Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อมูล

ข้อมูล

Published by papatson.gakheaw, 2021-06-08 14:06:02

Description: การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ จะต้องมีการวางแผนและเลือกรูปแบบวิธีการรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงตามความต้องการมากที่สุด แล้วจึงนำข้อมูลที่ได้มาตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง เพื่อเตรียมข้อมูลให้พร้อมสำหรับประมวลผล

Search

Read the Text Version

ขอ้ มูล (data) หมายถงึ ความจริงท่ีอยู่ในรูปของตวั เลข ข้อความ ภาพ เสียง ข้อสังเกตท่ี รวบรวมมาจาก เหตุการณ์หรือสิ่งใดส่ิงหน่ึง ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ ให้นิยามคาวา่ ข้อมูล คือ “ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเปน็ ข้อเท็จจริง สาหรับใชเ้ ปน็ หลัก อนมุ านหาความจริงหรอื การคานวณ

ขอ้ มลู ข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) อยใู่ นรูปของตัวเลข เช่น จานวน เสือโคร่งอินโดจีนในประเทศไทย ปริมาณกาลังไฟฟ้าที่ลดได้ในกิจกรรม “ปิดไฟ 1 ช่ัวโมง เพ่ือลดโลกร้อน” จานวนคนร่วมชมการถ่ายทอดสดผ่าน Facebook ปริมาณ นาฝนรายเดือน ข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative data) อยู่ในรูปข้อความ อธิบาย ความหมาย บรรยายความคิดเห็น ความรู้สึก บทสัมภาษณ์ เช่น สถานที่ทัศนศึกษาท่ี นักเรียนและแต่ละคนในห้อง ม.1/1 สนใจ ความรู้สึกท่ีมีต่อการชมภาพยนตร์ การบรรยายลักษณะนสิ ยั ของบคุ คล

แหล่งขอ้ มูล เปน็ แหลง่ กาเนดิ ของข้อมูล หรือเปน็ แหลง่ รวบรวมข้อมูล เชน่ คน สตั ว์ สง่ิ ของ สถานท่ี เหตกุ ารณ์ ขอ้ มูล ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) คือ ข้อมูลท่ีได้จากแหล่งข้อมูลหรือจุดเริ่มต้นของ ขอ้ มลู เชน่ ข้อมูลท่ีได้จากการทดลอง การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ ข้อมูลความสาเร็จ เหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา ข้อมูลสถานการณ์ทางการเมือง ความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ ข้อมูลปฐม ภูมิเป็นข้อมูลที่เกดิ จากการกระทา หรอื การจดบันทึกของผมู้ ีสว่ นร่วมเรื่องราวหรือเหตุการณ์เหล่านัน ข้อมูลปฐมภูมินาเสนอรายละเอียดท่ีเป็นมุมมองของเหตุการณ์ที่เกิดขึน สาระสาคัญ บุคคล และ สถานที่ ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) คือ ข้อมูลที่ไม่ได้มาจากแหล่งกาเนิดโดยตรง แต่ ได้มาจากการอ้างอิงถึงข้อมูลปฐมภูมิ หรือนาข้อมูลปฐมภูมิมาวิเคราะห์ ประมวลผล ซ่ึงอาจอยู่ใน รปู สถติ ิ บทวจิ ารณ์ บทความ เอกสารตา่ งๆ เปน็ ตน้

ข้อมลู และแหล่งข้อมลู จะเป็นสิง่ ทกี่ าหนดวิธีการรวบรวมข้อมลู ข้อมลู แตล่ ะอย่างอาจต้องใชว้ ิธกี าร รวบรวมขอ้ มลู ท่ีแตกตา่ งกันไป วธิ กี ารรวบรวมขอ้ มลู เชน่ 1. การสัมภาษณ์ (interview) 2. การสารวจ (survey) 3. การสังเกต (observe) 4. การทดลอง (experiment) 5. การทบทวนเอกสาร (document/literature review) 6. การสามะโน (census)

1. การสัมภาษณ์ (interview) อาจเป็นการสัมภาษณ์โดยตรงหรือผ่านช่องทางการส่ือสารอ่ืน เช่น โทรศัพท์ สื่อสังคมออนไลน์ คาถามท่ีใช้ตอ้ งชัดเจนตรงประเด็น และมลี กั ษณะเป็นคาถามปลายเปิด สามารถรวบรวมขอ้ มูลทไ่ี ม่จากัดคาตอบและได้ผลการสัมภาษณ์ทันที การสมั ภาษณ์มักนยิ มใช้รวบรวมขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ 2. การสารวจ (survey) ทาโดยสร้างแบบสารวจท่ีกาหนดคาถามเพื่อค้นหาข้อมูล หรือความเห็นที่ต้องการ เช่น การสารวจ ความพงึ พอใจของการบริหารงานของสภานักเรียน การสารวจแหล่งท่องเท่ียวท่ีนกั ทอ่ งเที่ยวสนใจ 3. การสังเกต (observe) เป็นวิธีท่ีง่ายที่สุด ใช้สาหรับรวบรวมข้อมูลจากเหตุการณ์ หรือสถานการณ์หรือพฤติกรรมท่ีมีการ เปล่ียนแปลงไป เช่น การสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ระหว่างรับประทานอาหาร การสังเกตพฤติกรรมการทิง ขยะของนกั เรยี น 4. การทดลอง (experiment) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการทดลอง หรือทดสอบที่มีการควบคุมปัจจัยบางประการ เช่น การ บันทกึ ผลการเจริญเตบิ โตของถวั่ งอกเม่ือมีแสงแดดและไมม่ ีแสงแดด 5. การทบทวนเอกสาร (document/literature review) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รายงาน บทความ หรือ แบบฟอร์มสาหรับรวบรวมข้อมูล เช่น แบบบันทึกการเข้าเรียนของนักเรียน รายงานประจาปี รายงานการประชุม จดหมายข่าว แบบฟอร์ม ลงเวลาปฏบิ ตั ิงาน 6. การสามะโน (census) เป็นการรวบรวมข้อมูลด้วยการสารวจจากประชากรเก่ียวกับเรื่องท่ีกาหนด เช่น สานักงานสถิติ แหง่ ชาติไดม้ ีการสามะโนประชากรและเคหะ ชว่ ยดาเนินการเป็นประจาทกุ 10 ปี

เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ ท่ีกล่าวมาแลว้ นัน จาเป็นต้องออกแบบเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล ท่ีมีประเด็นคาถามที่ครบถ้วน เพ่ือให้ได้คาตอบท่ีตรงตามความต้องการของผู้สารวจ เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล เช่น แบบสารวจ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบสังเกต ในปัจจุบันการเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้ แอพพลเิ คช่นั สอื่ สังคมออนไลน์ เพ่อื ลดภาระในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ลดข้อผดิ พลาด และช่วยทาให้สะดวกรวดเรว็ นอกจากนีในการสารวจอาจมีเครื่องมือที่อานวยความสะดวกเพ่ิมเติม เช่น โทรศัพท์ อุปกรณ์บันทึกเสียงและ ภาพ เคร่ืองนบั จานวน (clickers) เครือ่ งอา่ นบาร์โค้ด (barcode reader) การรวบรวมข้อมูลจะต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง เพ่ือยืนยันว่ามาจากแหล่งข้อมูลที่ น่าเช่ือถือ และช่วยให้ผู้สนใจในเรื่องท่ีเก่ียวข้องสามารถใช้เป็นแหล่งอ้างอิงข้อมูลเพ่ิมเติมและที่สาคัญอย่างยิ่ง คือเป็น มารยาททเ่ี หมาะสมในการแสดงคาขอบคณุ แหลง่ ข้อมูลทเี่ กี่ยวข้อง

สิง่ ท่ตี อ้ งคานึงถึงในการรวบรวมข้อมลู นอกจากการกาหนดข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่ถูกต้องตรงตามความต้องการแล้ว ข้อมูลจะต้องมีความถูกต้อง และ ครบถ้วนพร้อมต่อการนาไปประมวลผลในขันตอนถัดไป โดยการตรวจสอบจะต้องครอบคลุมคุณสมบัติต่อไปนี 1. ความถูกต้อง (accuracy) ข้อมูลทังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพต้องมีความถูกต้อง เช่น ข้อมูลคะแนนสอบ เพอื่ ประเมนิ ผลการเรียนตอ้ งมีความถกู ต้อง 2. ความทันสมัย (timeliness) ข้อมูลจะใช้งานได้ต้องอยบู่ นพืนฐานของช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้สอดคล้อง กับสถานการณ์การใช้ประโยชน์จากข้อมูล เช่น ข้อมูลนาหนักและส่วนสูงของนักเรียนเม่ือ 2 ปีท่ีแล้วไม่สามารถนามา ประมวลผลพจิ ารณาการเติบโตของนักเรียนในปัจจุบันได้ ข้อมูลวันสินสุดการส่งผลงานเข้าประกวดควรเป็นวันที่ในอนาคต ไมใ่ ชว่ ันทีผ่ ่านมาแล้ว 3. ความเกี่ยวข้อง (relevance) ขอ้ มูลตอ้ งมคี วามเก่ยี วขอ้ งกับส่ิงทจ่ี ะนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่นข้อมูลท่ีจะใช้ใน การตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวอาจประกอบด้วยแหล่งท่องเที่ยว เวลาเปิดปิด ระยะทาง วิธีการเดินทาง สภาพภูมิอากาศ ขณะท่ีขอ้ มูลการแขง่ ขนั กีฬาไม่เก่ยี วขอ้ งกบั การเดินทางทอ่ งเท่ียว

การประมวลผลข้อมูล (data processing) หมายถงึ กระบวนการทกี่ ระทากบั ขอ้ มูลท่ีรวบรวมไวเ้ พือ่ ให้ได้ ข้อมลู หรอื สารสนเทศที่อยู่ในรปู แบบทีต่ อ้ งการนาไปใช้ การประมวลผลขอ้ มลู มี 2 รูปแบบ ดังนี 1. การประมวลผลด้วยมอื ใชก้ ระดาษ ปากกา และแรงคนในการดาเนนิ การ 2. การประมวลผลดว้ ยเครือ่ งมอื ใชเ้ ครื่องมอื ช่วยทุ่นแรง เชน่ เครือ่ งพมิ พ์ดดี เครอ่ื งคิดเลข เครอ่ื งนบั จานวน เครื่องนับธนบัตร

รูปแบบการประมวลผลข้อมูลท่ีนิยมใช้ในปัจจุบัน เป็นการประมวลผลด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพวิ เตอร์ สมารท์ โฟน ในกระบวนการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เราเรียกข้อมูลที่นาเข้าสู่การประมวลผลว่าว่าข้อมูลเข้า (input) และเรียกสิ่งที่ได้จากการประมวลผล (process) ว่าข้อมูลออกหรือผลลัพธ์ (output) ซึ่งผลลัพธ์นีอาจถูกนาไป เป็นขอ้ มลู เข้าของกระบวนการอน่ื ได้ กระบวนการประมวลผลข้อมลู

การประมวลผลมีด้วยกันหลายวิธี โดยอาจเลือกใช้วิธีใดเพียงวิธีเดียว หรือหลายวิธีต่อเนื่องกัน วิธีประมวลผล เช่น 1. การประมวลผล (computation) เป็นการนาข้อมูลท่มี อี ยแู่ ลว้ มาคานวณตามข้อกาหนดของ การประมวลผลเพื่อใหไ้ ด้คา่ ผลลัพธใ์ หม่ เชน่ คานวณอายุปจั จบุ นั จากปเี กดิ หาค่ามากทส่ี ดุ ค่าเฉล่ีย 2. การเรียงลาดับ (sort) เป็นการจัดข้อมูลให้อยู่ในลาดับที่เหมาะสม โดยการจัดเรียงข้อมูลตัวเลขหรือ ตัวอักษรตามลาดับที่ต้องการเพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่าย การเรียงอาจเรียงจากมากไปหาน้อยหรือจากน้อยไปหามาก เช่น จัดเรียงเลขประจาตัวตามลาดับรายช่ือนักเรียน การจัดเรียงข้อมูลช่วยให้สามารถค้นหา หรือใช้ข้อมูลได้ง่ายสะดวกและ ประหยดั เวลา 3. การวิเคราะห์ (analyse) เช่น การจดั กลุ่ม การแยกประเภท การตคี วาม 4. การสรุป (summation) เปน็ การสรุปใจความสาคญั ใหเ้ ลือกเฉพาะประเดน็ หลัก 5. การรายงาน (reporting) เป็นการนาเสนอผลลัพธ์ท่ีได้ในรูปแบบต่างๆเช่น เล่มรายงานหรือไฟล์ ป้าย นิเทศก์ อนิ โฟกราฟกิ

ข้ อ มู ล เ กิ ด ขึ น ต ล อ ด เ ว ล า ร อ บ ตั ว เ ร า ถู ก ค น เ ป็ น ทั ง ผู้ ผ ลิ ต แ ล ะ ผู้ ใ ช้ ข้ อ มู ล ใ น เ ว ล า เ ดี ย ว กั น ในการดาเนินชีวิตของทุกคนมีกระบวนการรวบรวมข้อมูลเกิดขึนโดยอัตโนมัติอยู่ตลอดเวลา เมื่ออยู่ใน สถานการณท์ ่ีต้องตดั สินใจ จะมีการนาข้อมูลเหล่านันมาใช้ เพือ่ ใหเ้ กิดผลลัพธ์ท่ีตรงตามเป้าหมายมากท่ีสุด ตัวอย่างเช่น ขณะท่ีเราข่ีจักรยานอยู่บนถนนการสังเกตส่ิงต่างๆข้างทางและบนถนน เป็นการรวบรวมข้อมูลท่ีเกิดขึนอยู่ตลอดเวลา อย่างอตั โนมัติ ข้อมลู ดงั กลา่ วถกู นามาใช้เพอ่ื ช่วยตัดสินใจในทนั ทีท่ีจะดาเนินการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง เช่น เมื่อพบหลุมบน ถนนขณะขจ่ี กั รยานจะตดั สนิ ใจหักหลบ หยุดรถหรอื ขี่ลงไปในหลุมหากเห็นว่าหลุมไม่ลกึ มา

การตดั สินใจจะเกดิ ขนึ เมอื่ มีหลายทางเลือก และแต่ละทางเลอื กจะนาไปส่ผู ลลัพธ์ทเ่ี หมือนหรือแตกตา่ งกันก็ ได้ การตดั สินใจจัดเปน็ การประมวลผลอยา่ งหน่งึ ทีใ่ ชก้ ารวเิ คราะหเ์ ชิงตรรกะในการประมวลผลลพั ธ์ วา่ ทางเลอื กใด สามารถนาไปส่เู ป้าหมายที่ตอ้ งการไดอ้ ย่างเหมาะสมท่ีสุด ขัน้ ตอนการตัดสนิ ใจ มดี งั นี 1. กาหนดเปา้ หมายของการตัดสินใจ 2. รวบรวมขอ้ มูลและความรู้ท่เี กีย่ วข้องทเี่ พยี งพอตอ่ การตดั สินใจ 3. กาหนดทางไดท้ งั หมดท่ีเป็นไปได้ 4. ประเมินถกู ทางเลอื กโดยใช้การวิเคราะห์เชิงตรรกะเชอื่ มโยงระหวา่ งทางเลอื กและผลลัพธ์ ท่สี อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายทไ่ี ดก้ าหนดไว้ และใชข้ นั ตอนท่ีมปี ระสทิ ธิภาพหรอื ไดผ้ ลลพั ธท์ ่มี คี วามสาคัญมากทีส่ ดุ 5. การตดั สินใจเลอื กทางเลอื กทีเ่ หมาะสมทส่ี ดุ

ปัจจุบันมีผู้ให้บริการซอฟต์แวร์บนคลาวน์ (cloud-based service) จานวนมาก ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ สะดวก เราสามารถใชซ้ อฟต์แวร์เหล่านเี ปน็ เครื่องมือในการจัดการกับข้อมูลตังแต่การรวบรวมข้อมูลการประมวลผลข้อมูล จนถึงการนาเสนอข้อมูล นอกจากนีซอฟต์แวร์บนคลาวน์ยังมีความสามารถในการแบ่งปันและใช้งานร่วมกัน โดยผู้ใช้ สามารถแก้ไขหรอื ปรับปรงุ เอกสารเดียวกนั ณ ขณะเดียวกนั ทาใหส้ มาชกิ ในกลุ่มเห็นขอ้ มูลท่ีปรับปรุงล่าสุด แรกเกิดความ เข้าใจทตี่ รงกนั เป็นการสนบั สนุนรปู แบบการทางานรว่ มกัน สะดวกตอ่ การทางานประสานกนั แมจ้ ะอยู่ห่างไกลกัน

ตวั อยา่ งบริการซอฟต์แวร์บนคลาวน์ เชน่ 1. ซอฟต์แวร์ประมวลคา (word processor) ใช้สาหรับสร้าง แก้ไข และจัดรูปแบบเอกสาร โดยทางานร่วมกันผ่านอนิ เตอรเ์ น็ต เช่น Google Docs และ Microsoft Words ในชดุ Office 365 2. ซอฟต์แวร์สร้างฟอร์ม (form) ใช้สาหรับสร้างแบบสารวจ/แบบสอบถาม เพื่อรวบรวมข้อมูล โดยคาถามที่กาหนดในแบบสารวจอาจเป็นได้ทังคาถามปลายเปิดและปลายปิด เช่น คาถามท่ีกาหนดรายการ คาตอบให้เปน็ ทางเลอื ก คาถามแบบจดั ลาดับความสาคัญ หรอื คาถามแบบเตมิ คาตอบสนั ๆ

เมือ่ สรา้ งแบบสอบถามเสร็จแล้ว ผใู้ ช้สามารถส่งแบบสอบถามให้กับกลุ่มเป้าหมายโดยการส่ง URL หรือ ลิงก์ ของแบบสอบถามผ่านอีเมล์หรือส่ือสังคมออนไลน์ต่างๆ เมื่อกลุ่มเป้าหมายเริ่มมีการตอบแบบสอบถามซอฟต์แวร์จะ รวบรวมข้อมูลโดยอัตโนมัติ และผู้สร้างสามารถติดตามผลการตอบแบบสอบถามได้ตลอดเวลา ผลจากการตอบ แบบสอบถามจะถูกบันทึกในรูปของเอกสารหรือตารางทางาน ทาให้สามารถนาไปวิเคราะห์และประมวลผลต่อไป ตวั อยา่ งซอฟตแ์ วรท์ ีน่ ยิ มใช้ เชน่ Google forms

3. ซอฟต์แวร์ตารางทางาน (spreadsheet) ใชส้ าหรับสร้างและแกไ้ ขตารางทางาน รวมถงึ การประมวลผลข้อมูลในตาราง คาสัง่ ในการประมวลผล เช่น การหาค่ามากที่สุด/นอ้ ยที่สดุ การหาคา่ เฉลยี่ การนบั ความถี่ และแสดงผลการเปรียบเทยี บข้อมูลในรูปแบบแผนภมู ิวงกลม (Pie Chart) แผนภูมเิ สน้ (Line Chart) แผนภูมิแท่ง (Bar Chart) การแสดงผลลัพธอ์ ยูใ่ นรูปแบบท่เี ข้าใจงา่ ย หนงั สือถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างขอ้ มูล ซอฟต์แวรต์ ารางทางาน นสี ามารถใชว้ ิเคราะห์ผลการสารวจ แนะนาไปสผู่ ลสรปุ ตามเปา้ หมายของการสารวจนันๆได้ ตัวอย่างของซอฟตแ์ วร์ ตารางทางาน เชน่ Google Sheets และ Microsoft Excel ในชุด Office 365

4. ซอฟตแ์ วร์นาเสนอ (Presentation) ใชส้ าหรับสร้าง แก้ไข ตกแต่งแฟม้ นาเสนองาน โดยสามารถใส่ ตารางข้อมูล แผนภูมิ รปู ภาพ รูปวาด ภาพวีดที ัศน์ เพื่อให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ เกิดความนา่ สนใจและสวยงาม เช่น Google Slides และ Microsoft PowerPoint ในชุด Office 365 5. ซอฟตแ์ วร์สรา้ งผงั ความคิด (Concept Map) ใช้สาหรับสร้าง แกไ้ ข ตกแตง่ ผงั ความคดิ เช่น mindmup.com โดยมกี ารใช้งานผา่ นบรกิ ารคลาวด์ของ Google Drive ปัจจุบนั มบี รกิ ารเก็บไฟลข์ อ้ มูลบนคลาวดโ์ ดยให้บริการแบบไม่มีคา่ ใช้จ่ายเมื่อใช้งานพืนท่ีเกบ็ ขอ้ มูลในปริมาณ ไม่เกนิ ทีก่ าหนดให้ เชน่ Dropbox, Google Drive, OneDrive และ ICloud ซ่ึงผูใ้ ช้สามารถเก็บไฟล์ที่ตนทางานไว้กับ บรกิ ารเหล่านี ทาให้การเขา้ ถงึ ไฟลส์ ามารถทาไดจ้ ากทุกทที่ ีม่ กี ารเชอ่ื มต่ออนิ เตอร์เน็ต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook