็จะมเี พียงแค่กลุ่มลูกค้า เดิม ๆ ที่ให้ความสนใจเท่าน้ัน เพียงแค่คุณเร่ิมปรับเปลี่ยนการตลาดออนไลน์ เพ่ิมชอ่ งทางการขายให้ รับรองลูกค้ามากยิ่งข้ึนและเชื่อมโยงทุกช่องทางเข้าหากัน เพื่อให้ลูกค้าไม่พลาดการติดต่อ และ สามารถติดตามความเคลื่อนไหวของแบรนด์หรือคอย Update ข่าวสารโปรโมช่ันไว้ เพื่อเพิ่มโอกาส ให้ลูกค้าไดก้ ลับมาซอื้ สนิ คา้ ของคุณใหมไ่ ดอ้ กี คร้ัง 4.3.4 กลยทุ ธท์ ี่ 4 กลา้ ทีจ่ ะโฆษณา ลุยไปใหส้ ุด หากคณุ มีสนิ ค้าอยู่ในมอื แต่ไม่ สามารถทาใหผ้ ้คู นรู้จกั และมองเหน็ สนิ ค้าของคุณได้ เชอ่ื เถอะวา่ ยอดขายของคุณกจ็ ะนิ่งตามอย่าง แนน่ อน เพราะสนิ คา้ ดอี ย่างเดยี วคงไม่พอ คุณต้องสรา้ งภาพลักษณเ์ พมิ่ มลู ค่าให้กับสนิ ค้าและโฆษณา บนโลกออนไลน์เพอ่ื ให้กลุ่มเปา้ หมายได้เข้ามาดแู ละเลือกช้ือสนิ ค้าของคุณได้จากทุกที่ ทกุ มมุ โลก ทาง เราแนะนาวา่ ส่ิงแรกท่ีคุณตอ้ งลงทนุ ในการทาโฆษณาออนไลนค์ อื การออกแบบเว็บไซต์ท่ีรองรับ SEO และควรทาโฆษณา บน google เพื่อเปดิ การมองเห็น ดงึ ดูดลกู ค้าเข้ามาใหไ้ ด้มากท่สี ุด พรอ้ มโฆษณา Facebook อีกช่องทาง รับรองวา่ โฆษณาทุกรูปแบบ จดั หนัก จดั เต็มขนาดน้ี ยอดขายของคณุ จะ เพ่ิมขน้ึ หลายเทา่ ตัวในเวลาไม่นาน 5. การบรโิ ภคและทฤษฎพี ฤติกกรมผู้บริโภค (Buyer Behavior’s Model) 5.1 พฤติกรรม (Behavior) การกระทาหรือการแสดงออกของสัตว์เพ่ือตอบสนองต่อส่ิงเร้า หรือสิ่งที่มากระตุ้น (stimulus) ซงึ่ อาจจะเกดิ ขึน้ ทนั ทหี รือเกิดขึน้ หลงั จากท่ีถูกกระตุน้ มาแล้วระยะหน่งึ
20 5.2 ผู้ซ้ือ (Buyer) ผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ หรือผู้ซ่ึงได้รับการเสนอหรือชักชวนจากผู้ประกอบ ธุรกิจ เพื่อให้ซ้ือสินค้าหรือบริการ และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ ประกอบธรุ กจิ โดนชอบ แมม้ ิไดเ้ สยี ค่ายตอบแทนกต็ าม 5.3 พฤติกรรมของผูบ้ ริโภค (Consumer Behavior) การแสดงออกของแต่ละบุคคลที่เก่ียวข้องโดยตรงกับการใช้สินค้าและบริการทาง เศรษฐกจิ รวมท้ังกระบวนการในการตดั สนิ ใจที่มผี ลต่อการแสดงออก 5.3.1 สิ่งกระตุ้น (stimulus) หมายถึง สิ่งกระตุ้นท่ีอาจเกิดขึ้นเองจากภายในร่างกาย และส่ิงกระต้นุ จากภายนอก นักการตลาดจะต้องสนใจและจัดสิ่งกระตุ้นภายนอก เพือ่ ให้ผู้บริโภคเกิด ความตอ้ งการผลิตภัณฑ์ ส่งิ กระตุ้นนถี้ ือว่าเปน็ เหตุจูงใจให้เกดิ การซอ้ื สนิ ค้า ซึ่งอาจใช้เหตุจูงใจซ้ือด้าน เหตุผล และใช้เหตุจูงใจให้ซ้ือในด้านจิตวทิ ยา (อารมณ)์ 5.3.2 กล่องดาหรือความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ (buyer’s black box) หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ ซึ่งเปรียบเสมือนกล่องดา ที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายไม่สามารถทราบได้ จึงต้อง พยายามค้นหา ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซ้ือ ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อจะได้รับอิทธิพลมาจากลักษณะ และกระบวนการตดั สนิ ใจของผ้ซู อื้ 5.3.3 การตอบสนองของผู้ซ้ือ (buyer’s response) หรอื การตัดสนิ ใจซอื้ ของผูบ้ ริโภค หรอื ผู้ซื้อ ผูบ้ รโิ ภคจะมกี ารตดั สนิ ใจในประเด็นตา่ งๆ 6. แนวคดิ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความเป็นมา ตลอดจนความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ เป็นแนวคิดในการเรียนรู้อดีต ศึกษาปัจจุบัน เพ่ือก้าวไปในอนาคต ความเข้าใจเร่ืองราวของบรรจุ ภณั ฑใ์ นบทนจ้ี ะช่วยให้การนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ได้เหมาะสม เกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ เปน็ ทางเลือก ให้กับผู้ประกอบการได้เล็งเห็นความสาคัญในการเลือกพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ของตนเอง ได้อย่างโดดเดน่ น่าสนใจ บรรจุภัณฑ์มีบทบาทสาคัญมากขึ้นต่อผู้ผลิต ซ่ึงเปน็ หน้าท่ีของนักออกแบบที่ ต้องคานึงถึงศาสตร์และศลิ ปส์ าหรบั ใช้แก้ ปัญหา ในการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์แต่ละดา้ นให้เกดิ ผลลพั ธ์ ที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด และถูกใจผู้บริโภคมากที่สุด ซึ่งสิ่งสาคัญในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ หรือ ออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ท่ีผู้ออกแบบหรือผู้ผลิตต้องเข้าใจคือ วัตถุประสงค์ของการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ องค์ประกอบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบกราฟิกสาหรับบรรจุภัณฑ์
21 ขั้นตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การวางแผนเพ่ือผลิต บรรจุภัณฑ์ หรือแม้กระท้ังเทคนิคการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ดังน้ันการบรรจุภัณฑ์ท่ีเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์นั้น เป็นสิ่งท่ีมีความสาคัญเป็น อย่างยิ่งตอ่ การจาหน่ายสินค้าท้ังในดา้ นการจัดจาหน่ายและการขนส่ง ตลอดจนการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า เพื่อให้สามารถสู้คู่แข่งทางการค้าในตลาดได้อย่างมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพต่อไปใน อนาคตได้อยา่ งยงั่ ยนื 6.1 ประวตั คิ วามเป็นมาของบรรจุภัณฑ์ กาเนิดของการบรรจุภัณฑ์ จากวันน้ีย้อนกลับไปในอดีต ช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ในช่วงแรกอาหารจะนาไปบรรจุในภาชนะโลหะที่ปิดผนึกและถูกหลักอนามัย นั่นคือกระป๋องบรรจุ อาหารท่ีทาจากดีบุก (Tin Can) หรือกล่องกระดาษแข็งได้ใช้กันอย่างกว้างขวาง เพราะมีน้าหนักเบา สามารถพิมพ์ทับลงไปได้ง่ายบนแผ่นกระดาษก่อนที่นาไปทาแบบบรรจุ และเป็นการประหยัดพ้ืนที่ กล่องโลหะก็ไดร้ ับการพฒั นากันอย่างกว้างขวาง เช่นเดียวกันในเวลานั้น เพราะเปน็ อกี ทางเลอื กหนงึ่ ท่ี ดีกว่าการใช้กล่องกระดาษแข็ง โดยเฉพาะสินค้าที่บดู เน่าได้ เช่น ขนมปงั กรอบ หรือขนมหวาน ทาให้ ระดับความตอ้ งการที่จะเกบ็ รักษาสนิ ค้าเพ่ิมจานวนมากข้ึน หนั กลับมามองในศตวรรษท่ี 20 ปจั จุบันนี้ เทคนิคในการผลิตได้ก้าวไกลไปมากพอที่จะทาให้บรรจุภัณฑ์โลหะเหล่านี้มีรูปแบบหรือรูปทรงต่าง ๆ ได้ตามตอ้ งการดว้ ยการนาเทคนิคคอมพิวเตอร์มาชว่ ยในการผลติ รวมถงึ พลาสติกท่ไี ด้รับการพฒั นาให้ ดียิ่งขึ้น เราจึงนามาใช้ในทุกวันนี้ เทคนิคการพิมพ์ท่ีเฟ่ืองฟูมาตง้ั แตต่ ้นศตวรรษที่ 19 นั้นต้องการการ พัฒนาในเร่ืองเทคนิคการพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ท่ีมีความรวดเร็ว ตราผลิตภัณฑ์หรือยี่ห้อนั้นจาเป็นต้องมี ติดอยู่บนภาชนะบรรจุไม่ว่าจะเป็นวัสดุประเภทไหนก็ตาม ขวดแก้ว หม้อดินเผา กล่องหรือกระป๋อง โลหะ กล่องกระดาษแข็ง หรอื กระดาษห่อธรรมดา ก็ตอ้ งมีฉลากที่จะบอกยห่ี ้อของผลิตภัณฑ์นนั้ ผลท่ี ตามมาน้ันไปไกลเกินคาดในเร่ืองของการเพ่ิมคุณค่า และความสนใจให้กับสินค้าท่ัวไป ตัวอย่างเช่น รปู ภาพ สสี ด ชดั เจน ทอี่ ย่บู นกล่องผงซกั ฟอก ย่อมจะดึงดดู ผู้บรโิ ภคมากกวา่ ตัวผงซกั ฟอก 6.2 ความหมายของบรรจุภัณฑ์ ความหมายหรือนยิ ามของคาว่าการออกแบบ (Design) และ บรรจภุ ัณฑ์ (Packaging) มนี ักวชิ าการและผู้เชีย่ วชาญ ได้กลา่ วไว้ ดังน้ี 6.2.1 กูด (Good) กล่าววา่ การออกแบบ เปน็ การวางแผนหรือกาหนดรูปแบบรวมท้ัง การตกแตง่ ในโครงสรา้ งรูปทรงของงานศิลปะ ทศั นศิลปด์ นตรี ตลอดจนวรรณกรรม 6.2.2 วิรุณ ตั้งเจริญ กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง การวางแผนสร้างสรรค์รูปแบบ โดยการวางแผนจัดสว่ นประกอบของการออกแบบให้สัมพันธ์กับประโยชน์ใชส้ อย วัสดุ และการผลิต
22 6.2.3 นิไกโด เคล็คเตอร์ (Nikaido Clecture) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ เป็นเทคนิคที่ ส่งเสริมการขายกับการประสานประโยชน์ระหว่างวัตถุกับภาชนะบรรจุ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการ คมุ้ ครองในระหวา่ งการขนส่ง และการเกบ็ รักษาในคลัง 6.2.4 จรูญ โกสีย์ไกรนิรมล กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือการนาเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ ประกอบเป็นภาชนะห่อหุ้มสินค้า เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยที่มีความ แข็งแรง สวยงามได้สัดส่วนที่ถูกต้องสร้างภาพพจน์ที่ดี มีภาษาในการติดต่อส่ือสาร และทาให้เกิด ความพงึ พอใจจากผซู้ อ้ื สินคา้ 6.3 วตั ถปุ ระสงคข์ องบรรจภุ ัณฑ์ บรรจุภณั ฑ์ คือการนาเอาวสั ดุ เช่น กระดาษ พลาสตกิ แก้ว โลหะ และไม้ ประกอบ เป็นภาชนะห่อหุ้มสินค้า เพ่ือประโยชน์ในการใช้สอยท่ีมีความแข็งแรง สวยงามได้สัดส่วนที่ถูกต้อง สร้างภาพพจน์ท่ีดี มีภาษาในการติดต่อสื่อสาร และทาให้เกิดความพึงพอใจจากผู้ซ้ือสินค้า โดย วัตถุประสงคข์ องการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ มีดังนี้ 6.3.1 เพอื่ ชว่ ยปกป้องคุม้ ครองและรกั ษาคุณภาพสนิ ค้า 6.3.2 เพ่ือเป็นตัวชี้บ่ง และสื่อสารรายละเอียดสินค้า ดึงดูดผู้บริโภค ให้แสดงถึง ภาพลกั ษณ์ 6.3.3 เพ่ือสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถเอื้อประโยชน์ด้านหน้าที่ใช้สอยได้ดี มีความ ปลอดภยั ประหยัดและมปี ระสิทธภิ าพ 6.3.4 เพ่ือสร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถส่ือสาร และสร้างผลกระทบต่อผู้บริโภคโดยใช้ ความร้แู ขนงศลิ ปะเขา้ มาสรา้ งคณุ ลักษณะ เช่น มีเอกลกั ษณล์ กั ษณะพิเศษที่ดึงดูดและสรา้ งการจดจา ตลอดจนเข้าถึงความหมายและคุณประโยชนข์ องผลิตภัณฑ์ 6.4 ความสมั พนั ธ์ของบรรจุภณั ฑ์ ประเทศไทยของเรามีสินค้ามีผลิตผลทางด้านการเกษตรกรรม และการประมง มากมาย เช่น ผักสด ผลไม้สด และสินค้าท่ีเป็นอาหารจากทะเล สิ่งท่ีกล่าวมานี้จะได้รับความเสียหาย มากเนื่องจากสภาวะของอากาศการบรรจุหีบห่อ และการขนส่งท่ีเหมาะสมมีส่วนท่ีจะช่วยลดความ เสียหายเหล่าน้ันลงได้ซ่ึงเปน็ การช่วยใหผ้ ลผลิตท่ีกล่าวถึงมือผู้บริโภคในสภาพที่ดี และจะทาให้ขายได้ ในราคาที่สูงอีกด้วย จะเห็นได้ว่าการบรรจุภัณฑ์น้ันมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อผลผลิต ซ่ึงสามารถ สรปุ เปน็ รายละเอยี ดไดด้ ังน้ี
23 6.4.1 รักษาคุณภาพ และปกป้องตัวสินค้าเร่ิมต้ังแต่การขนส่ง การเก็บให้ผลผลิต หรือ ผลิตภัณฑ์เหล่าน้ันมิให้เสียหายจากการปนเป้ือนจากฝุ่นละออง แมลง คน ความชื้นความร้อน แสงแดด และการปลอมปนอ่ืน ๆ เปน็ ตน้ 6.4.2 ให้ความสะดวกในเร่ืองการขนส่ง การจัดเก็บมีความรวดเร็วในการขนส่ง เพราะ สามารถรวมหน่วยของผลิตภัณฑ์เหล่าน้ันเป็นหน่วยเดียวได้ เช่น ผลไม้หลายผลนาลงบรรจุในลังเดียว หรือเครื่องดื่มทเี่ ปน็ ของเหลวบรรจลุ งในกระปอ๋ งหรือขวดได้ เป็นต้น 6.4.3 ส่งเสริมทางดา้ นการตลาด บรรจุภัณฑ์เพ่ือการจัดจาหน่ายเป็นส่ิงแรกท่ีผู้บริโภค เห็น ดังน้ันบรรจุภัณฑ์จะต้องจะทาหน้าท่ีบอกกล่าวส่ิงต่าง ๆ ของตัวผลิตภัณฑ์โดยการบอกข้อมูลท่ี จาเป็นท้ังหมดของตัวสินค้าและนอกจากนั้นจะต้องมีรูปลักษณ์ที่สวยงามสะดุดตาเชิญชวนให้เกิดการ ตัดสินใจซ้ือ ซ่ึงการทาหน้าที่ดังกล่าวของบรรจุภัณฑ์น้ันเป็นเสมือนพนักงานขายท่ีไร้เสียง (Silent Salesman) 6.5 หน้าท่ีและประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์ ทาหน้าที่ท้ังต่อตัวผลิตภัณฑ์โดยตรง และหน้าท่ี สือ่ ข้อมลู ที่เกย่ี วกบั ตวั ผลิตภัณฑ์ มดี ังนี้คือ 6.5.1 การทาหน้าท่ีบรรจใุ ส่สนิ ค้า เชน่ ใส่ห่อสินคา้ ด้วยการช่งั ตวงวดั หรือนับ 6.5.2 การทาหน้าทคี่ ุม้ ครองป้องกันตวั ผลติ ภณั ฑ์ ไม่ใหส้ ินค้าเสียรปู แตกหกั ไหลซมึ 6.5.3 ทาหน้าที่รักษาคุณภาพอาหาร เช่น ป้องกันอากาศซึมผ่าน ป้องกันแสง และ ปอ้ งกันความชนื้ เปน็ ต้น 6.5.4 ทาหน้าท่ีเป็นฉลากแสดงข้อมูลรายละเอียดของสินค้า เช่น เครื่องหมายการค้า ขอ้ มลู ส่วนผสม และแหลง่ ผลติ เปน็ ต้น 6.5.5 ทาให้ตั้งราคาขายได้สูงข้ึน เน่ืองจากความสวยงามของบรรจุภัณฑ์จะสร้าง มูลคา่ เพมิ่ ใหแ้ ก่สินคา้ 6.5.6 เพ่อื อานวยความสะดวกในการจัดวางขนส่งและจดั แสดง 6.5.7 สรา้ งความนา่ สนใจและดงึ ดดู ผ้บู รโิ ภค เป็นการส่งเสรมิ การขายและเพ่มิ ยอดขาย 6.6 ประเภทของบรรจุภัณฑ์ ในสภาวะตลาดที่มีการแข่งขันกันสูงในปัจจุบัน การเลือกใช้ บรรจภุ ัณฑ์จะมีสว่ นสาคญั ในการเพ่ิมมูลค่า และสร้างความโดดเด่นให้กบั ตัวสนิ ค้า โดยเฉพาะอย่างย่ิง สนิ คา้ ที่มคี ุณสมบัตพิ เิ ศษเหนอื กวา่ สินค้าอ่นื ในท้องตลาด มีความจาเปน็ อยา่ งยิ่งที่จะต้องเลือกใช้บรรจุ
24 ภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง เพ่ือสามารถยกระดับมาตรฐานสินค้าให้สูงข้ึน โดยประเภทบรรจุภณั ฑ์แบ่งไดห้ ลาย วธิ ีตามหลักเกณฑต์ า่ ง ๆ ดงั น้ี 6.6.1 แบง่ ตามวธิ ีการบรรจแุ ละวิธีการขนถ่าย 6.6.1.1 บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย (Individual Package) คือ บรรจุภัณฑ์ท่ี สัมผัสอยู่กับผลิตภัณฑ์ช้ันแรก เป็นส่ิงท่ีบรรจุผลิตภัณฑ์เอาไว้เฉพาะหน่วย โดยมีวัตถุประสงค์ขั้นแรก คือเพ่ิมคุณค่าในเชิงพาณิชย์ เช่น การกาหนดให้มีลักษณะพิเศษเฉพาะหรือทาให้มีรูปร่างท่ีเหมาะแก่ การจับถือ และอานวยความสะดวกต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ พร้อมท้ังทาหน้าท่ีให้ความปกป้องแก่ ผลติ ภัณฑ์โดยตรงอีกดว้ ย 6.6.1.2 บรรจภุ ัณฑช์ ้ันใน (Inner Package) คอื บรรจุภัณฑท์ อ่ี ยถู่ ดั ออกมา เปน็ ชั้นท่ีสอง มีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ขั้นแรกเข้าไว้ด้วยกันเป็นชุด ในการจาหน่ายรวม ตั้งแต่ 2– 24 ชิ้นข้ึนไป โดยมีวัตถุประสงค์ข้ันแรก คือ การป้องกันรักษาผลิตภัณฑ์จากน้า ความช้ืน ความร้อน แสง แรงกระทบกระเทือน และอานวยความสะดวกแก่การขายปลีกย่อย เป็นต้น โดยตัวอย่างของ บรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ ได้แก่ กล่องกระดาษแข็งท่ีบรรจุเคร่ืองด่ืม จานวน 1 โหล และสบู่ 1 โหล เป็น ต้น 6.6.1.3 บรรจุภัณฑช์ ้นั นอกสุด (Out Package) คอื บรรจภุ ัณฑ์ทเ่ี ปน็ หน่วยรวม ขนาดใหญ่ท่ีใช้ในการขนส่ง โดยปกติแล้วผู้ซื้อจะไม่ได้เห็นบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้มากนัก เน่ืองจากทา หน้าท่ีป้องกันผลิตภัณฑ์ในระหว่างการขนส่งเท่านั้น ลักษณะของบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ ได้แก่ หีบ ไม้ ลงั กล่องกระดาษขนาดใหญ่ท่ีบรรจุสินค้าไว้ภายใน ภายนอกจะบอกเพียงข้อมูลทีจ่ าเป็นตอ่ การขนส่ง เท่านั้นเช่น รหสั สนิ คา้ (Code) เลขท่ี (Number) ตราสนิ คา้ และสถานที่สง่ เปน็ ต้น 6.6.2 แบ่งตามวัตถุประสงคข์ องการใช้ 6.6.2.1 บรรจุภัณฑ์เพื่อการขายปลีก (Consumer Package) เป็นบรรจุภัณฑ์ ที่ผู้บริโภคซ้ือไปใช้ไป อาจมีช้ันเดียว หรือหลายชั้นก็ได้ ซึ่งอาจเป็น Primary Package หรือ Secondary Package ก็ได้ 6.6.2.2 บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง (Transportation Package) เป็นบรรจุ ภัณฑ์ที่ใช้รองรับหรือห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์ขั้นทุติยภูมิ ทาหน้าที่รวบรวมเอาบรรจุภัณฑ์ขายปลีกเข้า ด้วยกันให้เป็นหน่วยใหญ่ เพื่อความปลอดภัยและความสะดวกในการเก็บรักษา และการขนส่ง เช่น กล่องกระดาษลูกฟูกที่ใช้บรรจุยาสฟี นั กล่องละ 3 โหล
25 6.6.3 แบ่งตามความคงรูป 6.6.3.1 บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงแข็งตัว (Rigid Forms) ได้แก่ เคร่ืองแก้ว (Glass Ware) เซรามิก (Ceramic) พลาสติกจาพวก Thermosetting ขวดพลาสติก ส่วนมากเป็น พลาสติกฉีด เครื่องป้ันดินเผา ไม้ และโลหะ มีคุณสมบัติแข็งแกร่งทนทานเอื้ออานวยต่อการใช้งาน และป้องกันผลติ ภัณฑ์จากสภาพแวดลอ้ มภายนอกได้ดี 6.6.3.2 บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงกึ่งแข็งตัว (Semi Rigid Forms) ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ทาจากพลาสติกอ่อน กระดาษแข็งและอะลูมิเนียมบาง คุณสมบัติท้ังด้านราคา น้าหนัก และการปอ้ งกนั ผลิตภณั ฑ์จะอย่ใู นระดับปานกลาง 6.6.3.3 บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงยืดหยุ่น (Flexible Forms) ได้แก่ บรรจุ ภณั ฑ์ทท่ี าจากวัสดุอ่อนตัว มีลกั ษณะเปน็ แผ่นบาง ไดร้ บั ความนิยมสูงมาก เน่ืองจากมีราคาถูก หากใช้ ในปรมิ าณมาก และระยะเวลานาน นา้ หนกั น้อย มรี ปู แบบ และโครงสรา้ งมากมาย 6.6.4 แบ่งตามวัสดุบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ การจัดแบ่งและเรียกชื่อบรรจุภัณฑ์ในทรรศนะ ของผู้ออกแบบ ผู้ผลิต หรือนักการตลาดจะแตกต่างกันออกไป บรรจุภัณฑ์แต่ละประเภทก็ตั้งอยู่ ภายใต้วัตถุประสงค์หลักใหญ่ท่ีคล้ายกันคือ เพ่ือป้องกันผลิตภัณฑ์ เพ่ือจาหน่ายผลิตภัณฑ์ และเพ่ือ โฆษณาประชาสัมพันธ์ผลติ ภัณฑ์ 6.7 ลกั ษณะของบรรจภุ ณั ฑ์ 6.7.1 บรรจุภัณฑ์ข้ันที่หนึ่ง (Primary Packaging) คือ บรรจุภณั ฑ์ท่ีมาห่อหุ้มตัวสินค้า เพ่ือป้องกันรักษาไม่ให้ตัวสินค้าได้รับความเสียหายหรือเพื่อความสะดวกในการนาไปใช้งาน ตัวอยา่ งเชน่ หลอดยาสฟี นั ขวดแชมพู 6.7.2 บรรจภุ ณั ฑ์ข้ันท่ีสอง (Secondary Packaging) คือ บรรจุภัณฑ์ที่มาห่อหุ้มบรรจุ ภัณฑ์ขั้นที่หน่ึง เพื่อป้องกันไม่ให้ตัวสินค้าได้รับความเสียหาย อีกท้ังยังช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัว สินค้า ช่วยในการขายสินค้าโดยการดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค ตัวอย่างเช่น กล่องยาสีฟัน และ กล่องใส่ขวดเบยี ร์ 6.7.3 บรรจุภัณฑ์เพ่ือการขนส่ง (Shipping Packaging) คือ บรรจุภัณฑ์ท่ีทาหน้าที่ใน การเกบ็ รักษาและขนสง่ สินคา้ ตัวอย่างเช่น ลัง ตูค้ อนเทนเนอร์ เป็นต้น 6.8 องค์ประกอบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ องค์ประกอบท่ีออกแบบไว้บนบรรจุภัณฑ์ เป็นปจั จัยสาคัญในการเลือกซื้อสินค้านั้น รายละเอียด หรือส่วนประกอบบนบรรจุภัณฑ์จะแสดงออก
26 ถึงจิตสานึกของผู้ผลิตสินค้าและสถานะของบรรจุภัณฑ์ สามารถขยับเป็นสื่อโฆษณาระยะยาว ส่วน องค์ประกอบท่สี าคญั บนบรรจภุ ัณฑอ์ ยา่ งนอ้ ยท่ีสุดควรมี ดงั นี้ 6.8.1 ช่ือสินค้า 6.8.2 ตราสินค้า 6.8.3 สญั ลักษณท์ างการค้า 6.8.4 รายละเอยี ดของสินค้า 6.8.5 รายละเอียดส่งเสรมิ การขาย 6.8.6 รูปภาพ 6..8.7 สว่ นประกอบของสินค้า 6.8.8 ปริมาตรหรือปริมาณ 6.8.9 ชอื่ ผูผ้ ลิตและผ้จู าหนา่ ย (ถ้าม)ี 6.8.10 รายละเอียดตามข้อบังคับของกฎหมาย เช่น วันผลิต และวันหมดอายุ เปน็ ต้น หลังจากท่ีมีการเก็บข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ดังกล่าวมาแล้วจึงเร่ิมกระบวนการออกแบบด้วยการ เปลี่ยนข้อมูลท่ไี ดร้ บั มาเป็นกราฟฟกิ บนบรรจภุ ณั ฑ์ 6.9 ปัจจัยท่ีส่งผลต่อราคาของบรรจุภัณฑ์ ในกระบวนการสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ มี องค์ประกอบท่ีเข้ามาเกี่ยวข้องที่ส่งผลต่อราคาของการพฒั นาบรรจุภัณฑ์ทั้งต่อราคารวมและราคาต่อ หนว่ ย ดังน้ี 6.9.1 ราคาต้นทุนของวสั ดบุ รรจุภัณฑ์ 6.9.2 ราคาของกรรมวธิ กี ารผลิตบรรจุภัณฑ์ 6.9.3 ราคาของการเก็บรกั ษาและการขนสง่ 6.9.4 ราคาของเครอ่ื งมอื เครื่องจักรท่ใี ชใ้ นการผลติ และบรรจุภณั ฑ์ 6.9.5 ราคาของการใช้แรงงานที่เก่ียวข้อง 6.10 การใช้สเี พอื่ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ การใชส้ เี พอื่ การออกแบบบรรจุภณั ฑช์ ่วยให้การ ดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค เกิดความสะดุดตาบ่งบอกถึงความหมาย และประโยชน์ใช้สอยของ ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ การกาหนดความหมายจากสีจากความรู้สึก และกาหนดจากมาตรฐานสากลใช้ช่วย บอกถึงลักษณะการใช้งานตามประโยชน์ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ นอกเหนือจากการใช้สีเพื่อตกแต่ง ผลติ ภัณฑ์ซ่งึ เป็นการกาหนดโดยผอู้ อกแบบและความนยิ มของสภาวะตลาดในปจั จุบนั
27 6.11 การใช้สีสาหรับการตกแตง่ หีบห่อบรรจุภณั ฑ์ องค์ประกอบที่สาคัญในการเลือกใช้สีท่ี ควรคานึงถงึ สาหรบั การตกแต่งหีบห่อบรรจุ คอื 6.11.1 สตี ่าง ๆ ทใี่ ชบ้ นเนื้อที่ของหีบหอ่ บรรจุควรตดิ ตอ่ กันอยา่ งได้เร่ืองราวท้ังหมดไม่ ขดั กนั 6.11.2 ขอบเขตของสีที่ใช้บนหีบห่อบรรจุ แต่ละสีควรจะประกอบกันแล้วเข้าใจกันได้ หรอื เป็นสคี ู่กันได้ 6.11.3 สที ่ใี ช้ควรเป็นสที ยี่ อมรับของผู้บริโภคในตลาด ถูกตอ้ งตามรสนยิ มของผ้บู รโิ ภค 6.11.4 ขอบเขตของสิ่งท่ีจะทาให้หีบห่อบรรจุ ขัดแย้งหรือไม่เด่น เม่ือเปรียบเทียบกับ หบี ห่อ บรรจภุ ัณฑข์ องผลิตภัณฑ์คู่แข่งขนั 6.12 ข้อพิจารณาในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ท่ีดีนั้นจะต้องสามารถผลิต และ นาไปบรรจุไดด้ ้วยวิธีการท่ีสะดวก ประหยดั และรวดเรว็ การเลือกบรรจภุ ณั ฑ์มีขอ้ พจิ ารณา ดังตอ่ ไปน้ี 6.12.1 ลักษณะของสินค้า คุณสมบัติทางกายภาพประกอบด้วย ขนาด รูปทรง ปริมาตร ส่วนประกอบหรอื ส่วนผสม ของแข็ง ของเหลว ผูอ้ อกแบบตอ้ งทราบความเหนยี วข้น ในกรณี เป็นของเหลวและต้องรู้น้าหนักหรือปริมาณหรือความหนาแน่นสาหรับสินค้าท่ีเป็นของแห้งประเภท ของสินค้าคุณสมบัติทางเคมี คือ สาเหตุท่ีทาให้สินค้าเน่าเสียหรือเสื่อมคุณภาพจนไม่เป็นท่ียอมรับได้ และปฏิกิริยาอ่ืน ๆ ท่ีอาจจะเกิดขึ้น คุณสมบัติพิเศษอ่ืน ๆ เช่น กล่ิน การแยกตัว เป็นต้น สินค้าท่ี จาหน่ายมีลักษณะเป็นอย่างไร มีคุณสมบัตทิ างฟิสิกส์ หรือทางเคมีอย่างไร เพื่อจะไดเ้ ลือกวัสดใุ นการ ทาบรรจุภณั ฑท์ ่ปี อ้ งกนั รกั ษาไดด้ ี 6.12.2 ตลาดเป้าหมาย ต้องศึกษาความต้องการของลูกค้าเป้าหมายเพื่อจะได้เลือก บรรจุภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของตลาดหรือกลุ่มลูกค้าการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ให้สนองกับความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ต้องวิเคราะห์จุดยืนของสินค้าและบรรจุภัณฑ์เทียบกับคู่แข่งขันท่ีมี กลุ่มเป้าหมายเดียวกัน เช่น ข้อมูลปริมาณสินค้าท่ีจะบรรจุขนาด จานวนบรรจุภัณฑ์ ต่อหน่วยขนส่ง และอาณาเขตของตลาด เป็นตน้ 6.12.3 วิธีจัดจาหน่าย การจาหน่ายโดยตรงจากผผู้ ลิตไปสผู่ ู้บริโภคย่อมต้องการบรรจุ ภัณฑ์ลักษณะหน่ึง แต่หากจาหน่ายผ่านคนกลาง เป็นคนกลางประเภทใด มีวิธีการซื้อของเข้าร้าน อย่างไร วางขายสินค้าอย่างไร เพราะพฤตกิ รรมของร้านค้าย่อมมีอทิ ธพิ ลต่อโอกาสขายของผลิตภัณฑ์ นั้น ๆ รวมท้งั พจิ ารณาถึงผลติ ภัณฑ์ของคู่แข่งขนั ท่จี าหน่ายในแหลง่ เดยี วกนั ด้วย
28 6.12.4 การขนส่ง มีหลายวิธี และใช้พาหนะต่างกัน รวมท้ังระยะในการขนส่ง ความ ทนทาน และความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ การคานึงถึงวิธีที่จะใช้ในการขนส่งก็เพื่อพิจารณา เปรียบเทียบให้เกิดผลเสียน้อยท่ีสุด รวมถึงประหยัดและปัจจัยเรื่องดินฟ้าอากาศ ในปัจจุบันนิยมการ ขนส่งดว้ ยระบบตู้บรรทกุ สาเรจ็ รูป 6.12.5 การเก็บรักษา การเลือกบรรจุภัณฑ์จะต้องพิจารณาถึงวิธีการเก็บรักษา สภาพของสถานท่ีเกบ็ รักษา รวมทัง้ วิธกี าร เคลื่อนยา้ ยในสถานท่ีเกบ็ รกั ษาด้วย 6.12.6 ลักษณะการนาไปใช้งาน ต้องนาไปใช้งานได้สะดวกเพ่ือประหยัดเวลา แรงงาน และคา่ ใชจ้ า่ ย 6.12.7 ต้นทุนของบรรจุภัณฑ์ เป็นปัจจัยท่ีจะต้องคานึงถึงเป็นอย่างมาก และต้อง คานึงถึงผลกระทบที่มีต่อยอดขาย หรือความสูญเสียค่าใช้จ่ายอื่น ๆ บรรจุภัณฑ์ดีอาจต้องจ่ายสูงแต่ ดึงดูดความสนใจของผู้ซ้ือย่อมเป็นส่ิงชดเชยที่ควรเลือกปฏิบัติ รวมถึงผลการชดเชยในกระบวนการ ผลติ การบรรจุทส่ี ะดวก รวดเร็ว เสยี หายนอ้ ย ประหยัด และลดต้นทนุ การผลติ ได้ 6.12.8 ปัญหาด้านกฎหมาย บทบัญญัติด้านกฎหมายเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ท่ีปรากฏ ชนั เจน คือ กฎระเบียบและข้อบังคบั เกี่ยวกบั ฉลากการออกแบบกราฟิกของผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไปตาม ข้อบังคับ นอกจากน้ียังต้องศึกษาการใช้สัญลักษณ์เก่ียวกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น และกฎระเบียบและ ขอ้ บังคับเกีย่ วกบั สง่ิ แวดล้อม เปน็ ตน้ 7. ทฤษฎีกลไกราคา ราคาสินค้า คือ มูลค่าของสินค้าและบริการท่ีผู้ประกอบการทาการผลิตได้และนามา จาหน่ายให้แก่ผู้บริโภค เช่น นาย ก. ผลิตปากกาออกขายให้แก่นักเรียนในราคาด้ามละ 5 บาท เป็น ตน้ ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หรอื ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซ่ึงการผลิตการบริโภคส่วนใหญ่ เปน็ เรื่องของภาคเอกชน โดยผา่ นกลไกของราคา นั้น ราคาสินค้าและบริการจะทาหน้าที่ 3 ประการ คือ 7.1 กาหนดมูลค่าของสินค้า ในการซื้อขายแลกเปลี่ยนท่ีใช้เงินเป็นส่ือกลาง ราคาจะทา หน้าท่ีกาหนดมูลค่า เพื่อให้ผู้ซ้ือตัดสินใจท่จี ะซ้ือสินค้าในมูลคา่ ท่ีคุ้มหรือไม่คุ้มกับเงินท่ีเขาจะต้องเสีย ไป ราคาสินคา้ บางแหง่ ก็กาหนดไว้แน่นอนตายตวั แต่บางแหง่ กต็ ัง้ ไว้เผือ่ ตอ่ เพื่อให้ผ้ซู อื้ ตอ่ รองราคา ได้
29 7.2 กาหนดปริมาณสินค้า ในการซื้อขายแลกเปล่ียนกันนั้นถ้าสินค้ามีราคาถูก ผู้ซ้ือจะซ้ือ ปริมาณมากขึ้นส่วนผู้ขายจะเสนอขายในปริมาณน้อยลง แต่ถ้าสินค้ามีราคาแพงผู้ซ้ือจะซ้ือปริมาณ นอ้ ยลงสว่ นผู้ขายจะขายในปริมาณมากขนึ้ ราคาจงึ เปน็ ตวั กาหนดปริมาณสนิ คา้ ที่จะซ้ือขายกัน 7.3 กาหนดปริมาณการผลิตของผู้ประกอบการ ในระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึ่งการผลิต ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของเอกชนน้ัน จะมีปัญหาว่าผู้ผลิตควรจะผลิตในปริมาณสักเท่าใดจึงจะพอดีกับ ความต้องการของผู้บริโภค เพ่ือให้เขาได้กาไรสูงสุดตามท่ีต้องการ โดยสังเกตความต้องการซื้อ (อุป สงค)์ และความต้องการขาย (อุปทาน) ของสนิ ค้าที่เราทาการผลิตในระดบั ราคาต่างๆ กนั เพอื่ หา ดุลย ภาพ ซึ่งเปน็ ระดับท่ีผซู้ ้ือและผู้ขายจะทาการซ้ือขายกันในปริมาณและราคาท่ีตรงกัน ปริมาณท่ีมีการ ซื้อขาย ณ จุดดุลยภาพ เรียกว่า ปริมาณดุลยภาพ และผู้ซ้ือมีความต้องการซ้ือ ส่วนราคาที่ดุลย ภาพ เรยี กว่า ราคาดลุ ยภาพ อันเป็นราคาท่ีผผู้ ลติ ควรพจิ ารณาในการตัง้ ราคาขาย 7.4 กลไกราคา (price mechanism) หมายถึง ตัวกาหนดการจัดสรรทรัพยากรในระบบ เศรษฐกจิ ทีมปี จั จัยสาคญั ในการกาหนดราคา คือ อปุ สงค์ (demand) และอปุ ทาน (supply) 7.4.1 อุปสงค์ (Demand) คือ ปริมาณความต้องการซิ้อสินค้าและบริการของผู้ซ้ือ ในระยะเวลาใดเวลาหน่ึง ณ ระดับราคาต่างๆ กัน ความต้องการซื้อจะแตกต่างจากความต้องการ ท่ัวไป (want) แต่จะต้องรวมอานาจซื้อ (purchasing power) คือ เต็มใจและมีเงินเพียงพอที่จะ จ่ายซื้อสินค้าน้ันด้วย อย่างไรก็ตามปริมาณความต้องการซื้อน้ีจะเปลี่ยนแปลงเม่ือมีปัจจัยกาหนดอุป สงค์ตัวอ่ืนๆ เปล่ียนแปลงด้วย เช่น รายได้ของผู้ซ้ือ รสนิยม ราคาสินค้าชนิดที่ใช้ทดแทนกันได้ เช่น เนื้อหมกู ับเน้อื ไก่ เป็นต้น 7.4.2 อุปทาน (supply) คือ ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้าและบริการของ ผ้ขู ายในระยะเวลาใดเวลาหนง่ึ ณ ระดับราคาต่างๆ กันโดยผู้ขายเตม็ ใจจะขาย กลา่ วคือ ถ้าราคาต่า ปริมาณท่ีเสนอขายก็จะลดต่าลงด้วย และในทางตรงกันข้าม หากระดับราคาสูงข้ึนก็จะมีปริมาณ เสนอขายเพิ่มข้ึน ซึ่งเป็นไปตาม กฎของอุปทาน (Law of Supply) ปัจจัยที่ทาให้อุปทาน เปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในการผลิต ราคาของปัจจัยท่ีใช้ในการผลิตสินค้าและ บรกิ าร การเปล่ยี นแปลงฤดูกาล การคาดคะเนราคาสนิ คา้ และบรกิ ารของผู้ขาย 8. แนวความคดิ ของหลกั การบญั ชตี น้ ทนุ
30 ตน้ ทนุ เปน็ มลู คา่ ของทรพั ยากรทีใ่ ช้ในการผลติ หรอื การใหบ้ รกิ าร เป็นสว่ นทเี่ รยี กวา่ มลู คา่ ของ ปัจจัยเข้า (Input Value) ของระบบ ตน้ ทนุ จงึ เปน็ เงนิ สดหรือค่าใช้จ่ายในรูปแบบอ่ืนท่จี า่ ยไปเพือ่ ให้ ไดม้ าซ่งึ บริการหรอื ผลผลิต ในทางธรุ กจิ ตน้ ทนุ คอื ค่า้ใจา่ ยสว่ นที่จา่ ยไฟเพอ่ื ให้ได้มาซ่งึ ซึ่ง ผลตอบแทนหรือรายได้ ตน้ ทุนจงึ เป้นสว่ นสาคญั ในการตดั สนิ ใจทางธรุ กจิ ตา่ งๆ 8.1 ตน้ ทนุ คา่ ใช้จ่าย และความสูญเสยี ต้นทุน คา่ ใช้จา่ ย และความสญู เสยี โดยแท้จรงิ เปน็ สง่ิ เดียวกัน แต่จะมคี วามหมายที่ แตกตา่ งกันในด้านความหมายในารใชง้ าน ต้นทนุ และความสญู เสยี ต่างกเ็ ปน็ คา่ ใชจ้ ่ายทั้งสนิ้ คา่ ใช้จา่ ย ไม่วา่ จะอยูใ่ นรูปแบบของเงนิ สดหรอื สงิ่ แลกเปลี่ยนใดๆ ย่อมถือไดว้ ่าเปน็ สิง่ ทจ่ี า่ ยไปเพอื่ ให้ไดผ้ ลผลติ 8.2 คา่ ใช้จา่ ย (Expense) ต้นทุนในการให้ไดร้ ายได้สาหรับชว่ งระยะเวลาใดๆ เชน่ เงนิ เดือนในสานักงาน คา่ ใช้จา่ ยเป็นจานวนเงินหรือส่ิงแลกเปลยี่ นที่จ่ายไปเพอ่ื ใชใ้ นการบริการซึ่งตดั ลดทอนจากส่วนใฃ รายไดใ้ นงวดบญั ชใี ดๆ จงึ มกั จะใช้ในดา้ นรายได้ทางการเงินมากกว่าใชใ้ นระบบบัญชที รพั ยส์ ิน 8.3 ต้นทนุ (Cost) คา่ ใชจ้ ่ายท่ีจา่ ยไปสาหรบั ปัจจยั ทางการผลิตเพื่อให้เกดิ ผลผลติ ต้นทนุ จึงเปน็ ส่วนทใี่ ช้ สาหรบั นยิ าม อัตราผลิตภาพหรอื ผลิตภาพ (Productivity) ซ่ึงเทา่ กับผลผลติ (Output) หารดว้ ย ปัจจยั นาเขา้ (Input) ตน้ ทนุ จงึ เป็นมลู คา่ ทวี่ ัดได้ในเชิงเศรษฐศาสตรข์ องทรัพยากรทใ่ี ช้ และต้นทุนมี ลักษณะทใี่ ช้จ่ายไปเพ่ือใหไ้ ด้ผลติ ภณั ฑห์ รอื การบริการที่ถือเปน็ สินทรัพยไ์ ด้ 8.4 ความสญู เสีย คา่ ใชจ้ ่ายทีจ่ า่ ยไปแลว้ เกิดผลไดน้ อ้ ยกว่าหรือคา่ เสียหายท่ตี ้องจา่ ยโดยไมม่ ผี ลตอบแทน และเปน็ ค่าใชจ้ ่ายที่ถูกตัดออกจากส่วนของผูถ้ อื ห้นุ มากกวา่ ท่จี ะหักจากส่วนของการลงทุน ความ สูญเสยี ทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดจ้ ากการตัดสนิ ใจที่ผดิ พลาดหรือเกิดจากสงิ่ ผิดปกตติ ามธรรมชาติ เชน่ ไฟไหม้ ตกึ ถลม่ 9. งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
31 คุณกนกกุล ชาญเวช (2557) ได้ทาการศึกษาการแปรรูปกล้วยตากรสธรรมชาติ จากปัญหา ดา้ นการปลูกและผลติ พชื ที่ไมไ่ ดค้ ุณภาพมาตรฐาน หรอื ปญั หาดา้ นการตลาดทีไ่ มส่ ามารถกาหนดราคา ซ้ือขายได้ จึงส่งผลตอ่ ความม่ันคงของเกษตรกร สานักงานเกษตรอาเภอเมือง จึงส่งเสริมให้เกษตรกร รวมกลุ่มเป็นกลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชน หรือทาการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เพ่ือให้ทุกคนได้ร่วมคิดรว่ มทา ให้ มีการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ให้เป็นศูนย์รวมการจัดหาปัจจัยราคาถูกมาใช้ในการผลิต เป็นศูนย์รวม รองรับข้อมลู ขา่ วสารด้านวชิ าการเพื่อนามาส่พู ฒั นาการผลติ สนบั สนุนแหลง่ ทุนหรอื วัสดุอุปกรณ์ หรือ ส่งเสริมด้านการตลาดเพ่ือให้มีแหล่งจาหน่ายผลผลิตพอเพียงด้านพัฒนาการปลูกและผลิตกล้วยพืช เศรษฐกิจสาคญั ไดส้ ง่ เสริมให้ผลิตในระบบเกษตรดที เี่ หมาะสม และส่งเสริมการแปรรปู เปน็ กล้วยตาก เพ่ือเพ่ิมมูลค่าผลผลิตและเพ่ือเปน็ การถนอมอาหารไวไ้ ดย้ าวนานข้ึน นอกจากส่งเสริมการแปรรูปเป็น กล้วยตากรสธรรมชาติท่ีหวานหอมอร่อยแล้วก็ได้สนับสนุนให้พัฒนาการผลิตเป็นกล้วยตากเคลือบ ชอ็ กโกแลตและกาแฟท่ีเปน็ รสชาติแปลกใหม่ ไดเ้ ป็นผลิตภณั ฑ์คุณภาพท่ีเปน็ ทางเลือกใหม่ของตลาด และเปน็ เสน้ ทางกา้ วเดนิ สูก่ ารยกระดับรายได้ของเกษตรกรในชมุ ชนไปสู่การยังชพี ทม่ี ั่นคง ชนกานต์ กิจเกตุ (2561) ได้ทาการศึกษาผลการจัดทาโครงงานสหกิจศึกษา จากการท่ีได้ ปฏิบัตโิ ครงงานสหกิจศกึ ษา ณ โรงแรมสวนสามพราน (Suan Sampran)คณะผจู้ ัดทาได้รบั มอบหมาย ให้ปฏิบัติงาน ภายในแผนกครัว เป็นเวลา 3 เดือน 15วันได้ปฏิบัติงานจริง ฝึกความอดทน มีความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ ฝึกความตรงต่อเวลา ได้เรียนรู้การทาขนมไทยและเบอเกอร่ี ทางคณะผู้จัดทา โครงงานได้นากล้วยน้าว้าเหลือท้ิงมาแปรรูปเป็น เมนูอาหารใหม่ เป็นกล้วยฉาบ 3 รส (รสเมี่ยงคา รสน้าจ้ิมซีฟู๊ด รสเผ็ดเกาหลี) จากการเหลือท้ิง กล้วยน้าว้าทาให้เกิดประโยชน์ เพื่อลดปริมาณของ วัตถุดิบท่ีเหลือทิ้ง ซ่ึงผลที่ได้จากแบบสอบถาม นั้นอยูในเกณฑ์ที่น่าพึงพอใจมาก จากผลตอบ แบบสอบถามความพึงพอใจ ผลจากตารางการประเมินความพึงพอใจจากพนักงานโรงแรมสวนสาม พราน (Suan Sampran) จานวน 32 คน พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 68.75 มี อายุ ระหว่าง 20 -40 ปี ร้อยละ 43.75และปฏิบัติงานในแผนกครัว เบเกอรี่ ร้อยละ 37.20 จากการ สา รวบความพึงพอใจ พบว่า กล้วยฉาบรสเมี่ยงคาได้รับคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยสูงสุดที่ 4.69 คะแนน รองลงมา กลว้ ยฉาบรสเผ็ดเกาหลี มีคะแนนความพงึ พอใจที่ 3.13 คะแนน และรสนา้ จ้มิ ซฟี ู้ด มีคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ย 1.25 คะแนน ท้ังนี้ กล้วยฉาบรสเม่ียงคาเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถนาไป ผลติ เป็นสนิ ค้าของสถานประกอบการได้
32 คณุ อชิรวทิ ย์ ใจดี (2562) ได้ทาการศึกษาการผลิตกลว้ ยตากเคลอื บช็อกโกแลตและกาแฟ การเลขานกุ ารวิสาหกจิ ชมุ ชนชายแดนไทย-ทวาย เล่าใหฟ้ งั วา่ ลกั ษณะพ้ืนทีเ่ ขตตาบลบ้านเก่า อาเภอ เมือง จังหวัดกาญจนบรุ ี เป็นปา่ ชายเขา เป็นพน้ื ท่รี าบสงู ลกู ฟัก และเปน็ พืน้ ทร่ี าบลมุ่ น้า ลกั ษณะดนิ มี ความอุดมสมบูรณจ์ งึ เหมาะตอ่ การปลกู พืช และถงึ แม้วา่ จะมกี ารปลกู กลว้ ยแบบหัวไรป่ ลายนาเพอ่ื บรโิ ภคในครวั เรอื น แตต่ ลาดกลบั มีความตอ้ งการมากขนึ้ จึงได้เปน็ ผู้นาบุกเบกิ ปลูกกลว้ ยน้าวา้ และมี เกษตรกรในชมุ ชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการปลูกกล้วยกว่า 50 ไร่ โดยคาดหวังว่าจะเพ่มิ ผลผลติ ได้ พอเพียงกบั ความตอ้ งการของผู้บรโิ ภค ขณะเดียวกัน เม่อื ผลผลิตกลว้ ยออกส่ตู ลาดในปรมิ าณมาก ราคาซอื้ ขายก็ต่ากวา่ ต้นทนุ จึงแกป้ ัญหาดว้ ยการนาผลผลิตกล้วยมาแปรรปู เป็นกล้วยตาก การผลติ ได้ พัฒนาคณุ ภาพมาตอ่ เนือ่ ง กระท่งั นามาสกู่ ารผลิตกล้วยตากเคลือบชอ็ กโกแลตและกาแฟ เพ่ือใหท้ ุก คนได้ลิ้มลองรสชาตแิ ปลกใหม่
บทที่ 3 วธิ ดี าเนนิ งานโครงการ การพัฒนาผลติ ภณั ฑก์ ลว้ ยตากเคลือบชอ็ กโกแลตให้มีความทันสมัยเปน็ ที่นา่ สนใจและเปน็ แนวทางเลือกแก่ผู้บรโิ ภค ผูด้ าเนินโครงการมีวิธกี ารดาเนนิ งานตามขน้ั ตอนดังตอ่ ไปน้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 2. เครือ่ งมอื ทใ่ี ชก้ ารศกึ ษา 3. ข้ันตอนในการสร้างเครือ่ งมอื 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 5. วธิ ีการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติทใี่ ช้ในการศึกษา 1. ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 1.1 กลุม่ เปา้ หมายท่ีใช้ในการศึกษาครง้ั น้ี ได้แก่ ประชาชนทั่วไป ตลาดนัดบา้ นสวนซอย11 และลูกค้าออนไลน์ จานวน 30 คน ซึง่ ไดม้ าจากการเลอื กแบบบังเอญิ (Accidental Sampling) 2. กลุม่ เปา้ หมายทีใ่ ช้ในการศึกษา เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการศกึ ษาครงั้ นี้ เปน็ แบบสอบถามซง่ึ ประกอบดว้ ยแบบมาตราสว่ น ประมาณคา่ (Rating Scale)แบบคาถามปลายเปิด (Open Ended Questionnaire) และ แบบสอบถามปลายปดิ (Close Ended Questionnaire) จานวน 3 ตอน มีรายละเอยี ด ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจผ้บู รโิ ภค ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ 3. ขัน้ ตอนในการสรา้ งเคร่อื งมอื การสรา้ งเคร่อื งมอื จากแบบสอบถาม ซ่ึงมีรายละเอยี ดแบง่ เปน็ 3 ตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ขอ้ 1 เพศ ข้อ 2 อายุ ข้อ 3 อาชีพ
34 ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพึงพอใจผลิตภณั ฑแ์ ละบรรจุภณั ฑ์กล้วยตากเคลอื บช็อกโกแลตลักษณะ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วน 5 ระดบั ระดับ 5 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมากท่ีสดุ ระดับ 4 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมาก ระดับ 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง ระดบั 2 หมายถึง มคี วามพึงพอใจนอ้ ย ระดับ 1 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจน้อยทส่ี ดุ โดยกาหนดเกณฑ์การแปลความหมายข้อมูลท่ีเป็นค่าเฉลย่ี ต่าง ๆ คอื ค่าเฉลย่ี ระหว่าง ความหมาย 4.21 – 5.00 มีความพงึ พอระดับมากที่สดุ 3.41 – 4.20 มีความพึงพอระดบั มาก 2.61 – 3.40 มคี วามพึงพอระดับปานกลาง 1.81 – 2.60 มคี วามพงึ พอระดับนอ้ ย 1.00 – 1.80 มีความพงึ พอระดับนอ้ ยทส่ี ดุ ตอนที่ 3 เป็นคาถามปลายเปดิ สาหรบั ผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ เพม่ิ เติมและให้ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู คณะผจู้ ดั ทาไดด้ าเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามลาดบั ขั้นตอน ดงั นี้ 4.1 ดาเนนิ การแจกแบบสอบถาม กลว้ ยตากเคลอื บช็อกโกแลต โดยแจกแบบสอบถาม ใหก้ บั กลุ่มเป้าหมาย และขอรบั คนื ดว้ ยตนเอง 4.2 เก็บรวบรวมแบบสอบถาม กลว้ ยตากเคลอื บช็อกโกแลต เพอ่ื นาขอ้ มูลทีไ่ ดม้ าวเิ คราะห์ ตอ่ ไป 5. วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติทีใ่ ช้ในการศกึ ษา คะแนนที่ไดจ้ ากแบบสอบถาม หาค่ารอ้ ยละ รวมท้งั หาคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน โดยใช้สตู รดังนี้
35 5.1 คา่ ร้อยละ เมอ่ื P แทน รอ้ ยละ F แทน ความถ่ที ี่ตอ้ งการแปลคา่ ใหเ้ ปน็ รอ้ ยละ N แทน จานวนความถ่ีทงั้ หมด 5.2 คา่ เฉลย่ี ������̅ = ∑������ ������ เมอ่ื ������̅ แทน คา่ เฉลยี่ ∑������ แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมดในกลมุ่ ������ แทน จานวนคะแนนในกล่มุ 5.3 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ������. ������. = √������������������������(2������−−(���1������)���)2 เม่ือ ������. ������. แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ������������ แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัว ������ แทน จานวนคะแนนในกลมุ่ X แทน คะแนนแตล่ ะตวั ในกลุ่มขอ้ มลู
บทท่ี 4 การวเิ คราะห์ข้อมลู การดาเนนิ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยตากเคลือบช็อกโกแลต จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผู้ ดาเนินโครงการมีผลดาเนินงานโครงการดังต่อไปน้ี 4.1 สญั ลักษณ์ทใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล N แทน จานวนคนในกลมุ่ เปา้ หมาย ������̅ แทน คะแนนเฉล่ยี ������. ������. แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 4.2 การนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล การวิเคราะหข์ ้อมูลในการศึกษาคร้งั น้ี ผู้ศกึ ษาได้ดาเนนิ การวิเคราะห์ออกเปน็ 3 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ข้อมลู ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายตอ่ ผลติ ภัณฑ์กลว้ ยตากเคลือบช็อกโกแลต แบง่ เปน็ 4 ดา้ นคือ 1. ดา้ นคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ 2. ด้านคุณภาพบรรจภุ ณั ฑ์ 3. ดา้ นการออกแบบตรา สนิ คา้ 4. ด้านการใชง้ านและความเหมาะสมผลิตภัณฑโ์ ดยรวม ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
37 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ตอนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงความถ่ีและร้อยละของกลุ่มเป้าหมายจาแนกตามเพศ สภานภาพ กล่มุ เปา้ หมาย n=30 จานวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 9 30.00 หญงิ 21 70.00 รวม 30 100.00 จากตารางท่ี 1 พบว่ากล่มุ เปา้ หมายส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญงิ จานวน 21 คน คดิ เปน็ ร้อย ละ 70.00 เพศชาย จานวน 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 30.00 เพศ ชาย หญิง 30% 70%
38 ตารางที่ 2 แสดงความถี่และร้อยละของกล่มุ เป้าหมายจาแนกตามช่วงอายุ สภานภาพ กลุ่มเปา้ หมาย n=30 จานวน รอ้ ยละ อายุ 1 3.30 ต่ากวา่ 12 ปี 22 73.30 13-29 ปี 3 10.00 30-39 ปี 2 6.70 40-59 ปี 60 ปขี ึ้นไป 2 6.70 รวม 30 100.00 จากตารางท่ี 2 พบวา่ กล่มุ เปา้ หมายสว่ นใหญ่ อายุ 13-29 ปี จานวน 22 คน คดิ เปน็ รอ้ ย ละ 73.30 รองลงมาอายุ 30-39 ปจี านวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.00 อายุ 40-59 ปี จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.70 อายุ 60 ปี จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.70 อายตุ ่ากวา่ 12 ปจี านวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.30 อายุ ต่ากวา่ 12 ปี 13-29 ปี 6.7% 30-39 ปี 6.7% 40-59 ปี 60 ปี ขนึ ้ ไป 3.3% 10% 73.3%
39 ตารางที่ 3 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกล่มุ เปา้ หมายจาแนกตามสถานะ สภานภาพ กลุม่ เปา้ หมาย n=30 จานวน ร้อยละ สถานะ นกั เรยี น 4 13.30 นกั ศึกษา 18 60.00 ข้าราชการครู 1 3.30 รับจ้างทว่ั ไป 6 20.00 อน่ื ๆ(ระบ)ุ 1 3.30 รวม 30 100.00 จากตารางท่ี 3 พบว่ากลมุ่ เปา้ หมายส่วนใหญ่ เปน็ นักศกึ ษา จานวน 18 คน คดิ เปน็ รอ้ ย ละ 60.00 รองลงมารับจา้ งทว่ั ไป จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20.00 นกั เรยี น จานวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 13.30 ข้าราชการครู จานวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.30 อ่ืนๆ จานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.30 สถานภาพ 13.30%, 14% 20%, 21% นกั เรียน 3.30%, 3% นกั ศกึ ษา ข้าราชการครู 60%, 62% รับจ้างทวั่ ไป อ่ืนๆ(ระบ)ุ
Search