Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือองค์ประกอบศิลป์

หนังสือองค์ประกอบศิลป์

Published by อารียา แซ่หมี, 2021-03-17 07:01:21

Description: หนังสือองค์ประกอบศิลป์

Search

Read the Text Version

1

ก คำนำ หนังสือเรียน องค์ประกอบศิลป์สำหรับงานคอมพิวเตอร์ (ArtElements for Computer Works) รหัวิชา 2024-2006 เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ของสำนักงา คณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนงั สือเล่มน้ปี ระกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 6 หน่วย ประกอบดว้ ยเนื้อหาดงั น้ี คือหลกั การองค์ประกอบศิลป์ การจำแนกธาตุทางทัศนศิลป์ หลักการและกฎเกณฑ์ขององค์ประกอบศิลป์ ศิลปะกับคอมพิวเตอร์ การจัดวาง ตำแหน่งของวตั ถุ และการออกแบบและแกไ้ ขชนิ้ งานด้วยโปรกรม Adobe illustrator ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งหนังสือเรียนวิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับงานคอมพิวเตอร์ (ArtElements for Computer Works) เลม่ นจี้ ะเอิออำนวยประโปยชน์แก่นักเรียน ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้ทีส่ นใจวิชานี้เป็นอย่าง ดี สุดท้ายนี้ผู้เรียบเรียงของกราบขอบพระคุณเจ้าของผลงานทุกท่านที่ผู้เรียบเรียงได้นำมาอ้างอิงและยกตัวอย่าง ประกอบไว้ในหนงั สือเลม่ นี้ขอขอบพระคุณทุกทา่ นไว้ ณ โอกาสน้ี ผู้จดั ทำ สุดารัตน์ แซ่เจ๊า โปะ๊ กา พะดี อารยี า แซ่หมี

สำรบญั ข 1. หลกั การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ หน้ำ ความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ องคป์ ระกอบของศลิ ป์ 4 สว่ นประกอบขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 5 ลกั ษณะของเสน้ 6 ความสาคญั องเสน้ 7 ประวตั คิ วามเป็นมาของสี 7 คุณลกั ษณะของสี 7 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างรปู ทรง 8 หลกั องคป์ ระกอบทางศลิ ปะ 11 แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 1 12 2. ธาตุทางทศั นศลิ ป์ 12 ความเป็นมาของทศั นศลิ ป์ 15 ประเภทของทศั นศลิ ป์ 17 โครงสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ 18 แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 2 19 3. กระบวนการสรา้ งสรรคง์ านทนั ศลิ ป์ 20 การจดั องคป์ ระกอบทางศลิ ป์ 28 การจดั องคป์ ระกอบองศลิ ปะ 31 พน้ื ผวิ กบั งานทศั นศลิ ป์ 31 แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 3 32 4. ศลิ ปะระกบั คอมพวิ เตอร์ 36 ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์ 38 การออกแบบกราฟิก 39 ความหมายของการออกแบบกราฟิก 40 งานกราฟิกกบั คอมพวิ เตอร์ 41 แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 4 42 5. การจดั ภาพ 46 ความหมายของการจดั ภาพ 55 56 57

การจดั ภาพของงานทศั นศลิ ป์ ค ความสมดุลของภาพ แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 5 58 59 71

1 หน่วยท่ี 1หลกั การองคป์ ระกอบศลิ ป์ สาระสาคญั องคป์ ระกอบศลิ ป์ หรอื Composition นนั้ มาจากภาษาละตนิ โดยคาวา่ Post นนั้ หมายถงึ การจดั วาง และคา ว่า Comp หมายถึง เข้าด้วยกนั ซ่ึงเม่อื นามารวมกันแล้วในทางศิลปะ Composition จึงหมายความถึง องคป์ ระกอบของศลิ ปะ การจะเกดิ องคป์ ระกอบศลิ ป์ไดน้ นั้ เรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษา 1. ความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 2. ความสาคญั ขององศป์ ระกอบศลิ ป์ 3. องคป์ ระกอบพน้ื ฐานดา้ นนามธรรมของศลิ ปะ 4. สว่ นประกอบขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 5. การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ 6. หลกั องคป์ ระกอบศลิ ป์ สมรรถนะประจาหน่วย 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การจดั วางตามหลกั การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. เขยี นความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 2. อธบิ ายความสาคญั ขององคป์ ระกอบศลปิ ์ได้ 3. แยกแยะองคป์ ระกอบศลิ ป์พน้ื ฐานดา้ นนามธรรมของศลิ ปะได้ 4. วเิ คราะหส์ ว่ นประกอบขององคป์ ระกอบศลิ ป์ได้ 5. จาแนกการจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ได้ 6. จดั ภาพตามหลกั องคป์ ระกอบศลิ ป์

2 ความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ องคป์ ระกอบศลิ ป์ หรอื Composition นนั้ มาจากภาษาละตนิ โดยคาวา่ Post นนั้ หมายถงึ การจดั วาง และคา ว่า Comp หมายถึง เข้าด้วยกัน ซ่ึงเม่อื นามารวมกันแล้วในทางศิลปะ Composition จึงหมายความถึง องค์ประกอบของศลิ ปะ การจะเกิดองค์ประกอบศิลป์ได้นัน้ ต้องเกิดจากการเอาส่วนประกอบของศิลปะ Element of Art มาสร้างสรรค์งานศิลปะเข้าด้วยหลกั การจดั องค์ประกอบศลิ ป์ Principle of Art จึงจะเป็น ผลงานองคป์ ระกอบศลิ ป์ ความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์นนั้ ไดม้ นี ักวชิ าการหลายท่านไดใ้ หค้ วามหมาย เอาไว้ องคป์ ระกอบศลิ ป์ หมายถงึ สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของศลิ ปะ เช่น จดุ เสน้ รปู ร่าง ขนาด สดั สว่ น น้าหนกั แสงเงา ลกั ษณะพน้ื ผวิ ทว่ี ่าง และสจี ากความหมายต่าง ๆ ขา้ งตน้ ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ พอสรุปไดว้ ่า องคป์ ระกอบศลิ ป์ หมายถงึ สง่ิ ทม่ี นุษยใ์ ชเ้ ป็นส่อื ในการแสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์ โดยนาสว่ นประกอบของศลิ ปะมาจดั วางรวมกนั อย่าง สอดคลอ้ งกลมกลนื และมคี วามหมาย เกดิ รปู ร่างหรอื รปู แบบต่าง ๆ การจดั องคป์ ระกอบศลิ ปะ เป็น หลกั สาคญั สาหรบั ผสู้ รา้ งสรรค์ และผศู้ กึ ษางานศลิ ปะ เน่ืองจากผลงานศลิ ปะใด ๆ กต็ าม ลว้ นมคี ุณค่า อยู่ 2 ประการ คอื คณุ คา่ ทางดา้ นรปู ทรง และ คุณค่าทางดา้ นเรอ่ื งราว คุณคา่ ทางดา้ นรปู ทรง เกดิ จากการ นาเอา องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของ ศลิ ปะ อนั ไดแ้ ก่ เสน้ สี แสงและเงา รูปร่าง รปู ทรง พน้ื ผวิ ฯลฯ มาจดั เขา้ ด้วยกนั เพ่อื ใหเ้ กดิ ความงาม ซ่งึ แนวทางในการนาองค์ประกอบต่าง ๆ มาจดั รวมกนั นัน้ เรยี กว่า การจดั องค์ ประกอบศลิ ป์ โดยมหี ลกั การจดั ตามท่จี ะกล่าวต่อไป อกี คุณค่าหน่ึงของงานศลิ ปะ คอื คุณค่า ทางดา้ นเน้อื หา เป็นเรอ่ื งราว หรอื สาระของผลงานทศ่ี ลิ ปินผสู้ รา้ ง สรรคต์ อ้ งการทจ่ี ะแสดงออกมา ใหผ้ ชู้ มได้ สมั ผสั รบั รโู้ ดยอาศยั รปู ลกั ษณะ ทเ่ี กดิ จากการจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ นนั่ เองหรอื อาจกลา่ วไดว้ ่า ศลิ ปิน นาเสนอเน้อื หาเรอ่ื งราวผ่านรูปลกั ษณะทเ่ี กดิ จากการจดั องคป์ ระกอบทางศลิ ปะ ถา้ องคป์ ระกอบทจ่ี ดั ขน้ึ ไม่ สัมพันธ์ กับเน้ือหาเร่ืองราวท่ีนาเสนอ งานศิลปะนั้นก็จะขาดคุณค่าทางความงามไปดังนัน้ การ จัด องค์ประกอบศลิ ป ์์จึงมคี วามสาคญั ใน การสร้างสรรค์งานศิลปะ เป็นอย่างยงิ่ เพราะจะทาให้งานศลิ ปะ ทรงคุณค่าทางความงามอยา่ งสมบูรณ์ ความสาคญั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะในสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาวจิ ติ รศลิ ป์หรอื ประยุกตศ์ ลิ ป์ ผสู้ รา้ งสรรคน์ ัน้ ตอ้ งมคี วามรเู้ บอ้ื งตน้ ดา้ นศลิ ปะมาก่อน และศกึ ษาถงึ หลกั การองคป์ ระกอบพน้ื ฐาน องคป์ ระกอบทส่ี าคญั องคป์ ระกอบศลิ ป์ เป็นเสมอื นหวั ใจดวงหน่ึงของการทางานศลิ ปะ เพราะในงานองคป์ ระกอบศลิ ป์หน่ึงชน้ิ จะประกอบไปด้วย การร่างภาพ (วาดเสน้ ) การจดั วางใหเ้ กดิ ความงาม (จดั ภาพ) และการใชส้ ี (ทฤษฎสี )ี ซ่งึ แต่ละอย่างจะตอ้ ง เรยี นรสู้ รู่ ายละเอยี ดลกึ ลงไปอกี องคป์ ระกอบศลิ ปินจงึ เป็นพน้ื ฐานสาคญั ทร่ี วบรวมความรหู้ ลาย ๆ อย่างไว้ ดว้ ยกนั จงึ ตอ้ งเรยี นรกู้ ่อนทจ่ี ะศกึ ษาในเรอ่ื งอน่ื ๆ (อนนั ต์ ประภาโส)

3 องคป์ ระกอบของศลิ ป์ จดั เป็นวชิ าทม่ี คี วามสาคญั สาหรบั ผศู้ กึ ษางานศลิ ปะ หากว่าขาดความรู้ ความเขา้ ใจในวชิ าน้ีแลว้ ผลงานท่ี สรา้ งขน้ึ มากย็ ากทป่ี ระสบความสาเรจ็ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ งานศลิ ปะสมยั ใหม่ทม่ี กี ารแสดงเฉพาะ เสน้ สี แสง เงา น้าหนกั พน้ื ผวิ จงั หวะ และบรเิ วณทว่ี า่ ง มคี วามจาเป็นอยา่ งยงิ่ ตอ้ งนาหลกั การองคป์ ระกอบศลิ ป์มาใช้ การจดั องคป์ ระกอบทส่ี าคญั การจกั วางองคป์ ระกอบเหล่านัน้ รวมถงึ การกาหนดสี ในลกั ษณะต่าง ๆ เพม่ิ เตมิ ให้เกดิ ความเขา้ ใจ เพ่อื เวลาทส่ี รา้ งผลงานท่มี คี ุณค่า ความหมายและความงามเป็นท่นี ่าสนใจแก่ผู้พบเหน็ หาดสรา้ งสรรคผ์ ลงาน โดยขาดองคป์ ระกอบศลิ ป์ ผลงานนนั้ อาจดดู อ้ ยค่า หมดความหมายหรอื ไม่น่าสนใจไปเลย ดงั นนั้ จะเหน็ ได้ ว่าองคป์ ระกอบศลิ ป์นนั้ มคี วามสาคญั อย่างมากในการสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะ การศกึ ษาดน้ ศลิ ปะหลายท่านไดใ้ ห้ ทรรศนะในดา้ นความสาคญั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ทม่ี ตี ่อการสรา้ งงานศลิ ปะไว้ องคป์ ระกอบพน้ื ฐานดา้ นนามธรรมของศลิ ปะ องค์ประกอบพ้นื ฐานด้านนามธรรมของศิลปะ เป็นแนวคดิ หรอื จุดกาเนิดแรกท่ีศลิ ปินใช้เป็นสงิ่ กาหนดทศิ ทางในการสรา้ งสรรค์ ก่อนทจ่ี ะมกี ารสรา้ งผลงานศลิ ปะ ประกอบดว้ ย เน้อื หากบั เร่อื งราว 1.เน้ือหาในทางศลิ ปะ คอื ความคดิ ทเ่ี ป็นนามธรรมทแ่ี สดงให้เหน็ ได้โดยผ่านกระบวนการทาง ศลิ ปะ เช่น ศลิ ปินตอ้ งการเขยี นภาพทม่ี เี น้อื หาเกย่ี วกบั ชนบท กจ็ ะแสดงออกโดยการเขยี นภาพทวิ ทศั น์ของ ชนบทหรอื ภาพวถิ ชี วิ ติ ของคนในชนบทเป็นตน้ 2.เร่อื งราวในทางศิลปะ คอื ส่วนท่ีแสดงความคิดทงั้ หมดของศิลปินออกมาเป็นรูปธรรมด้วย กระบวนการทางศลิ ปะ เช่น ศลิ ปินเขยี นภาพช่อื ชาวเขา กม็ กั แสดงรปู เก่ยี วกบั วถิ ชี วี ติ หรอื กจิ กรรมส่วน หน่งึ ของชาวเขา นนั่ คอื เรอ่ื งราวทป่ี รากฏออกมาใหเ้ หน็ ประเภทของความสัมพนั ธ์ของเน้ือหากับเร่อื งราวในงานทัศนศิลป์นัน้ เน้ือหากับเร่อื งราวจะมี ความสมั พนั ธก์ นั น้อยหรอื มาก หรอื อาจไมส่ มั พนั ธก์ นั เลย หรอื อาจไม่มเี ร่อื งเลยกเ็ ป็นไปไดท้ งั้ นนั้ โดยขน้ึ กบั ลกั ษณะของงาน และเจตนาในการแสดงออกของศลิ ปิน ซง่ึ เราสามารถแยกไดด้ งั ต่อไปน้คี อื (1) การเน้นเน้อื หาดว้ ยเร่อื ง (2) เน้อื หาทเ่ี ป็นผลจากการผสมผสานกนั ของศลิ ปินกบั เร่อื ง (3) เน้อื หาทเ่ี ป็นอสิ ระจากเร่อื ง (4) เน้อื หาไม่มเี รอ่ื ง 1. การเน้นเน้ือหาด้วยเร่อื ง ได้แก่ การใช้เร่อื งท่ตี รงกบั เน้ือหา และเป็นตวั แสดงเน้ือหาของงาน โดยตรง ตวั อยา่ งเชน่ เม่อื ศลิ ปินตอ้ งการใหค้ วามงามทางดา้ นดอกไมเ้ ป็นเน้อื หาของงาน เขากจ็ ะหาดอกไม้ ทส่ี วยงามมาเป็นเรอ่ื งสสี นั และความออ่ นชอ้ ยของกลบี ดอกจะชว่ ยใหเ้ กดิ ความงามขน้ึ ในภาพ

4 2. เน้ือหาท่เี ป็นผลจากการผสมผสานระหว่างศิลปินกบั เร่อื ง ในส่วนน้ีศลิ ปินจะเสนอความเหน็ สว่ นตวั หรอื ผสมความรสู้ กึ สว่ นตวั เขา้ ไปในเรอ่ื ง เป็นการผสมกนั ระหว่างรูปลกั ษณะของเรอ่ื งกบั จนิ ตนาการ ของศลิ ปิน เช่นเร่อื งความงามของดอกไม้ โดยศลิ ปินผสมความรสู้ กึ นึกคดิ ของตนเองลงไปในเร่อื งดว้ ย เขา จะดดั แปลง เพมิ่ เติมรูปร่างของดอกไม้ให้งามไปตามทศั นะของเขาและใช้องค์ประกอบทางศิลปะเป็น องคป์ ระกอบทางรปู ทรงใหส้ อดคลอ้ งกบั ความงามของเรอ่ื ง 3. เน้ือหาท่ีเป็นอิสระจากเร่ือง เม่ือศิลปินผสมจินตนาการของตนเองเข้าไปในงานมากข้ึน ความสาคญั ของเร่อื งจะลดลง ดอกไมท้ ส่ี วยทเ่ี ป็นแบบอาจถูกศลิ ปินตดั ทอนขดั เกลา หรอื เปลย่ี นแปลงมาก ทส่ี ดุ จนเรอ่ื งดอกไมน้ ัน้ หมดความสาคญั ไปอย่างสน้ิ เชงิ เหลอื แตเ่ น้อื หาทเ่ี ป็นอสิ ระ การทางานแบบน้ีศลิ ปิน อาศยั เพยี งเร่อื ง เป็นจุดเรม่ิ ต้นแลว้ เดนิ ทางห่างออกจากเร่อื งจนหายลบั ไป เหลอื แต่รูปทรงและตวั ศลิ ปินเอง ทเ่ี ป็นเน้อื หาของงาน กรณีน้เี น้อื หาภายในซง่ึ หมายถงึ เน้อื หาทท่ี เ่ี กดิ ขน้ึ จากการประสานกนั ของรปู ทรงจะมี บทบาทมากกวา่ เน้อื หาภายนอก หรอื บางครงั้ จะไมแ่ สดงเน้อื หาภายนอกออกมาเลย 4. เน้ือหาไม่มเี ร่อื ง ศลิ ปินบางประเภท ไม่มคี วามจาเป็นต้องใชเ้ ร่อื งเป็นจุดเรมิ่ ต้น งานของเขาไม่มี เร่อื ง มแี ต่รปู ทรงกบั เน้ือหา โดยรูปทรงเป็นเน้ือหาเสยี เองโดยตรง เป็นเน้ือหาภายในลว้ นๆ เป็นการแสดง ความคดิ อารมณ์ และบุคลกิ ภาพของศลิ ปินแท้ๆ ลงไปในรูปทรงท่บี รสิ ุทธิ์ งานประเภทน้ีจะเห็นได้ชดั ใน ดนตรแี ละงานทศั นศลิ ป์ทเ่ี ป็นนามธรรมและแบบนอนออบเจคตฟี สว่ นประกอบขององคป์ ระกอบศลิ ป์ องคป์ ระกอบพน้ื ฐานดา้ นนามธรรมของศปิ ะ เป็นแนวคดิ หรอื จดุ กาเนดิ แรกทศ่ี ลิ ปินใชเ้ ป็นสงิ่ กาหนดทศิ ทาง ในการสรา้ งสรรค์ ก่อนทจ่ี ะมกี ารสรา้ งผลงานศลิ ปะ ประกอบดว้ ยเน้อื หากบั เรอ่ื ง 1.เสน้ เสน้ Line เกดิ จากจุดท่เี รยี งต่อกนั หรอื เกดิ จากการลากเสน้ ไปยงั ทศิ ทางต่างๆ มหี ลายลกั ษณะ เช่น ตงั้ นอน เฉียง โค้ง ฯลฯ เสน้ เกดิ จากเคล่อื นทข่ี องจุด หรอื ถ้านาจุดมาวางเรยี งต่อๆ กนั กจ็ ะเกดิ เป็นเสน้ ข้นึ เสน้ มมี ติ เิ ดยี ว คอื ความยาว ไมม่ คี วามกวา้ ง ทาหน้าทเ่ี ป็นขอบเขตของทว่ี ่าง รปู รา่ ง รปู ทรง สี น้าหนกั รวมทงั้ เป็นแกนหลกั โครงสรา้ งของรปู ร่างรปู ทรงต่างๆ เสน้ เป็นพน้ื ฐานทส่ี าคญั ของงานศลิ ปะทุกชนิด เสน้ สามารถใหค้ วามหมาย แสดงความรุส้ กึ และอารมณ์ดว้ ย การสรา้ งเป็นรปู ทรงต่างๆ ขน้ึ เสน้ มี 2 ลกั ษณะคอื เสน้ ตรง Straight Line และ เสน้ โคง้ Curve Line เสน้ ทงั้ สองชนิดน้เี มอ่ื นามาจดั วางในลกั ษณะต่างๆ กนั และใหค้ วามหมาย ความรสุ้ กึ ท่ีแตกต่างกนั ออกไปดว้ ย ลกั ษณะของเสน้ 1. เสน้ ตงั้ หรอื เสน้ ดงิ่ ใหค้ วามรสู้ กึ ทางความสงู สงา่ มนั่ คง แขง็ แรง หนกั แน่น เป็นสญั ลกั ษณ์ของความ ซ่อื ตรง

5 2. เสน้ นอน ใหค้ วามรสุ้ กึ ทางความกวา้ ง สงบ ราบเรยี บ นิง่ ผอ่ นคลาย 3. เสน้ เฉยี ง หรอื เสน้ ทะแยงมมุ ใหค้ วามรสู้ กึ เคล่อื นไหว รวดเรว็ ไมม่ นั่ คง 4. เส้นหยกั หรอื เสน้ ซิกแซก แบบฟนั ปลา ให้ความรู้สกึ เคล่ือนไหว อย่างเป็นจงั หวะ มรี ะเบยี บ ไม่ ราบเรยี บ น่ากลวั อนั ตราย ขดั แยง้ ความรนุ แรง 5. เสน้ โคง้ แบบคลน่ื ใหค้ วามรสู้ กึ เคล่อื นไหวอยา่ งชา้ ๆ ล่นื ไหล ตอ่ เน่ือง สภุ าพออ่ นโยน นุ่มนวล 6. เสน้ โคง้ แบบกน้ หอย ใหค้ วามรสุ้ กึ เคล่อื นไหว คลค่ื ลาย หรอื เตบิ โตในทศิ ทางทห่ี มุนวน ถา้ มองเขา้ ไป จะเหน็ พลงั ความเคล่อื นไหวทไ่ี ม่สน้ิ สดุ 7. เสน้ โคง้ วงแคบ ใหค้ วามรสู้ กึ ถงึ พลงั ความเคล่อื นไหวทร่ี ุนแรง การเปลย่ี นทศิ ทางทร่ี วดเรว็ ไมห่ ยุดนง่ิ 8. เสน้ ประ ใหค้ วามรสู้ กึ ทไ่ี ม่ต่อเน่อื ง ขาด หาย ไมช่ ดั เจน ทาใหเ้ กดิ ความเครยี ด ความสาคญั ของเสน้ 1. ใชใ้ นการแบ่งทว่ี ่างออกเป็นสว่ นๆ 2. กาหนดขอบเขตของทว่ี ่างหมายถงึ ทาใหเ้ กดิ เป็นรปู ร่าง Shape ขน้ึ มา 3. กาหนดเสน้ รอบนอกของรปู ทรง ทาใหม้ องเหน็ รปู ทรง (Form) ชดั ขน้ึ 4. ทาหน้าทเ่ี ป็นน้าหนกั ออ่ นแก่ ของแสงและเงา หมายถงึ การแรเงาดว้ ยเสน้ 5. ใหค้ วามรสู้ กึ ดว้ ยการเป็นแกน หรอื โครงสรา้ งของรปู และโครงสรา้ งของภาพ 2.สี ประวตั คิ วามเป็นมาของสี มนุษย์เร่ิมมีการใช้สีตัง้ แต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีทัง้ การเขียนสีลงบนผนังถ้า ผนังหิน บนพ้ืนผิว เคร่อื งปนั้ ดนิ เผา และทอ่ี ่นื ๆภาพเขยี นสบี นผนงั ถา้ ROCK PAINTING เรม่ิ ทาตงั้ แตส่ มยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ในทวปี ยุโรป โดยคนก่อนสมยั ประวตั ศิ าสตรใ์ นสมยั หนิ เก่าตอนปลาย ภาพเขยี นสที ่มี ชี ่อื เสยี งในยุคน้ีพบท่ี ประเทศฝรัง่ เศษและประเทศสเปนในประเทศ ไทย กรมศิลปากรได้สารวจพบภาพเขียนสีสมัยก่อน ประวตั ศิ าสตรบ์ นผนังถ้า และ เพงิ หนิ ในท่ตี ่างๆ จะมอี ายุระหว่าง 1500-4000 ปี เป็นสมยั หนิ ใหม่และยุค โลหะไดค้ น้ พบตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2465 ครงั้ แรกพบบนผนงั ถ้าในอ่าวพงั งา ต่อมากค็ น้ พบอกี ซ่งึ มอี ยู่ทวั่ ไป เช่น จงั หวดั กาญจนบุรี อุทยั ธานี เป็นต้นสที ่เี ขยี นบนผนังถ้าส่วนใหญ่เป็นสแี ดง นอกนัน้ จะมสี สี ม้ สเี ลอื ดหมู สี เหลอื ง สนี ้าตาล และสดี าสบี นเคร่อื งปนั้ ดนิ เผา ไดค้ น้ พบการเขยี นลายครงั้ แรกทบ่ี ้านเชยี งจงั หวดั อุดรธานี เม่อื ปี พ.ศ.2510 สที เ่ี ขยี นเป็นสแี ดงเป็นรปู ลายกา้ นขดจติ กรรมฝาผนังตามวดั ต่างๆสมยั สโุ ขทยั และอยุธยา มหี ลกั ฐานว่า ใช้สใี นการเขยี นภาพหลายสี แต่ก็อยู่ในวงจากดั เพยี ง 4 สี คอื สดี า สขี าว สดี ินแดง และสี เหลอื งในสมยั โบราณนัน้ ช่างเขยี นจะเอาวตั ถุต่างๆในธรรมชาตมิ าใชเ้ ป็นสสี าหรบั เขยี นภาพ เช่น ดนิ หรอื หนิ ขาวใช้ทาสขี าว สดี าก็เอามาจากเขม่าไฟ หรอื จากตวั หมกึ จีน เป็นชาตแิ รกท่พี ยายามค้นคว้าเร่อื งสี

6 ธรรมชาติได้มากกว่าชาตอิ ่นื ๆ คอื ใชห้ นิ นามาบดเป็นสตี ่างๆ สเี หลอื งนามาจากยางไม้ รงหรอื รงทอ ง สี ครามก็นามาจากต้นไมส้ ่วนใหญ่แลว้ การค้นคว้าเร่อื งสกี ็เพ่อื ท่จี ะนามาใช้ ย้อมผา้ ต่างๆ ไม่นิยมเขยี นภาพ เพราะจนี มคี ตใิ นการเขยี นภาพเพยี งสเี ดยี ว คอื สดี าโดยใชห้ มกึ จนี เขยี น คาจากดั ความของสี 1. แสงทม่ี คี วามถข่ี องคล่นื ในขนาดทต่ี ามนุษยส์ ามารถรบั สมั ผสั ได้ 2. แม่สที เ่ี ป็นวตั ถุ PIGMENTARY PRIMARY ประกอบดว้ ย แดง เหลอื ง น้าเงนิ 3. สที เ่ี กดิ จากการผสมของแม่สี คุณลกั ษณะของสี สแี ท้ (HUE) คอื สที ย่ี งั ไม่ถูกสอี ่นื เขา้ ผสม เป็นลกั ษณะของสแี ทท้ ่มี คี วามสะอาดสดใส เช่น แดง เหลอื ง น้า เงนิ สอี อ่ นหรอื สจี าง (TINT) ใชเ้ รยี กสแี ทท้ ถ่ี กู ผสมดว้ ยสขี าว เชน่ สเี ทา, สชี มพู สแี ก่ (SHADE) ใชเ้ รยี กสแี ทท้ ถ่ี กู ผสมดว้ ยสดี า เช่น สนี ้าตาล สสี ามารถแยกออกเป็น 2 ประเภทคอื 1. สธี รรมชาติ 2. สที ม่ี นุษยส์ รา้ งขน้ึ สธี รรมชาติ เป็นสที เ่ี กดิ ขน้ึ เองธรรมชาติ เช่น สขี องแสงอาทติ ย์ สขี องทอ้ งฟ้ายามเชา้ เยน็ สขี องรุง้ กนิ น้า เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ เองธรรมชาติ ตลอดจนสขี อง ดอกไม้ ตน้ ไม้ พน้ื ดนิ ทอ้ งฟ้า น้าทะเล สที ม่ี นุษยส์ ร้างข้นึ หรอื ได้สงั เคราะหข์ ้นึ เช่น สวี ทิ ยาศาสตร์ มนุษยไ์ ด้ทดลองจากแสงต่างๆ เช่น ไฟฟ้า นามาผสมโดยการทอแสงประสานกนั นามาใช้ประโยชน์ในด้านการละคร การจดั ฉากเวทีโทรทศั น์ การ ตกแตง่ สถานท่ี 3.ค่าน้าหนกั ค่าน้าหนัก Value คอื ค่าความอ่อนแก่ของบรเิ วณทถ่ี ูกแสงสว่าง และบรเิ วณทเ่ี ป็นเงาของวตั ถุหรอื ความ อ่อน- ความเขม้ ของสหี น่ึง ๆ หรอื หลายสี เช่น สแี ดง มคี วามเขม้ กว่าสชี มพู หรอื สแี ดงอ่อนกว่าสนี ้าเงนิ เป็นต้นนอกจากน้ียงั หมายถงึ ระดบั ความเขม้ ของแสงและระดบั ความมดื ของเงา ซ่งึ ไล่เรยี งจากมดื ทส่ี ุด (สี ดา)ไปจนถงึ สว่างทส่ี ุด (สขี าว) น้าหนักทอ่ี ย่รู ะหว่างกลางจะเป็นสเี ทา ซ่งึ มตี งั้ แต่เทาแก่ทส่ี ุด จนถงึ เทาอ่อน ทส่ี ุดการใชค้ ่าน้าหนักจะทาให้ภาพดเู หมอื นจรงิ และมคี วามกลมกลนื ถ้าใชค้ ่าน้าหนักหลาย ๆ ระดบั จะทา ใหม้ คี วามกลมกลนื มากยงิ่ ขน้ึ และถา้ ใชค้ ่าน้าหนักจานวนน้อยทแ่ี ตกต่างกนั มากจะทาใหเ้ กดิ ความแตกต่าง ความขดั แยง้

7 ที่มำ htt://www.graphictoday.com แสงและเงำ Light & Shade เป็ นองค์ประกอบของศิลป์ ท่ีอย่คู ่กู นั แสง เมื่อสอ่ งกระทบ กบั วตั ถุ จะทำให้เกิดเงำ แสงและเงำ เป็ นตวั กำหนด ระดบั ของคำ่ นำ้ หนกั ควำมเข้มของเงำจะขึน้ อย่กู บั ควำมเข้มของเแสง ในทที่ ่มี แี สงสวำ่ งมำก เงำจะเข้มขึน้ และในทที่ ม่ี แี สงสวำ่ งน้อย เงำจะไม่ชดั เจน ในทีท่ ีไ่ มม่ แี สงสว่ำงจะไมม่ เี งำ และเงำจะอยู่ ในทำงตรงข้ำมกบั แสงเสมอ ค่ำนำ้ หนกั ของแสงและเงำนทีเ่ กิดบนวตั ถุ สำมำรถจำแนกเป็นลกั ษณะ ที่ ตำ่ ง ๆ ได้ดงั นี ้ ที่มำ https://sites.google.com 1. บริเวณแสงสวำ่ งจดั (Hi-light) เป็นบริเวณท่ีอย่ใู กล้แหลง่ กำเนิดแสงมำกทสี่ ดุ จะมีควำมสวำ่ ง มำกทีส่ ดุ ในวตั ถทุ มี่ ีผวิ มนั วำวจะสะท้อนแหลง่ กำเนิดแสงออกมำให้เห็นได้ชดั 2. บริเวณแสงสวำ่ ง (Light) เป็นบริเวณท่ีได้รับแสงสว่ำง รองลงมำจำกบริเวณแสงสวำ่ งจดั เน่อื งจำกอยหู่ ่ำงจำกแหลง่ กำเนดิ แสงออกมำ และเร่ิมมคี ่ำนำ้ หนกั ออ่ น ๆ 3. บริเวณเงำ (Shade) เป็นบริเวณทไ่ี มไ่ ด้รับแสงสวำ่ ง เป็นบริเวณท่ีถกู บดบงั จำก แสงสวำ่ ง ซงึ่ จะมคี ่ำนำ้ หนกั เข้มมำกขนึ ้ กว่ำบริเวณแสงสวำ่ ง

8 4. บริเวณเงำนเข้มจดั (Hi-Shade) เป็นบริเวณท่อี ย่หู ่ำงจำกแหลง่ กำเนิดแสงมำกทีส่ ดุ หรือเป็นบริเวณ ท่ีถกู บดบงั มำก ๆ หลำย ๆ ชนั้ จะมีค่ำนำ้ หนกั ทีเ่ ข้มมำกไปจนถงึ เข้มทส่ี ดุ 5. บริเวณเงำตกทอด เป็นบริเวณของพนื ้ หลงั ท่เี งำของวตั ถทุ ำบลงไป เป็นบริเวณเงำที่อยู่ ภำยนอกวตั ถุ และจะ มีควำมเข้มของค่ำนำ้ หนกั ขนึ ้ อย่กู บั ควำมเข้มของเงำ นำ้ หนกั ของพนื ้ หลงั ทิศทำง และระยะของเงำ ความสาคญั ของค่าน้าหนกั 1. ใหค้ วามแตกต่างระหว่างรปู และพน้ื หรอื รปู ทรงกบั ทว่ี ่าง 2. ใหค้ วามรสู้ กึ เคลอ่ื นไหว 3. ใหค้ วามรสู้ กึ เป็น 2 มติ ิ แก่รปู ร่าง และความเป็น 3 มติ แิ ก่รปู ทรง 4. ทาใหเ้ กดิ ระยะความตน้ื - ลกึ และระยะไกล้ - ไกลของภาพ 5. ทาใหเ้ กดิ ความกลมกลนื ประสานกนั ของภาพ 4.รปู รา่ งและรปู ทรง Shape & Form รปู รา่ ง Shape คอื รปู แบน ๆ มี 2 มติ ิ มคี วามกวา้ งกบั ความยาวไม่มคี วามหนาเกดิ จากเสน้ รอบนอกทแ่ี สดง พน้ื ทข่ี อบเขต ของรูปต่าง ๆ เช่น รูปวงกลม รปู สามเหลย่ี ม หรอื รูปอสิ ระทแ่ี สดงเน้ือทข่ี องผวิ ทเ่ี ป็นระนาบ มากกว่าแสดงปรมิ าตรหรอื มวล รูปทรง (Form) คอื รูปทล่ี กั ษณะเป็น 3 มติ ิ โดยนอกจากจะแสดงความกว้าง ความยาวแลว้ ยงั มคี วามลกึ หรอื ความหนา นูน ด้วย เช่น รูปทรงกลม ทรงสามเหล่ยี ม ทรงกระบอก เป็นต้น ให้ความรู้สกึ มปี รมิ าตร ความหนาแน่น มมี วลสาร ทเ่ี กดิ จากการใชค้ ่าน้าหนกั หรอื การจดั องคป์ ระกอบของรปู ทรง หลายรปู รวมกนั

9 รูปเรขาคณิต ( Geometric Form) มีรูปร่างรูปทรงท่ีแน่นอน มาตรฐาน สามารถวดั หรือคานวณได้ มี กฎเกณฑ์ เช่น รูปสเ่ี หล่ยี ม รูปวงกลม รูปวงรี ห้าเหล่ยี ม หกเหล่ยี ม พรี ะมดิ เป็นต้น รูปเรขาคณิตเป็น โครงสรา้ งพน้ื ฐานของรูปทรงต่างๆ ดงั นนั้ การสรา้ งสรรคร์ ูปอ่นื ๆ ควรศกึ ษารูปเรขาคณิตใหเ้ ขา้ ใจถ่องแท้ เสยี กอ่ น รปู อนิ ทรยี ์ (organic Form) เป็นรปู ของสง่ิ ทม่ี ชี วี ติ หรอื คลา้ ยกบั สง่ิ มชี วี ติ ทส่ี ามารถเจรญิ เตมิ โต รปู อสิ ระ (Free Form) เป็นรูปแบบโครงสรา้ งทไ่ี ม่แน่นอน ใหค้ วามรสู้ กึ เคล่อื นไหว เล่อื นไหล ใหค้ วามอสิ ระ และไดอ้ ารมณ์ ความเคล่อื นไหวเป็นอย่างดี รูปอสิ ระอาจเกดิ จากรปู เรขาคณิตหรือรูปธรรมชาติ ทถ่ี ูกกระทา จนมรี ปู ลกั ษณะเปลย่ี นไปจากเดมิ จนไม่เหลอื สภาพเดมิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างรปู ทรง เม่อื นารูปทรงหลายๆรูปมาวางใกล้กนั รูปเหล่านัน้ จะมคี วามสมั พนั ธ์ดงึ ดูด หรอื ผลกั ไสซ่งี กนั และกนั การ ประกอบกบั ของรปู ทรงอาจทาไดโ้ ดยใชร้ ปู ทรงทม่ี ลั กั ษณะใกลเ้ คยี งกนั รูปทรงทต่ี ่อเน่อื งกนั รปู ทรงทซ่ี ้อนกนั รปู ทรงทผ่ี นกึ เขา้ ดว้ ยกนั รปู ทรงทแ่ี ทรกเขา้ หากนั 5.พน้ื ผวิ Texture พ้นื ผวิ หมายถึง ลกั ษณะของบรเิ วณผวิ หน้าของสง่ิ ต่าง ๆ ท่เี ม่อื สมั ผสั แล้วสามารถรบั รู้ได้ ว่ามลี กั ษณะ อย่างไร คอื รวู้ ่า หยาบ ขรขุ ระ เรยี บ มนั ดา้ น เนยี น สาก เป็นตน้ ลกั ษณะทส่ี มั ผสั ไดข้ องพน้ื ผวิ มี 2 ประเภท คอื 1. พน้ื ผวิ ทส่ี มั ผสั ไดด้ ว้ ยมอื หรอื กายสมั ผสั เป็นลกั ษณะพน้ื ผวิ ทเ่ี ป็นอย่จู รงิ ๆ ของผวิ หน้าของวสั ดุนัน้ ๆ ซง่ึ สามารถสมั ผสั ไดจ้ ากงานประตมิ ากรรม งานสถาปตั กรรม และสงิ่ ประดษิ ฐอ์ น่ื ๆ 2. พน้ื ผวิ ทส่ี มั ผสั ไดด้ ว้ ยสายตา จากการมองเหน็ แต่ไม่ใช่ลกั ษณะทแ่ี ทจ้ รงิ ของผวิ วสั ดุนนั้ ๆ เช่น การ วาดภาพก้อนหินบนกระดาษ จะให้ความรู้สึกเป็ นก้อนหิน แต่มือสัมผสั เป็นกระดาษ หรือใช้ กระดาษพมิ พล์ ายไม้ หรอื ลายหนิ ออ่ น เพอ่ื ปะทบั บนผวิ หน้าของสงิ่ ต่าง ๆ เป็นตน้ ลกั ษณะเชน่ น้ีถอื วา่ เป็นการสรา้ งพน้ื ผวิ ลวงตาใหส้ มั ผสั ไดด้ ว้ ยการมองเหน็ เท่านนั้ การจดั องคป์ ระกอบของศลิ ปะ มหี ลกั ทค่ี วรคานงึ อยู่ 5 ประการ คอื 1. สดั สว่ น (Proportion) 2. ความสมดุล (Balance) 3. จงั หวะลลี า (Rhythm) 4. การเน้น (Emphasis) 5. เอกภาพ (Unity) หลกั องคป์ ระกอบทางศลิ ปะ

10 เป็น หลกั สาคญั สาหรบั ผสู้ รา้ งสรรค์ และผศู้ กึ ษางานศลิ ปะ เน่ืองจากผลงานศลิ ปะใด ๆ กต็ าม ลว้ นมคี ุณค่า อยู่ 2 ประการ คอื คุณคา่ ทางดา้ นรปู ทรง และ คณุ คา่ ทางดา้ นเรอ่ื งราว คณุ ค่าทางดา้ นรูปทรง เกดิ จากการ นาเอา องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของ ศลิ ปะ อนั ไดแ้ ก่ เสน้ สี แสงและเงา รปู ร่าง รูปทรง พน้ื ผวิ ฯลฯ มาจดั เขา้ ด้วยกนั เพ่อื ให้เกดิ ความงาม ซ่งึ แนวทางในการนาองคป์ ระกอบต่าง ๆ มาจดั รวมกนั นั้นเรยี กว่า การจดั องค์ ประกอบศลิ ป์ (Art Composition) โดยมหี ลกั การจดั ตามทจ่ี ะกล่าวต่อไป อกี คุณค่าหน่ึงของงาน ศลิ ปะ คอื คุณค่าทางดา้ นเน้ือหา เป็นเร่อื งราว หรอื สาระของผลงานทศ่ี ลิ ปินผสู้ รา้ ง สรรคต์ อ้ งการทจ่ี ะแสดง ออกมา ใหผ้ ชู้ มไดส้ มั ผสั รบั รโู้ ดยอาศยั รปู ลกั ษณะ ท่เี กดิ จากการจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ นัน่ เองหรืออาจ กล่าวได้ว่า ศิลปิน นาเสนอเน้ือหาเร่อื งราวผ่านรูปลกั ษณะท่เี กิดจากการจดั องค์ประกอบทางศลิ ปะ ถ้า องคป์ ระกอบทจ่ี ดั ขน้ึ ไม่สมั พนั ธ์ กบั เน้ือหาเร่อื งราวทน่ี าเสนอ งานศลิ ปะนนั้ กจ็ ะขาดคุณค่าทางความงามไป ดงั นัน้ การจดั องคป์ ระกอบศลิ ปะจงึ มคี วามสาคญั ใน การสร้างสรรค์งานศลิ ปะ เป็นอย่างยง่ิ เพราะจะทาให้ งานศลิ ปะทรงคุณคา่ ทางความงามอยา่ งสมบูรณ์ เอกภาพ (Unit) เอกภาพ หมายถงึ ความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ทงั้ ด้านรูปลกั ษณะและด้านเน้ือหา เร่อื งราว เป็นการประสานหรอื จดั ระเบยี บของสว่ นต่าง ๆใหเ้ กดิ ความเป็น หน่ึงเดยี วเพอ่ื ผลรวมอนั ไม่อาจ แบ่งแยกสว่ นใดสว่ นหน่งึ ออกไป การสรา้ งงานศลิ ปะ 1.เอกภาพของการแสดงออก หมายถงึ การแสดงออกทมี จี ุดมุ่งหมายเดยี ว แน่นอน และมี ความเรยี บง่าย งานชน้ิ เดยี วจะแสดงออกหลายความคดิ หลายอารมณ์ไม่ได้ จะทาใหส้ บั สน ขาดเอกภาพ และการแสดงออก ดว้ ยลกั ษณะเฉพาตวั ของศลิ ปินแต่ละคน กส็ ามารถทาให้ เกดิ เอกภาพแกผ่ ลงานได 2. เอกภาพของรปู ทรง คอื การรวมตวั กนั อย่างมดี ุลยภาพ และมรี ะเบยี บขององคป์ ระกอบ ทางศลิ ปะ เพอ่ื ให้ เกดิ เป็นรปู ทรงหน่ึง ทส่ี ามารถแสดงความคดิ เหน็ หรอื อารมณ์ของศลิ ปิน ออกไดอ้ ย่างชดั เจน เอกภาพของ รปู ทรง เป็นสง่ิ ทส่ี าคญั ทส่ี ุดต่อความงามของผลงานศลิ ปะ เพราะเป็นสงิ่ ทศ่ี ลิ ปินใชเ้ ป็นส่อื ในการแสดงออก ถงึ เรอ่ื งราว ความคดิ และอารมณ์ ดงั นนั้ กฎเกณฑใ์ นการสรา้ งเอกภาพในงานศลิ ปะเป็นกฎเกณฑเ์ ดยี วกนั กบั ธรรมชาติ ซง่ึ มอี ยู่ 2 หวั ขอ้ คอื 1. กฎเกณฑข์ องการขดั แยง้ (Opposition) มอี ยู่ 4 ลกั ษณะ คอื 1.1 การขดั แยง้ ขององคป์ ระกอบทางศลิ ปะแต่ละชนิด และรวมถงึ การขดั แยง้ กนั ของ องคป์ ระกอบต่างชนิด กนั ดว้ ย 1.2 การขดั แยง้ ของขนาด 1.3 การขดั แยง้ ของทศิ ทาง 1.4 การขดั แยง้ ของทว่ี า่ งหรอื จงั หวะ 2. กฎเกณฑข์ องการประสาน (Transition) คอื การทาใหเ้ กดิ ความกลมกลนื ใหส้ งิ่ ต่าง ๆ เขา้ กนั ดอ้ ย่าง สนทิ เป็นการสรา้ งเอกภาพจากการรวมตวั ของสง่ิ ทเ่ี หมอื นกนั เขา้ ดว้ ยกนั การประสานมอี ยู่ 2 วธิ ี คอื

11 2.1 การเป็นตวั กลาง (Transition) คอื การทาสงิ่ ทข่ี ดั แยง้ กนั ใหก้ ลมกลนื กนั ดว้ ยการใชต้ วั กลางเขา้ ไปประสาน เช่น สขี าว กบั สดี า ซ่งึ มคี วามแตกต่าง ขดั แยง้ กนั สามารถทาใหอ้ ยู่ร่วมกนั ไดอ้ ย่างมเี อกภาพ ดว้ ยการใชส้ เี ทาเขา้ ไปประสาน ทาใหเ้ กดิ ความกลมกลนื กนั มากขน้ึ 2.2 การซา้ (Repetition) คอื การจดั วางหน่วยทเ่ี หมอื นกนั ตงั้ แต่ 2 หน่วยขน้ึ ไป เป็นการสรา้ งเอกภาพ ทง่ี า่ ยทส่ี ดุ แต่กท็ าใหด้ จู ดื ชดื น่าเบ่อื ทส่ี ดุ นอกเหนือจากกฎเกณฑห์ ลกั คอื การขดั แยง้ และการประสานแลว้ ยงั มกี ฎเกณฑร์ องอกี 2 ขอ้ คอื 1. ความเป็นเดน่ (Dominance) ซง่ึ มี 2 ลกั ษณะ คอื 1.1 ความเป็นเด่นทเ่ี กดิ จากการขดั แยง้ ดว้ ยการเพม่ิ หรอื ลดความสาคญั ความน่าสนใจในหน่วยใดหน่วย หน่งึ ของคทู่ ข่ี ดั แยง้ กนั 1.2 ความเป็นเดน่ ทเ่ี กดิ จากการประสาน 2. การเปลย่ี นแปร (Variation) คอื การเพมิ่ ความขดั แยง้ ลงในหน่วยทซ่ี ้ากนั เพอ่ื ป้องกนั ความจดื ชดื น่าเบ่อื ซง่ึ จะช่วยใหม้ คี วามน่าสนใจมากขน้ึ การเปลย่ี นแปรมี 4 ลกั ษณะ คอื 2.1 การเปลย่ี นแปรของรปู ลกั ษณะ 2.2 การปลย่ี นแปรของขนาด 2.3 การปลย่ี นแปรของทศิ ทาง 2.4 การปลย่ี นแปรของจงั หวะ การเปลย่ี นแปรรูปลกั ษณะจะตอ้ งรกั ษาคุณลกั ษณะของการซ้าไว้ ถ้ารูปมกี ารเปลย่ี น แปรไปมาก การซ้าก็ จะหมดไป กลายเป็นการขดั แยง้ เขา้ มาแทน และ ถ้าหน่วยหน่ึงมกี าร เปล่ยี นแปรอย่างรวดเรว็ มคี วาม แตกต่างจากหน่วยอ่นื ๆ มาก จะกลายเป็นความเป็นเด่นเป็นการสรา้ งเอกภาพดว้ ยความขดั แยง้ ความสมดลุ (Balance) ความสมดุลเป็นคุณสมบตั ทิ ่สี าคญั อย่างหน่ึงในการจดั ภาพ การจดั ภาพให้เกดิ ความสมดุลนัน้ ต้องยดึ เอา ศูนย์กลางของภาพหรอื เสน้ แบบ่ก่ึงกลางภาพเป็นหลกั ในการแบ่ง เพราะปกติงานศิลปะจะมสี ่วนท่ีเป็น แกนกลางหรอื ศูนยก์ ลางทาใหแ้ บ่งออกไดเ้ ป็นดา้ นซา้ ย ดา้ นขวา ดา้ นบน ดา้ ยล่าง จงึ มคี วามจาเป็นอย่างยงิ่ จะต้องให้ทงั้ สองด้านโดยเฉพาะดา้ ยซ้ายและด้านขวามคี วามสมดุลกนั การจดั ความสมดุลแบ่งออกเป็น 2 แบบคอื 1. ความสมดลุ กนั โดยจดั ภาพใหม้ รี ูปร่าง รปู ทรง หรอื สสี นั เหมอื นกนั ทงั้ ซา้ ยและขวา 2. ความสมดุลกันโดยจดั ภาพท่ีมีให้รูปร่าง รูปทรง หรือสีสนั ด้านซ้ายและขวาไม่เหมอื นกันแต่ให้ ความรสู้ กึ ในการถ่วงน้าหนักใหส้ มดลุ กนั ได้ จงั หวะและจดุ สนใน (Rhythm and Emphasis) ในการจดั ภาพควรจดั ให้เกิดจงั หวะและจุดสนใจประกอบกันไปด้วยการจดั ภาพให้มีจงั หวะท่ีเหมาะสม กลมกลนื สวยงามนนั้ จะตอ้ งคานงึ ถงึ บรเิ วณว่างดว้ ย จงั หวะเป็นการจดั ภาพในลกั ษณะการทาซ้าเป็นระเบยี บ

12 ไดร้ บั รถู้ งึ การเคล่อื นไหวต่อเน่ืองของเสน้ น้าหนกั สแี ละรูปทรงจนเกดิ เป็นจุดสนใจ เช่น จงั หวะของรูปร่าง รูปทรงทเ่ี รยี งกนั แบบธรรมดา จงั หวะสแี ละรปู ทรงจนเกดิ เป็นจุดสนใจ เช่น จงั หวะจองรปู ร่าง รูปทรงทส่ี ลบั สว่ นการจดั ภาพใหด้ ูน่าสนใจหรอื จุดเด่นของภาพจองภาพนนั้ หมายถงึ การจดั องคป์ ระกอบเพ่อื สรา้ งความ หน่วยเดยี วทเ่ี ด่นและน่าสนใจ ซง่ึ จะตอ้ งมกี ารเน้นจุดเด่นจุดสนใจใหเ้ หน็ ชดั กว่าสว่ นย่อยทเ่ี ป็นจุดรองลงไป โดยคานึงถงึ ขนาดท่ใี หญ่กว่า รวมทงั้ ความเขม็ ของสที เ่ี มอื งมองดูภาพแลว้ จะทาใหส้ ะอาดตาทงั้ น้ีตาแหนง ของจุดสนใจหรอื จุดเด่นควรอย่บู รเิ วณศูนยก์ ลางของภาพ แต่ไม่ควรจะอย่ตู รงกลางพอดี อาจจะใหอ้ ย่เู ยอื ง เลก็ น้อยไปทางดา้ นใดดา้ นหน่งึ กไ็ ด้ ความกลมกลนื และความขดั แยง้ (Harmony and Contrast) ความกลมกลนื หมายถงึ การนาทศั นะธาตุต่างๆ ทต่ี อ้ งการสรา้ งสรรค์ มาจดั องคป์ ระกอบใหป้ ระสาร กลมกลนื สอดคลอ้ งสมั พนั ธเ์ ขา้ กนั ได้ ความกลมกลนื มหี ลายประเภทไม่ว่าจะเป็นกลมกลนื ของ เสน้ รปู ร่าง รปู ทรงลกั ษณะผวิ สี น้าหนกั อ่อน-แก่ และความกลมกลนื ของเน้อื หาสาระทงั้ หมด ความขดั แยง้ หมายถงึ ความผดิ แตกต่างออกไปจากกลุ่มหรอื สว่ นร่วมในลกั ษณะทไ่ี ม่เหมอื นกนั ไม่วา่ จะเป็นรปู ทรงหรอื เน้อื หากต็ าม การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ บางครงั้ ความขดั แยงกบั กลมกลนื กม็ คี วามเกย่ี วขอ้ งกนั เช่น ถา้ สว่ นมากหรอื ทงั้ หมดมคี วามกลมกลนื กนั อาจทาให้เกิดความรู้สกึ ซ้าซาก ไม่น่าสนใจฉะนัน้ จึงอาจออกแบบใหม้ คี วาม แตกตา่ งหรอื ขดั แยง้ กนั บา้ ง กจ็ ะชว่ ยดงึ ดดู ทาใหผ้ ลงานเดน่ สะดดุ ตา น่าสนใจ สดั สว่ น (Proportion) สดั ส่วน หมายถงึ การเอานาส่วนประกอบต่างๆ มาจดั ใหไ้ ด้สดั ส่วนทเ่ี หมาะสมซ่งึ แสดงความสมั พนั ธ์ ของจานวน ความกว้าง ยาว ลกึ น้าหนกั ขนาดของรูปทรงต่างๆ สดั ส่วนนับเป็นหลกั สาคญั ของการจดั ภาพ ทาให้ช้นิ งานนัน้ มคี วามสมบูรณ์และสพั นั ธ์กลมกลนื กนั อย่างงดงาม เช่น สดั ส่วนของมนุษย์กบั ทอ่ี ยู่อาศยั เคร่อื งใชส้ อย และ เสอ้ื ผา้ สดั ส่วนในทางศลิ ปะเป็นเร่อื งราวของความรสู้ กึ ทางสุนทรยี ภาพ การสมสดั ส่วนน้ี หมายรวมไปถงึ ความสมั พนั ธก์ นั อยา่ งเหมาะสมของ สี แสง เงา และทศั นธาตอุ ่นื ๆ ดว้ ย แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยท่ี 1

13 คาสงั่ จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งเพบี งขอ้ เดยี ว 1.ขอ้ ใดต่อไปน้คี อื องคป์ ระกอบศลิ ปะดานนามธรรม ก.เน้อื หาในทางสลิ ปะ ข.เน้นเน้อื หาดว้ ยเรอ่ื ง ค.เน้อื หาทเ่ี ป็นอสิ ระจากเร่อื ง ง.เน้นเน้อื หาดว้ ยภาพ 2.ขอ้ ใดคอื ความสาคญั ของเสน้ ก.ใหค้ วามรสู้ กึ เคล่อื นไหว ข.ใชใ้ นการแบง่ ทว่ี ่างออกเป็นสว่ นๆ ค.ใหค้ สามรสู้ กึ เป็น 2 มติ ิ ง.ทาใหเ้ กดิ ความกลมกลนื 3.จากขอ้ ความ ใหค้ วามรสู้ กึ ทางความวา้ ง สงบ ราบรน่ื นิ่ง ผอ่ นคลาย คอื ลกั ษณะของเสน้ แบบใด ก.เสน้ ดง่ิ ข.เสน้ นอน ค.เสน้ ทแยงมุม ง.เสน้ ซกิ แซก 4.ขอ้ ใดตอ่ ไปน้เี กย่ี วขอ้ งกบั คาจากดั ความของสี ก.สที ย่ี งั ไมถ่ ูกสอี ่นื เขา้ มาผสม เป็นลกั ษณะของสแี ท้ ข.แสงทม่ี คี วามถข่ี องคลน่ื ในขนาดทต่ี ามนุษยส์ ามารถรบั สมั ผสั ได้ ค.แมส่ ที เ่ี ป็นวตั ถุประกอบดว้ น แดง เหลอื ง น้าเงนิ ง.สที เ่ี กดิ จากการผสมของแม่สที ม่ี สี แี ตกตา่ งกนั 5.สสี ามารถแบ่งออกไดก้ ป่ี ระเภท ก.2 ประเภท ข.3 ประเภท ค.4 ประเภท ง.5 ประเภท 6.ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ไี มใ่ ช่คณุ ลกั ษณะของสี ก.สแี ท้ ข.สเี ขม้ ค.สอี ่อหรอื สที อง ง.สกี ่ 7.ขอ้ ใดไม่ถูกตอ้ งเกย่ี วกบั การจาแนกลกั ษณะของแสงและเงา

14 ก.บรเิ วณแสงสว่างจดั ข.บรเิ วณเงา บรเิ วณเงาตกทอด ง.บรเิ วรแสงตกกระทบ 8.ขอ้ ใดต่อไปน้เี กย่ี วขอ้ งกบั รปู ทรงอสิ ระ ก.รปู กอ้ นเมฆ ข.รปู หยดน้า ค.รปู วงรี ง.ถูกทงั้ ขอ้ ง ก. และ ขอ้ ข. 9.ขอ้ ใดไม่ใชก่ ารจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ทต่ี อ้ งคานกึ ถงึ ก.สดั สว่ น ข.ความสมดุล ค.ความกลมกลนื ง.เอกภาพ 10.จากรปู เป็นความสมดลุ ของภาพแบบใด ก.ความสมดลุ สองขา้ งไมเ่ ท่ากนั ข.ความสมดลุ เน้นทางซา้ ย ค.ความสมดุลสองขา้ งเทา่ กนั ง.พลอตเตอร์ หน่วยที่ 2 กำรจำแนกธำตทุ ำงทศั นศลปิ ์

15 สาระสาคญั ทศั นศลิ ป์ ความเป็นมาของคาว่า “ทศั นศลิ ป์” เกดิ จากแนวความคดิ ของศลิ ปิน เบาเฮาส์ ใน เยอรมนี ซง่ึ กต็ งั สถาบนั “เบาเฮาส”์ น้ีขน้ึ ในปี ค.ศ. 1919 และก่อตงั้ ไดไ้ ม่นานกแ็ ยกยา้ ยไปในประเทศต่างๆโดยเฉพาะอย่าง ยงิ่ ยา้ ยไปอยปู่ ระเทศสหรฐั อเมรกิ ามากทส่ี ุด เรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษา 1. ความเป็นมาของทศั นศลิ ป์ 2. ประเภทของทศั นศลิ ป์ 3. ลกั ษณะรปู แบบของทศั นศลิ ป์ 4. โคงสรา้ งทางทศั นศลิ ป์ 5. ความหมายของทศั นธาตุ สมรรถนะประจาหน่วย 1.แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การจดั วางตามหลกั การจดั ประกอบศลิ ป์ 2.จดั พน้ื ท่ี จุดสนใจของภาพและการเน้น จดั วางตาแหน่งภาพ และจดั วางภาพชนิดต่างๆตามหลกั การ ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. อธบิ ายความเป็นมาของทศั นั ศลิ ป์ได้ 2. แยกแยะประเภทของทศั นศลิ ป์ได้ 3. วเิ คราะหล์ กั ษณะรปู แบบของทศั นศลิ ป์ 4. วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งทางทศั นั ศลิ ป์ได้ 5. เขยี นความหมายของทศั นธาตไุ ด้ ความเป็นมาของทศั นศลิ ป์ ความเป็นมาของคาว่า “ทศั นศลิ ป์” เกดิ จากแนวความคดิ ของศลิ ปิน เบาเฮาส์ ใน เยอรมนี ซง่ึ กต็ งั สถาบนั “เบาเฮาส”์ น้ขี น้ึ ในปี ค.ศ. 1919 และก่อตงั้ ไดไ้ ม่นานกแ็ ยกยา้ ยไปในประเทศตา่ งๆโดยเฉพาะอย่างยงิ่ ย้ายไป

16 อยู่ประเทศสหรฐั อเมริกามากท่ีสุด และได้ตงั้ สถาบันศิลปะแห่งใหม่ข้นึ มาท่ีนครชิคาโก ช่ือ Institute of Design โดย โมโฮลี นาจ (Mr.Moholy Nagy) และพยายามทบทวนจดุ ยนื ทางศลิ ปะขน้ึ ใหมต่ ามแนวทางทาง ศลิ ปะมลี กั ษณะทางวทิ ยาศาสตรม์ ายงิ่ ขน้ึ เม้อื ผูส้ าเร็จการศกึ ษาจากสถาบนั น้ีมากข้ึนจงึ ได้คดิ คน้ คาใหม่ท่ี เหมาะสมรัดกุมจึงได้ใช้คาว่า Visual Art แต่ความเข้าใจและความหมายของคาตามสภาพสังคมท่ี เปล่ียนแปลงอยู่เสมอจึงสงผลต่อการรบั รู้ถึงความหมายและขอบข่ายของ Visual Art ดงั นัน้ จึงได้มกี าร ทบทวนใหม่ โดยสถาบนั “เบาเฮาส”์ ในเยอรมนี ซง่ึ ไดร้ ่วมขอบค่ายของศลิ ปะ 3 สาขาคอื สถาปตั ยกรรม จติ กรรม และ ประติมากรรม เข้าเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั เป็น Visual Art ซ่ึงในภาษาไทยเรยี กว่า ทศั นศลิ ป์ หมายถงึ ผลงานมนุษย์สร้างข้นึ ให้เหน็ รูปทรง 2 มติ แิ ละ 3 มติ ิ มเี น้ือท่ปี รมิ าตรและเน้ือท่ี บรเิ วณว่างตาม ปรมิ าตร ของการรบั รทู้ ม่ี ลี กั ษณะเป็น 2 มติ แิ ละ 3 มติ ิ และทส่ี าคญั ตอ้ งสามารถมองเหน็ ไดน้ นั่ เอง ความสาคญั ของทศั นศลิ ป์ ตัง้ แต่ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์จนถึงสมยั ปจั จุบัน เราพบเห็นความสามารถในผลงานของมนุษย์ ทงั้ ด้าน ความคดิ ฝีมอื ทไ่ี ด้พยายามจนิ ตนาการ คดิ ค้น เพ่อื สนองความต้องการในการดารงชวี ติ ประจาวนั ให้ทงั้ ประโยชน์ใช้สอย และสง่ิ สวยงามประณีต เพ่อื จรรโลงด้านจติ ใจ ความเช่อื ความศรทั ธา ไว้ประดบั โลก นอกจากน้ยี งั ตอ้ งการใหผ้ พู้ บเหน็ เกดิ ความรสู้ กึ รบั รู้ คลอ้ ยตามชน่ื ชมไปดว้ ย ความหมายของทศั นศลิ ป์ ทศั นศลิ ป์ คอื กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศลิ ปะ การทางานศลิ ปะอย่างมจี ติ นาการความคดิ สรา้ งสรรค์ มรี ะบบระเบยี บเป็นขนั้ เป็นตอน การสรา้ งสรรคง์ านอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพสวยงาม มกี ารปฏบิ ตั งิ านตามแผน และมกี ารพฒั นาผลงานใหด้ ขี น้ึ ตอ่ เน่อื ง ทศั นศิลป์คอื การรบั รู้ทางจกั ษุประสาท โดยการมองเหน็ สสาร วตั ถุ และสรรพสง่ิ ต่าง ๆ ท่เี ข้ามากระทบ รวมถงึ มนุษย์ และสตั ว์ จะดว้ ยการหยุดนิ่ง หรอื เคล่อื นไหวกต็ าม หรอื จะดว้ ยการปรุงแต่ง หรอื ไม่ปรุงแต่งก็ ตาม กอ่ ใหเ้ กดิ ปจั จยั สมมตุ ติ ่อจติ ใจ และอารมณ์ของมนุษย์ อาจจะเป็นไปในทางเดยี วกนั หรอื ไมก่ ต็ าม ทศั นศลิ ป์เป็นการแปลความหมายทางศลิ ปะ ทแ่ี ตกต่างกนั ไปแตล่ ะมมุ มอง ของแต่ละบุคคล ในงานศลิ ปะชน้ิ เดยี วกนั ซง่ึ ไรข้ อบเขตทาจนิ ตนาการ ไมม่ กี รอบทแ่ี น่นอน ขน้ึ กบั อารมณ์ของบุคคลในขณะนนั้ ทศั นศลิ ป์ เป็นสว่ นหน่ึงของวจิ ติ รศลิ ป์ ซง่ึ เป็นศลิ ปะทเ่ี น้นคุณค่าทางดา้ นจติ ใจและอารมณ์เป็นสาคญั ทศั นศลิ ป์ มคี วามหมายตรงกบั ภาษาองั กฤษว่า Visual Art หมายถงึ ศลิ ปะทม่ี องเหน็ หรอื ศลิ ปะทส่ี ามารถ สมั ผสั รบั รู้ ชน่ื ชมดว้ ยประสาทตา สมั ผสั จบั ตอ้ งได้ และกนิ เน้อื ทใ่ี นอากาศ ทศั นศลิ ป์ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ จติ รกรรม ประตมิ ากรรม และสถาปตั ยกรรม

17 ประเภทของทศั นศลิ ป์ ประเภทของงานศลิ ป์ โดยการจาแนกตามรปู แบบ ทศั นศลิ ป์ประเภท 2 มติ ิ ผลงานทศั นศลิ ป์ทป่ี รากฏบนพน้ื ระนาบ ทงั้ ทข่ี รขุ ระและเรยี บทงั้ น้ปี รากฏในลกั ษณะ ทเ่ี ป็นเสน้ สี แสงเงาหรอื ลกั ษณะพน้ื ผวิ ใดๆท่ปี รากฎบนพน้ื ระนาบ สรา้ งมติ สิ รา้ งรองรบั เป็น 2 มติ ิ สว่ น 3 มติ ิ คอื ด้านลึกหรือหนาเป็นมติ ิลวงเกิดข้ึนโดยความรู้สกึ ของผู้ดู เช่น ภาพวาด ภาพเขยี น ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ฯลฯ ทศั นศลิ ป์ประเภท 3 มติ ิ คอื ลกั ษณะจรงิ ของมติ ทิ งั้ 3 ประการ มคี วามกวา้ ง มคี วามยาว มคี วามลกึ มคี วาม เป็นจรงิ ของสภาวะของมนั จงึ แบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คอื ประตมิ ากรรม สถาปตั ยกรรมและศลิ ปะ สอ่ื ผสม ทศั นศลิ ป์ประเภทอ่นื ๆ คอื ผลงานทศั นศลิ ป์ทไ่ี ม่สามารถจดั อย่ใู นกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงไดอ้ ย่างชดั เจน เน่ืองดว้ ย ทศั นศลิ ป์กลุ่มน้ีไดผ้ สมผสานรูปแบบและวธิ แี สดงออกทางศลิ ป์ทม่ี คี วามแปลกใหม่ อาทเิ ช่น ศลิ ปะการจดั วาง (Installation Art), มโนทศั นศลิ ป์ (Conceptual Art) ศลิ ปะส่อื แสดง (Performance Art) , แฮปแพน น่ิง อารต์ (Happenings Art) ลกั ษณะรปู แบบทศั นศลิ ป์(Visual Art Sty) รปู แบบทแ่ี สดงความเป็นจร(ิ Realisc Form) คอื รปู แบบทศ่ี ลิ ป์ถ่ายทอดเร่อื งราวตา่ ง ๆ ตามสภาวะจรงิ ความ เป็นจรงิ ของสง่ิ นนั้ รูปแบบท่ีแสดงเน้ือความเป็นจริง (Surrealistic Form) คือรูปแบบท่ีศิลปินได้ถ่ายทอดเร่ืองราวหรือ ปรากฎการณ์ต่างๆ โดยไมย่ ดึ ถอื กฎเกณฑห์ รอื ความถูกตอ้ งตามความเป็นจรงิ จากสภาวะสง่ิ นนั้ ๆ รปู แบบปราศจากเน้อื หา (Non Figurative) คอื ลกั ษณะรปู แบบของงานศลิ ป์ ประกอบไปดว้ ย 3 สว่ นสาคญั คอื รูปแบบ เน้ือหาและวธิ ี ทศั นศลิ ป์รูปแบบน้ีมวี ฒั นาการตงั้ แต่ปี ค.ศ.1910 โดย วาสลิ ี แคนดนิ สกี ศลิ ปิน ชาวรสั เซยี ผมู้ าสรา้ งสรรคผ์ ลงานในเยอรมนีไดส้ ร้างสรรคผ์ ลงานของตนขน้ึ โดยสลดั เน้ือหาของผลงานท้งิ ไปจนหมดสน้ิ กล่าวคอื ไม่มเี น้อื หาใด ๆ ในผลงานเลยและเรยี กผลงายของตนวา่ Adstract Art กลวธิ ที ศั นศลิ ป์ (Visual Art Technique) หมายถงึ กระบวนการสร้างงานทศั นศิลป์ซ่ึงประกอบไปด้วย 3 สว่ นประกอบ คอื วสั ดุ อุปกรณ์ และวธิ กี าร โครสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ เป็นองคป์ ระกอบหลกั ทส่ี าคญั อย่างหน่ึง สงิ่ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสง่ิ ทเ่ี กย่ี วกบั ธรรมชาตหิ รอื สงิ่ แวดลอ้ ม แต่ละ สงิ่ ลว้ นประกอบจากสว่ นประกอบย่อย ๆ ซง่ึ จะตอ้ งรวมตวั กนั เป็นกลุ่มเกดิ จากการประกอบกนั ของมนุษยใ์ น

18 การสร้างสรรค์เป็นผลงาน แต่องค์ประกอบทงั้ 2 ลักษณะต่างมีความสัมพันธ์กันทางธรรมชาติ เช่น องคป์ ระกอบของมนุษยจ์ ะเป็นอวยั วะเป็นสว่ นต่างๆ ไดแ้ ก่ ศรี ษะ ลาตวั แขนขา ฯลฯ สว่ นคอนกรตี ประกอบ ไปดว้ ย ซเี มนต์ ทราย กรวด และน้าทผ่ี สมกนั ตามอตั ราสว่ น ซง่ึ เป็นการประกอบกนั ของมนุษย์ เน่ืองจากมนุษย์ได้รบั ความงามจากธรรมชาตไิ ม่เพยี งพอ หรอื มนุษยอ์ ยากจะเอาชนะธรรมชาติ หรอื อยากกลอกเลยี นแบบความงามของธรรมชาติ มนุษย์จงึ ไดค้ ดิ สรา้ งสรรคผ์ ลงานขน้ึ มาใหม่ โดยเอาสง่ิ ต่างๆ ท่ี อย่ใู นธรรมชาติ เชน่ สี แสง เงา พน้ื ผวิ ฯลฯ มาประกอบกนั แลว้ จดั รูปแบบเสยี ใหมใ่ หเ้ ป็นไปตามท่ี มนุษยต์ อ้ งการ เพ่อื สนองความต้องการของตนเองและ เพอ่ื นมนุษยด์ ว้ ยกนั สง่ิ ทม่ี นุษยน์ ามาจากธรรมชาติ แลว้ จดั ทาใหม่น้ีเอง คอื องคป์ ระกอบศลิ ป์และเม่อื ประกอบเสรจ็ สมบรณู ์ มคี วามกลมกลนื สวยงาม และอาจ นาไปใชส้ อยใหเ้ กดิ ประโยชน์ อนั น้เี รยี กว่างานศลิ ปะ สาหรบั การสรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ มจี ุดมุ่งหมายเพอ่ื สรา้ งความรสู้ กึ ของมนุษย์ ในดา้ นความงาม และเรอ่ื งราว ซง่ึ ความหมายและเร่อื งราวทจ่ี ะนามาสรา้ งสอ่ื ของความหมายทางทศั นศลิ ป์เพอ่ื สรา้ งอยู่รอบตวั ศลิ ปิน สง่ิ ทพ่ี บและเหน็ ทค่ี ุ้นเคยในชวี ติ ประจาวนั เป็นวตั ถุดบิ ท่นี ามารวบรวมเป็นความคดิ และจติ นาการ ถ่ายทอดสร้างสรรค์ ออกมาเป็นผลงานทศั นศลิ ป์โดยทศั นศลิ ป์มอี งคป์ ระกอบของสง่ิ ทส่ี ามารถสมั ผสั ไดด้ ว้ ย ตาในลกั ษณะการมองเหน็ ไดแ้ ก่ การรบั รทู้ างการมองเหน็ มติ ิ แขนงจติ กรรม สถาปตั ยกรรม ทศั นศลิ ป์แบง่ ตามประเภท - การวาดเสน้ - จิตกรรม บางครัง้ จะแบ่งตามขบวนการทางทัศนศิลป์ เช่น Renaissance, Impressionism, Post- impressionism, Modern Art - การทาภาพพมิ พ์ เชน่ Old master print, Woodblock painting -การถ่ายภาพ และการสรา้ งภาพยนตร์ -ศลิ ปะคอมพวิ เตอร์ - ศลิ ปะทรงรปู (Plastic Arts) เชน่ ประตมิ ากรรม ความหมายของทศั นธาตุ ทศั นธาตุ ทศั นธาตุ หมายถงึ สว่ นสาคญั ทร่ี วมกนั เป็นรปู ร่างของสงิ่ ทงั้ หลายตามทม่ี องเหน็ ไดแ้ ก่ จดุ เสน้ สี แสงเงา สี น้าหนกั บรเิ วณว่าง และลกั ษณะพน้ื ผวิ ทศั นธาตุ เป็นสว่ นประกอบสาคญั ได้แก่ศลิ ปะทส่ี ามารถนามาจดั ให้ ประสารกลมกลนื เกดิ เป็นผลงานศลิ ปะท่มี คี ุณค่าทางความงาม และ ส่อื ถงึ ความหมายตามความคดิ ของผู้ สรา้ งสรรคไ์ ด้ ทศั นธาตุเกดิ ขน้ึ จากการนาเอาธาตุใดธาตุหน่ึงมาสร้างเป็นรูปร่างของบรเิ วณว่างขน้ึ เม่อื ใช้สี

19 ระบายลงบนรูปทรงทศั นธาตุจะปรากฎข้นึ ทงั้ เส้นสี และลกั ษณะผวิ ฉะนัน้ การรูจ้ กั สงั เกตธรรมชาติท่ีอยู่ รอบๆ ตวั และการรจู้ กั เลอื กสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะทศั นธาตุ ประกอบดว้ ย -จุด((Dot) -เสน้ (Line) -สี (Color) -รปู รา่ งและรปู ทรง (Shape and Form) -น้าหนกั (Value) -บรเิ วณวา่ ง (Space) -ลกั ษณะผวิ (Texture) 1.จุด (Dot) จุด หมายถงึ รอยหรอื แตม้ ทม่ี ลี กั ษณะกลมๆ ปรากฏทผ่ี วิ พน้ื ไม่มขี นาด ความกวา้ ง ความยาว ความหนา เป็นสง่ิ ทเ่ี ลก็ ทส่ี ุดและเป็นธาตเุ รมิ่ แรกทท่ี าใหเ้ กดิ ธาตอุ น่ื ๆขน้ึ 2.เสน้ (Line) เสน้ คอื จุดหลายๆจุดต่อกนั เป็นสาย เป็นแนวแถวไปทางทศิ ใดทศิ หน่ึงเป็นทางยาวหรอื จุดท่ี เคล่อื นทไ่ี ปในทศิ ทางใดทศิ ทางหน่ึงดว้ ยแรงผลกั ดนั หรอื รอยขดู เขยี นของวตั ถเุ ป็นรอยยาวเสน้ แบ่งเป็นลอย ขดู เขยี นของเป็นวตั ถยุ าวๆ เสน้ แบ่งมี 2 ลกั ษณะใหญๆ่ ดงั้ น้ี 1.เสน้ ตรง 1.1 เสน้ ดง่ิ คอื เสน้ ตรงทต่ี งั้ ฉากกบั พน้ื ระดบั มนั คง แขง็ แรง สงา่ รุง่ เรอื ง สมดุล พงุ่ ขน้ึ 1.2 เสน้ นอน คอื เสน้ ตรงทน่ี อนราบไปกบั พน้ื ระดบั ใหค้ วามรสู้ กึ กวา้ งขวางสงบเงยี บ เยอื กเยน็ ผ่อน คลาย

20 1.3 เสน้ เฉยี ง คอื เสน้ ทไ่ี ม่ตงั้ ฉากกบั ระดบั ใหค้ วามรสู้ กึ ไมม่ นั่ คง 1.4 เสน้ ฟนั ปลา คอื เสน้ ตรงหลายเสน้ ต่อกนั สลบั ขน้ึ ลงระยะเท่ากนั ใหค้ วามรูส้ กึ รุนแรง กระแทก ต่นื เต้น อนั ตราย ขดั แยง้ 1.5 เสน้ ประ คอื เสน้ ทข่ี าดเป็นชว่ งๆมรี ะยะเท่ากนั ใหค้ วามรสู้ กึ ต่อเน่อื ง 2.เสน้ โคง้ 2.1 เสน้ โคง้ เป็นเสน้ ทเ่ี ป็นทอ้ งกระทะคลา้ ยเชอื กหย่อนใหค้ วามรสู้ กึ อ่อนโยน 2.2 เสน้ โคง้ ขน้ึ คอื เสน้ ทโ่ี คง้ เป็ นหลงั เตา่ ใหค้ วามรสู้ กึ แขง็ แกร่ ง 3.เสน้ คด คอื เสน้ โคง้ ขน้ึ โคง้ ลงตอ่ เน้อื งคลา้ ยคลน่ื ทะเลใหค้ วามรสู้ กึ เลอ่ื นไหล ต่อเน่อื ง อ่อนชอ้ ย นุ่มนวล

21 4.เสน้ กน้ หอ้ ย คอื เสน้ โคง้ ต่อเน่ือง กน้ วนเขาลกึ เลก็ ลงเป็นจุดคลา้ ยกน้ หอ้ ย ใหค้ วามรสู้ กึ อดึ อดั เคล่อื นไห คลค่ี ลาย 3.สี (Colour) สหี มายถงึ ลกั ษณะของแสงสวา่ งปรากฏแกต่ าใหเ้ หน็ เป็นสขี าว ดา แดง เขยี ว น้าเงนิ เหลอื ง เป็นตน้ 1.สที ่เี ป็นวตั ถุ (Pigment) สที เ่ี ป็นรงคว์ ตั ถุสผี งหรอื ธาตุในร่างกายทาให้คนมาสตี ่างๆ สที ่เี กดิ จากวตั ถุธาตุ จาก พชื สตั ว์ แรธ่ าตเุ ป็นตน ซง่ึ เป็นสที ใ่ี ชใ้ นงานศลิ ปะ 1.สที เ่ี ป็นวตั ถุ (Pigment) สที เ่ี ป็นรงคว์ ตั ถสุ ผี งหรอื ธาตใุ นร่างกายทาใหค้ นมสี ตี ่าง ๆ สที เ่ี กดิ จากวตั ถุธาตุ

22 แม่สี Primary Colourคอื สที น่ี ามาผสมกนั แลว้ ทาใหเ้ กดิ สใี หม่ มลี กั ษณะแตกต่างไปจากสเี ดมิ แม่สี มอี ยู่ 2 ชนิด คอื 1. แม่สขี องแสง เกดิ จากการหกั เหของแสงผ่านแท่งแกว้ มี 3 สคี อื สแี ดง สเี หลอื ง สนี าเงนิ อยใู่ น รปู แสงรงั สี ซ่งึ เป็นพลงั งานชนิดเดยี วทม่ี สี ี คุณสมบตั ขิ องแสงสามารถนามาใชใ้ นการถ่ายภาพโทรทศั น์ การ จดั แสงสใี นการแสดงต่างๆ เป็นตน้ 2. แม่สวี ตั ถธุ าตุ เป็นสไี ดม้ าจากธรรมชาตแิ ละการสงั เคราะหโ์ ดยกระบวนการทางเคมี มี 3 สี คอื สี แดง สเี หลือง สนี าเงนิ แม่สวี ตั ถุธาตุเป็นแม่สที ่ีนามาใช้งานกนั อย่างกว้างขวาง ในวงการศลิ ปะ วงการ อตุ สาหกรรม ฯลฯ แม่สวี ตั ถุธาตุ เม่อื นามาผสมกนั ตามหลกั เกณฑ์ จะทาใหเ้ กดิ วงจรสซี ่งึ เป็นวงสธี รรมชาติ เกดิ จากการผสมกนั ของแม่สวี ตั ถธุ าตุ เป็นสหี ลกั ทใ่ี ชง้ านกนั ทวั่ ไปในวงสี วงจรสธี รรมชาติ วงจรสี เกดิ จากการนาเอาแม่สมี าผสมกนั เป็น 3 ขนั้ มี 12 สี คอื เหลอื ง เหลอื งเขยี ว เขยี ว เขยี วน้า เงนิ น้าเงนิ น้าเงนิ มว่ ง มว่ ง ม่วงแดง แดง แดงสม้ สม้ เหลอื งสม้ หรอื เรยี กว่าวงลอ้ ของสี 1. สขี นั้ ท่ี 1 คอื สที ไ่ี ม่มสี ใี ดสามารถผสมใหไ้ ดส้ นี นั้ ไดแ้ ก่ สแี ดง สเี หลอื ง สนี ้าเงนิ 2. สขี นั้ ท่ี 2 (Secondary Colours) สขี นั้ ท่ี 2 เกดิ จาการนาเอาแม่สที เ่ี ป็นวตั ถุทงั้ 3 สี มาผสมกนั เกดิ สี ใหม่ขน้ึ มาอกี 3 สี ไดแ้ ก่ สสี ม้ สเี ขยี ว สมี ว่ ง 3.สขี นั้ ท่ี 3 (Tertiory Colours) คอื เกดิ จากการนาเอาสขี นั้ ท่ี 1 กบั 2 มาผสมกนั ทลี ะคู่ท่อี ยู่ตดิ กนั จะไดส้ ี เพม่ิ ขน้ึ อกี 6 สี

23 สแี ดง = ต่นื เตน้ เรา้ ใจ อนั ตราย พลงั อานาจ รกั สสี ม้ = ตน่ื ตวั ต่นื เตน้ เรา้ ใจ สนุกสนาน สเี หลอื ง = สดใส รา่ เรงิ ฉลาด เปรย้ี ว สเี ขยี วออ่ น = สดชน่ื รา่ เรงิ เบกิ บาน สเี ขยี วแก่ = สะอาด ปลอดภยั สดชน่ื ธรรมชาติ ชรา สนี ้าเงนิ = สุภาพ เช่อื มนั่ หนกั แน่น ถ่อมตวั ผชู้ าย สฟี ้า = ราบรน่ื สว่าง วยั ร่นุ ทนั สมยั สมี ่วง = ฟุ่มเฟือย ลกึ ลบั ขเ้ี หงา สชี มพู = ความรกั ผหู้ ญงิ อ่อนหวาน นุ่มนวล หอม สขี าว = ความบรสิ ุทธิ์ สะอาด ปลอดภยั เดก็ ทารก สดี า = ทกุ ข์ ลกึ ลบั สบื สวน หนกั แน่น สเี ทา = สภุ าพ ขรมึ สนี ้าตาล = อนุรกั ษ์ โบราณ ธรรมชาติ สมี ว่ ง = ร่ารวย โอ่อา่ งอกงาม น้าหนกั สี ( Tone ) หรอื วรรณะของสี หมายถงึ ระดบั ความเขม้ ทแ่ี ตกต่างกนั ของสหี รอื ค่าความออ่ นแก่ของสี ไล่ระดบั กนั ไป เช่น ดา – เทาเขม้ – เทากลาง – เทาอ่อน – ขาว โทนกม็ ผี ลต่อความรสู้ กึ คลา้ ยกบั สนี ัน่ เอง เพยี งแต่จะละเอยี ดออ่ นมากขน้ึ มคี า่ ความแตกตา่ งกนั เลก็ น้อย แต่มผี ลต่อความรสู้ กึ นึกคดิ ของมนุษย์ เช่น 1. วรรณะสรี อ้ น ( Warm Tone ) ประกอบดว้ ยสเี หลอื ง สสี ม้ เหลอื ง สสี ม้ สสี ม้ แดง สมี ่วงแดง และสมี ่วง สใี นวรรณะรอ้ นน้ีจะเป็นสที ค่ี ่อนขา้ งไปทางสแี ดงหรอื สสี ม้ ถา้ สใี ดสหี น่ึงค่อนขา้ งไปทางสแี ดงหรอื สี สม้ เชน่ สนี ้าตาล สเี ทาอมแดง กใ็ หถ้ อื วา่ เป็นสวี รรณะรอ้ น ใหค้ วามรสู้ กึ รอ้ นแรง

24 2. วรรณะสเี ยน็ (Cold Tone ) ประกอบดว้ ย สเี หลอื ง สเี ขยี วเหลอื ง สเี ขยี ว สเี ขยี วน้าเงนิ สี น้าเงนิ สมี ่วงน้าเงนิ และสมี ่วง ส่วนสอี ่นื ๆ ถ้าหนักไปทางสนี ้าเงนิ และสเี ขยี วกเ็ ป็นสวี รรณะเยน็ ดงั เชน่ สเี ทา สดี า สเี ขยี วแก่ เหล่าน้เี ป็นตน้ ใหค้ วามรสู้ กึ เยน็ สบาย 4.รปู รา่ งและรปู ทรง(Shape and Form) รูปร่าง (Shape) หมายถงึ การลอ้ มรอบ หรอื การบรรจบกนั ของเสน้ บนพ้นื ทว่ี ่าง มรี ูปลกั ษณะ แบนราบ เป็น 2 มติ ิ รูปทรง (Form) จะมคี วามสมั พนั ธ์ กนั อย่างใกล้ชดิ กบั รูปร่าง แต่รูปทรง มคี วามแตกต่าง อย่างเหน็ ได้ ชดั เจนทส่ี ดุ กค็ อื รปู ทรงมลี กั ษณะเป็น 3 มติ ิ 5.น้าหนัก (Value) รูปร่าง (Shape) หมายถงึ เสน้ รอบนอกของ วตั ถุ คน สตั ว์ สง่ิ ของ มลี กั ษณะเป็น 2 มติ ิ (กวา้ ง ยาว) แสงและเงา(Light & Shade) แสงและเงา เป็นองคป์ ระกอบทอ่ี ยคู่ กู่ นั แสง เม่อื สอ่ งกระทบกบั วตั ถุ จะทาใหเ้ กดิ เงา

25 แสงและเงา เป็นตวั กาหนดระดบั ของค่าน้าหนัก ความเขม้ ของเงาจะขน้ึ อย่กู บั ความเขม้ ของแสง ในทท่ี ม่ี ี แสงสว่างมาก แสงและเงา เป็นองคป์ ระกอบทอ่ี ย่คู กู่ นั แสง เม่อื สอ่ งกระทบกบั วตั ถุ จะทาใหเ้ กดิ เงา แสงและเงา เป็นตวั กาหนดระดบั ของค่าน้าหนกั ความเขม้ ของเงาจะขน้ึ อยกู่ บั ความเขม้ ของแสง ในทท่ี ม่ี ี แสงสว่างมาก 6. บรเิ วณวา่ ง (Space) บรเิ วณวา่ ง หรอื ชอ่ งไฟ คอื 1. อากาศทโ่ี อบลอ้ มรปู ทรง 2. ระยะห่างระหว่างรปู ทรง 3. บรเิ วณภายในรปู ทรงทม่ี ลี กั ษณะกลวงหรอื ทะลุเป็นช่องทม่ี อี ากาศผา่ นเขา้ ไปได้ 4. บรเิ วณว่างของภาพเขยี นหรอื ภาพทม่ี องดเู ป็นชอ่ งลกึ เขา้ ไปในภาพ เรยี กวา่ บรเิ วณว่างลวงตา 7. ลกั ษณะผวิ (Texture) ลกั ษณะผวิ หมายถงึ ลกั ษณะภายนอกของวตั ถุท่มี องเหน็ และสมั ผสั พ้นื ผวิ ได้ แสดงความรูส้ กึ หยาบ ละเอยี ด ขรุขระ มนั ดา้ นเป็นเสน้ เป็นจุด จบั ดแู ลว้ สะดุดมอื หรอื สมั ผสั ไดจ้ ากความรสู้ กึ ผวิ เป็นทศั นธาตุท่ี นามาประกอบในการสรา้ งงานศลิ ปะ ลกั ษณะผวิ ทแ่ี ตกต่างกนั จะทาใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ แตกต่างกนั โดยสรปุ ทศั นธาตุ ในทางทศั นศลิ ป์ หมายถงึ สว่ นประกอบทม่ี องเหน็ ได้ ประกอบดว้ ยจดุ เสน้ รปู รา่ ง รปู ทรง พน้ื ผวิ แสง-เงา และสี

26 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยท่ี 2 ตอนท่ี 1 คาสงั่ จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งเพยี งขอ้ เดยี ว 1.สว่ นประกอบทส่ี าคญั ทส่ี ุดของทศั นธาตุคอื อะไร ก.เสน้ ข.สี ค.รปู ทรง ง.แสงเงา 2.ขอ้ ใดต่อไปน้ไี มใ่ ชอ่ งคป์ ระกอบของทศั นธาตุ ก.รปู ร่าง รปู ทรง พน้ื ผวิ ข.เสน้ สี แสงเงา ค.ความสมดลุ สดั สว่ น จุดสนใจ ง.น้าหนกั ทว่ี ่าง 3.เสน้ ทใ่ี หค้ วามรสู้ กึ แขง็ แรงมนั่ คงคอื ขอ้ ใด ก.เสน้ ตรงตามแนวตงั้ ข.เสน้ ตรงตามแนวนอน ค.เสน้ เอยี งหรอื เสน้ ทแยง ง.เสน้ ฟนั ปลา 4.ขอ้ ใดคอื ลกั ษณะของรปู ทรงทถ่ี ูกตอ้ ง ก.รปู ทรงมี 2 มติ ิ ข.รปู ทรงมี 3 มติ ิ ค.รปู ทรงไม่มนี ้าหนกั ง.รปู ทรงไม่มปี รมิ าตร 5.สขี นั้ ท่ี 1 หรอื แม่สี ไดแ้ ก่สอี ะไรบา้ ง ก.สนี ้าเงนิ สเี ขยี ว สแี ดง ข.สเี หลอื ง สนี ้าเงนิ สมี ว่ ง ค.สแี ดง สสี ม้ สมี ว่ ง ง.สแี ดง สเี หลอื ง สนี ้าเงนิ 6.สขี นั้ ท่ี 2 เกดิ จากแม่สี 2 สี ผสมกนั ในอตั ราสว่ นเทา่ ไร ก. อตั ตราสว่ น 1:1 ข. อตั ตราสว่ น 1:2 ค. อตั ตราสว่ น 1:3 ง. อตั ตราสว่ น 1:4 7.สใี นขอ้ ใด ใหค้ วามรสู้ กึ “ใจเยน็ สงา่ ฉลาด สุขมุ ” ก.สมี ่วง ข.สสี ม้ ค.สเี ทา ง.สนี ้าตาล 8.การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ทต่ี อ้ งการใหเ้ ป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั คอื ขอ้ ใด ก.จงั หวะและจดุ สนใจ ข.ความเป็นเอกภาพ ค.ความสมดุล ง.สดั สว่ น 9.ขอ้ ใดคอื การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ ก.การจดั บรเิ วณใหเ้ หมาะสม ข.การนา แสง เงา สี จงั หวะมาจดั รว่ มกนั ค.การทาทศั นธาตุมาประกอบกนั ใหเ้ กดิ งานทศั นศลิ ป์ ง.การแยกสว่ นประกอบของทศั นธาตอุ อกใหช้ ดั เจน

27 10.สง่ิ แวดลอ้ มกบั การสรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์มคี วามสมั พนั ธก์ นั อย่างไร ก.สง่ิ แวดลอ้ มเป็นสว่ นสาคญั ในการสรา้ งความสขุ ใหก้ บั มนุษย์ ข.สงิ่ แวดลอ้ มทาใหม้ นุษยเ์ รยี นรกู้ ารเปลย่ี นแปลงของธรรมชาติ ค.สง่ิ แวดลอ้ มทาใหม้ นุษยม์ กี ารดารงชวี ติ มาแต่โบราณ ง.สงิ่ แวดลอ้ มทาใหม้ นุษยเ์ กดิ แรงบนั ดาลใจในการสรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์

28 หน่วยท่ี 3 หลกั การและกฎเกณฑข์ ององคป์ ระกอบศลิ ป์ สาระสาคญั การจดั องคป์ ระกอบทางศลิ ปะเป็นหลักสาคญั หรบั ผูส้ รา้ งสรรค์ และผูศ้ กึ ษางานศลิ ป์เน่ืองจากผลงานศลิ ปะ ใดๆก็ตาม ล้วนมคี ุณค่าอยู่ 2 ประการ คอื คุณค่าทางด้านรูปทรง และคุณค่าทางด้านเร่อื งราว คุณค่า ทางดา้ นรูปทรง เกดิ จากการนาเอา องคป์ ระกอบต่างๆของ ศลิ ปะอนั ไดแ้ ก่ เสน้ แสงและเงา รปู ร่าง รปู ทราง พน้ื ผวิ ฯลฯ มาจดั เขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความงามซ่งึ แนวทางในการนาองคป์ ระกอบต่างๆมาจดั รวมกนั นัน้ เรยี กว่า การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ (Art Composition) เร่อื งทจ่ี ะศกึ ษา 1. หลงั องคป์ ระกอบทางศลิ ป์ 2. องคก์ อบของศลิ ป์ 3. กฎเกณฑใ์ นการสรา้ งงานศลิ ป์ 4. การจดั พน้ื ท่ี สมรรถนะประจาหน่วย 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลบั การและกฎเกณฑข์ ององคป์ ระกอบศลิ ป์ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. แยกแยะหลกั องคป์ ระกอบทางศลิ ป์ 2. จดั องคป์ ระกอบของศลิ ป์ได้ 3. อธบิ ายกฎเกณฑใ์ นการสรา้ งงานศลิ ป์ 4. จาแนกการจดั พน้ื ทไ่ี ด้

29 การจดั องคป์ ระกอบทางศลิ ปะ เป็น หลกั สาคญั สาหรบั ผสู้ รา้ งสรรค์ และผศู้ กึ ษางานศลิ ปะ เน่อื งจากผลงานศลิ ปะใด ๆ กต็ าม ลว้ นมี คุณค่าอยู่ 2 ประการ คอื คุณค่าทางดา้ นรปู ทรง และ คุณค่าทางดา้ นเร่อื งราว คุณค่าทางดา้ นรปู ทรง เกดิ จากการนาเอา องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของ ศลิ ปะ อนั ไดแ้ ก่ เสน้ สี แสงและเงา รปู รา่ ง รปู ทรง พน้ื ผวิ ฯลฯ มาจดั เขา้ ด้วยกนั เพ่อื ให้เกดิ ความงาม ซ่ึงแนวทางในการนาองค์ประกอบต่าง ๆ มาจดั รวมกันนัน้ เรยี กว่า การจดั องค์ ประกอบศลิ ป์ (Art Composition) โดยมหี ลกั การจดั ตามทจ่ี ะกล่าวต่อไป อกี คุณค่าหน่ึง ของงานศลิ ปะ คอื คุณค่าทางดา้ นเน้ือหา เป็นเร่ืองราว หรอื สาระของผลงานทศ่ี ลิ ปินผสู้ รา้ ง สรรคต์ อ้ งการท่ี จะแสดงออกมา ใหผ้ ชู้ มไดส้ มั ผสั รบั รโู้ ดยอาศยั รปู ลกั ษณะ ทเ่ี กดิ จากการจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ นั่น เ อ ง หรอื อาจกล่าวไดว้ ่า ศลิ ปิน นาเสนอเน้ือหาเร่อื งราวผ่านรูปลกั ษณะทเ่ี กดิ จากการจดั องคป์ ระกอบทางศลิ ปะ ถา้ องคป์ ระกอบทจ่ี ดั ขน้ึ ไม่สมั พนั ธ์ กบั เน้ือหาเร่อื งราวทน่ี าเสนอ งานศลิ ปะนนั้ กจ็ ะขาดคุณค่าทางความงาม ไปดงั นัน้ การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ จงึ มคี วามสาคญั ใน การสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ เป็นอย่างยงิ่ เพราะจะทาให้ งานศลิ ปะทรงคุณค่าทางความงามอยา่ งสมบูรณ์ การจดั องคป์ ระกอบของศลิ ปะ มหี ลกั ทค่ี วรคานึง อยู่ 5 ประการ คอื 1. สดั สว่ น (Proportion) 2. ความสมดลุ (Balance) 3. จงั หวะลลี า (Rhythm) 4. การเน้น (Emphasis) 5. เอกภาพ (Unity) 1. สดั สว่ น (Proportion) สดั ส่วน หมายถงึ ความสมั พนั ธ์กนั อย่างเหมาะสมระหว่างขนาดของ องคป์ ระกอบท่แี ตกต่างกนั ทงั้ ขนาดท่อี ยู่ในรูปทรงเดยี วกนั หรอื ระหว่างรูปทรง และรวมถงึ ความสมั พนั ธ์กลมกลนื ระหว่างองค์ประกอบ ทงั้ หลายดว้ ย ซ่งึ เป็นความพอเหมาะพอดี ไม่ มากไม่น้อยขององคป์ ระกอบ ทงั้ หลายท่ีนามาจดั รวมกัน ความเหมาะสมของสดั สว่ นอาจ พจิ ารณาจากคณุ ลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี 1.1 สดั ส่วนท่เี ป็นมาตรฐานจากรูปลกั ษณะตามธรรมชาต ของ คน สตั ว์ พชื ซ่ึงโดยทวั่ ไป ถือว่า สดั สว่ นตามธรรมชาติ จะมคี วามงามทเ่ี หมาะสมทส่ี ุด หรือจากรูปลักษณะท่ีเป็นการ สร้างสรรค์ของ มนุษย์ เชน่ Gold section เป็นกฎในการสรา้ งสรรคร์ ปู ทรงของกรกี ซง่ึ ถอื วา่ \"สว่ นเลก็ สมั พนั ธก์ บั สว่ นทใ่ี หญ่ กวา่ สว่ นทใ่ี หญ่กว่าสมั พนั ธก์ บั สว่ นรวม\" ทาใหส้ ง่ิ ต่าง ๆ ทส่ี รา้ งขน้ึ มสี ดั สว่ นทส่ี มั พนั ธก์ บั ทุกสง่ิ อย่างลงตวั 1.2 สดั สว่ นจากความรสู้ กึ โดยทศ่ี ลิ ปะนัน้ ไม่ไดส้ รา้ งขน้ึ เพอ่ื ความงามของรปู ทรงเพยี ง อยา่ งเดยี ว แต่ ยงั สรา้ งขน้ึ เพ่อื แสดงออกถงึ เน้ือหา เร่อื งราว ความรู้สกึ ดว้ ย สดั ส่วนจะช่วย เน้นอารมณ์ ความรูส้ กึ ให้

30 เป็นไปตามเจตนารมณ์ และเร่อื งราวทศ่ี ลิ ปินต้องการ ลกั ษณะเช่น น้ี ทาใหง้ านศลิ ปะของชนชาตติ ่าง ๆ มี ลกั ษณะแตกต่างกนั เน่ืองจากมเี ร่อื งราว อารมณ์ และ ความรู้สกึ ท่ตี ้องการแสดงออกต่าง ๆ กนั ไป เช่น กรกี นิยมในความงามตามธรรมชาติเป็น อุดมคติ เน้นความงามท่เี กิดจากการประสานกลมกลืนของ รปู ทรง จงึ แสดงถงึ ความเหมอื น จรงิ ตามธรรมชาติ ส่วนศลิ ปะแอฟรกิ นั ดงั้ เดมิ เน้นทค่ี วามรสู้ กึ ทางวญิ ญาน ทน่ี ่ากลวั ดงั นนั้ รปู ลกั ษณะจงึ มสี ดั สว่ นทผ่ี ดิ แผกแตกต่างไปจากธรรมชาตทิ วั่ ไป 2. ความสมดลุ (Balance) ความสมดุล หรอื ดุลยภาพ หมายถงึ น้าหนักทเ่ี ท่ากนั ขององค์ประกอบ ไม่เอนเอยี งไปขา้ งใดขา้ งหน่ึง ในทางศลิ ปะยงั รวมถงึ ความประสานกลมกลนื ความพอเหมาะพอดขี อง สว่ น ตา่ ง ๆ ในรปู ทรงหน่งึ หรอื งาน ศิลปะช้นิ หน่ึง การจดั วางองค์ประกอบต่าง ๆ ลงใน งานศิลปกรรมนัน้ จะต้องคานึงถึงจุดศูนย์ถ่วง ใน ธรรมชาตนิ นั้ ทุกสง่ิ สงิ่ ทท่ี รงตวั อยไู่ ดโ้ ดยไม่ลม้ เพราะมนี ้าหนกั เฉลย่ี เทา่ กนั ทกุ ดา้ น ฉะนนั้ ในงานศลิ ปะถา้ มองดูแลว้ รู้สกึ ว่าบางสว่ นหนักไป แน่นไป หรอื เบา บางไปกจ็ ะทาให้ภาพนัน้ ดู เอนเอยี ง และเกดิ ความ รสู้ กึ ไมส่ มดลุ เป็นการบกพรอ่ งทางความงาม ดลุ ยภาพในงานศลิ ปะ มี 2 ลกั ษณะ คอื 1.1 ดลุ ยภาพแบบสมมาตร (Symmetry Balance) หรอื ความสมดลุ แบบซา้ ยขวาเหมอื นกนั คอื การ วางรปู ทงั้ สองขา้ งของแกนสมดลุ เป็นการสมดุลแบบธรรมชาติลักษณะแบบน้ีใน ทางศิลปะมีใช้น้อย ส่วนมากจะใชใ้ นลวดลายตกแต่ง ในงานสถาปตั ยกรรมบางแบบ หรอื ในงานทต่ี ้องการดุลยภาพท่ีนิ่งและ มนั่ คงจรงิ ๆ 1.2 ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetry Balance) หรอื ความสมดุลแบบซ้ายขวาไม่เหมอื นกัน มกั เป็นการสมดุลท่ีเกิดจาการจดั ใหม่ของมนุษย์ ซ่ึงมีลักษณะท่ีทางซ้ายและขวาจะไม่ เหมือนกนั ใช้ องคป์ ระกอบทไ่ี ม่เหมอื นกนั แต่มคี วามสมดุลกนั อาจเป็นความสมดุลดว้ ย น้าหนกั ขององคป์ ระกอบ หรอื สมดุลดว้ ยความรสู้ กึ กไ็ ด้ การจดั องคป์ ระกอบใหเ้ กดิ ความ สมดุลแบบอสมมาตรอาจทาไดโ้ ดย เล่อื นแกน สมดุลไปทางดา้ นทม่ี นี ้าหนักมากว่า หรอื เล่อื น รูปทม่ี นี ้าหนกั มากว่าเขา้ หาแกน จะทาใหเ้ กดิ ความสมดลุ ข้นึ หรอื ใช้หน่วยท่มี ขี นาดเล็กแต่มรี ูปลกั ษณะท่นี ่าสนใจถ่วงดุลกบั รูปลกั ษณะท่ี มขี นาดใหญ่แต่มรี ูปแบบ ธรรมดา 3. จงั หวะลลี า (Rhythm) จงั หวะลลี า หมายถงึ การเคล่อื นไหวท่เี กดิ จาการซ้ากนั ขององคป์ ระกอบ เป็นการซ้าท่ี เป็นระเบยี บ จากระเบยี บธรรมดาท่มี ชี ่วงห่างเท่าๆ กนั มาเป็นระเบยี บท่สี ูงข้นึ ซบั ซ้อนข้นึ จนถงึ ขนั้ เกดิ เป็นรูปลกั ษณะ ของศลิ ปะ โดยเกดิ จาก การซ้าของหน่วย หรอื การสลบั กนั ของหน่วยกบั ช่องไฟ หรอื เกดิ จาก การเล่อื นไหล ต่อเน่ืองกนั ของเสน้ สี รปู ทรง หรอื น้าหนัก รูปแบบๆ หน่ึง อาจเรยี กว่าแม่ลาย การนาแม่ลายมาจดั วางซา้ ๆ กนั ทา ให้เกดิ จงั หวะและถ้าจดั จงั หวะให้แตกต่างกนั ออกไป ด้วยการเว้นช่วง หรอื สลบั ช่วง ก็จะเกดิ ลวดลายทแ่ี ตกต่างกนั ออกไป ได้อย่างมากมาย แต่จงั หวะของลายเป็นจงั หวะอย่างง่าย ๆ ให้ความ รูส้ กึ เพยี งผวิ เผนิ และเบ่อื ง่าย เน่ืองจากขาดความหมาย เป็นการรวมตวั ของสงิ่ ทเ่ี หมอื นกนั แต่ไม่มคี วามหมาย

31 ในตวั เอง จงั หวะทน่ี ่าสนใจและมชี วี ติ ไดแ้ ก่ การเคล่อื นไหวของ คน สตั ว์ การเตบิ โตของพชื การเตน้ ราเป็น การเคลอ่ื นไหวของโครงสรา้ งทใ่ี หค้ วามบนั ดาล ใจในการสรา้ งรปู ทรงทม่ี คี วามหมาย 4. การเน้น (Emphasis) การเน้น หมายถงึ การกระทาใหเ้ ดน่ เป็นพเิ ศษกว่าธรรมดา ในงานศลิ ปะจะตอ้ งมี สว่ นใดสว่ นหน่งึ หรอื จุดใดจุดหน่ึง ทม่ี คี วามสาคญั กว่าส่วนอ่นื ๆ เป็นประธานอยู่ ถ้าส่วนนนั้ ๆ อย่ปู ะปนกบั ส่วนอ่นื ๆ และมี ลกั ษณะเหมอื น ๆ กนั กอ็ าจถกู กลนื หรอื ถูกสว่ นอ่นื ๆ ทม่ี คี วามสาคญั น้อยกว่าบดบงั หรอื แย่งความสาคญั ความน่าสนใจไปเสยี งานทไ่ี ม่มจี ุดสนใจ หรอื ประธาน จะทาใหด้ นู ่าเบ่อื เหมอื นกบั ลวดลายทถ่ี ูกจดั วางซ้า กนั โดยปราศจากความหมาย หรือเร่อื งราวท่นี ่าสนใจ ดงั นัน้ ส่วนนัน้ จงึ ต้องถูกเน้น ให้เหน็ เด่นชดั ขน้ึ มา เป็นพเิ ศษกวา่ สว่ นอน่ื ๆ ซง่ึ จะทาใหผ้ ลงาน มคี วามงาม สมบรู ณ์ ลงตวั และน่าสนใจมากขน้ึ การเน้นจุดสนใจสามารถทาได้ 3 วธิ ี คอื 4.1. การเน้นดว้ ยการใช้องคป์ ระกอบท่ตี ดั กนั (Emphasis by Contrast) สงิ่ ทแ่ี ปลกแตก ต่างไปจาก ส่วนอ่นื ๆ ของงาน จะเป็นจุดสนใจ ดงั นนั้ การใชอ้ งคป์ ระกอบทม่ี ลี กั ษณะ แตกต่าง หรอื ขดั แยง้ กบั ส่วนอ่นื ก็จะทาให้เกิดจุดสนใจข้ึนในผลงานได้ แต่ทงั้ น้ีต้อง พิจารณาลักษณะความแตกต่า งท่ีนามาใช้ด้วยว่า ก่อใหเ้ กดิ ความขดั แย้งกนั ในส่วนรวม และทาใหเ้ น้ือหาของงานเปล่ยี นไปหรอื ไม่ โดยต้องคานึงว่า แม้มี ความขดั แยง้ แตก ต่างกนั ในบางสว่ น และในสว่ นรวมยงั มคี วามกลมกลนื เป็นเอกภาพเดยี วกนั 4.2. การเน้นด้วยการดว้ ยการอยู่โดดเด่ยี ว (Emphasis by Isolation) เม่อื สง่ิ หน่ึงถูกแยก ออกไป จากส่วนอ่นื ๆ ของภาพ หรอื กลุ่มของมนั สงิ่ นัน้ ก็จะเป็นจุดสนใจ เพราะเม่อื แยกออกไปแล้วก็จะเกดิ ความสาคญั ขน้ึ มา ซง่ึ เป็นผลจากความแตกตา่ ง ทไ่ี มใ่ ช่แตก ต่างดว้ ยรูปลกั ษณะ แต่เป็นเร่อื งของตาแหน่งท่จี ดั วาง ซ่งึ ในกรณีน้ี รูปลกั ษณะนนั้ ไม่ จาเป็นตอ้ งแตกต่าง จากรปู อ่นื แต่ตาแหน่งของมนั ไดด้ งึ สายตาออกไป จงึ กลายเป็น จดุ สนใจขน้ึ มา 4. 3. การเน้นด้วยการจดั วางตาแหน่ง (Emphasis by Placement) เม่อื องค์ประกอบอ่ืน ๆ ช้ีนา มายงั จดุ ใด ๆ จุดนนั้ กจ็ ะเป็นจดุ สนใจทถ่ี ูกเน้นขน้ึ มา และการจดั วางตาแหน่งท่ี เหมาะสม กส็ ามารถทา ใหจ้ ุดนนั้ เป็นจดุ สาคญั ขน้ึ มาไดเ้ ช่นกนั พึงเข้าใจว่า การเน้น ไม่จาเป็นจะต้องช้ีแนะให้เห็นเด่นชัด จนเกนิ ไป สงิ่ ทจ่ี ะตอ้ ง ระลกึ ถงึ อยเู่ สมอ คอื เม่อื จดั วางจุดสนใจแลว้ จะตอ้ งพยายามหลกี เลย่ี งไมใ่ หส้ งิ่ อน่ื มา ดงึ ความสนใจออกไป จนทาให้เกดิ ความสบั สน การเน้น สามารถกระทาได้ดว้ ยองค์ ประกอบต่าง ๆ ของ ศลิ ปะ ไม่ว่าจะเป็น เสน้ สี แสง-เงา รูปร่าง รูปทรง หรอื พน้ื ผวิ ทงั้ น้ีข้นึ อยู่ความต้องการในการนาเสนอ ของศลิ ปินผสู้ รา้ งสรรค์ 5. เอกภาพ (Unity) เอกภาพ หมายถงึ ความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ทงั้ ดา้ นรปู ลกั ษณะและดา้ น เน้ือหาเร่อื งราว เป็นการประสานหรอื จดั ระเบยี บของสว่ นต่าง ๆใหเ้ กดิ ความเป็น หน่ึงเดยี วเพ่อื ผลรวมอนั ไมอ่ าจแบ่งแยกสว่ นใดสว่ นหน่งึ ออกไป การสรา้ งงานศลิ ปะ

32 คอื การสร้างเอกภาพข้นึ จากความสบั สน ความยุ่งเหยงิ เป็นการจดั ระเบียบ และดุลยภาพ ให้แก่สง่ิ ท่ี ขดั แย้งกนั เพ่อื ใหร้ วมตวั กนั ได้ โดยการเช่อื มโยงส่วนต่าง ๆให้สมั พนั ธ์กนั เอกภาพของงานศลิ ปะ มอี ยู่ 2 ประการ คอื 5.1เอกภาพของการแสดงออก หมายถงึ การแสดงออกทมี จี ุดมุ่งหมายเดยี ว แน่นอน และมี ความ เรยี บงา่ ย งานชน้ิ เดยี วจะแสดงออกหลายความคดิ หลายอารมณ์ไมไ่ ด้ จะทาใหส้ บั สน ขาดเอกภาพ และการ แสดงออกดว้ ยลกั ษณะเฉพาตวั ของศลิ ปินแต่ละคน กส็ ามารถทาให้ เกดิ เอกภาพแก่ผลงานได 5.2. เอกภาพของรูปทรง คอื การรวมตวั กนั อย่างมดี ุลยภาพ และมรี ะเบยี บขององค์ประกอบ ทาง ศลิ ปะ เพ่อื ใหเ้ กดิ เป็นรูปทรงหน่ึง ทส่ี ามารถแสดงความคดิ เหน็ หรอื อารมณ์ของศลิ ปิน ออกไดอ้ ย่างชดั เจน เอกภาพของรูปทรง เป็นสงิ่ ทส่ี าคญั ท่สี ุดต่อความงามของผลงานศลิ ปะ เพราะเป็นสง่ิ ท่ศี ลิ ปินใชเ้ ป็นส่อื ใน การแสดงออกถงึ เร่อื งราว ความคดิ และอารมณ์ ดงั นัน้ กฎเกณฑ์ในการสร้างเอกภาพในงานศลิ ปะเป็น กฎเกณฑเ์ ดยี วกนั กบั ธรรมชาติ ซง่ึ มอี ยู่ 2 หวั ขอ้ คอื 1. กฎเกณฑข์ องการขดั แยง้ (Opposition) มอี ยู่ 4 ลกั ษณะ คอื 1.1 การขดั แยง้ ขององคป์ ระกอบทางศลิ ปะแต่ละชนิด และรวมถงึ การขดั แยง้ กนั ของ องคป์ ระกอบ ตา่ งชนดิ กนั ดว้ ย 1.2 การขดั แยง้ ของขนาด 1.3 การขดั แยง้ ของทศิ ทาง 1.4 การขดั แยง้ ของทว่ี ่างหรอื จงั หวะ 2. กฎเกณฑข์ องการประสาน (Transition) คอื การทาใหเ้ กดิ ความกลมกลนื ให้สง่ิ ต่างๆเข้ากนั ดอ้ ย่างสนิท เป็นการสรา้ งเอกภาพจากการรวมตวั ของสง่ิ ทเ่ี หมอื นกนั เขา้ ดว้ ยกนั การประสานมอี ยู่ 2 วธิ ี คอื 2.1 การเป็นตวั กลาง (Transition) คอื การทาสง่ิ ทข่ี ดั แยง้ กนั ใหก้ ลมกลนื กนั ดว้ ยการใชต้ วั กลางเขา้ ไปประสาน เช่น สขี าว กบั สดี า ซงึ มคี วามแตกตา่ งขดั แยง้ กนั สามารถทาใหอ้ ย่รู ว่ มกนั ไดอ้ ย่างมเี อกภาพดว้ ย การใชส้ เี ทาเขา้ ไปประสาน ทาใหเ้ กดิ ความกลมกลนื กนั มากขน้ึ 2.2 การซ้า (Repetition) คอื การจดั วางหน่วยทเ่ี หมอื นกนั ตงั้ แต่ 2 หน่วยขน้ึ ไป เป็นการสรา้ งเอกภาพ ทง่ี า่ ยทส่ี ดุ แต่กท็ าใหด้ จู ดื ชดื น่าเบอ่ื ทส่ี ดุ นอกเหนอื จากกฎเกณฑห์ ลกั คอื การขดั แยง้ และการประสานแลว้ ยงั มกี ฎเกณฑร์ องอกี 2 ขอ้ คอื 1. ความเป็นเด่น (Dominance) ซง่ึ มี 2 ลกั ษณะ คอื 1.1 ความเป็นเด่นทเ่ี กดิ จากการขดั แยง้ ดว้ ยการเพมิ่ หรอื ลดความสาคญั ความน่าสนใจในหน่วยใดหน่วย หน่งึ ของคทู่ ข่ี ดั แยง้ กนั 1.2 ความเป็นเด่นทเ่ี กดิ จากการประสาน 2. การเปลย่ี นแปร (Variation) คอื การเพม่ิ ความขดั แยง้ ลงในหน่วยทซ่ี ้ากนั เพอ่ื ป้องกนั ความจดื ชดื น่าเบ่อื ซ่งึ จะชว่ ยใหม้ คี วามน่าสนใจมากขน้ึ การเปลย่ี นแปรมี 4 ลกั ษณะ คอื 2.1 การปลย่ี นแปรของรปู ลกั ษณะ

33 2.2 การปลย่ี นแปรของขนาด 2.3 การปลย่ี นแปรของทศิ ทาง 2.4 การปลย่ี นแปรของจงั หวะ การเปลย่ี นแปรรปู ลกั ษณะจะต้องรกั ษาคุณลกั ษณะของการซ้าไว้ ถ้ารปู มกี ารเปลย่ี น แปรไปมาก การซ้าก็ จะหมดไป กลายเป็นการขดั แยง้ เขา้ มาแทน และ ถ้าหน่วยหน่ึงมกี าร เปลย่ี นแปรอย่างรวดเรว็ มคี วาม แตกต่างจากหน่วยอ่นื ๆ มาก จะกลายเป็นความเป็นเดน่ เป็นการสรา้ งเอกภาพดว้ ยความขดั แยง้ การจดั พน้ื พน้ื ทว่ี ่าง (SPACE) หมายถงึ ช่องว่างหรอื พน้ื ทว่ี ่างทล่ี อ้ มรอบรูปร่าง รปู ทรง ระยะห่างระหว่างรูปร่าง กบั รปู ร่าง รูปทรงกบั รูปทรง และพน้ื ทว่ี ่างภายในรูปทรง บรเิ วณว่างเหล่าน้ีจะช่วยใหร้ ูปภาพมลี กั ษณะ ปลอดโปร่ง สบายตา ดไู ม่อดึ อดั ทบึ ตนั ใหค้ วามรสู้ กึ แปลกใหมแ่ ละผ่อนคลาย บรเิ วณวา่ งกบั การนามาใชใ้ นงานทศั นศลิ ป์ การนาคุณค่าของบรเิ วณว่างมาใช้ในงานทศั นศลิ ป์ แบ่งออกเป็น 3 ลกั ษณะใหญ่ ๆ ได้แก่ การ นามาใช้เพ่อื จดั พ้นื ท่ี การนามาใชเ้ พ่อื เสรมิ สร้างความชดั เจนของรูปและมติ ิ และการนามาใช้เพ่อื ให้เกิด อารมณ์และความรสู้ กึ 1. การนามาใชเ้ พ่อื จดั พน้ื ท่ี เป็นการนาบรเิ วณว่างมาใช้ในงานทศั นศลิ ป์ เพ่อื จดั พน้ื ทใ่ี หเ้ กดิ ความงาม ดา้ นการจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ และประโยชน์ใชส้ อยอย่างเหมาะสม ในดา้ นความงาม เช่น ในงานการเขยี นภาพตอ้ งคานงึ ถงึ การจดั อตั ราสว่ นของพน้ื ทร่ี ปู กบั บรเิ วณว่างให้ ไดส้ ดั ส่วนเหมาะสมกบั ขนาดภาพ ถ้าบรเิ วณว่างมากไปจะทาใหร้ ูปในภาพเลก็ เวง้ิ วา้ งไม่สวยงาม การ เขยี นตวั อกั ษรในงานพาณิชยศลิ ป์ ต้องคานึงถงึ การจดั บรเิ วณว่างระหว่างตวั อกั ษรใหม้ รี ะยะห่างพอเหมาะ เพอ่ื ใหอ้ า่ นงา่ ยและดสู วยงาม เป็นตน้ ในดา้ นประโยชน์ใชส้ อย เชน่ งานมณั ฑนศลิ ป์ตอ้ งคานึงการจดั พน้ื ทห่ี อ้ งใหส้ มั พนั ธก์ บั บรเิ วณว่างท่จี ะใช้ งานเคร่อื งเรอื นตอ้ งมบี รเิ วณว่างเพยี งพอตอ่ การใชง้ าน และมพี น้ื ทว่ี า่ งสาหรบั สญั จร ถา้ แคบไปจะใชง้ านไม่ สะดวกหรอื เดนิ ลาบาก เป็นตน้ 2. การนามาใชเ้ พอ่ื เสรมิ สรา้ งความชดั เจนของรปู และมติ ิ เป็นการนาบรเิ วณว่างมาใชใ้ นงานทศั นศลิ ป์เพ่อื เสรมิ สรา้ งความชดั เจนของรปู ร่าง รูปทรง และระยะใกล้ ไกล ตน้ื ลกึ ช่วยใหม้ องเหน็ กายภาพของรูป และมติ ไิ ดด้ ขี น้ึ เชน่ งาน จติ รกรรมภาพบนั ทกึ จากภูเขา ของวนิ ยั ปราบรปิ ู เป็นตน้ 3. การนามาใชเ้ พ่อื ใหเ้ กดิ อารมณ์และความรสู้ กึ เป็นการนาบรเิ วณว่างมาใชเ้ พอ่ื ใหผ้ ู้ดูเกดิ อารมณ์ และ ความรสู้ กึ คลอ้ ยตามลกั ษณะบรรยากาศของภาพงานทแ่ี สดงออก ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ อา้ งวา้ ง วา่ งเปลา่ โลง่ ปลอดโปร่ง อดึ อดั ทบึ ตนั ฯลฯ เช่น จติ รกรรมภาพทวิ ทศั น์ มบี รเิ วณว่างหรอื ช่องว่างระหว่างกงิ่ กา้ น พุม่ ใบ ทาใหม้ องลอดเหน็ ฉากหลงั หรอื ทอ้ งฟ้า เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรูส้ กึ ผ่อนคลายสายตา ไม่อดึ อดั ทบึ ตนั ภาพทวิ ทศั น์ทะเลมบี รเิ วณวา่ งมากกว่ารปู ทรงอ่นื ๆ จะใหค้ วามรสู้ กึ เวง้ิ วา้ ง ประตมิ ากรรม ถา้ เจาะรปู ทรง ให้มชี ่องว่างมากเกนิ ไปจะให้ความรู้สกึ เปราะบาง ไม่แขง็ แกร่ง สถาปตั ยกรรม มบี รเิ วณว่างภายใน

34 อาคารแคบและเต้ยี จะใหค้ วามรสู้ กึ อดึ อดั กวา้ งและสงู จะรสู้ กึ โล่ง แต่ถ้าโล่งเกนิ ไปจะอา้ งวา้ ง เงยี บเหงา การมชี ่องของประตู หน้าต่าง ของอาคารทอ่ี ยอู่ าศยั พน้ื ผวั กบั งานทศั นศลิ ป์ พน้ื ผวิ (TEXTURE) หมายถงึ ลกั ษณะของสว่ นนอกสุดของวตั ถุทเ่ี รามองเหน็ และสมั ผสั ได้ เช่น ผวิ มนั ดา้ น หยาบ ละเอยี ด ขรุขระ ในงานจติ รกรรม ประตมิ ากรรม และสถาปตั ยกรรม ทม่ี ี พน้ื ผวิ แตกต่างกนั จะทาใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ สนุก ต่นื เตน้ มชี วี ติ ชวี า พน้ื ผวิ กบั การนามาใชใ้ นงานทศั นศลิ ป์ การนาคุณค่าของพน้ื ผวิ มาใชใ้ นงานทศั นศลิ ป์ แบ่งออกเป็น 4 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การนาการ ใช้เพ่อื ให้เกดิ ทางความงามทแ่ี ตกต่าง การนามาใชล้ วงตาเพ่อื เสรมิ สรา้ งมติ แิ ละขนาด การนามาใช้เพ่อื กระตนุ้ เรา้ อารมณ์และความรสู้ กึ การนามาใชเ้ พอ่ื ประโยชน์ในการใชส้ อย 1. การนามาใช้เพ่ือให้เกิดความงามท่ีแตกต่าง เป็นการนาพ้ืนผิวลักษณะต่าง ๆ มาใช้ สร้างสรรค์ในงานทศั นศลิ ป์เพ่อื แสดงความงามท่แี ตกต่างกนั ตามค่านิยมของแต่ละคนหรอื ให้มคี วามงาม สอดคลอ้ งกบั สง่ิ ทน่ี ามาถ่ายทอด บางคนชอบพ้นื ผวิ เรยี บเนียน บางคนชอบผวิ ลกั ษณะอ่นื ๆ เช่น งาน จติ รกรรม ภาพแม่พระนงั่ บลั ลงั ก์ โดย ราฟาเอล ใชค้ วามงามพน้ื ผวิ แบบเกลย่ี เรยี บเนียน ภาพถนนกบั ตน้ ไซเปรสและดวงดาว ของ วนิ เซนต์ แวนโกะ แสดงความงามของพน้ื ผวิ ดว้ ยรอยฝีแปรงทห่ี ยาบขุรขระ ภาพนางแบบ ของ ชอรช์ เซอรา แสดงความงามของพน้ื ผวิ ดว้ ยกรรมวธิ จี ุดสี ภาพนางจเิ ดยี น นาซมู ิ ของ คตี ชอว์ วลิ เลยี มส์ ใชว้ ธิ สี รา้ งพน้ื ผวิ ของภาพเขยี นใหส้ เี นียนนุ่มเหมาะสมกบั วยั สาว ประตมิ ากรรม ภาพ โมเสส โดย ไมเคลิ แอนเจโล แสดงความงามพน้ื ผวิ แบบเรยี บไดส้ มั พนั ธก์ บั ผวิ เน้อื ของหนิ ออ่ น ภาพกนิ รี ในงานประตมิ ากรรมไทย แสดงความงามของผวิ ดว้ ยสที อง สถาปตั ยกรรม ซุ้มประตูทางเขา้ วดั พระเชตุ พนวมิ ลมงั คลาราม แสดงความงามด้วยการประดบั ตกแต่งพ้นื ผวิ ด้วยเศษกระเบ้อื ง อาคารสมยั ใหม่ใช้ พน้ื ผวิ ของผนงั และเสา มลี กั ษณะแวววาวของโลหะทใ่ี หง้ ามอย่างหรหู รา เป็นตน้ 2. การนามาใชล้ วงตาเพอ่ื เสรมิ สรา้ งมติ แิ ละขนาด เป็นการนาพน้ื ผวิ มาใชส้ รา้ งงานทศั นศลิ ป์เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ลวงตาในดา้ นมติ ิ และขนาดของผลงาน คอื ดูมรี ะยะใกล้ ไกล ต้นื ลกึ และมขี นาดใหญ่ เลก็ เชน่ งานจติ รกรรม บางคนเขยี นภาพโดยใชเ้ กรยี งป้ายสใี หพ้ น้ื ผวิ ภาพในระยะหน้ามคี วามหนาขรุขระ และ ระยะหลงั ของภาพใชส้ บี างเรยี บ บางคนใชท้ รายผสมกาวโรยเป็นภาพแลว้ ตกแต่งดว้ ยสี ภาพจงึ มสี ่วนนูน และสว่ นราบ ทาใหร้ สู้ กึ มมี ติ มิ ากขน้ึ บางคนเขยี นภาพในระยะหน้าดว้ ยการตกแต่งเกบ็ รายละเอยี ดพน้ื ผวิ มาก สว่ นภาพในระยะหลงั ไม่แสดงรายละเอยี ด จงึ ทาให้ภาพดมู มี ติ ริ ะยะใกลไ้ กล งานประตมิ ากรรมทใ่ี ช้ พน้ื ผวิ นูนเกลย้ี งเกลาสผี วิ อ่อน จะใหค้ วามรสู้ กึ นูนหนา และดมู ขี นาดใหญ่ ผวิ ขรุ ขระสเี ขม้ ขนาดจะดเู ลก็ ลง แต่จะเหน็ มติ ขิ องงานคมชดั งานสถาปตั ยกรรม ใชล้ กั ษณะพน้ื ผวิ นูนเวา้ เป็นลอนแสดงความมมี ติ ิ ของหลงั คา และรวั้ บางครงั้ ใชผ้ วิ หยาบมากบรเิ วณผนงั รวั้ เพอ่ื ลวงตาใหม้ รี ะยะห่างจากอาคาร บางคนใช้ ประตมิ ากรรมลวดลายตกแต่งเป็นพน้ื ผวิ อาคารใหด้ ูมรี ะยะใกล้ ไกล ต้นื ลกึ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากกรอบประตู

35 พระอุโบสถวดั ราชบพติ ร ฯ กรุงเทพมหานคร ทาเป็นลายประจายามรดั ดอก ความขรุขระของผวิ ลายทา ใหเ้ กดิ แสง และเงาจงึ ดมู มี ติ สิ วยงามขน้ึ เป็นตน้ 3. การนามาใชเ้ พอ่ื กระตุ้นเร้าอารมณ์และความรูส้ กึ เป็นการนาความรเู้ ร่อื งของพ้นื ผวิ ทม่ี ผี ลต่อจติ วทิ ยา กระตนุ้ เรา้ อารมณ์ และความรสู้ กึ มาใชเ้ พอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลตามทผ่ี สู้ รา้ งสรรคง์ านตอ้ งการ อารมณ์และความรสู้ กึ ของพน้ื ผวิ ผวิ เรยี บเกลย้ี งเกลา ใหค้ วามรสู้ กึ นุ่มนวล น่าจบั อยากลูบคลา ผวิ เรยี บมนั ใหค้ วามรสู้ กึ ใหญก่ วา่ สวา่ ง หรหู รา ล่นื คลอ่ งตวั ผวิ ละเอยี ด ใหค้ วามรสู้ กึ ใหญ่ เบาบาง เป็นระเบยี บ ผวิ หยาบดา้ น ใหค้ วามรสู้ กึ แคบ อดึ อดั ทบึ ตนั หนกั แขง็ แรง ผวิ ขรุขระ ใหค้ วามรสู้ กึ น่าขยะแขยง ไมน่ ่าจบั ตอ้ ง ผวิ หนามแหลม ใหค้ วามรสู้ กึ ไม่ปลอดภยั น่ากลวั ไม่น่าจบั ตอ้ ง ผวิ หยอ่ นยน่ ใหค้ วามรสู้ กึ เสอ่ี มถอย ชรา ไมเ่ ต่งตึง ไม่สด 4. การนามาใช้เพ่อื ประโยชน์ในการใชส้ อย เป็นการนาความรูค้ วามเขา้ ใจในเร่อื งพน้ื ผวิ มาใชอ้ อกแบบ สร้างสรรค์งานทศั นศิลป์ทางด้านประยุกต์ศลิ ป์ เพ่อื ประโยชน์ในการใช้สอย เช่น การนาพ้นื ผวิ หยาบ ขรุขระ มาออกแบบเป็นท่ีจบั ภาชนะ และตัวภาชนะ เพ่อื ช่วยในการจบั ให้กระชบั มือ ไม่ล่ืนพลัดตก เสยี หาย นามาใชอ้ อกแบบทางเดนิ ทล่ี าดชนั พน้ื กระเบอ้ื งหอ้ งน้าเพ่อื กนั การล่นื ลม้ นามาใชอ้ อกแบบทา ฝาผนัง และเพดานเพ่อื ลดเสยี งสะท้อน ผนังกนั เสยี งบนทางด่วน ออกแบบผลติ ภณั ฑพ์ ้นื รองเทา้ ดอก ยางลอ้ รถยนต์เพ่อื ให้เกาะผวิ ถนน การนาพ้นื ผวิ อ่อนนุ่มมาใชอ้ อกแบบพรมปูพน้ื ห้องเพ่อื ลดแรงกระแทก การนาภาพเขยี นและภาพพมิ พ์มาใช้ตกแต่งผวิ แก้ว เพ่อื ให้เกดิ ความสวยงามและลดความล่นื ในการจบั เป็นตน้

36 แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท3่ี คาสงั่ จงทาเคร่อื งหมาย √ หน้าขอ้ ทค่ี ดิ ว่าถกู และ ทาเคร่อื งหมาย × หน้าขอ้ ทค่ี ดิ ว่าผดิ ……………….. 1. ไมบ้ รรทดั จดั เป็นอปุ กรณ์ในการสรา้ งสรรคง์ านจติ รกรรม ……………….. 2. ฟองน้าช่วยในการทาน้าบนกระดาษทไ่ี ดผ้ ลเรว็ และใชใ้ นการซบั สที ไ่ี มต่ อ้ งการ ……………….. 3. อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการสรา้ งสรรคง์ านจติ รกรรมมี 13 อย่าง ……………….. 4. จุดสนใจ คอื สง่ิ ทก่ี าหนดความพอดแี ละความลงตวั ในภาพ ……………….. 5. ภาพพมิ พ์ คอื รอ่ งรอยทท่ี าใหเ้ กดิ ขน้ึ โดยวธิ กี ารพมิ พจ์ ะตอ้ งกระทบบนวตั ถอุ นั หน่ึง กอ่ น แลว้ จงึ กดทบั ใหไ้ ปตดิ ประทบั รอยบนวสั ดอุ กี อนั หน่งึ ……………….. 6. สว่ นประกอบทท่ี าเกดิ ความงามของทศั นศลิ ป์มี 6 ประการ ……………….. 7. รูปแบบเหมอื นจรงิ จะถ่ายทอดสง่ิ ท่ีมองเห็น โดยจะให้ความสาคญั กบั อารมณ์และ ความรสู้ กึ ……………….. 8. รปู แบบการแสดงออกทางทศั นศลิ ป์ ประกอบดว้ ย รปู แบบเหมอื นจรงิ รปู แบบลดตดั ทอน รปู แบบนามธรรม ……………….. 9. ทศั นศลิ ป์ (Visual Art) คอื งานศลิ ปะทร่ี บั รจู้ ากการมองเหน็ ไดด้ ว้ ยสายตา ……………….. 10. สเี ยน็ คอื สที ใ่ี หค้ วามรสู้ กึ เยน็ นิ่ง สงบ

37 หน่วยท่ี 4 ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์ สาระสาคญั Computer Art หมายถงึ งานศลิ ปะอนั เกดิ จากการผลติ ของเคร่อื งคอมพวิ เตอรใ์ น ค.ศ.1935 อลนั ทู รง่ิ ไดส้ รา้ งจกั รกลการคานวณขน้ึ เรยี กวา่ ทูรงิ่ แมชชนี ซง่ึ มุ่งเน้นการคานวณต่อมาทูรงิ่ ไดพ้ ฒั นามาเป็น คอมพิวเตอร์ เรียกว่า ACE ( Automatic Computing Engine ) ในยุคแรกคอมพิวเตอร์เร่ิมใช้หลอด สุญญากาศแทนวงจรในการคานวณ ต่อมาในทศวรรษท่ี 1950 ได้มกี ารสร้างทรานซิสเตอรท์ ม่ี ขี นาดเล็ก แทนหลอดสญุ ญากาศ เรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษา 1. ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์ 2. ภาพศลิ ปะจากคอมพวิ เตอร์ 3. การออกแบบกราฟิก 4. ระบบคอมพวิ เตอรก์ บั การออกแบบงานกราฟิก 5. องคป์ ระกอบในการออกแบบงานกราฟิกและสอ่ื 6. งานกราฟิกกบั คอมพวิ เตอร์ 7. ประเภทของงานออกแบบกราฟิกและสอ่ื สมรรถนะประจาหน่วย 1. จดั พ้นื ท่ี จุดสนใจของภาพและการเน้น จดั วางตาแหน่งภาพ และจดั วางภาพชนิดต่างๆ ตามหลกั การขององคป์ ระกอบศลิ ป์ : จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. อธบิ ายศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอรไ์ ด้ 2. วเิ คราะหภ์ าพศลิ ปะจากคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 3. อธบิ ายความหมายการออกแบบกราฟิกได้ 4. แยกแยะระบบคอมพวิ เตอรก์ บั การออกแบบงานกราฟิกได้ 5. บอกองคป์ ระกอบในการออกแบบงานกราฟิกและสอ่ื ได้ 6. สรา้ งงานกราฟิกจากคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 7. แยกแยะประเภทของงานออกแบบกราฟิกและสอ่ื ได้

38 ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์ Computer Art หมายถงึ งานศลิ ปะอนั เกดิ จากการผลติ ของเคร่อื งคอมพวิ เตอรใ์ น ค.ศ. 1935 อลนั ทรู งิ่ ไดส้ รา้ งจกั รกลการคานวณน้ีเรยี กว่า ทรู งิ่ แมชชนี ซง่ึ มุ่งเน้นการคานวณต่อมาทรู งิ่ ได้พฒั นา มาเป็นคอมพิวเตอร์ เรียกว่า ACE ( Automatic Computing Engine ) ในยุคแรกคอมพิวเตอร์เร่ิมใช้ หลอดสุญญากาศแทนวงจรในการคานวณ ต่อมาในทศวรรษท่ี 1950 ไดม้ กี ารสรา้ งทรานซลิ เตอรท์ ม่ี ขี นาด เลก็ แทนหลอดสุญญากาศ ซ่งึ คอมพวิ เตอรใ์ นยุคนนั้ มขี นาดเลก็ การทางานของคอมพวิ เตอรจ์ งึ มุ่งเน้นการ ใชป้ ระโยชน์ทางดา้ นคณติ ศาสตร์ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นการแพทย์ ดา้ นการทหาร ในดา้ นศลิ ปะไดป้ รากฏ แก่สายตาครงั้ แรก ในการเปิดตวั ของงานนิทรรศการคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ต่อมา มเิ ชล นอล ไดผ้ ลติ ศลิ ปะ คอมพวิ เตอรข์ ้นึ ไดร้ ่วมการแสดงศลิ ปะคอมพวิ เตอรใ์ นนครนิวยอร์ก งานของไดแ้ สดงรูปโคง้ ท่ี ซ้า ๆ กนั ซง่ึ งานของเขามลี กั ษณะคลา้ ยกบั งาน OP ARE หรอื การสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะทต่ี ่อเน่ืองกนั ซ่ึงคอมพวิ เตอร์ มีบทบาทในทุก ๆ วงการของสงั คม และบทบาทท่ีสาคัญ คือ ด้านท่ีเก่ียวกับศิลปะจะเป็นด้านการ ประยุกตใ์ ชเ้ พอ่ื การออกแบบ การใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการสรา้ งงานศลิ ปะทงั้ ดา้ นวจิ ติ รศลิ ป์และประยุกต์ศลิ ป์ท่ี มตี งั้ แต่งานดา้ นทศั นศลิ ป์ ด้านดนตรี ด้านศลิ ปะการแสดง ด้านสถาปตั ยกรรม รวมถงึ ด้านนันทนาการ ดว้ ย การประยุกต์สรา้ งงานศลิ ปะดว้ ยคอมพวิ เตอรม์ จี ุดเด่น คอื ช่วยใหศ้ ลิ ปะสามารถออกแบบต่าง ๆ ได้ อย่างรวดเรว็ ถูกต้องแม่นยา สามารถเปลย่ี นแปลงแก้ไขได้ แบบท่สี รา้ งขน้ึ โดยคอมพวิ เตอร์จะมคี วาม แปลกตาน่าสนใจ เพราะสามารถสร้างได้ทงั้ ภาพน่ิงและภาพเคล่อื นไหว รวมถึงการสร้างเสยี งต่าง ๆ ประกอบในผลงานศลิ ปะไดอ้ กี ดว้ ย รปู ท่ี 4.1 ศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์ ภาพศลิ ปะกบั คอมพวิ เตอร์ การวาดภาพในปจั จุบันน้ีใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ต้องใช้พู่กันกับจานสี แต่จะใช้ คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกแทนภาพทว่ี าด ในระบบคอมพวิ เตอรก์ ราฟิกน้ีเราสามารถกาหนดสแี สง เงา รปู แบบ ลายเสน้ ทต่ี อ้ งการไดโ้ ดยงา่ ย ภาพโฆษณาทางโทรทศั น์หลายช้นิ กเ็ ป็นงานจากการใช้คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ขอ้ ดขี องการใช้คอมพวิ เตอรว์ าดภาพกค็ อื เราสามารถแก้ไขเพม่ิ เตมิ ส่วนทต่ี ้องการไดง้ ่าย นอกจากน้ีเรายงั

39 สามารถนาภาพตา่ ง ๆ เกบ็ ในระบบคอมพวิ เตอรไ์ ดโ้ ดยใชเ้ ครอ่ื งสแกนเนอร์ (Scanner) แลว้ นาภาพเหล่านนั้ มาแกไ้ ข ภาพยนตรก์ ารต์ ูนและภาพยนตร์ประเภทนิยายวทิ ยาศาสตร์ หรอื ภาพยนตรท์ ใ่ี ชเ้ ทคนิคพเิ ศษต่าง ๆ ในปจั จุบนั มกี ารนาคอมพวิ เตอรก์ ราฟิกเขา้ มาช่วยในการออกแบบและสรา้ งภาพเคล่อื นไหว (Computer Animation) มากข้นึ เช่น ภาพยานอวกาศท่ีปรากฏอยู่ในภาพยนตร์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์ การใช้ คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกชว่ ยใหภ้ าพทอ่ี ย่ใู นจติ นาการของมนุษยส์ ามารถนาออกมาทาใหป้ รากฏเป็นจรงิ ได้ ภาพเคล่อื นไหวจงึ มปี ระโยชน์มากทงั้ ในระบบการศกึ ษา การอบรม การวจิ ยั และการจาลองการ ทางาน เชน่ จาลองกรขบั รถ การขบั เคร่อื งบนิ เกมคอมพวิ เตอรห์ รอื วดิ โี อเกม กใ็ ชห้ ลกั การทาเคล่อื นไหว จงึ มปี ระโยชน์มากทงั้ ในระบบการศกึ ษา การอบรม การวจิ ยั และการจาลองการทางาน เช่น จาลองกร ขบั รถ การขบั เคร่อื งบนิ เกมคอมพวิ เตอรห์ รอื วดิ โี อเกม กใ็ ชห้ ลกั การทาภาพเคล่อื นไหวในคอมพวิ เตอร์ กราฟิกเช่นกนั รปู ท่ี ศลิ ปะจากคอมพวิ เตอร์ การออกแบบกราฟิก งานกราฟิกเป็นสว่ นสาคญั ทม่ี บี ทบาทยงิ่ ต่อการออกแบบและกระบวนการผลติ สอ่ื โดยเฉพราะอย่าง ยง่ิ ส่อื ท่ีต้องการการสมั ผสั รบั รู้ด้วยตา ได้แก่ หนังสอื นิตยสาร วารสาร แผ่นป้าย บรรจุภณั ฑ์ แผ่นพบั แผ่นปลวิ โทรทศั น์ โฆษณา ภาพยนตร์ นักออกแบบจะใชว้ ธิ กี ารทางศลิ ปะและวธิ กี ารทางการออกแบบ รว่ มกนั สรา้ งรปู แบบสอ่ื เพอ่ื ใหเ้ กดิ ศกั ยภาพสูงสุดในการทจ่ี ะเป็นตวั กลางในการสอ่ื ความหมายระหว่างผสู้ ง่ สารและผูร้ บั สาร วธิ กี ารออกแบบและวธิ แี ก้ปญั หาการออกแบบ โดยการนาเอารูปภาพประกอบ ภาพถ่าย สญั ลักษณ์ รูปแบบ ขนาดตัวอักษรมาจัดวางเพ่ือให้เกิดการนาเสนอข้อมูลอย่างชัดเจน เกิดผลดีต่อ กระบวนการสอ่ื ความหมาย

40 ความหมายของการออกแบบกราฟิก เป็นลกั ษณะของการออกแบบพน้ื ผวิ 2 มติ เิ พอ่ื เป็นสอ่ื กลางสาหรบั ถ่ายทอดขอ้ ความความรสู้ กึ นึก คดิ และอารมณ์จากบุคคลหน่งึ ไปยงั อกี บุคคลหน่งึ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจและรเู้ ร่อื งโดยใชป้ ระสาทตาในการรบั รเู้ ป็น ส่วนใหญ่ งานกราฟิกมอี ทิ ธพิ ลต่อชวี ติ ประจาวนั ของเราเป็นอย่างมาก สง่ิ ทเ่ี รามองเหน็ ดว้ ยตาจะโน้มน้าว จติ ใจไดด้ กี ว่าการรบั รู้ประเภทอ่นื งานกราฟิกท่ดี ตี ้องขน้ึ อยู่กบั การออกแบบท่ดี ีดว้ ย นับตงั้ แต่หลกั การ เบอ้ื งตน้ ของศลิ ปะ รวมถึงการเลอื กใชว้ สั ดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ทน่ี ามาใชใ้ นการผลติ วสั ดุกราฟิก นอกจากน้ียงั ตอ้ งมคี วามรใู้ นเร่อื งเทคโนโลยใี หม่ ๆ ซง่ึ จะสามารถนามาใชใ้ นการออกแบบกราฟิกดว้ ย เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถ พฒั นางานออกแบบใหท้ นั ยุคสมยั ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลตลอดเวลา คณุ ค่าของงานกราฟิก งานกราฟิกช้นิ ทด่ี จี ะทาใหเ้ หน็ ถงึ ความคดิ ในการออกแบบเป็นเลศิ จะมอี ทิ ธพิ ลโดยตรงทจ่ี ะโน้มน้าว ผรู้ บั ขอ้ มลู ใหเ้ กดิ ความสนใจและยอดรบั และในขณะเดยี วกนั กย็ งั แสดงถงึ 1. เป็นสอ่ื กลางในการส่อื ความหมายให้เกดิ ความเขา้ ใจตรงกนั จากจุดหน่ึงไปยงั อกี จุดหน่ึงไดอ้ ย่าง ถกู ตอ้ งและชดั เจน 2. สามารถทาหน้าทเ่ี ป็นสอ่ื เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ เกดิ การศกึ ษากบั กลมุ่ เป้าหมายไดเ้ ป็นอยา่ งดี 3. ชว่ ยทาใหเ้ กดิ ความน่าสนใจ ประทบั ใจ และน่าเช่อื ถอื แก่ผพู้ บเหน็ 4. ช่วยใหเ้ กดิ การกระตนุ้ ทางความคดิ และการตดั สนิ ใจอยา่ งรวดเรว็ 5. กอ่ ใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ 6. ทาใหผ้ พู้ บเหน็ เกดิ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมทงั้ ทางดา้ นการกระทาและความคดิ เดก็ ควรรู้ คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก (Computer Graphics) หรอื ในโทรศพั ทบ์ ญั ญตั วิ ่า วชิ าเรขภาพคอมพวิ เตอร์ คอื หน่งึ ใน ศาสตร์ องคค์ วามรู้ของระเบยี บวธิ ีการแก้ปญั หาเชงิ คอมพวิ เตอร์ (computing Methodology) ท่แี ก้ปญั หา เกย่ี วกบั เรอ่ื งของภาพหรอื การแสดงภาพโดยเน้นการประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ใหข้ อ้ มลู นาเขา้ เป็น ขอ้ มลู ตวั เลข ตงั อกั ษร หรอื สญั ญาณตา่ งๆแทนตาแหน่งพกิ ดั สี รปู ทรง ความสวา่ ง ความหมายและความเป็นมาของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ( Computer Graphics ) หมายถงึ การสรา้ ง การจดั การ การใชค้ อมพวิ เตอร์ ในการสร้างภาพกราฟิก โดยการนาขอ้ มูลมาสรา้ งเป็นภาพ เสน้ กราฟ แผนภาพ แผนภูมิ หรอื อาจนา ภาพมาจากสอ่ื อ่นื ๆ เช่น ภาพจากเคร่อื งสแกน จากกลอ้ งดจิ ติ อล จากวดี ที ศั น์หรอื จากภาพยนตร์มาทา ก า ร ตัด ต่ อ ใ ห้เ ป็ น ไ ป ต า ม ต้ อ ง ก า ร ห รือ ต ก แ ต่ ง ภ า พ ใ ห้ดีข้ึน ค อ ม พิว เ ต อ ร์ก ร า ฟิ ก อ า จ ห ม า ย ถึง ก า รใ ช้ คอมพวิ เตอรว์ าดภาพ โดยใชซ้ อฟตแ์ วรส์ าหรบั วาดภาพ

41 หลกั การทางานและการแสดงผลของภาพคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ภาพทเ่ี กดิ บนจอคอมพวิ เตอร์ เกดิ จากการทางานโหมดสี RGB ซง่ึ ประกอบดว้ ยสแี ดง ( Red ) สเี ขยี ว ( Green ) และสนี ้าเงนิ ( Blue ) โดยใชห้ ลกั ยงิ ประจุไฟฟ้าใหเ้ กดิ การเปล่งแสงองสที งั้ 3 สมี าผสมกนั ทาให้เกดิ เป็นจุดสสี เ่ี หล่ยี มเลก็ ๆ ทเ่ี รยี กว่า พกิ เซล ( Pixel ) ซ่งึ มาจากคาว่า Picture กบั Element โดย พกิ เซลจะมหี ลากหลายสี เม่อื นามาวางต่อกนั จะเกดิ เป็นรูปภาพซ่ึงภาพท่ใี ชก้ บั เคร่อื งคอมพวิ เตอ ร์มี 2 ประเภท คอื แบบ Raster กบั Vector หลกั การของกราฟิกแบบ Raster หลกั การของภาพกราฟิกแบบ Raster หรอื แบบ Bitmap เป็นภาพกราฟิกทเ่ี กดิ จากการเรยี งตวั กนั ของจุดสเ่ี หลย่ี มเลก็ ๆ หลากหลายสี ซง่ึ เรยี กจุดสเี หลย่ี มเลก็ ๆ น้ีว่าพกิ เซล ในการสร้างภาพกราฟิกแบบ Raster จะตอ้ งกาหนดจานวนของพกิ เซลใหก้ บั ภาพทต่ี อ้ งการ สร้างถ้ากาหนดจานวนพกิ เซลน้อย เม่อื ยายภาพให้มขี นาดใหญ่ข้นึ จะทาให้มองเหน็ ภาพเป็นสุดสเี หล่ยี ม เลก็ ๆ หรอื ถา้ กาหนดจานวนพกิ เซลมากกจ็ ะทาใหแ้ ฟ้มภาพมขี นาดใหญ่ ดงั นนั้ การกาหนดพกิ เซลจงึ ควร กาหนดจานวนพกิ เซลให้เหมาะกบั งานท่ีสร้าง คอื ถ้าต้องการใช้งานทวั่ ไปจะกาหนดจานวนพิกเซล ประมาณ 100-150ppi จานวนพกิ เซลต่อ 1 ตารางน้ิว ถ้าเป็นงานทต่ี ้องการความละเอียดน้อยและแฟ้ม ภาพมขี นาดเลก็ เช่น ภาพสาหรบั ใช้กบั เวบ็ ไซต์จะกาหนดพกิ เซลประมาณ 72 ppi และถ้าเป็นงานพมิ พ์ เช่น นติ ยสารโปสเตอรข์ นาดใหญจ่ ะกาหนดจานวนพกิ เซลประมาณ 300-350 ppi เป็นตน้ หลกั การของกราฟิกแบบ Vector หลกั การองกราฟิกแบบ Vector เป็นภาพกราฟิกทเ่ี กดิ จาการอา้ งองิ ความสมั พนั ธ์ทางคณิตศาสตร์ หรอื การคานวณ ซ่งึ ภาพจะมคี วามเป็นอสิ ระต่อกนั โดยแยกชน้ิ สว่ นของภาพทงั้ หมดออกเป็นเสน้ ตรง เสน้ โค้ง รูปทรง เม่อื มกี ารขยายภาพความละเอยี ดของภาพจะไม่ลดลง แฟ้มจะมาดเล็กกว่าแบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใช้เพ่อื งานสถาปตั ย์ตกแต่งภายในการออกแบบต่าง ๆ เช่น การออกแบบ อาคาร การออกแบบรถยนต์ การสรา้ งโลโก้ การสรา้ งานการต์ ูน เป็นตน้ หลกั การใชส้ แี ละแสงในคอมพวิ เตอร์ สที ใ่ี ชใ้ นงานดา้ นกราฟิกทวั่ ไปมี 4 ระบบ คอื 1. RGB 2.CMYK 3.HSB 4. LAB RGB เป็นระบบสที ป่ี ระกอบดว้ ยแม่สี 3 สคี อื สแี ดง เขยี ว และสนี ้า เงนิ เม่อื นามาผสมกนั ทาให้เกดิ สตี ่าง ๆ บนจอคอมพวิ เตอรม์ ากถงึ 16.7 ลา้ นสี ซ่งึ ใกล้เคยี งกบั สที ต่ี าเรา มองเหน็ แกติ สที ไ่ี ดจ้ ากการผสมสขี น้ึ อยกู่ บั ความเขม้ ของสี โดยถา้ สมี คี วามเขม้ ขน้ มาก เม่อื นามาผสมกนั จะ ทาใหเ้ กดิ เป็นสขี าว จงึ เรยี กระบบสนี ้วี ่า แบบ Additive หรอื การผสมสแี บบบวก CMYK

42 เป็นระบบสที ใ่ี ชก้ บั เครอ่ื งพมิ พท์ พ่ี มิ พอ์ อกทางกระดาษหรอื วสั ดผุ วิ เรยี บอ่นื ๆ ซง่ึ ประกอบดว้ ยสหี ลกั 4 สคี อื สฟี ้า สมี ่วงแดง สเี หลอื ง และสดี า ไม่ดาสนิทเน่ืองจากหมกึ พมิ พม์ คี วามไม่บรสิ ุทธิ์ จงึ เป็นการผสมสี แบบลบ (Subtractive) หลกั การเกดิ สอี งระบบน้ี คอื หมกึ สหี น่ึงจะดูดกลืนแสงจากสหี น่ึงแล้วสะท้อนกลบั ออกมาเป็นสตี ่าง ๆ เช่น สฟี ้าดูดกลนื แสงของสมี ่วงแล้วสะทอ้ นออกมาเป็นสนี ้าเงนิ ซ่งึ จะสงั เกตไดว้ ่าสที ่ี สะทอ้ นออกมาจะเป็นสหี ลกั ของระบบ RGB การเกดิ สใี นระบบน้จี งึ ตรงขา้ มกบั การเกดิ สใี นระบบ RGB HSB เป็นระบบสแี บบการมองเหน็ ของสายตามนุษย์ ซง่ึ แบ่งเป็น 3 สว่ น คอื Hue คอื สตี ่าง ๆ ทส่ี ะทอ้ นออกมาจากวตั ถุแลว้ เขา้ สสู่ ายตาของเรา ซง่ึ มกั เรยี กสตี ามช่อื สี เชน่ สเี ขยี ว สแี ดง สเี หลอื ง เป็นตน้ Saturation คอื ความสดของสโี ดยค่าความสดของสจี ะเรมิ่ ท่ี 0 ถงึ 100 ถ้ากาหนด Saturation ท่ี 0 สจี ะมี ความสดน้อย แตถ่ า้ กาหนดท่ี 100 สจี ะมคี วามสดมาก Brightness คอื ระดบั ความสว่างของสี โดยคา่ ความสว่างของสจี ะเรม่ิ ท่ี 0 ถงึ 100 ถา้ กาหนดท่ี 0 ความสว่าง จะน้อยซง่ึ จะเป็นสดี า แตถ่ า้ กาหนดท่ี 100 สจี ะมคี วามสว่างมากทส่ี ดุ รปู ท่ี สแี บบ HSB LAB เป็นระบบสที ไ่ี ม่ขน้ึ กบั อปุ กรณ์ใด ๆ ( Device Independent) โดยแบง่ ออกเป็น 3 สว่ นคอื

43 “L” หรอื Luminance เป็นการกาหนดความสว่างซ่งึ มคี ่าตงั้ แต่ 0 ถงึ 100 ถ้ากาหนดท่ี 0 จะกลายเป็นสดี า แต่ถา้ กาหนดท่ี 100 จะกลายเป็นสขี าว “A” เป็นคา่ ของสที ไ่ี ลจ่ ากสเี ขยี วไปสแี ดง “B” เป็นคา่ ของสที ไ่ี ล่จากสนี ้าเงนิ ไปสเี หลอื ง รปู ท่ี สแี บบ LAB องคป์ ระกอบในการออกแบบงานกราฟิกและสอ่ื ความหมายและความเป็นมาของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก องคป์ ระกอบอยู่ 2 สว่ น คอื 1. อกั ษรและตวั พมิ พ์ ตวั อกั ษรจะทาหน้าทเ่ี ป็นส่วนแจกแจงรายละเอยี ดของขอ้ มูล สาระทต่ี อ้ งการนาเสนอดว้ ยรปู แบบและการ จดั วางตาแหน่งอย่างสวยงาม มคี วามชดั เจน การออกแบบ การเลอื กแบบตลอดจนการกาหนดรูปแบบ ของตวั อกั ษรทจ่ี ะนามาใชต้ อ้ งมลี กั ษณะเด่น อ่านง่าย สวยงาม น่าสนใจ ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ งของตวั อกั ษร จงึ ต้องกาหนดตามสภาวะนาไปใช้โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนทเ่ี ป็นหวั เร่อื งหรอื ช่อื สนิ ค้า จะต้อง เน้นความโดนเด่นของรูปแบบมากทส่ี ุด และสว่ นทเ่ี ป็นขอ้ ความหรอื เน้ือหาทต่ี ้องการแสดงรายละเอยี ดต่าง ๆ นิยมใชต้ วั อกั ษรทม่ี รี ปู แบบเรยี บงา่ ยสะดวกในการอ่านมากทส่ี ุด 2. ภาพและสว่ นประกอบตกแตง่ ภาพ

44 ภาพและสว่ นประกอบตกแต่งภาพทต่ี ้องการเน้นใหเ้ กดิ คุณค่าทางความงาม ซง่ึ จะทาหน้าทใ่ี นการถ่ายทอด จนิ ตนาการออกมาเป็นรูปแบบและนาเสนอแนวคดิ ใหเ้ ป็นรูปธรรมดาตามความคดิ ของตน เพ่อื ต้องการให้ เกดิ ประสทิ ธผิ ลในการสอ่ื สารมากทส่ี ุดฃ งานออกแบบทด่ี คี วรนาภาพมาใชใ้ หเ้ หมาะกบั โอกาสและหน้าทอ่ี ย่างกลมกลนื คอื 2.1 เมอ่ื ตอ้ งการดงึ ดดู ความสนใจ 2.2 เมอ่ื ตอ้ งการใชป้ ระกอบการอธบิ ายความรู้ 2.3 เมอ่ื ตอ้ งการคาอธบิ ายความคดิ รวบยอด 2.4 เมอ่ื ตอ้ งการอา้ งองิ สง่ิ ทป่ี รากฏขน้ึ จรงิ 2.5 เม่อื ตอ้ งการใชป้ ระกอบขอ้ มลู ทางสถติ ิ คุณคา่ และความสาคญั ของการออกแบบงานกราฟิกและสอ่ื งานกราฟิกท่ดี จี ะต้องทาให้เหน็ ถงึ ความคดิ ในการออกแบบเป็นเลศิ มคี ุณค่า และความสาคญั ในตวั เองท่ี แสดงออกได้ ดงั น้ี 1. เป็นสอ่ื กลางในการสอ่ื ความหมายใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจตรงกนั ถูกตอ้ ง และชดั เจน 2. สามารถทาหน้าทเ่ี ป็นสอ่ื เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรไู้ ดเ้ ป็นอย่างดี 3. ชว่ ยทาใหเ้ กดิ ความน่าสนใจ ประทบั ใจ และน่าเชอ่ื ถอื แกผ่ พู้ บเหน็ 4. ชว่ ยใหเ้ กดิ การกระตนุ้ ทางความคดิ และการตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 5. ช่วยสรา้ งสรรคง์ านสญั ลกั ษณ์ทางสงั คม และพฒั นาระบบการสอ่ื สารใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขน้ึ 6. ชว่ ยใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ มแี นวคดิ สง่ิ ใหมอ่ ย่เู สมอ 7. ช่วยสง่ เสรมิ ความกา้ วหน้าทางธุรกจิ และพฒั นาประเทศ งานกราฟิกกบั คอมพวิ เตอร์ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปจั จุบันทาให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ท่ีมี ความสามารถในดา้ นการคานวณตวั เลขจานวนมากเสรจ็ สน้ิ ภายในเวลาอนั สนั้ และเกบ็ ขอ้ มลู ไดเ้ ป็นจานวน มาก สามารถใชต้ ดิ ตอ่ สอ่ื สารเป็นเครอื ขา่ ยวงกว่างทวั่ โลก นอกจากน้รี าคาของคอมพวิ เตอรก์ ถ็ ูกโดยเฉพาะ ไมโครคอมพวิ เตอร์ ทาให้มกี ารใช้งานแพร่หลายเกือบทุกวงการ และเม่อื นามาใช้ในงานกราฟิกทาให้ สามารถสรา้ งงานกราฟิกได้รวดเรว็ มคี ุณภาพและมปี รมิ าณมาก ง่ายต่อการนาไปใช้ งานกราฟิกทไ่ี ด้ยงั สามารถใชเ้ ผยแพร่ไดส้ ะดวกกว่างไกลผ่านระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ความนิยมใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงาน กราฟิกเกดิ ขน้ึ อย่างแพรห่ ลายในกจิ กรรม ดงั น้ี

45 งานนาเสนอขอ้ มลู ในการนาเสนอขอ้ มูลหากขอ้ มูลทน่ี าเสนอมเี ฉพาะขอ้ ความ ตวั เลขหรอื ตารางจะทาใหผ้ ูฟ้ งั รูส้ กึ เบอ่ื หน่ายและอาจส่อื ความเขา้ ใจได้ยาก ดงั นัน้ จงึ นิยมใช้คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาช่วยในการสร้างภาพกราฟิกเพ่อื การนาเสนอ ขอ้ มูล เช่น รายงานสรุปการเงนิ คะแนนนักเรยี นจานวนประชากร ซ่ึงสามารถทาเป็น รูปกราฟวงกลม กราฟเสน้ กราฟแท่ง เพอ่ื แสดงถงึ ปรมิ าณหรอื ความสมั พนั ธข์ องค่าต่าง ๆ ตวั อย่างการ นาเสนอขอ้ มลู ลกั ษณะน้ี รปู ท่ี งานนาเสนอขอ้ มลู งานออกแบบ คอมพวิ เตอร์ได้ถูกนาไปใช้งานอย่างมีประสทิ ธิภาพในการสร้างภาพกราฟิกเพ่อื ออกแบบทาง วศิ วกรรมและสถาปตั ยกรรม การออกแบบโดยใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ย ( Computer Aided Design : CAD ) นนั้ ได้ถูกใช้งานอย่างมากในการออกแบบสง่ิ ก่อสร้าง รถยนต์ เคร่อื งบนิ ยานอวกาศ รวมทงั้ การออกแบบ คอมพวิ เตอรร์ ุ่นใหม่ ซ่งึ มกั จะถูกออกแบบในคอมพวิ เตอร์ก่อนแลว้ จงึ นามาสร้างจรงิ ในภายหลงั หน้าจอ ของโปรแกรมในลกั ษณะน้มี กั จะประกอบดว้ ยรายการเลอื ก หน้าตา่ ง และภาพอุปกรณ์ทก่ี าลงั ออกแบบ รปู ท่ี หน้าจอของโปรแกรมช่วยออกแบบทางเคร่อื งกล

46 ขอ้ ดขี องการใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ยออกแบบ คอื 1. การออกแบบทาไดอ้ ย่างรวดเรว็ เร่อื งจากการป้อนขอ้ มลู ทาไดง้ า่ ยดว้ ยความช่วยเหลอื ของส่วนต่อ ประสานกราฟิกกบั ผใู้ ช้ (Graphical User Interface : GUI ) 2. ผใู้ ชส้ ามารถมองเหน็ งานทอ่ี อกแบบไดโ้ ดยไม่ตอ้ งสรา้ งตน้ แบบจรงิ ทาใหป้ ระหยดั เวลาและค่าใชจ้ า่ ย 3. ลดจานวนการสรา้ งต้นแบบเพ่อื การทดสอบลง เน่ืองจากผู้ใชส้ ามารถจาลองเพ่อื ดูพฤตกิ รรมของ เคร่อื งบนิ 4. ช่วยใหส้ ามารถออกแบบงานท่มี คี วามซบั ซ้อนสูงมากซ่งึ มนุษย์จะไม่สามารถทาได้โดยปราศจาก คอมพวิ เตอร์ เช่น การสร้างข้ึนส่วนอุปกรณ์การออกแบบทางสถาปตั ยกรรมการออกแบบวงจรรวม ( Integrated Circuit : IC) งานสรา้ งภาพนามธรรม คอมพวิ เตอรใ์ ชข้ อ้ มูล วธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ และวธิ กี ารสรา้ งภาพกราฟิก สรา้ งภาพนามธรรม ซ่งึ เป็นภาพกราฟิกท่ไี ม่มจี รงิ ในธรรมชาตหิ รอื ภาพทโ่ี ดยปกตมิ คี วามยาก หรอื เป็นไปไม่ไดท้ จ่ี ะมองเหน็ หรอื เฝ้าสงั เกตได้ เชน่ ภาพในภาพยนตรท์ น่ี กั แสดง ในปจั จุบนั ปรากฏตวั ร่วมกบั บรรดาบุคคลสาคญั ของโลกในอดตี หรอื ตวั การต์ ูน ภาพหว้ งอวกาศ ภาพการ เตน้ ของหวั ใจจากมุมมองต่าง ๆ ภาพการเคลอ่ื นไหวของขอ้ ต่อกระดกู ภาพนามธรรมมปี ระโยชน์อย่างมาก ต่องานบนั เทงิ การแพทย์ วทิ ยาศาสตร์ และงานอน่ื ๆ ในชวี ติ ประจาวนั การตรวจรกั ษาโรคของแพทยใ์ ชภ้ าพนามธรรมทค่ี อมพวิ เตอรส์ รา้ งขน้ึ เพอ่ื ซอ่ มแซมอวยั วะทผ่ี ดิ ปกติ หรอื ชารุด โดยการสร้างภาพนามธรรมของอวยั วะท่ีตรวจและอาจสร้างภาพนามธรรมของอวยั วะปกติ ซอ้ นทบั ไว้ แพทยจ์ ะสามารถตรวจคน้ พบความผดิ ปกตขิ องอวยั วะโดยการหมุนดูภาพนามธรรมน้ีในมุมต่าง ๆ และเม่อื จาเป็นต้องผ่าตดั เพ่อื ให้การรกั ษา ในขณะผ่าตดั แพทย์สามารถมองเห็นภาพนามธรรมของ อวยั วะทก่ี าลงั ผ่าตดั ไดท้ ุกแง่ทุกมุม ช่วยใหก้ ารผ่าตดั สะดวกและถกู ตอ้ ง ในการผ่าตดั ตบแต่งใบหน้าของผู้ ประสบอุบตั เิ หตุ ศลั ยแพทยส์ ามารถสรา้ งภาพนามธรรมใบหน้าของผปู้ ่วยขน้ึ ก่อนแลว้ ดาเนินการผ่าตดั ไป ตามทก่ี าหนด งานดา้ นศลิ ปะ การสร้างงานด้านศิลปะนับเป็นสง่ิ สาคญั สาหรบั มนุษยชาติ ศิลปินสามารถใช้ส่อื ต่าง ๆ ในการ ถ่ายทอดจินตนาการ อารมณ์ ความรู้สึกสู่ผู้ชมงานศิลปะนัน้ คอมพิวเตอร์นับว่าเป็นอุปกรณ์ท่ีมี ประสทิ ธภิ าพในการสรา้ งภาพกราฟิกเพอ่ื สอ่ื ความหมาย เน่อื งจากมคี วามยดื หยนุ่ ในการนาเสนอไดม้ าก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook