Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการแก้ไขปัญหาจราจร

โครงการแก้ไขปัญหาจราจร

Published by kannikas60, 2017-11-19 09:31:45

Description: โครงการแก้ไขปัญหาจราจร

Search

Read the Text Version

โครงการพระราชดาริการแกไ้ ขปญั หาจราจรMs.Yangden Kinzang รหัสนสิ ิต 60560016นางสาวกทลี กล่อมอู่ รหสั นสิ ิต 60560023นางสาวกนกรตั น์ วงษ์หบี ทอง รหัสนสิ ิต 60560030นางสาวณฐั ชนันต์ ขัตพิ ันธ์ุ รหัสนิสติ 60560047นางสาวกนกวรรณ ด่านจติ ตศิ ริ ิ รหสั นสิ ติ 60560054นางสาวกมลรัชต์ เที่ยงตรง รหัสนสิ ติ 60560061นางสาวกรรณิกา แสนเทียม รหัสนสิ ิต 60560078นายกฤตนนท์ กากัน รหัสนิสติ 60560085นางสาวกนั ต์ฤทัย แดนไกวลั ฉตั ร รหสั นสิ ิต 60460092นางสาวกัลญา พะคะนวน รหสั นิสิต 60560108รายงานฉบับนี้เปน็ สว่ นหนึ่งของรายวิชา สารสนเทศศาสตร์เพ่ือการศึกษาคน้ คว้า(001221) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560

โครงการพระราชดารกิ ารแกไ้ ขปญั หาจราจรMs.Yangden Kinzang รหัสนสิ ิต 60560016นางสาวกทลี กล่อมอู่ รหสั นสิ ิต 60560023นางสาวกนกรตั น์ วงษ์หบี ทอง รหัสนสิ ิต 60560030นางสาวณฐั ชนนั ต์ ขตั ิพนั ธุ์ รหัสนิสติ 60560047นางสาวกนกวรรณ ดา่ นจติ ติศริ ิ รหสั นสิ ติ 60560054นางสาวกมลรัชต์ เท่ียงตรง รหัสนสิ ติ 60560061นางสาวกรรณกิ า แสนเทยี ม รหัสนสิ ิต 60560078นายกฤตนนท์ กากนั รหัสนิสติ 60560085นางสาวกนั ต์ฤทัย แดนไกวลั ฉตั ร รหสั นสิ ิต 60460092นางสาวกัลญา พะคะนวน รหสั นิสิต 60560108รายงานฉบับนี้เปน็ สว่ นหนึ่งของรายวิชา สารสนเทศศาสตร์เพ่ือการศึกษาคน้ คว้า(001221) มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาคการเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560

กชอ่ื หัวข้อรายงาน โครงการพระราชดาริการแก้ไขปญั หาจราจรผู้จัดทำรำยงำน Ms.Yangden Kinzang รหสั นิสิต 60560016 นางสาวกทลี กล่อมอู่ รหัสนิสติ 60560023 นางสาวกนกรัตน์ วงษ์หีบทอง รหสั นิสติ 60560030 นางสาวณฐั ชนนั ต์ ขัตพิ ันธุ์ รหัสนิสิต 60560047 นางสาวกนกวรรณ ดา่ นจติ ติศิริ รหสั นิสติ 60560054 นางสาวกมลรัชต์ เท่ยี งตรง รหสั นิสติ 60560061 นางสาวกรรณิกา แสนเทียม รหัสนิสิต 60560078 นายกฤตนนท์ กากัน รหสั นสิ ติ 60560085 นางสาวกนั ต์ฤทัย แดนไกวัลฉตั ร รหสั นิสติ 60460092 นางสาวกลั ญา พะคะนวน รหสั นสิ ติ 60560108ภาควิชา สารสนเทศศาสตร์เพอื่ การศึกษาคน้ คว้า(001221)ปีการศกึ ษา 2560.............................................................................................................................................. บทคัดยอ่ รายงานฉบบั นเ้ี ป็นการศกึ ษาโครงการพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภมู พิ ลอดุลยเดชฯ ในการแก้ไขปัญหาจราจร ซงึ่ ส่วนใหญเ่ ป็นโครงการปรับปรุงเส้นทางเพื่อการเดินทาง และขนส่งผลติ ผลได้สะดวก ได้แก่ โครงการทางยกระดบั ลอยฟ้าบรมราชชนนี โครงการพระราชดาริสะพานพระราม 8 โครงการก่อสรา้ งถนนเลยี บรถไฟสายใต้ โครงการตารวจจราจรในพระราชดาริและโครงการแก้ไขปัญหาการจราจรถนนรัชดาภิเษก

ขกิตติกรรมประกาศ โครงการพระราชดารกิ ารแก้ไขปัญหาจราจร โครงการน้ปี ระสบสาเร็จไดเ้ น่ืองจากความเมตตากรุณาจากอาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงการ คอื รศ.ดร.สุชาติ แยม้ แมน่ อาจารย์สมัชชา เนียมเรืองและคณะอาจารยใ์ นรายวชิ า 001221สารสนเทศศาสตร์เพ่ือการศกึ ษาค้นคว้า ท่ีไดก้ รุณาให้คาปรึกษาแนะนา และตรวจสอบ แก้ไข ข้อบกพร่องทุกขั้นตอนของการจดั ทาโครงการ ทาให้โครงการนส้ี าเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จดั ทาขอขอบพระคุณเปน็ อย่างสงู สุดทา้ ยน้คี ณะผ้จู ดั ทาหวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ โครงการพระราชดารกิ ารแก้ไขปัญหาจราจรนจี้ ะเป็นประโยชนอ์ ยา่ งย่ิงต่อนิสติ มหาวิทยาลัยนเรศวร รวมท้งั ครูอาจารยแ์ ละผ้ทู สี่ นใจศึกษาทัว่ ไป

คสารบญั หน้าบทคัดย่อ...............................................................................................................................................กกิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………………………………………….ขสารบญั …………………………………………………………………………………………………………………………………งบทท่ี 1 บทนา.......................................................................................................................................1 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญ………………….......................................................................1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์…………………................................................................................................1 1.3 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ...............................................................................................1 1.4 ขอบเขตการดาเนนิ งาน….................................................................................................2 1.5 ข้ันตอนการดาเนนิ งาน.....................................................................................................2 1.6 แผนการดาเนนิ งาน..........................................................................................................3บทที่ 2 หลักการและทฤษฎี………………………………………………………………………………………………….…3 2.1 โครงการก่อสรา้ งถนนรัชดาภิเษก…………………………………………………………………………..6 2.2 โครงการทางยกระดับลอยฟ้าบรมราชชนนี……………………………………………………………..8 2.3 โครงการพระราชดาริ สะพานพระราม 8…………………………………………………………….…………12 2.4 โครงการก่อสรา้ งถนนเลยี บรถไฟสายใต้……………………………………………………………..…13 2.5 โครงการตารวจจราจรในพระราชดาริ………………………………………………………………..…14บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการ…………………………………………………………………………………………………….……..16บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ การ………………………………………………………………………;…………………………….18บทที่ 5 บทสรปุ ………………………………………………………………………..………………………………….………19

งเอกสารอา้ งอิง……………………………………………………………………………………………………………………..20ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………………..22ประวตั ผิ ู้จดั ทา…………………………………………………………………………………………………………………….27

1 บทท่ี1 บทนา1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั โครงการพระราชดารกิ ารแก้ไขปญั หาจราจรเปน็ โครงการในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระราชทานแก่พสกนิกรของพระองค์ เพื่อเปน็ แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาทีเ่ กิดจากการจราจรบนทอ้ งถนนท่หี น้าแนน่ ในเขตกรงุ เทพมหานครฯและปรมิ ณฑลท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ การใช้ชีวติ ของประชาชน โครงการดงั กลา่ วช่วยแกป้ ญั หาการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ และทาให้สะดวกสบายต่อการใชช้ วี ติ มากขนึ้เมอื่ การจราจรดกี ารเดนิ ทางขนส่งสะดวกปลอดภยั ก็ทาใหป้ ระเทศพฒั นาก้าวหน้าได้ ชว่ ยในการส่งเสริมการท่องเทยี่ ว และเป็นที่ยอมรับของต่างชาตใิ นมุมของประเทศที่พฒั นาแลว้ ทางคณะผูจ้ ดั ทาได้ตระหนกั ถึงพระมหากรุณาธคิ ุณอันหาท่ีสุดมิไดท้ ี่พระราชทานแนวทางความชว่ ยเหลอื ดงั กล่าว จงึ ได้ศกึ ษาคน้ ควา้ ถึงท่มี าความสาคญั และการการแกป้ ญั หาของแตล่ ะโครงการ เพื่อเป็นความรู้ ประโยชนต์ อ่ นิสิตและผู้สนใจรวมถงึ เพ่ือเผยแพร่พระมหากรุณาธิคณุ ของในหลวงรชั กาลท่ี 9 ใหค้ นทั่วไปไดท้ ราบ1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อทราบถึงทมี่ าของโครงการพระราชดาริในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรชั การที่ 9 2. เพื่อทราบถึงรายละเอียดและที่มาของแต่ละโครงการในการแก้ปัญหาจราจร 3. เพื่อทราบถงึ ประโยชนข์ องโครงการแต่ละโครงการในการแกไ้ ขปญั หาจราจร1.3 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. ทราบถึงทม่ี าของโครงการพระราชดาริ 2. ทราบถงึ รายละเอยี ดและทีม่ าของโครงการแก้ไขปัญหาจราจร

2 3. ทราบถงึ ประโยชนข์ องโครงการแต่ละโครงการในการแก้ไขปญั หาจราจร1.4 ขอบเขตการดาเนินงาน ศึกษาทีม่ า รายละเอยี ด ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการแกไ้ ขปญั หาจราจร คือ- โครงการทางยกระดบั ลอยฟ้าบรมราชชนนี-โครงการพระราชดาริ สะพานพระราม 8-โครงการก่อสรา้ งถนนเลียบรถไฟสายใต้-โครงการตารวจจราจรในพระราชดาริ-โครงการแก้ไขปัญหาการจราจรถนนรชั ดาภิเษก1.5 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1. จัดประชุมกลุ่ม 2. วางแผนแบง่ หนา้ ท่ีในการหาข้อมูล 3. รวบรวมข้อมูลทีผ่ ่านการสังเคราะห์แลว้ 4. จดั ทารปู เลม่ 5. ออกแบบการนาเสนอและจัดทาตามขั้นตอนดังกล่าว1.6 แผนการดาเนนิ งาน กจิ กรรม ระยะเวลา1. ประชุมกลมุ่ 19 ตลุ าคม พ.ศ.25602. วางแผนแบง่ หนา้ ท่ใี นการหาขอ้ มลู 20 ตลุ าคม – 27 ตุลาคม พ.ศ.25603. สังเคราะห์ข้อมลู 28 ตลุ าคม – 30 ตุลาคม พ.ศ.25604. รวบรวมและจดั ทารปู เลม่ 31 ตลุ าคม – 10 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2560

35. ประชมุ ออกแบบการนาเสนอ 11 พฤศจิกายน – 13 พฤศจิกายน พ.ศ.25606. จัดทารปู แบบการนาเสนอ 14 พฤศจิกายน – 19 พฤศจิกายน พ.ศ.25607. จดั สง่ งานในรูปแบบ E-book 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ.25608. นาเสนองานพร้อมสง่ รูปเล่มฉบับสมบรู ณ์ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2560

4 บทที่ 2หลักการและทฤษฎี2.1 โครงการก่อสรา้ งถนนรัชดาภเิ ษก เป็นโครงการแรกท่เี กิดจากแนวพระราชดาริในการแก้ไขปัญหาการจราจรของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อต้นปพี ุทธศักราช 2514 นายกรฐั มนตรแี ละคณะรฐั มนตรไี ด้เข้าเฝ้ากราบบังคมทลู พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เรื่องพระราชพิธีรชั ดาภเิ ษก ซึ่งเปน็ พระราชพธิ เี ฉลมิ ฉลองในวโรกาส ท่ีพระองค์ทรงครองราชยค์ รบ 25 ปี และไดร้ ับกระแสพระราชดารเิ ร่ืองการจราจรตดิ ขดั เห็นสมควรจัดสรา้ งถนนเพม่ิ ข้ึน อาจเปน็ ถนนวงแหวนรอบ (RingRoad) และถนนยกระดับ (Elevated Road) เพ่อื เปน็ ของขวัญแกป่ ระชาชนท่วั ไป พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวพร้อมดว้ ยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ได้เสด็จวางศลิ าฤกษ์ถนนวงรอบนี้ เม่ือวันท่ี 8 มถิ ุนายน 2514 และได้พระราชทานนามว่า “ถนนรชั ดาภิเษก”ลักษณะโดยทั่วไปของถนนรัชดาภเิ ษกเปน็ ถนนวงแหวนหรือวงรอบ สรา้ งขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกในการจราจร ระหวา่ งชานเมืองด้านหนง่ึ ไปส่ชู านเมอื งอีกด้านหนึ่ง โดยไม่ต้องผา่ นใจกลางเมืองทีม่ ีการจราจรคบั คัง่ ถนนรัชดาภเิ ษกเป็นถนนสายประธานที่เป็นองคป์ ระกอบสาคัญของระบบโครงข่ายถนนในผงั เมืองกรุงเทพฯ โดยทวั่ ไปจะเป็นทางยกระดับดนิ ที่มเี ขตทางกวา้ ง 25-50 เมตร โดยแบ่งเปน็2 ทศิ ทาง ทศิ ทางละ 2-4 ช่องจราจร มเี กาะกลาง ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง สองขา้ งทาง มีทางเทา้ ท่กี ว้างพอสรา้ งทอ่ ระบายน้า และปลูกตน้ ไม้ เสน้ ทางของถนนรชั ดาภิเษกเรม่ิ จากแยกทา่ พระ ตัดผา่ นถนนตากสิน ขา้ มสะพานกรงุ เทพฯ ตัดผ่านถนนเจรญิ กรุง ถนนสาธุประดิษฐ์ ถนนนางลน้ิ จ่ี บริเวณท่าเรอืคลองเตย ผ่านถนนพระราม 4 เขา้ ไปในทีด่ นิ ของโรงงานยาสูบ ผา่ นถนนสุขมุ วิทไปตามแนวถนนอโศกผ่านถนนลาดพร้าว ถนนพหลโยธิน ถนนวภิ าวดีรังสิต และถนนประชาชื่นไปตามแนวถนนงามวงศว์ านข้ามแม่น้าเจา้ พระยาไปบรรจบกับถนนจรัญสนทิ วงศ์ ไปตามแนวถนนจนถึงสามแยกทา่ พระ มีความยาวตลอดสายประมาณ 45 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางเดิมประมาณ 18 กิโลเมตร และเสน้ ทางใหม่ประมาณ 27 กโิ ลเมตร ในจานวนน้ีเป็นท่ีดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งสารองไว้สาหรับวางรางรถไฟสายตะวันออกประมาณ 7.5 กโิ ลเมตร ท่ีดนิ ของการทา่ เรอื และโรงงานยาสบู ส่วนที่เหลือ

5เปน็ ทดี่ นิ เวนคืนจากเอกชน นอกจากนีย้ ังต้องขยายและปรับปรุงถนนเดมิ บางชว่ ง เพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานตลอดสาย 2.1.1 ช่วงท่ีใชเ้ สน้ ทางเดิม ชว่ งจากถนนตากสนิ ไปตามถนนมไหสวรรค์ ข้ามสะพานกรุงเทพฯ ถนนเจริญกรุง ความยาวประมาณ 1.5 กิโลเมตร ช่วงจากแยกท่าพระไปตามถนนจรัญสนิทวงศ์ ขา้ มสะพานพระราม 6 และไปตามถนนวงศ์สว่างถงึ ถนนกรงุ เทพ-นนทบรุ ี ความยาวประมาณ 14.5 กโิ ลเมตร ช่วงจากสี่แยก อสมท.ไปตามถนนอโศก-ดนิ แดง ตัดผ่านถนนเพชรบรุ ตี ดั ใหม่ถงึ ถนนสุขมุ วทิ ความยาวประมาณ 2 กโิ ลเมตร 2.1.2 ช่วงท่ีต้องสร้างใหม่ ชว่ งจากถนนเจรญิ กรงุ ถึงคลองวัดไทร ความยาวประมาณ 2.5 กิโลเมตร เปิดการจราจรเมื่อเดอื นมกราคม 2520 ใชง้ บประมาณก่อสร้าง 30 ล้านบาท(กอ่ สร้างพร้อมกบั ถนนพระราม 3) ช่วงจากคลองวัดไทรถงึ ถนนนางลนิ้ จ่ี ความยาวประมาณ 3.5 กโิ ลเมตร อยู่ภายใตก้ ารควบคุมของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทยเปดิ การจราจรเมอ่ื วันที่ 5 ธนั วาคม 2530 ใชง้ บประมาณก่อสรา้ ง 112 ลา้ นบาท ชว่ งจากถนนนางล้นิ จถ่ี ึงถนนสุนทรโกษา ความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร เปิดการจราจรเมอ่ืเดอื น ธนั วาคม 2521 ใชง้ บประมาณกอ่ สรา้ ง 56 ล้านบาท ชว่ งจากถนนสขุ ุมวทิ ถึงถนนสนุ ทรโกษาความยาวประมาณ 2.5 กิโลเมตร เปดิ การจราจรเม่ือวันที่ 5 มกราคม 2531 ใชง้ บประมาณก่อสรา้ ง128 ลา้ นบาท ช่วงจากถนนลาดพร้าวถึงสแ่ี ยก อสมท. ความยาวประมาณ 4 กโิ ลเมตร ใช้งบประมาณก่อสรา้ ง 159 ลา้ นบาท ชว่ งจากถนนวภิ าวดรี ังสิต-ถนนพหลโยธิน-ถนนลาดพรา้ ว ความยาวประมาณ 4กโิ ลเมตร เปิดการจราจรเมอื่ วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2522 ใชง้ บประมาณก่อสร้าง 63 ล้านบาท ช่วงจากถนนตากสินถงึ สามแยกท่าพระ ความยาวประมาณ 3.2 กิโลเมตร เปดิ การจราจรเมอื่วันท่ี 6 เมษายน 2530 ใชง้ บประมาณก่อสรา้ ง 171 ล้านบาท ช่วงแยกวงศ์สวา่ งถึงคลองเปรมประชากรความยาวประมาณ2กโิ ลเมตรใชง้ บประมาณก่อสรา้ ง 57 ล้านบาท ชว่ งจากคลองเปรมประชากรถึงถนนวภิ าวดรี ังสิต (โครงการทางแยกต่างระดับรัชดาภเิ ษก-วภิ าวดีรังสิต) ซ่งึ เป็นช่วงสดุ ท้ายทีท่ าให้วงแหวนรชั ดาภิเษกครบวงรอบ เปิดการจราจรบางส่วนเม่อื วันที่ 11 พฤษภาคม 2536และเปดิ การจราจรทง้ั หมดในวนั ท่ี 12 สิงหาคม 2536 2.1.3 การปรับปรุงเส้นทางเดิมเพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพของถนนรัชดาภเิ ษก ช่วงข้ามแมน่ ้าเจา้ พระยากรมโยธาธิการได้ก่อสรา้ งสะพานพระราม 7 ขนาด 6 ช่องจราจรแทนพระราม 6 ซ่งึ ก็ใชร้ ว่ มกับทางรถไฟและมเี พยี ง 2 ช่องจราจรเทา่ น้นั เปดิ การจราจรเม่ือเดือน

6สงิ หาคม 2536 ส่วนสะพานกรุงเทพฯ ซึง่ มี 4 ช่องจราจร กรมโยธาธิการจะก่อสรา้ งสะพานคู่ขนานอีกหนึ่งสะพานในเร็ว ๆ น้ี โดยออกแบบให้ข้ามถนนเจรญิ นคร และถนนตากสนิ ดว้ ยชว่ งจากสะพานพระราม 7 ถึงแยกวงศ์สวา่ ง ปรับปรุงขยายใหเ้ ต็มเขตทางเป็น 6ชอ่ งจราจร ใชง้ บประมาณกอ่ สร้าง65 ลา้ นบาท ช่วงถนนอโศก เดิมมีพ้ืนผวิ จราจร 4 ชอ่ งทาง ซ่งึ กรงุ เทพมหานครได้พจิ ารณากอ่ สรา้ งเปน็ ทางยกระดับหรืออุโมงคเ์ พ่อื เพม่ิ ความจุอย่างน้อย 3 ช่องจราจร ช่วงถนนจรญั สนทิ วงศ์กรมโยธาธิการได้ดาเนนิ การจ้างบริษทั วิศวกรท่ีปรึกษาทาการสารวจและออกแบบทางขนาดสายใหม่เพ่ือแบ่งเบาการจราจรในถนนจรัญสนทิ วงศ์ และเสรมิ โครงขา่ ยถนนใหด้ ยี ่ิงขนึ้ ทางแยกท่ีสาคญั ในแนวถนนรชั ดาภเิ ษก กรงุ เทพมหานครได้พจิ ารณาดาเนนิ การกอ่ สรา้ ง สะพานขา้ มท่าแยก ซึ่งเปรยี บเสมือนคอขวดของการจราจร เชน่ แยกแมพ่ ระ บางพลดั วงศส์ วา่ ง ประชานกุ ูล วิภาวดรี ังสิตรชั โยธนิ ลาดพรา้ ว เพชรบุรีตดั ใหม่ ฯลฯ นอกจากนี้ ยังไดก้ ่อสร้างโครงการทางแยกต่างระดับรชั ดาภิเษก-วภิ าวดรี ังสิต เปน็ โครงการทางแยกชนดิ Semi–directional Loop ที่เชือ่ มโยงระหว่างถนนวภิ าวดีรังสติ ถนนรชั ดาภเิ ษกและถนนกาแพงเพชร 2 โดยทีร่ ถไม่ต้องหยดุ รอสัญญาณไฟอีกด้วย 2.1.4 ลกั ษณะโครงการ ประกอบดว้ ยสะพานสายหลัก มีช่องจราจร 2 ทศิ ทาง ทศิ ทางละ 2–3 ช่องจราจรความยาวประมาณ 1,500 เมตร ก่อสร้างขา้ มถนนวิภาวดรี ังสติ ทางรถไฟสายเหนือ และคลองเปรมประชากรโดยไม่ปิดการจราจรระหว่างก่อสร้างถนนสายรอง ประกอบดว้ ย ทางขน้ึ ลง ทางกลบั รถ และถนนต่อเช่อื ม ส่วนเหนอื พน้ื ดินมชี ่องจราจร 1-2 ช่องจราจร ความยาวประมาณ 2,480 เมตร สว่ นที่อยู่บนพนื้ ดินมีความยาวประมาณ 3,480 เมตร เพ่อื ให้โครงสรา้ งบางและเบา จงึ ไดอ้ อกแบบตัวสะพานเป็นคานคอนกรีตอดั แรงต่อเนื่อง (Continuous Span) รูปกล่องมปี กี ยน่ื มีทงั้ ชนิดกลอ่ งเด่ยี วและกล่องคู่ซ่งึ ภายในกลอ่ งจะมีการตดิ ต้ังสาธารณูปโภค เช่น สายไฟฟา้ สายโทรศัพท์ และอืน่ ๆ เสาของสะพานมีความหนา 65 เซนตเิ มตร ออกแบบไว้เพื่อลดผลกระทบของแรงจากสะพานที่กระทาต่อเสา ช่วงห่างของเสาสะพานห่างกนั ตั้งแต่ 20-37 เมตร และมีช่วงรอยต่อของตวั สะพาน (Expansion Joint)ประมาณ 200-240 เมตร เชงิ ลาดสะพาน ประกอบดว้ ยโครงสรา้ งปลายเชิงลาด (Abutment ) ยาว40-60 เมตร และโครงสร้างปรบั ระดบั การทรดุ ตวั (Trasition) ยาว 40 เมตร จากพระบรมราโชบายสู่การดาเนินงานสรา้ งโครงการอย่างจรงิ จงั ในทส่ี ดุ โครงการท้งั หมดได้เสรจ็ สมบรู ณ์และเปิดใช้เมื่อวันท่ี12 สิงหาคม 2536 ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนท์ ้ังในแง่ของการหลีกเล่ียงการเดินทางผา่ นใจกลางเมอื งทม่ี ีการจราจรคับคัง่ และยงั ช่วยระบายความแออดั ของการจราจรใจกลางเมืองสบู่ รเิ วณโดยรอบกรงุ เทพมหานคร อีกดว้ ย

72.2 โครงการทางยกระดับลอยฟ้าบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ฯ ทรงห่วงใยบัญหาการจราจรในกรงุ เทพฯ และได้พระราชทานพระราชดาริในแนวทางตลอดจนวิธีการแก้ไขปัญหาทไี่ ด้ผลสาเรจ็ มาแล้วอย่างตอ่ เนื่อง\" โครงการพระราชดาริทางคู่ขนานลอยฟา้ \" เป็นอีกหน่ึงโครงการพระราชดารทิ ่แี สดงให้เห็นถงึ พระปรชี าญาณทท่ี รงมองการณ์ไกลเกีย่ วกบั การแกไ้ ขปญั หาจราจรและนา้ พระทยั อนั เปีย่ มลน้ ด้วยพระเมตตากรุณาทีท่ รงมตี ่อพสกนิกร เม่อื ครัง้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวเสด็จฯ เย่ียมพระอาการประชวรของสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนที โ่ี รงพยาบาลศิรริ าชชว่ งเดอื นมถิ นุ ายน 2538 ได้ทอดพระเนตรเห็นปัญหาการจราจรท่ตี ดิ ขัดเปน็ อย่างมากท่ีบริเวณสะพานสมเดจ็ พระปิน่ เกล้าต่อเนื่องไปจนถึงถนนบรมราชชนนี จึงไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดาริใหก้ อ่ สร้างทางคขู่ นานลอยฟา้ จากเชิงสะพานสมเด็จพระปนิ่ เกล้าไปยังบรเิ วณสถานีขนสง่ สายใต้แห่งใหม่ อีกท้ังยงั ทรงมีพระราชดารสัเพ่ิมเติมถงึ การจราจรขาออกนอกเมืองตอนหนง่ึ วา่ \"... หากสร้างสะพานยกระดบั ขาออกใหย้ าวเลยไปจากขนส่งสายใต้ จะมีประโยชนม์ าก ....\" จากแนวพระราชดารินี้ นายบรรหาร ศลิ ปอาชานายกรฐั มนตรีในขณะนั้น ไดเ้ ชญิ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ร้อยเอกกฤษฏา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา)และปลัดกรุงเทพมหานคร (นายประเสรฐิ สมะลาภา) มาประชมุ รว่ มกันเพอ่ื สนองพระราชดารใิ นการแกไ้ ขปญั หาการจราจรใหไ้ ดส้ มบูรณม์ ากย่งิ ขนึ้ ผลการประชมุ สรปุ ได้วา่ กรงุ เทพมหานครเป็นผูร้ ับผดิ ชอบก่อสรา้ งทางคู่ขนานลอยฟ้าจากแยกอรุณอัมรนิ ทร์ถึงคลองบางกอกนอ้ ย ระยะทางประมาณ 3.2 กิโลเมตร และกรมทางหลวงรบั ผิดชอบกอ่ สร้างจากคลองบางกอกน้อย ไปจนถึงแยกพุทธมณฑลสาย 2 โดยใหร้ ปู แบบสะพาน เสาและคานมลี กั ษณะเป็นรปู แบบเดียวกนั หมดเปน็ระยะทาง 9.4 กโิ ลเมตรและจากบรเิ วณทางยกระดับสิรนิ ธรไปจนเลยทางแยกพุทธมณฑลสายอกี 1กิโลเมตร นอกจากนี้กรมทางหลวงยังไดก้ ่อสร้างขยายช่องจราจรระดบั พ้นื ราบจากเดมิ ที่มี 8 ช่องจราจร เพิม่ ข้นึ เป็น 12 ช่องจราจรพร้อมท้งั มีการปลกู ต้นไม้ท่เี กาะกลาง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงเหน็ ชอบตามคากราบบงั คมทูล และได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ เสดจ็ ฯ ทรงวางศิลาฤกษ์เร่ิมโครงการดังกล่าวในวันท่ี 16 เมษายน 2539 และเสดจ็ ฯทรงเปดิ ทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนีเมือ่ วันท่ี 21 เมษายน 2541 และทรงประทบั รถยนตพ์ ระท่ีนั่งเสดจ็ ฯ ไปตามทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี หลังจากเสด็จพิธีตดั รบิ บิน้ แถบแพรเปดิ ทางแลว้ นายศรสี ุข จันทรางศุ อธบิ ดีกรมทางหลวงสมัยน้ัน ไดเ้ ลา่ ในภายหลังถงึ พระกระแสรับสงั่ ว่าทรงมีพระราชดารัสวา่ \"การก่อสร้างเส้นทางสายนท้ี าไดย้ าก การจราจรมีปญั หา 2 หน่วยงานร่วมกันทาดมี าก ทาสาเร็จได้ ขอชมเชย\" นอกจากนี้ยงั ทรงถามถึงเร่ืองทางระบายน้าบนสะพานวา่ ทาอย่างไรและ \"อยากถามอะไรหนอ่ ย อยากรู้มานาน

8การระบายน้า ระบายอย่างไร\" ซง่ึ อธบิ ดีกรมทางหลวงได้กราบบังคมทลู ถวายรายงาน จากนัน้ ทรงพระกรณุ าฉายภาพอธบิ ดีกรมทางหลวงและปลัดกรุงเทพมหานครทย่ี นื คู่กัน ณ บริเวณ Joint ซง่ึ เป็นที่ปลาบปลม้ื แก่บุคคลทัง้ ค่ยู ่ิงนัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ยงั ทรงเล่าว่า พระองค์เสด็จฯ แปรพระราชฐานไปหวั หินตง้ั แตถ่ นนยังไมล่ าดยาง จนมกี ารพฒั นาเร่อื ยมาขณะน้สี ามารถเสด็จฯ ไปหัวหินไดส้ ะดวกและรวดเรว็ ขนึ้ สาหรับรายละเอียดโครงการก่อสรา้ งทางคู่ขนานลอยฟา้ ในความรับผดิ ชอบของกรมทางหลวงนั้น เริม่ ต้งั แตต่ อนชมุ ทางต่างระดบั สิรนิ ธร-แยกพุทธมณฑล กม.3+386 ถงึ กม.13+200 บนทางหลวงหมายพิเศษหมายเลข 338 สายบางกอกน้อย-นครชัยศรี ระยะทางประมาณ 9.4 กโิ ลเมตร โดยลักษณะโครงการเปน็ สะพานยกระดบั สงู 15 เมตร กวา้ ง 19.50 เมตร ขนาด 4 ชอ่ งจราจร แยกทศิ ทางไปกลบั ขา้ งละ 2 ช่องจราจร กว้างช่องละ 3.5 เมตร มที างขึน้ ลง 2 แหง่ นอกจากนี้ ยังขยายถนนในระดบั พนื้ ลา่ งเพมิ่ จาก 8 ชอ่ งจราจร แบ่งเป็น 12 ช่องจราจร แบ่งเป็นช่องทางด่วน 6 ชอ่ งจราจร กว้างชอ่ งละ 3.5 เมตร และทางค่ขู นานดา้ นละ 3 ชอ่ งจราจร กวา้ งช่องละ 3 เมตร พรอ้ มทัง้กอ่ สรา้ งสะพานกลบั รถ (U-Turn) อีก 2 แห่งเพ่ือใชก้ ลับรถดว้ ยกรมทางหลวงเป็นผอู้ อกแบบและควบคมุ การกอ่ สร้างเอง โดยว่าจา้ ผู้รับเหมาก่อสร้างใหด้ าเนินการก่อสร้างโครงการ 3 ราย คือบรษิ ัทบญุ ชยั พาณิชย์ (1979) จากัด ก่อสร้างตอนที่ 1 บรษิ ัทพีพดี ีคอนสตรัคชน่ั จากัด ก่อสร้างตอนที่ 2และบริษัทอิตาเล่ยี นไทยดีเวล้อปเม้นต์ จากดั (มหาชน) ก่อสรา้ งตอนท่ี 3 โดยใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งสิน้ 4,461,409,680 บาท ระยะเวลาในการก่อสร้าง 600 วัน เรมิ่ ต้นสญั ญาวันที่ 7พฤษภาคม 2539 สิน้ สุดสัญญาวนั ท่ี 26 เมษายน 2541 หลังจากท่โี ครงการทางคขู่ นานลอยฟา้ จากชุมทางต่างระดบั สิรินธร-แยกพุทธมณฑลสาย 2 แลว้ เสร็จและเปดิ ดาเนินการเรื่อยมาจนถึงปัจจบุ นั ได้ชว่ ยระบายการจราจรจากพนื้ ท่ีชัน้ ในของกรุงเทพฯ ผ่านสะพานสมเดจ็ พระป่ินเกล้า สูถ่ นนบรมราชชนนี ถนนสิรินธร ทางหลวงพเิ ศษสายบางกอกน้อย - นครชยั ศรี ใหส้ ามารถสญั จรไปมาด้วยความสะดวก รวดเร็วและมีความปลอดภัยยิ่งข้ึน เนื่องจากมชี ่องจราจรรองรบั ถึง 16 ช่องจราจร และย่งิ เพ่ิมความคลอ่ งตวั ใหก้ ับยานพาหนะทจ่ี ะใช้เสน้ ทางน้ีเดนิ ทางสู่ภาคใต้ ภาคตะวันตก ภาคกลางตอนลา่ งและพืน้ ทร่ี ะหวา่ งชานเมืองอื่น ๆ ในบรเิ วณดงั กลา่ ว ใหม้ กี ารจราจรสะดวก คล่องตัวเปน็ การชว่ ยลดการสญู เสียทางเศรษฐกิจและปัญหาสขุ ภาพจิตอนั เนื่องมาจากการจราจรตดิ ขัดไดเ้ ปน็ อย่างดีและนี่คือความปราบปลมื้ และภาคภูมิใจของกรมทางหลวง ทไ่ี ด้มโี อกาสสนองพระกรุณาธคิ ุณพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว ในการสร้างทางตามแนวพระราชดารเิ พ่ือแกไ้ ขปญั หาการจราจรคับคง่ัของกรงุ เทพ ฯ

92.3 โครงการพระราชดาริ สะพานพระราม 8 2.3.1 ประวัติความเป็นมา สะพานน้ีเกิดจากพระมหากรุณาธิคณุ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เม่ือวันท่ี 15กรกฎาคม พ.ศ.2538 พระองคม์ พี ระราชดาริให้กรุงเทพมหานครก่อสรา้ งสะพานขา้ มแม่น้าเจ้าพระยาเพ่ิมอีก 1แห่ง เพ่ือเบาเทาการจราจรบนสะพานสมเด็จพระปนิ่ เกลา้ รองรบั การเดนิ ทางเชื่อมต่อระหวา่ งฝั่งพระนครกับฝงั่ ธนบุรแี ละเปน็ จดุ เชอ่ื มต่อโครงการพราชดาริตามแนวจตุรทิศ 2.3.2 ลักษณะโดยทั่วไป สะพานพระราม 8 มคี วามยาวรวม 475 เมตร สูงเท่าสะพานสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ และความลาดชันไม่เกิน 3% เป็นสะพานหลกั ชว่ งข้ามแมน่ า้ 300 เมตร สะพานยึดชว่ งบนบก 100 เมตร และสะพานช่วงโครงสรา้ งยึดเสา 75 เมตรมรี ูปแบบโดดเดน่ สวยงามเพราะได้ออกแบบเปน็ สะพานขึงแบบอสมมาตรซ่ึงหมายความวา่ มีเสาสะพานหลกั เสาเดียวบนฝงั่ ธนบุรี และมเี สารบั นา้ หนกั 1 ต้นบนฝ่ังพระนคร จงึ ไม่มเี สารบั นา้ หนักตง้ั อยู่ในแม่นา้ เจ้าพระยา ทาใหไ้ มม่ ีปัญหาต่อการสญั จรทางน้า ช่วยป้องกันนา้ ท่วมและระบบนิเวศวทิ ยาในน้า รวมทั้งไม่กระทบตอ่ การจดั ตง้ั ขบวนเรือพระราชพิธี การรับนา้ หนักของสะพาน ไดต้ ดิ ตงั้ สายเคเบลิ ระนาบคู่ 28 คูข่ ึงยดึ พื้นชว่ งข้ามแมน่ า้ และใช้สายเคเบลิ ระนาบเดี่ยว 28 เสน้ ขงึ ยึดรั้งกบั โครงสร้างยึดเสาสะพานบนฝั่งธนบุรี เคเบิลแต่ละเส้นประกอบดว้ ยสลงิ ต้ังแต่ 11-65 เส้น เมื่อเกดิ ปัญหากบั เคเบิล สามารถขงึ หรอื หย่อนไดง้ า่ ย ไม่จาเป็นต้องปดิ การจราจรเหมือนสะพานพระราม ๙ เน่ืองจากเคเบิลแตล่ ะเส้นใชส้ ลงิ ภายในซึง่ เปน็ขดลวดใหญท่ าให้ดูแลบารงุ รักษาและซ่อมแซมยากกว่า อีกทง้ั สายเคเบลิ ของสะพานพระราม 8 ยังมสี ีเหลอื งทอง สปี ระจาพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั เมือ่ สะท้อนแสงจะส่องประกายสวยงาม โดยเฉพาะยามค่าคืน ด้านมาตรฐานความปลอดภัยได้ทดสอบแรงดึงในลวดสลิง 1 ล้านคร้งั โดยใชแ้ รงดึงปกติ 10ตนั ไมม่ ปี ัญหา และต้องใชแ้ รงดงึ ถงึ 27 ตัน ลวดสลงิ ถงึ ขาดแตก่ แ็ ค่ 1% เทา่ น้ัน นอกจากนไ้ี ด้มีการทดสอบแรงลม แรงสัน่ สะเทือน ทิศทางลม รวมท้ังติดตัง้ เคร่ืองวดั ไว้ตลอด 24 ช่วั โมง เพือ่ ดูความผดิ ปกตทิ ี่อาจจะเกิดข้ึน สะพานพระราม 8 เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรทต่ี ดิ อนั ดบั 5 ของโลก รองจากประเทศเยอรมนีซง่ึ ติดอันดับถึง 3 สะพาน และประเทศเนปาล โดยนับจากความยาวช่วงของสะพานสว่ น

10สะพานพระราม 9 ซงึ่ เปน็ สะพานขึงตวั แรกแต่เปน็ แบบสมมาตร เพราะมี 2 เสา ถอื วา่ อยใู่ นอันดบั ท่ี18 ของโลก โดยนบั ความยาวช่วงของสะพานได้ 450 เมตร ความโดดเด่นสวยงามท่เี กดิ ข้ึน ผสมผสานไปด้วยศิลปะแบบไทย ๆ จากแนวคิดในการสร้างเพ่ือเป็นพระบรมราชานุสรณเ์ ฉลมิ พระเกยี รติในหลวงพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล รชั กาลท่ี 8 กรงุ เทพมหานคร จงึ ได้อญั เชญิ \"พระราชลัญจกร\" ซง่ึ เปน็ สัญลักษณ์ประจาพระองค์ มาเปน็ ตน้ แบบในการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของสะพานเน้นความโปร่งบาง เรยี บงา่ ย และสวยงาม วัสดทุ ใ่ี ช้ในโครงสร้างของสะพานเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมเชน่ ในส่วนสะพานเสาสูงรูปตัว Y ควา่ เป็นเสาคอนกรตี เสริมเหลก็ ทาหน้าทห่ี ้ิวส่วนโครงสรา้ งสาคัญอ่นื ๆ ของสะพาน ซง่ึ มองเห็นได้ในระยะไกล ๆได้ออกแบบโดยใช้เค้าโครงมโนภาพของเรือนแกว้ ราวกันตก ซ่งึ ทาจากโลหะออกแบบเปน็ ลวดลายท่ีวจิ ิตรและอ่อนชอ้ ย จาลองมาจากดอกบวั และกลบี บวัเสาโครงสรา้ งใตแ้ ผน่ พนื้ ตกแตง่ ดว้ ยลวดลาย ท่ีจาลองจากดอกบวั ใช้วัสดทุ ่มี นี า้ หนักเบา มีคณุ สมบัติช่วยสะทอ้ นแสงลงส่ผู ิวจราจรใต้ทางยกระดับ ชว่ ยเพม่ิ ความสวา่ งบริเวณใต้ทางยกระดบั และประหยัดไฟฟา้ ในเวลากลางคืน สง่ิ พิเศษสุดของสะพานพระราม 8 ท่สี ะพานอื่นในกรุงเทพ ฯ ยังไม่มีก็คือ ท่ีปลายยอดเสาสงูของตัวสะพานจะมีจุดชมทิวทัศน์ ซึง่ มโี ครงสรา้ งโลหะกรกุ ระจกลักษณะคลา้ ยดอกบัว สูงจากพืน้ ดนิถงึ 165 เมตร หรอื สงู เท่าตึก 60 ชั้น พน้ื ท่ี 35 ตารางเมตร จคุ นได้ครั้งละเกือบ 50 คนซง่ึ จะเปิดใหบ้ ริการกับประชาชนทัว่ ไปดว้ ยแต่การก่อสรา้ งสว่ นนจี้ ะแลว้ เสรจ็ ภายหลังพรอ้ ม ๆ กับลิฟตข์ องคนพิการซ่ึงอยู่หวั มุม 2 ฝั่งแม่น้า ประมาณเดือนกันยายน เน่ืองจากโครงสร้างเสาสงู เป็น แบบตวั Y ควา่การข้ึนลงจุดชมทิวทัศน์จงึ ต้องติดตงั้ ลิฟต์ทง้ั ในแนวเฉยี งและแนวด่ิง โดยเป็นแนวเฉียงจากพ้ืนดิน 80เมตรก่อน จากนั้นจึงเปน็ แนวดงิ่ อีก 155 เมตร แต่บรรทกุ ได้เท่ียวละประมาณ 5 คน ใช้เวลาขึ้น ลง2-3 นาที นอกจากน้ียงั มลี ฟิ ต์ธรรมดาอยูค่ นละด้านเพื่อใชส้ าหรบั เจา้ หน้าทใ่ี นการดแู ลและตรวจตราสะพาน ด้านมาตรฐานความปลอดภัยไดท้ ดสอบแรงดึงในลวดสลงิ 1 ล้านครง้ั โดยใช้แรงดึงปกติ 10ตนั ไม่มีปัญหา และต้องใช้แรงดึงถงึ 27 ตัน ลวดสลิงถงึ ขาดแต่ก็แค่ 1% เทา่ น้นั นอกจากน้ีได้มีการทดสอบแรงลม แรงสน่ั สะเทือน ทิศทางลม รวมทั้งตดิ ต้ังเครื่องวัดไว้ตลอด 24 ชวั่ โมง เพ่ือดูความผิดปกตทิ ี่อาจจะเกดิ ข้ึน สะพานพระราม 8 เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรทต่ี ดิ อันดับ 5 ของโลก รองจากประเทศเยอรมนซี ึ่งติดอันดับถึง 3 สะพาน และประเทศเนปาล โดยนบั จากความยาวช่วงของสะพานสว่ นสะพานพระราม 9 ซงึ่ เป็นสะพานขึงตัวแรกแต่เป็นแบบสมมาตร เพราะมี 2 เสา ถอื ว่าอยู่

11ในอันดับท่ี 18 ของโลก โดยนับความยาวชว่ งของสะพานได้ 450 เมตร ความโดดเด่นสวยงาม ท่ีเกดิ ข้ึน ผสมผสานไปดว้ ยศลิ ปะแบบไทย ๆ จากแนวคิดในการสร้างเพ่อื เป็นพระบรมราชานุสรณเ์ ฉลมิพระเกียรติในหลวงพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 กรงุ เทพมหานคร จงึไดอ้ ญั เชิญ \"พระราชลญั จกร\" ซึ่งเปน็ สญั ลกั ษณป์ ระจาพระองค์ มาเป็นตน้ แบบในการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของสะพานเน้นความโปร่งบาง เรียบง่าย และสวยงาม วสั ดุทีใ่ ช้ในโครงสร้างของสะพานเหมาะสมกบั สภาพแวดล้อม เชน่ ในส่วนสะพานเสาสงู รูปตัว Y คว่า เป็นเสาคอนกรีตเสรมิ เหล็ก ทาหน้าที่หิว้ สว่ นโครงสร้างสาคญั อื่น ๆ ของสะพาน ซึง่ มองเหน็ ได้ในระยะไกล ๆได้ออกแบบโดยใช้เคา้ โครงมโนภาพของเรือนแก้ว ราวกนั ตก ซ่ึงทาจากโลหะออกแบบเป็นลวดลายที่วิจิตรและอ่อนชอ้ ย จาลองมาจากดอกบวั และกลบี บัวเสาโครงสรา้ งใตแ้ ผน่ พ้นื ตกแต่งด้วยลวดลาย ที่จาลองจากดอกบวั ใชว้ ัสดุทีม่ ีน้าหนักเบา มคี ุณสมบตั ชิ ่วยสะท้อนแสงลงสผู่ วิ จราจรใตท้ างยกระดับชว่ ยเพิม่ ความสว่างบริเวณใต้ทางยกระดบั และประหยดั ไฟฟา้ ในเวลากลางคืน ส่ิงพิเศษสุดของสะพานพระราม 8 ทส่ี ะพานอ่นื ในกรุงเทพ ฯ ยังไมม่ ีกค็ ือ ที่ปลายยอดเสาสงู ของตัวสะพานจะมจี ุดชมทวิ ทัศน์ซงึ่ มโี ครงสรา้ งโลหะกรุกระจกลกั ษณะคล้ายดอกบวั สงู จากพืน้ ดนิ ถงึ 165 เมตร หรอื สงู เทา่ ตึก 60 ช้นัพน้ื ท่ี 35 ตารางเมตร จุคนได้คร้ังละเกือบ 50 คนซง่ึ จะเปิดให้บรกิ ารกับประชาชนท่วั ไปด้วยแตก่ ารก่อสร้างส่วนน้ีจะแล้วเสรจ็ ภายหลังพรอ้ ม ๆ กับลิฟต์ของคนพิการซ่ึงอยหู่ วั มุม 2 ฝั่งแม่นา้ ประมาณเดอื นกนั ยายน เน่ืองจากโครงสรา้ งเสาสงู เปน็ แบบตวั Y ควา่ การขึ้นลงจุดชมทวิ ทศั น์จงึ ต้องติดต้งั ลิฟต์ทัง้ ในแนวเฉียงและแนวด่ิง โดยเป็นแนวเฉยี งจากพนื้ ดนิ 80 เมตรกอ่ น จากนน้ั จงึ เป็นแนวดิง่ อกี 155เมตร แตบ่ รรทุกได้เทีย่ วละประมาณ 5 คน ใชเ้ วลาข้นึ -ลง 2-3 นาที นอกจากน้ียงั มีลิฟตธ์ รรมดาอยู่คนละด้านเพือ่ ใช้สาหรบั เจา้ หน้าท่ีในการดูแลและตรวจตราสะพาน 2.3.3 ความกลมกลนื ของเมืองเก่ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ สะพานพระราม 8 เป็นสะพานขงึ แบบอสมมาตรเสาเด่ียว 3 ระนาบที่ยาวทส่ี ดุ ในโลกกล่าวคือ ขึงด้วยเคเบลิ ระนาบคู่บริเวณตวั สะพาน (Main Bridge) จานวน 28 คู่ และ ขงึ ด้วยเคเบลิระนาบเดยี่ วช่วงหลงั สะพาน (Back Span) จานวน 28 เคเบลิ สะพานมีความยาวท้งั สิน้ 475 เมตรโดยมชี ว่ งตัวสะพานยาว 300 เมตร (ซง่ึ นับวา่ ยาวทีส่ ุดในโลกในสะพานท่ีมี ลักษณะนี้) และชว่ งหลงัสะพานยาว 175 เมตร เปรียบเทยี บกับสะพาน Nový Most ข้ามแม่น้าดานูบในประเทศสโลวาเกยีช่วงกลางสะพานยาว 303 เมตร และความยาวทงั้ หมดรวมทัง้ สน้ิ 430.8 เมตร ไมม่ ีเสาหรือตอม่อกลางน้า แตม่ เี สาขนาดใหญ่เพือ่ รับสายเคเบลิ เพียงเสาเดยี วบนฝง่ั ธนบรุ ี และไมม่ ีตอม่อกลางนา้ ที่จะกีดขวางทางไหลของน้าและบดบงั ความสงา่ งามของอาคารราชการ และกลุม่ โบราณสถานอนั

12ทรงคุณค่าทางประวตั ศิ าสตร์และวัฒนธรรม ผา่ นการทดสอบทท่ี ันสมยั ท่ีสดุ ในโลก โดยเปน็ สะพานที่ผา่ นการทดสอบอโุ มงค์ลมท่หี ้องทดลองของบริษัท Rowan Williams Davies & Irwin Inc. (RWDI)ท่เี มอื งเกลฟ์ (Guelph) ประเทศแคนาดา ซ่ึงเปน็ ห้องทดลองท่ีทันสมัยทส่ี ุดในโลก การทดสอบแบบจาลองของสะพานพระราม 8 ในอุโมงคล์ ม ทาให้มัน่ ใจว่าโครงสร้างสะพานมีความม่ันคงแขง็ แรงสามารถทนแรงลมสูงสุดได้ 60 เมตรต่อวนิ าที ผลกระทบจากการกอ่ สร้าง อยา่ งไรก็ตาม การกอ่ สร้างสะพานพระราม 8 ก็มผี ลกระทบกับคนกลุ่มหน่งึ ซ่ึงเป็นชมุ ชนรายรอบการกอ่ สรา้ งต้องสละถ่ินฐานทเ่ี คยอยเู่ พื่อส่วนรวม แต่ใช่ว่าสะพานเสรจ็ แลว้ ชมุ ชนจะเลือนหาย ไปเหลอื แคค่ วามทรงจา กรุงเทพมหานครยังตระหนกั ในเร่ืองน้ี แม้ไม่อาจทาให้ฟน้ื กลับให้เหมือนเดิม แตอ่ ย่างน้อยพนื้ ที่ทเ่ี คยเป็นแหลง่ ท่ีอยู่อาศัยจะถูกนามาจาลองไว้โดยจะเข้าไปปรบั ปรงุ พ้นื ที่ 50 ไร่ บรเิ วณสะพานพระราม 8 เพอื่ ก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ ซ่ึงรวมถึงพิพธิ ภัณฑข์ องรัชกาลที่ 8 พระราชกรณยี กจิ ของกษัตรยิ ไ์ ทยสมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์และพิพธิ ภณั ฑ์ที่แสดงถงึ วถิ ีชีวติ ด้งั เดิมของประชาชนในพื้นที่ทไ่ี ด้รับผลกระทบจากโครงการ อาทิ ชมุ ชนบ้านปูน โรงงานสุราบางยข่ี ัน2.4 โครงการกอ่ สรา้ งถนนเลยี บรถไฟสายใต้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว ทรงใชช้ ่วงเวลาเสด็จฯ ไปโรงพยาบาลศิริราชเพยี งไมน่ านได้ทรงงานและทรงศึกษาสภาพพ้ืนทีบ่ รเิ วณโดยรอบอย่างละเอียดจงึ มีพระราชดาริว่า สามารถขยายแนวถนนเลียบทางรถไฟสายธนบุรี จากชว่ งปลายถนนอิสรภาพ ถงึ ถนนจรัญสนิทวงศ์ ซง่ึ สภาพเดิมจากปลายถนนอิสรภาพเขา้ ไปประมาณ 230 เมตร เป็นถนนคอนกรตี สว่ นทเ่ี หลอื อีกประมาณ 380 เมตรเป็นที่ล่มุ มีบา้ นเรือนเพงิ พักอาศัย และมีทางเดนิ ตามแนวทางรถไฟ จนถงึ ถนนจรัญสนทิ วงศ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มีพระราชดารัสถงึ แนวพระราชดารใิ นการตัดถนนสายนตี้ อนหน่งึ วา่ตอ่ ไปโครงการที่ 3 คอื สรา้ งทางในที่ท่ียังไม่มที าง อันนี้เกิดขึ้นทีใ่ กลส้ ถานีบางกอกน้อยระหวา่ งสถานีบางกอกน้อย คอื ปลายถนนอิสรภาพเชอื่ มกับถนนจรญั สนทิ วงศ์ ตรงน้นั เป็นท่ีของการรถไฟ เปน็ ที่ล่มุมที างเดินเข้าไป ไม่ทะลแุ ล้วก็ขลกุ ขลัก ทางกรุงเทพมหานครได้ไปจัดการ มบี า้ นคนทีบ่ ุกรุกทขี่ องรถไฟบ้าง แตก่ ็ได้ยา้ ยบ้านเหล่านนั้ เข้าใจวา่ เป็นท่ีพอใจของผู้บุกรุก ให้ท่ีเขาอยู่ ไมเ่ ดือดร้อน ทางกาลังสร้างยังไม่เสรจ็ ตอ้ งถมทรายเดี๋ยวนี้ได้กรุยมาเรยี บร้อย เป็นระยะ 600 เมตร ยังไมไ่ ด้มกี ารถม ยงั ไม่ครบ แตเ่ มื่อครบแลว้ กจ็ ะเปน็ ทางท่จี ะทะลุ จากถนนอิสรภาพซ่ึงตน้ ถนนอิสรภาพน่ีต้องเลย้ี วขวามาเข้าทถ่ี นนอรณุ อมรินทร์ จากตรงนั้นกส็ ามารถเชือ่ มจรญั สนิทวงศ์ เขา้ ใจว่าจะช่วยการสญั จรข้นึ

13เลก็ น้อย โครงการนี้ได้ใหเ้ งนิ ส่วนหนง่ึ แต่วา่ ไม่พอ ตอ้ งใช้เงินงบของกรงุ เทพฯ และเงนิ บริจาคเพม่ิ เติมราคาก็ไมใ่ ช่นอ้ ยแต่ก็จะช่วยแกป้ ญั หาจราจร เม่ือกรุงเทพฯรบั สนองแนวพระราชดาริแลว้ ไดข้ ออนญุ าตใช้ท่ีดนิ ริมทางรถไฟสายธนบรุ ใี นพื้นทเี่ ขตบางกอกน้อยชว่ งปลายถนนอิสรภาพถึงถนนจรัญสนทิ วงศจ์ ากการทางรถไปแห่งประเทศไทย เพ่ือก่อสร้างเป็นถนนคอนกรตี เสรมิ เหลก็ 2 ช่องจราจร มีระยะทาง 610 เมตร มเี ขตทางกว้าง 10 เมตร เริ่มดาเนินการก่อสร้างตั้งแตว่ นั ท่ี 19 ตลุ าคม 2536งบประมาณดาเนนิ การ 16.5 ลา้ นบาท และไดเ้ ปดิ การจราจรอยา่ งเป็นทางการเมอ่ื วนั ที่ 3 กมุ ภาพันธ์2537 โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนามถนนสายนีว้ า่ “ถนนสุทธาวาส”ตามช่ือวัดท่ีตัง้ อย่ใู นบรเิ วณดังกล่าว ถนนสทุ ธาวาส ไดช้ ่วยบรรเทาปรมิ าณรถยนต์ทีผ่ า่ นถนนจรัญสนทิ วงศ์บรรจบกับถนนพรานนก(สามแยกไฟฉาย) ใหน้ อ้ ยลง ซึง่ ทาให้การจราจรท่ีถนนจรญั สนิทวงศ์คล่องตัวขึน้ นอกจากนี้ ถนนสายนย้ี งั เปน็ เส้นทางอีกเส้นทางหน่ึงท่จี ะไปสูจ่ ุดชุมชนในย่านสาคัญๆ เชน่ สถานีรถไฟสายธนบุรโี รงพยาบาลศิริราช ตลาดพรานนกได้อีกด้วย2.5 โครงการตารวจจราจรในพระราชดาริ สภาพการจราจรในกรงุ เทพมหานครและเมืองใหญ่ๆท่วั ประเทศได้กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหามลพิษทางอากาศ และผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ มรวมทง้ั มีผลกระทบตอ่ รปู แบบการดาเนนิ ชีวิตของครอบครวัแบบไทย โดยมีสาเหตุสาคัญจากปริมาณรถยนต์ท่ีเพมิ่ ขน้ึ ขาดระบบขนส่งมวลชนทีด่ ี ขาดระบบโครงขา่ ย คมนาคมท่ีมีประสิทธิภาพ ขาดวนิ ยั และการไม่เคารพกฎจราจร พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงเขา้ ใจความทกุ ข์ของราษฎรอยู่ตลอดเวลา จึงทาใหม้ โี ครงการแก้ไขปัญหาจราจร ตามแนวพระราชดาริขึ้นเพ่ือชว่ ยบรรเทาปัญหาจราจรอย่างต่อเน่ืองตลอดมาพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวสมเดจ็ พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี ไดพ้ ระราชทานทุนทรัพยส์ ว่ นพระองคจ์ านวน 23 ล้านบาท แก่กรมตารวจในสมยั น้ัน ให้จดั หารถนาขบวนใหแ้ ก่ประชาชน เพือ่ แก้ปัญหาจราจรในชว่ั โมงเร่งด่วน นอกจากนี้ ตารวจจราจรในโครงการพระราชดาริน้ีตอ้ งผ่านการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพ่อื ชว่ ยเหลือประชาชนที่ไดร้ บั บาดเจ็บ หรอื มอี าการเจบ็ ปว่ ยฉุกเฉิน ก่อนถึงโรงพยาบาลดว้ ย โดยโครงการจราจรพระราชดาริ เร่มิ ดาเนนิ การมาตง้ั แตป่ ี 2536 พบว่า ในช่วงเวลาเรง่ ด่วนเชา้ และเย็นมกั มีผ้ปู ่วย ผูบ้ าดเจบ็ หรอื หญงิ ใกล้คลอด ต้องเดินทางไปโรงพยาบาล แต่มักพบกับปัญหารถตดิ ขัดอย่างหนัก ทาใหบ้ างครัง้ ตอ้ งเกิดความสญู เสยี เน่ืองจากส่งไปรักษาตวั ที่โรงพยาบาลไมท่ ันนบั ตง้ั แตม่ ีโครงการเกิดขนึ้ เจ้าหนา้ ท่ตี ารวจโครงการพระราชดาริ ไดใ้ หค้ วามชว่ ยเหลือประชาชนใน

14กรณีต่าง ๆ ทั้งทาคลอด และช่วยผไู้ ด้รบั บาดเจบ็ จากอุบัตเิ หตุ จนสามารถลดอัตราการสูญเสียท่ีเกดิ ขึน้ ได้ทผ่ี ่านมา “ตารวจจราจรโครงการพระราชดาริ” ได้ปฏบิ ัติหน้าทแ่ี ละทาการชว่ ยเหลือ ทั้งทาคลอดและนาหญิงใกลค้ ลอดส่งโรงพยาบาลกวา่ 60 ราย นาผู้ป่วยหรือผู้บาดเจบ็ สง่ โรงพยาบาลกว่า100 ราย รวมถงึ การช่วยเหลอื เก่ยี วกับรถยนตอ์ ีกเกือบ 300 คร้งั กลายเป็นภาพประทบั ใจแกผ่ ู้พบเหน็ พรอ้ มกนั น้ี ส.ต.อ.มานะ จอกโคกสงู และ ส.ต.อ.เกียรตศิ ักดิ์ กันทะเจ้า ผบ.หมูง่ านปฏิบัติการจราจรตามโครงการพระราชดาริ 1 กก.6 บก.จร. เล่าถงึ ประสบการณ์ในการทาคลอดครั้งแรก ว่าร้สู กึต่นื เต้นมาก ไม่คิดว่าจะเจอเหตกุ ารณ์เชน่ น้ี มือสนั่ ทาอะไรไม่ถูก เครื่องมืออปุ กรณ์ท่ีอยู่ภายในกล่องก็ไม่รู้จะใช้อะไรดี หยบิ จับไมถ่ ูกเลย เพราะคร้ังแรกที่เขา้ มารับผดิ ชอบในหนา้ ท่ดี งั กลา่ วไมเ่ คยคาดคิดมาก่อนว่าจะตอ้ งมาทาคลอดฉกุ เฉิน คิดเพยี งว่ามหี นา้ ท่ีอานวยความสะดวกดา้ นการจราจรเทา่ นน้ั ทางดา้ น ส.ต.อ.เกียรติศกั ด์ิ พดู เสริมวา่ โชคดีทีเ่ มื่อคร้งั ท่มี าสงั กัดโครงการฯ มีการอบรมโดยกองบังคบั การตารวจจราจร ร่วมกบั สภากาชาดไทย ประมาณ 2540 อบรมเบื้องตน้ ด้านการปฐมพยาบาล การดูแลรกั ษาผ้ปู ่วยหมดสติ การดูแลผปู้ ว่ ยฉุกเฉินตอ่ มามี รพ.ราชวิถี รพ.ตารวจ รพ.กรุงเทพ สนบั สนุนการอบรมเพ่มิ ทักษะให้กบั จราจรโครงการพระราชดาริ โดยเจา้ หนา้ ที่ที่อย่ใู นโครงการพระราชดาริ ทกุ คนจะได้รับการอบรมเบ้ืองต้นท้ังหมด และในรถจักรยานยนต์ รวมถึงรถยนต์ทใี่ ช้แต่ละคนั จะมีกลอ่ งพยาบาลเบ้ืองต้น เช่น ผา้ กอ๊ ซ สาลี แอมโมเนยี แอลกอฮอล์ นาเกลือสาหรับล้างแผล ลูกยางอเนกประสงค์เพอื่ ดูดนา้ คร่าจากทารก และแคลมปห์ นบี รกเดก็ ก่อนท่ีจะส่งถงึ มือหมอตารวจท้งั 2 นายยังบอกอีกว่า ที่ผา่ นมาทกุ คร้ังที่ได้ปฏิบัตหิ นา้ ท่จี ะมีความประทับใจแตกต่างกันเพราะมคี วามตนื่ เต้นกนั คนละแบบ ซ่ึง ส.ต.อ.เกยี รตศิ กั ดิ์ พูดถึงอุปสรรคทีม่ ักพบวา่ ประชาชนทีใ่ ชร้ ถใชถ้ นนที่ไมเ่ ขา้ ใจการปฏบิ ตั ิหน้าทขี่ องตารวจมอี ยู่มาก มักคิดไปเองว่าเมื่อตารวจเปดิ ไซเลนขอทางก็คดิ ว่าเปน็ ตารวจแล้วเบ่งจะขอทาง บางคนั ก็ไม่ใหท้ าง ในส่วนนอ้ี ยากฝากบอกว่าหากพบเจ้าหนา้ ที่ตารวจในโครงการพระราชดาริ มีสญั ลักษณ์ทีส่ ามารถสงั เกตได้คือ ท่กี ระจกด้านหนา้ รถจักรยานยนต์จะมีอักษรเขียนไว้ชดั เจน หมวกทีส่ วมจะต่างจากจราจรทวั่ ไปคือเปน็ สีนา้ เงนิ ปลอกแขนสีขาวขลบินา้ เงนิ จึงอยากวอนขอความร่วมมอื จากประชาชนที่ใชร้ ถใช้ถนน ให้เขา้ ใจการทางานของเจ้าหนา้ ท่ีหากพบช่วยใหท้ างเพ่ือเจา้ หน้าทีจ่ ะได้ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ไดอ้ ยา่ งสะดวก แมจ้ ะมีอุปสรรคบา้ ง แต่กไ็ ด้กาลงั ใจจากประชาชนทมี่ ามุงดูทกุ ครั้ง มักจะปรบมือให้กาลังใจ เมือ่ ภารกจิ สาเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดีนอกจากนยี้ ังมีไปรษณยี บัตรขอบคุณและให้กาลงั ใจจากแม่ของเด็กทชี่ ว่ ยทาคลอดมาอยา่ งสมา่ เสมอด้วย

15 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การการแบ่งหนา้ ที่ในการทางาน1. ฝ่ายจดั ทารปู เล่มนางสาวกนกวรรณ ดา่ นจิตติศิริ รหัสนิสติ 60560054 รหสั นสิ ิต 60560078นางสาวกรรณกิ า แสนเทยี ม รหสั นิสิต 60560047 รหัสนิสิต 60560061นางสาวณัฐชนนั ต์ ขัติพันธุ์ รหสั นิสิต 60560023นางสาวกมลรัชต์ เที่ยงตรง รหสั นิสิต 60560085 รหสั นสิ ิต 604600922. ฝา่ ยจดั ทาส่อื ในการนาเสนอ รหสั นิสติ 60560016นางสาวกทลี กลอ่ มอู่ รหสั นสิ ิต 60560030 รหสั นิสิต 60560108นายกฤตนนท์ กากนันางสาวกันตฤ์ ทยั แดนไกวลั ฉัตร3. ฝา่ ยนาเสนอMs.Yangden Kinzangนางสาวกนกรตั น์ วงษ์หบี ทองนางสาวกลั ญา พะคะนวนวสั ดุ อุปกรณ์ และโปรแกรมทใี่ ชใ้ นการดาเนินการ1. โปรแกรม Microsoft Word ใชส้ าหรับจดั ทารปู เลม่2. โปรแกรม Microsoft powerpoint ใช้สาหรบั จัดทาสือ่ การนาเสนอ

16ขัน้ ตอนการดาเนินการ1. แบ่งหนา้ ทีใ่ นการดาเนนิ การ โดยแบ่งเปน็ ฝา่ ยจดั ทารปู เล่ม ฝา่ ยจัดทาส่อื ในการนาเสนอ และฝา่ ยนาเสนอ2. ศกึ ษา ค้นควา้ และรวบรวมขอ้ มูลเกยี่ วกับหัวข้อที่ไดร้ ับ3. วเิ คราะห์ข้อมลู ที่คน้ คว้ามา4. จัดทารูปเล่ม และสอ่ื การนาเสนอ5. ตรวจสอบความถูกต้องของรูปเลม่ และส่อื การนาเสนอ6. จัดส่งงานในรูปแบบ E-book7. นาเสนอผลงาน

17 บทที่ 4ผลการดาเนนิ งาน การจัดทารายงานเรอ่ื งโครงการพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดชฯ ในการแก้ไขปัญหาจราจรมีวัตถุประสงค์เพ่ือใหค้ วามรูเ้ กี่ยวกับโครงการในพระราชดารเิ กย่ี วกับการจราจรตา่ ง ๆ และให้ผู้อา่ น หรอื ผ้สู นใจได้ตระหนักถงึ พระมหากรุณาธิคณุ ของพระบาทสมเดจ็พระเจา้ อยู่หัวภูมิพลอดลุ ยเดชฯ และนาความรู้ที่ไดม้ าประยกุ ตใ์ ช้ในการเรียน ในชวี ติ ประจาวนั ได้

18บทที่ 5บทสรุปโครงการแกไ้ ขปัญหาการจราจรถนนรัชดาภิเษก ถนนรชั ดาภิเษกเปน็ ถนนวงแหวนหรอื วงรอบ สร้างขน้ึ เพือ่ อานวยความสะดวกในการจราจรระหว่างชานเมอื งดา้ นหนง่ึ ไปสชู่ านเมืองอีกด้านหนง่ึ โดยไมต่ อ้ งผา่ นใจกลางเมืองท่มี กี ารจราจรคบั ค่ังเส้นทางของถนนรชั ดาภเิ ษกเริ่มจากแยกท่าพระ ตดั ผา่ นถนนตากสนิ ข้ามสะพานกรงุ เทพฯ ตัดผ่านถนนเจริญกรงุ ถนนสาธปุ ระดิษฐ์ ถนนนางลิ้นจ่ี บรเิ วณทา่ เรือคลองเตย ผ่านถนนพระราม 4 เขา้ ไปในที่ดินของโรงงานยาสูบ ผา่ นถนนสุขมุ วทิ ไปตามแนวถนนอโศก ผา่ นถนนลาดพรา้ ว ถนนพหลโยธนิถนนวิภาวดีรงั สติ และถนนประชาช่นื ไปตามแนวถนนงามวงศว์ าน ข้ามแม่น้าเจ้าพระยาไปบรรจบกบัถนนจรญั สนิทวงศ์ ไปตามแนวถนนจนถึงสามแยกท่าพระโครงการทางยกระดับลอยฟ้าบรมราชชนนี กรงุ เทพมหานครเปน็ ผู้รบั ผิดชอบกอ่ สรา้ งทางคู่ขนานลอยฟา้ จากแยกอรณุ อัมรนิ ทร์ถึงคลองบางกอกน้อย ระยะทางประมาณ 3.2 กโิ ลเมตร และกรมทางหลวงรับผิดชอบกอ่ สร้างจากคลองบางกอกน้อย ไปจนถึงแยกพุทธมณฑลสาย 2 โดยใหร้ ปู แบบสะพาน เสาและคานมีลักษณะเป็นรูปแบบเดียวกนั หมดเปน็ ระยะทาง 9.4 กโิ ลเมตรและจากบริเวณทางยกระดบั สิรนิ ธรไปจนเลยทางแยกพุทธมณฑลสายอกี 1 กิโลเมตร นอกจากนี้กรมทางหลวงยงั ได้ก่อสร้างขยายช่องจราจรระดบั พน้ืราบจากเดมิ ที่มี 8 ช่องจราจร เพิม่ ขึ้นเป็น 12 ชอ่ งจราจรพรอ้ มทัง้ มกี ารปลูกตน้ ไมท้ เ่ี กาะกลางโครงการพระราชดาริสะพานพระราม 8 พระองค์มพี ระราชดารใิ ห้กรุงเทพมหานครก่อสรา้ งสะพานข้ามแม่นา้ เจา้ พระยาเพ่ิมอีก 1แหง่เพอ่ื เบาเทาการจราจรบนสะพานสมเด็จพระปนิ่ เกล้ารองรับการเดนิ ทางเช่อื มต่อระหวา่ งฝัง่ พระนครกบั ฝง่ั ธนบุรแี ละเปน็ จุดเชือ่ มตอ่ โครงการพราชดารติ ามแนวจตรุ ทศิโครงการก่อสรา้ งถนนเลยี บรถไฟสายใต้ ขยายแนวถนนเลยี บทางรถไฟสายธนบรุ ี จากช่วงปลายถนนอิสรภาพ ถึงถนนจรัญสนิทวงศ์ซึ่งสภาพเดิมจากปลายถนนอิสรภาพเข้าไปประมาณ 230 เมตร เป็นถนนคอนกรตี สว่ นทเี่ หลอื อีกประมาณ 380 เมตรเปน็ ท่ีลุ่ม มีบ้านเรอื นเพิงพักอาศัย และมที างเดินตามแนวทางรถไฟ จนถึงถนนจรญั สนิทวงศ์

19โครงการตารวจจราจรในพระราชดาริ ทาใหม้ โี ครงการแก้ไขปัญหาจราจร ตามแนวพระราชดาริขึ้นเพอื่ ชว่ ยบรรเทาปญั หาจราจรอย่างต่อเน่ืองตลอดมาพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั สมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชินนี าถ สมเดจ็พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ได้พระราชทานทนุ ทรพั ยส์ ่วนพระองค์จานวน 23 ล้านบาท แกก่ รมตารวจในสมยั นั้น ใหจ้ ดั หารถนาขบวนให้แกป่ ระชาชน เพื่อแก้ปญั หาจราจรในช่ัวโมงเรง่ ด่วนนอกจากน้ี ตารวจจราจรในโครงการพระราชดาริน้ี ตอ้ งผา่ นการอบรมการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น เพ่ือช่วยเหลือประชาชนทไี่ ดร้ บั บาดเจบ็ หรือมีอาการเจบ็ ปว่ ยฉุกเฉิน ก่อนถึงโรงพยาบาลดว้ ย

20เอกสารอ้างอิงโครงการก่อสร้างถนนเลียบรถไฟสายใต้. สบื คน้ เมือ่ วันที่ 12 ตลุ าคม 2560. จาก https://sites.google.com/site.โครงการก่อสร้างสะพานพระราม 8. สบื ค้นเมือ่ วันที่ 12 ตุลาคม 2560. จาก http://followking.psru.ac.th/road-extension-kingrama-ix/.โครงการตารวจจราจรในพระราชดาริ. สบื คน้ เม่อื วันท่ี 12 ตุลาคม 2560. จาก http://km.rdpb.go.th/Project/View/6649.สนิ ใจ อุไรรัมย์. โครงการก่อสรา้ งถนนรชั ดาภเิ ษก. สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 12 ตุลาคม 2560. จาก https://sites.google.com/site/kaewttk/thnn-rachdaphisek.สานักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ. โครงการก่อสร้างทางคขู่ นานลอยฟา้ ถนนบรมราชชนนี. สืบค้นเมือ่ วันท่ี 12 ตลุ าคม 2560. จาก http://km.rdpb.go.th/Project/View/6652.

21ภาคผนวกโครงการตารวจจราจรในพระราชดาริโครงการพระราชดาริ สะพานพระราม 8

22โครงการทางยกระดับลอยฟ้าบรมราชชนนี โครงการก่อสร้างถนนเลียบรถไฟสายใต้

23 ประวตั ิผู้จดั ทาชอ่ื Ms.Yangden kinzzang รหัสนสิ ติ 60560016ภมู ิลาเนา thimphu Bhutanประวัตกิ ารศึกษา - Graduate Kuenga high school - ปัจจุบนั กาลงั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรชี ้ันปีที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวรEmail: [email protected]ช่อื นางสาวกทลี กล่อมอู่ รหสั นสิ ติ 60560023ภูมิลาเนา บ้านเลขท่ี 60 หมู่ 4 ต.วังบาล อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ 67120ประวัติการศึกษา - จบการศึกษาจากโรงเรยี นกาญจภเิ ษกมหาวิทยาลัย - ปจั จุบนั กาลังศึกษาระดบั ปริญญาตรีชน้ั ปีท่ี 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรEmail: [email protected]

24ช่ือ นางสาวกนกรัตน์ วงษห์ ีบทอง รหสั นิสิต 60560030ภมู ลิ าเนา บา้ นเลขท่ี 50/1 ม.8 ต.สนั ทราย อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 50140ประวตั ิการศึกษา - จบการศกึ ษาจากโรงเรยี นส่วนบญุ - ปจั จบุ นั กาลังศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีชนั้ ปีที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรEmail: [email protected]ช่อื นางสาวณฐั ชนันต์ ขตั ิพนั ธุ์ รหสั นสิ ิต 60560047ภูมิลาเนา บา้ นเลขที่ 145 ม.11 ต.สากเหล็ก อ.สากเหล็ก จ.พจิ ติ ร 66160ประวัตกิ ารศึกษา - จบการศึกษาจากโรงเรยี นสากเหล็กวิทยา - ปัจจบุ ันกาลังศึกษาระดบั ปริญญาตรีชนั้ ปีที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรEmail: [email protected]

25ชอื่ นางสาวกนกวรรณ ด่านจิตติศิริ รหัสนิสิต 60560054ภมู ิลาเนา บา้ นเลขที่ 59/2 ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.พิจิตร 66000ประวตั ิการศึกษา - จบการศกึ ษาจากโรงเรียนพิจติ รพทิ ยาคม - ปจั จุบนั กาลังศกึ ษาระดบั ปริญญาตรชี ้ันปีท่ี 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]ชอ่ื นางสาวกมลรชั ต์ เทยี่ งตรง รหสั นิสิต 60560061ภมู ิลาเนา บา้ นเลขที่ 45 ม.2 ต.ผักขวง อ.ทองแสนขัน จ.อุตรดิตถ์ 53230ประวัตกิ ารศึกษา - จบการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดติ ถ์ - ปจั จุบนั กาลังศึกษาระดับปริญญาตรชี ้นั ปที ่ี 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]

26ชอื่ นางสาวกรรณกิ า แสนเทียม รหัสนิสิต 60560078ภมู ิลาเนา บา้ นเลขท่ี 73/1 ม.1 ต.ลานดอกไม้ อ.เมือง จ.กาแพงเพชร 62000ประวตั ิการศึกษา - จบการศึกษาจากโรงเรียนวัชรวิทยา - ปัจจบุ นั กาลงั ศึกษาระดับปริญญาตรชี ้ันปที ่ี 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]ช่อื นายกฤตนนท์ กากนั รหัสนิสติ 60560085ภูมลิ าเนา บา้ นเลขท่ี 43 ม.5 ต.แม่ยางร้อง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 54140ประวตั กิ ารศึกษา - จบการศึกษาจากโรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์ - ปจั จุบันกาลังศึกษาระดับปริญญาตรชี ้นั ปีที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]

27ชื่อ นางสาวกนั ต์ฤทัย แดนไกวลั ฉัตร รหสั นิสติ 60460092ภูมลิ าเนา บ้านเลขที่ 175 ม.12 ต.ชา่ งเคิ่ง อ.แม่แจ่ม จ.เชยี งใหม่ประวตั กิ ารศึกษา - จบการศึกษาจากโรงเรยี นแม่แจม่ - ปัจจบุ ันกาลังศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีชนั้ ปที ี่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]ชื่อ นางสาวกัลญา พะคะนวน รหสั นสิ ติ 60560108ภมู ิลาเนา บา้ นเลขท่ี 28 ม.6 ต.ลานสกั อ.ลานสกั จ.อุทัยธานี 61160ประวตั กิ ารศึกษา - จบการศึกษาจากโรงเรยี นร่องตาทีวิทยา - ปัจจุบนั กาลังศกึ ษาระดบั ปริญญาตรชี ั้นปที ่ี 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรE-mail: [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook