Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฟอร์แหล่งเรียนรู้ล่าสุด64โพธิ์ใหญ่

แบบฟอร์แหล่งเรียนรู้ล่าสุด64โพธิ์ใหญ่

Published by varaporn pongprasert, 2021-06-23 04:22:48

Description: แบบฟอร์แหล่งเรียนรู้ล่าสุด64โพธิ์ใหญ่

Search

Read the Text Version

แหล่งเรยี นรู้อบุ ลราชธานี ชอื่ แหล่งเรยี นรู้......ศูนย์เรยี นรู้เกษตรพอเพียง....................................................................... ตาบล.........โพธ์ใิ หญ่..........................อาเภอ.....วารินชาราบ....................... ดา้ น......การเกษตร...........................................สาขา.................................................. ผูร้ ับผดิ ชอบ/ผ้ถู า่ ยทอดแหล่งเรียนรู้ รปู แหลง่ เรยี นรู้ รปู ผรู้ บั ผดิ ชอบ/ผู้ถา่ ยทอดแหลง่ เรยี นรู้ ชอ่ื – สกุล...นายณรงค์ ทวพี นั ธ์...........ตาแหน่ง......ผู้ใหญบ่ ้าน.....................อาย.ุ .......49............ปี ทอ่ี ย่.ู .......20 ม.13 ต.โพธใ์ิ หญ่ อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี.................................................. เบอร์โทรศัพท์.......088-1058975................facebook…ณรงค์ ทวพี นั ธ์ .....line……0881059875.....

ผู้ประสานงานแหลง่ เรยี นรู้ รปู ผ้ปู ระสานงานแหลง่ เรยี นรู้ ชอ่ื – สกุล...นางสาววราภรณ์ พงษ์ประเสริฐ.......ตาแหนง่ ...ครู กศน.ตาบล............อาย.ุ .......50............ปี ทอี่ ยู่.....89 ถ.จงกลนธิ ารณ์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี.................................................................... เบอร์โทรศัพท.์ ....091-1375708........facebook…กศน.ตาบลโพธ์ิใหญ.่ .......line……0911375708……………... องค์ความร้แู ละความเช่ียวชาญ เปน็ ปรัชญาท่ชี ้ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบตั ติ นในทางทีค่ วรจะเป็น โดยมีพืน้ ฐานมาจากวิถี ชีวติ ดง้ั เดมิ ของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใชไ้ ด้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบทมี่ ีการ เปลยี่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มกี ารเปลย่ี นแปลงอยูต่ ลอดเวลา ม่งุ เนน้ การรอด พ้นจากภัย และวกิ ฤต เพื่อความม่นั คง และความยั่งยนื ของการพัฒนา เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถนามา ประยกุ ตใ์ ช้กบั การปฏบิ ัติตนไดใ้ นทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คณุ ลักษณะ ดังน้ี ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ่ีไมน่ ้อยเกินไป และไมม่ ากเกนิ ไปโดยไม่เบยี ดเบยี นตนเอง และผูอ้ นื่ เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคท่อี ยูใ่ นระดบั พอประมาณ ความมเี หตุผล หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดับของความพอเพียงนน้ั จะต้องเป็นไปอยา่ งมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จัยทีเ่ กี่ยวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลทค่ี าดว่าจะเกดิ ข้ึนจากการกระทานนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ การมภี มู ิคมุ้ กันท่ดี ีในตวั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีจะเกิดข้นึ โดยคานงึ ถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ทค่ี าดว่าจะเกดิ ข้นึ ในอนาคตทั้งใกล้ และไกล จากการนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาทส่ี มดุล และย่ังยืน พรอ้ มรบั ต่อการ เปลีย่ นแปลงในทุกด้าน ท้ังด้านเศรษฐกิจ สงั คม สิง่ แวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี

กระบวนการ/ข้นั ตอน/วิธดี าเนนิ งาน ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คือ ปญั หาทจี่ ะช่วยใหก้ ารพัฒนาประเทศเปน็ ไปอย่างสมดุลและยง่ั ยนื พร้อมรับ ต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกดา้ น ทงั้ ด้านเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้และเทคโนโลยี ซงึ่ ปจั จบุ ัน เศรษฐกจิ พอเพียง ได้ถูก นามาใช้เป็นนโยบายในการขับเคลือ่ นประเทศทงั้ นโยบายเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมทงั้ การใช้ชวี ติ ของคนไทยและยงั ไดบ้ รรจใุ ห้อยใู่ นแผนพฒั นาเศรษฐกจิ แห่งชาติ ฉบับท่ี 10 อีกดว้ ย ประชาชนทกุ ระดบั ควร ยึดหลักการปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งดงั น้ี 1. ยึดความประหยัด ตดั ทอนคา่ ใชจ้ ่ายในทุกด้านลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชพี อย่างงจริงจัง 2. ยึดถอื การประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ ตาม 3. ละเลกิ การแก่งแย่งผลประโยชน์และแขง่ ขันกนั ในทางการคา้ ขายประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่าง รุนแรงดังอดีต 4. ไม่หยดุ นง่ิ ท่จี ะหาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทกุ ขย์ ากครงั้ นี้ โดยต้องขวนขวายใฝห่ าความรูใ้ หเ้ กิด มรี ายไดเ้ พม่ิ พูนขนึ้ จนถึงขัน้ พอเพียงเปน็ เปา้ หมายสาคัญ 5. ปฏิบตั ติ นในแนวทางท่ดี ีและสิ่งย่ัวกิเลสใหห้ มดสนิ้ ไป วธิ ีการถา่ ยทอดองค์ความรเู้ พือ่ นาสูก่ ารปฏิบตั ิ เปดิ ให้ผู้ทีส่ นใจเขา้ มาศึกษาดูงานได้ ไม่ว่าจะมาจากภาครฐั หรอื เอกชน รวมถึงเปดิ กลุ่มใหเ้ ยาวชนจาก สถานศึกษาภายในชมุ ชนและนอกชมุ ชน องคก์ รเอกชน มหาวิทยาลัยต่างๆ และประชาชนท่วั ไปสามารถเขา้ ฝกึ อบรมความรู้ ฝึกปฏิบัตไิ ด้ตลอดเวลา โดยมนี ายณรงค์ ทวพี ันธ์ ปราชญ์ชาวบ้าน เปน็ ผูถ้ า่ ยทอดองค์ ความรู้และประสบการณท์ ัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้กับผู้ทสี่ นใจ ผลผลติ /ผลสัมฤทธ/์ิ ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากการปฏิบตั ิ ศนู ยเ์ รียนร้เู กษตรพอเพยี งกาลงั จะเปน็ แหลง่ เรยี นรู้โคก หนอง นา โมเดล เพ่ือให้เกษตรกรในพื้นที่ นาเป็นแบบอย่างตามแนวพระราชดาริเพ่ือการลดตน้ ทนุ การผลติ การเพม่ิ ผลผลติ มคี ุณภาพ และมตี ลาดรองรบั ภายใต้การบรหิ ารจดั การทด่ี ี สามารถเพิ่มศักยภาพในการแขง่ ขันสินคา้ เกษตร และสรา้ งความเข้มแขง็ ให้ เกษตรกร ซ่ึงเปน็ ผลงานทเ่ี ปน็ เคร่อื งพิสจู นแ์ ละประจักษต์ ่อสายตาของคนในชุมชนและนอกชมุ ชนไดเ้ ป็นอย่าง ดี ลกั ษณะเครือข่ายและการสร้างเครอื ขา่ ย การมีส่วนร่วมกับหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง มกี ารสร้างและขยายเครอื ข่ายอยู่ตลอดเวลาโดยไมม่ กี ารปิดก้นั ใดๆ การเรียนร้เู ป็นเร่ืองท่ีมี ความสาคัญเชิงยทุ ธศาสตร์มากขึน้ สาหรับชมุ ชนและความเจริญของชุมชน ด้วยการเรยี นร้เู ปน็ สอ่ื เชอ่ื มโยงกับ ขอ้ มลู ขา่ วสาร องค์ความรแู้ ละทกั ษะซึ่งเป็นหัวใจสาคญั ของเศรษฐกจิ การเรยี นรูท้ ีป่ ระสบความสาเรจ็ ก็คือ การทีแ่ ต่ละบคุ คลสามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ครือ่ งมอื ขอ้ มูลขา่ วสารและองค์ความรู้ทเ่ี หมาะสม เพอ่ื แก้ปญั หา และ

แสวงหาโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวติ ส่วนเครอื ข่ายการเรียนรกู้ ็เป็นกระบวนการทส่ี าคัญในการพัฒนาการ เรียนรตู้ ลอดชวี ิต เครอื ข่ายเป็นระบบการเชื่อมโยงระหว่างบคุ คล หน่วยงาน องค์กร และชมุ ชนเขา้ ดว้ ยกนั ทา ใหส้ ามารถแลกเปล่ยี นความรู้ ความคิด ข้อมลู ขา่ วสาร ทรัพยากร ตลอดจนส่งเสรมิ การภารกิจให้มีผลสาเร็จ และมปี ระสิทธภิ าพมากยิง่ ขึ้น แผนงานในอนาคต และการนาไปขยายผล (Applicable) จากจุดเริม่ ต้นของการทาครอบครัวของตนเองจนปจั จุบันเป็นแหลง่ เรยี นรู้ท่ีดี และอนาคตกาลังจะเกิด การขยายผลมากข้ึน เพื่อให้ทุกคนมสี ่วนร่วมในกระบวนการดาเนินงานทเี่ นน้ การลดตน้ ทุนการผลติ การเพ่ิม ผลผลติ มีคุณภาพ และมตี ลาดรองรับ ภายใตก้ ารบรหิ ารจัดการทีด่ ี สามารถเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขนั สนิ ค้า เกษตร และสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร รางวัลหรือเกียรตคิ ุณทีไ่ ด้รับ ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. .................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook