โครงการปลวกรกั ษน์ า้ เป็นโครงการที่มุ่งเนน้ การสรา้ งเครือข่ายโรงเรยี นและชุมชน เพ่ือเฝ้าระวังแหลง่ น้า และสะท้อนข้อมูลคุณภาพนา้ ให้กับชุมชนได้รบั รู้ ตลอดจนการรว่ มมือกนั แกป้ ัญหาคณุ ภาพนา้ ในชุมชน อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละยง่ั ยืน เนื่องจากชุมชนปลวกแดง อาเภอปลวกแดง จังหวดั ระยองเป็นชมุ ชนสาคัญในด้าน อตุ สาหกรรมในโรงการพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC) ส่งผลใหม้ กี ารขยายตวั ทางด้านสังคมและ เศรษฐกิจอย่างรวดเรว็ จากเดิมท่เี คยเปน็ สังคมการเกษตร จงึ ส่งผลกระทบต่อการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ เปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะทรัพยากรน้า โรงเรยี นปลวกแดงพทิ ยาคม นาโดยต้นสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการและสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา มธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง จึงไดด้ าเนินโครงการปลวกรักษ์น้าข้นึ เพ่ือแก้ไขปัญหาข้างต้น ซ่ึงคณะผจู้ ดั ทาหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่าผู้ทสี่ นใจจะได้รับประโยชน์จากรายงานการวิจัยเรอ่ื ง ผลการจดั การและพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในท้องถนิ่ เพื่อรองรับและตอบสนองต่อการขยายตวั ในเขตพน้ื ท่พี ัฒนา พิเศษภาคตะวนั ออก อยา่ งมสี ่วนรว่ ม ภายใต้โครงการปลวกรกั ษน์ า้ ฉบับนี้ ไม่มากกน็ ้อยและสามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ชเ้ พื่อสาธารณะประโยชนต์ ่อไป งานส่ิงแวดลอ้ ม โรงเรียนปลวกแดงพทิ ยาคม รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลติ และบรโิ ภคท่ีเปน็ มิตรกับ 51 สิง่ แวดล้อม สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
บทท่ี 1 บทนา 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา Eastern Seaboard Development Program (ESB) ที่เกิดขึ้นภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ตาบลปลวกแดง อาเภอปลวกแดง จงั หวัด สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) ท่ี ระยอง เดิมทีเป็นกลุ่มหมู่บ้านเล็กๆ ตั้งอยู่ในเขต ส่งผลให้พื้นที่ในเขตตาบลปลวกแดง กลายเป็น ตาบลตาสิทธิ์ อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง แหลง่ ท่ตี ัง้ ของนิคมอุตสาหกรรม 3 นคิ มขนาดใหญ่ สภาพทั่วไปเป็นป่าไม้ดงดิบอุดมสมบูรณ์ ชุกชุม ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรม อีสเทิร์นซีบอร์ด(ระยอง), ด้วยสัตว์ป่า ประมาณปี พ.ศ. 2449 มีราษฎรจาก อมตะซิตี้ ระยอง, ดับบลิวเอชเอ อีสเทิร์นซีบอร์ด บา้ นหนองละลอก อาเภอบ้านค่าย อพยพเข้ามาต้ัง และดับบลิวเอชเอ อีสเทิร์นซีบอร์ด 4 รวมจานวน รกราก และประกอบอาชีพทาไร่มันสาปะหลัง โรงงานอตุ สาหกรรมกวา่ 1,254 โรงงาน ซง่ึ โรงงาน สับปะรด ยางพารา ทาน้ามันยาง เป็นจานวนมาก ส่วนมากเป็นโรงงานประเภทผลิตชิ้นส่วน อีกทั้งมีประเพณี วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ประจา อิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนรถยนต์ ตลอดจนมี ท้องถน่ิ ท่ีสวยงาม เชน่ ประเพณวี ิ่งควาย ประชากรทั้งหมดมากกว่า 100,000 คน ส่งผลให้ อาเภอปลวกแดงเกิดเป็นชุมชนขนาดใหญ่ใน ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2476 จึงมีคนจาก ปัจจุบัน อย่างไรก็ตามเมื่ออาเภอปลวกแดง จังหวัดอื่นมาอยู่มากขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้รับการยก กลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ จึงมีความจ าเป็น ฐานะขน้ึ เป็น หม่ทู ี่ 7 บ้านปลวกแดง ตาบลตาสิทธ์ิ จะต้องใช้พ้นื ส่วนหนึ่ง สร้างแหลง่ นา้ กกั เก็บน้าเป็น และมีประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงได้รับการ แหลง่ ผลติ นา้ ประปาขนาดใหญ่ที่ ใชส้ าหรับอุปโภค ยกฐานะขึ้นเป็นกิ่งอาเภอ เมื่อ พ.ศ. 2513 และบริโภคของประชาชนอาเภอปลวกแดง เช่น ประกอบด้วย 2 ตาบล คือ ตาบลตาสิทธิ์ และ อ่างเก็บน้าดอกกราย อ่างเก็บน้าคลองใหญ่ และ ตาบลแม่น้าคู้ จากนั้นยกฐานะขึ้นเป็นอาเภอเมื่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอ่างเก็บน้าหนองปลาไหล ที่มี วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2522 ซึ่งในปัจจุบัน ขนาดใหญ่ และเป็นอ่างเก็บน้าที่ได้รับผลกระทบ ประกอบดว้ ยตาบลปลวกแดง ตาบลแมน่ า้ คู้ ตาบล จากการขยายตัวของชุมชนมากท่ีสุด เน่อื งจากเป็น ตาสทิ ธ์ิ ตาบลมาบยางพร ตาบลละหาร และตาบล อ่างเก็บน้าที่ได้รับน้ามาจาก 2 คลอง ได้แก่ คลอง หนองไร่ ระเวิง และคลองปลวกแดง ที่เป็นคลองที่ไหลผ่าน แหล่งชุมชนและแหล่งโรงงานอุตสาหกรรมเป็น จะเหน็ ได้วา่ อาเภอปลวกแดงโดยเฉพาะ จานวนมาก ตาบลปลวกแดงที่แต่เดิมเป็นพืน้ ที่ทาการเกษตรได้ มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วในอย่างมากใน โดยในช่วงตั้งแต่ปี 2559 ถึงปัจจุบัน ระยะเวลาที่ผ่านมา ทั้งทางด้านประชากร โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคมได้เล็งเห็นความสาคัญ เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการ พัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก หรือ รายงานผลการวจิ ัยโครงการสร้างจิตสำนึกและความรใู้ นการผลิตและบริโภคทเี่ ปน็ มติ รกับ 52 สิง่ แวดลอ้ ม สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
ของปัญหาท่ีจะเกิดข้ึนเมื่อมีการขยายตวั ของชุมชน อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ และหุ่นยนต์เพ่ือ ปริมาณประชากรที่เข้ามาอยู่อาศัยที่มากขึ้น พื้นท่ี อุตสาหกรรม ตลอดจนนโยบายการวางผังเมืองที่ ทาการเกษตรมากขึ้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ จะมกี ารสงวนทดี่ ินบางส่วนในอาเภอปลวกแดง ให้ ขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมรถยนต์และ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งท่องเที่ยวทาง ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ที่อาจมีสารตกค้างประเภท ธรรมชาติในอนาคต ก็อาจส่งผลต่อจานวน โลหะปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดตั้งกลุ่ม ประชากรท่คี าดว่าจะมีจานวนมากข้นึ ในอนาคต “ยุวชนรักษ์น้า” โดยร่วมมือกับศูนย์เฝ้าระวังและ ตรวจสอบคุณภาพน้าอาเภอปลวกแดง จังหวัด ด้วยเหตุผลทั้งหมดข้างต้น จึงมีความ ระยอง และบริษัท EAST Water ที่สนับสนุน เสี่ยงที่จะส่งผลกระทบที่อาจก่อให้เกิดมลพิษทาง งบประมาณในการจัดซื้อเครื่องมือเพื่อตรวจวัด น้า และกลายเป็นต้นเหตุของปัญหาสุขภาพของ คุณภาพแหล่งน้า จัดทาโครงการตรวจสอบ ประชาชนในพื้นที่ในอนาคต ดังนั้น จึงมีความ คุณภาพแหล่งน้าในอาเภอปลวกแดง โดยการวัด จาเป็นอยา่ งยง่ิ ในการจัดโครงการ “ปลวกรักษ์น้า” คุณภาพน้าทางกายภาพและเคมี ซึ่งเป็นการ ทีม่ กี ารพฒั นาจากโครงการยวุ ชนรักษ์น้าเดิม โดยมี ตรวจวัดค่าโลหะปนเปื้อนในแหล่งน้า เช่น เหล็ก จุดประสงค์ที่นอกจากการตรวจวัดคุณภาพแหล่ง สังกะสี แมกนีเซียม ฟอสเฟต เพ่ือสะท้อนปัญหา น้าในชุมชนแล้ว ยังมุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายเฝ้า คุณภาพแหล่งน้าในชุมชนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระวังแหล่งน ้าในชุมชนและจัดท าฐานข้อมูล เพ่อื แกไ้ ขปญั หา คุณภาพน้าในแหล่งชุมชน ตลอดจนการนาข้อมูล คุณภาพน้ามาจัดกระทาโครงการหรือกิจกรรมเพ่อื อน่งึ จากการเกบ็ สถิติคา่ สารปนเปื้อน อนุรกั ษ์และฟ้ืนฟูแหล่งน้าในชุมชนต่อไป ก่อนท่ีน้า ในแหล่งน้าจากกลุ่มยุวชนรักษ์น้า พบว่า การ จะไหลไปรวมกันที่อ่างเก็บน้าหนองปลาไหล แล้ว ปนเปื้อนของสารดังกล่าวในแหล่งน้ามีแนวโน้ม กลับมาใช้ในชมุ ชนในรปู แบบของนา้ ประปา เพิ่มสูงขึ้นทุกปี ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของ ประชาชนได้ในระยะยาว ประกอบกับหากมีการ 2. วัตถุประสงค์การวิจยั ขยายตัวของโครงการพัฒนาเศรษฐกิจภาค ตะวันออกหรือ EEC ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2.1 เพื่อสร้างเครือข่ายนักเรียนและ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561-2580 ที่จะเกิดการ ชมุ ชนเฝ้าระวงั แหลง่ นา้ ให้ครอบคลุมพื้นท่ีแหล่งน้า เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สาคัญในอาเภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง สิ่งแวดล้อม เป็นอย่างมากจากนโยบายต่างๆของ ภาครัฐ เช่น นโยบายการสร้างรถไฟความเร็วสูง 2.2 เพื่อให้กลุ่มเครือข่ายนักเรียน เชื่อม 3 สนามบิน นโยบายการส่งเสริมการสร้าง และชมุ เฝ้าระวงั แหลง่ นา้ มีทกั ษะการเก็บข้อมูลทาง อุตสาหกรรมสมัยใหม่ในเขตปลวกแดง อันได้แก่ กายภาพและตรวจวัดคุณภาพแหล่งน้าในลาคลอง อุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต อุตสาหกรรม ของอาเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง 2.3 เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพ แหลง่ นา้ และจัดทาฐานขอ้ มลู ในแตล่ ะจุดตรวจ รายงานผลการวจิ ัยโครงการสร้างจิตสำนึกและความรใู้ นการผลติ และบรโิ ภคท่เี ปน็ มติ รกบั 53 สงิ่ แวดล้อม สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
3. ขอบเขตของการวิจยั ปลวกแดง ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านปลวกแดง และโรงเรียนมาบยางพรวิทยาคม 3.1 แหล่งน้าที่เฝ้าระวัง คือ คลอง ระเวงิ และคลองปลวกแดง ซง่ึ เปน็ คลองหลกั ทไี่ หล 3.3 ฐานข้อมูลคุณภาพแหล่งน้า คือ ลงสู่อ่างเก็บน้าหนองปลาไหล ดังแสดงในภาพที่ ฐานข้อมูลเผยแพร่ข้อมูลผ่าน Google site แสดง 5.1-1 ข้อมูลจากการตรวจวัดคุณภาพน้าในแต่ละจุดมา จัดทาเป็นฐานข้อมูลและสารสนเทศในระบบ 3.2 กล่มุ เครือขา่ ยนักเรียนและชุมเฝ้า ออนไลน์ เพื่อให้นักเรียน หรือชุมชนในพื้นท่ี ระวังแหล่งน้า คือ คลองระเวิง ประกอบด้วย สามารถเขา้ ชมขอ้ มลู ไดอ้ ย่างงา่ ย ตัวแทนหมบู่ ้านวงั แขยง ตัวแทนหมู่บ้านใต้สุน และ โรงเรียนชุมชนบริษัทน้าตาลตะวันออก คลอง 3.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการว ิจัย ธันวาคม 2564 - มีนาคม 2564 รวม 3 เดอื น ภาพท่ี 5.1-1 แหลง่ น้าท่ีเฝ้าระวังในโครงการปลวกรักษ์นา้ 4. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั 4.2 กลุ่มเครือขา่ ยนักเรยี นและชุมชน เฝ้าระวังแหล่งน้า มีทักษะการตรวจวัดคุณภาพ 4.1 มีกลุ่มเครือข่ายนักเรียนและ แหลง่ น้าเบ้อื งตน้ ชุมชนเฝ้าระวังแหล่งน้า ครอบคลุมพื้นที่แหล่งน้า ทั้ง 5 แหล่ง ในอาเภอปลวกแดงจงั หวดั ระยอง 4.3 มีการนาฐานข้อมูลคุณภาพแหล่ง น้า มาจัดทาโครงการ/กิจกรรม เพื่ออนุรักษ์และ ฟื้นฟูแหล่งน้าในอาเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนึกและความรู้ในการผลิตและบริโภคทีเ่ ปน็ มิตรกบั 54 สง่ิ แวดล้อม สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การศกึ ษาเรื่อง ผลการจัดการและ ยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ 4.0 ว่าด้วยการพัฒนา พฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มในท้องถนิ่ เศรษฐกิจเชิงพื้นที่ที่ต่อยอดความสาเร็จมาจาก เพอ่ื รองรบั และตอบสนองต่อการขยายตัวในเขตพื้นท่ี แผนพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก อย่างมสี ่วนร่วม ภายใต้ Seaboard) ซึ่งได้ดาเนินการมาตลอดระยะเวลากว่า โครงการปลวกรกั ษน์ ้า ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและ 30 ปีที่ผ่านมา โดยมีเป้าหมายที่จะยกระดับธุรกิจใน งานวิจัยที่เก่ยี วข้องเพื่อเปน็ ข้อมลู พื้นฐานในการวจิ ยั ประเทศไทย ใหก้ ลายเป็นเขตเศรษฐกิจในระดบั โลก ดงั ตอ่ ไปน้ี ส านักงานเพื่อการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวนั ออกได้เลง็ เห็นถงึ เป้าหมายในการ 1. โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ที่จะเติมเต็มภาพรวม การส่งเสริมการลงทุนเพื่อเป็น ตะวนั ออก (EEC) การยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศให้มีขีด EEC ย ่ อ ม า จ า ก Eastern Economic ความสามารถมากยิ่งขึ้น อันจะมีผลทาให้เศรษฐกิจ Corridor หรือชื่อภาษาไทยเรียกว่า โครงการพัฒนา ของไทยเติบโตไดใ้ นระยะยาว ซึ่งในระยะแรกน้ันจะมี ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เป็นแผน การยกระดับพื้นที่ในเขต 3 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ยุทธศาสตร์ภายใต้ ไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการพัฒนาเชิง ระยอง ฉะเชิงเทรา เพ่อื เป็นตน้ แบบในการดาเนินการ พื้นที่ ที่ต่อยอดความสาเร็จมาจาก แผนพัฒนา เขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก เศรษฐกิจภาคตะวันออก หรือ Eastern Seaboard อน่งึ เขตพนื้ ท่ีทั้ง 3 พืน้ ที่ดงั กลา่ วเป็นเขต ซึ่งดาเนินมาตลอดกว่า 30 ปีที่ผ่านมา สานักงานเพ่ือ อุตสาหกรรมที่สาคัญระดับต้นๆของประเทศ มี การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก สภาพแวดล้อมท่ีอุดมไปด้วยสนามบิน ทา่ เรอื โรงงาน (สกรศ) มีเป้าหมายหลักในการเติมเต็มภาพรวมใน ในนิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีการขนส่งสินค้าที่ การส่งเสริม การลงทุนซึ่งจะเป็นการยกระดับ มากท่สี ดุ เป็นอนั ดับ 22 ของโลก เหมาะแกก่ ารพัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศเพิ่มความสามารถในการ ทางการค้า การลงทุน และการจัดทาโครงการพัฒนา แขง่ ขนั และทาให้ เศรษฐกจิ ของไทยเติบโตได้ในระยะ ระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก โดยโครงการนี้ ยาว โดยในระยะแรกจะเป็นการยกระดับพื้นที่ในเขต จะถูกบริหารการจัดการและการกากับดูแลของ 3 จงั หวัดคือ ชลบุรี, ระยอง, และ ฉะเชงิ เทรา คณะกรรมการนโยบายพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาค 1.1 ทมี่ าและความหมายของ EEC ตะวันออก โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานในการ Eastern Economic Corridor ห ร ื อ ที่ ควบคมุ กากบั ดแู ล เรารู้จักกันดีในชื่อว่า EEC เป็นโครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ภายใต้แผน ทั้งนี้ ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นถึงความสาคัญ และเล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่กาลังจะเกิดขึ้นใน อนาคตอันใกล้ ทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านการคมนาคม รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจติ สำนกึ และความรใู้ นการผลิตและบริโภคท่เี ปน็ มิตรกับ 55 ส่งิ แวดล้อม สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
ขนส่ง ธุรกิจ ที่อยู่อาศัย ตลอดจนวิถีชีวิตของคนใน (สกรศ) มเี ป้าหมายหลกั ในการเตมิ เตม็ ภาพรวมใน ชุมชนทจี่ ะตอ้ งปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการดารงชีวิต การส่งเสรมิ การลงทุนซ่งึ จะเปน็ การยกระดบั พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้าน เพื่อการ อุตสาหกรรมของประเทศเพ่มิ ความสามารถในการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่กาลังจะเติมโตขึ้นอย่า แขง่ ขันและทาให้ เศรษฐกิจของไทยเติบโตได้ในระยะ ยั่งยืน ภายใต้โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ยาว โดยในระยะแรกจะเป็นการยกระดบั พน้ื ท่ีในเขต ภาคตะวนั ออก 3 จงั หวัดคอื ชลบุรี ระยอง และฉะเชงิ เทรา ให้เป็น พ้นื ทเี่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออกเพ่ือรองรับ 1.2 บทบาททีส่ าคัญของ EEC การขับเคลื่อน เศรษฐกิจอย่างเป็นระบบและมี ภูมิภาคเอเชีย เป็นผู้นาในการขับเคลื่อนโลก ประสทิ ธิภาพผา่ นกลไกการบริหารจัดการภายใต้การ ทั้งด้านการลงทุน และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กากับดูแลของ คณะกรรมการนโยบายพื้นทีเ่ ขต โดยมีประเทศจีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รวมทั้ง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกโดยมนี ายกรัฐมนตรี อาเซียน เป็นหัวใจหลักของการขับเคลื่อน ด้วย เป็นประธาน ประชากรรวมกวา่ 3.5 พนั ลา้ นคน และ GDP คิดเป็น 2. โครงการปลวกรกั ษน์ ้า 32% ของ GDP โลก ประเทศไทย เป็นจุดศูนย์กลาง ในการเชื่อมต่อกับกลุ่มเศรษฐกิจในทวีปเอเซีย จาก 2.1 กจิ กรรมประชุมวางแผนการดาเนนิ งาน เหนือสู่ใต้ ตั้งแต่จีนลงสู่อินโดนีเซีย จากตะวันออก เป็นการประชุมระหว่างกลุ่มนักเรียนยุวชน มายังตะวันตกตั้งแต่เวียดนามข้ามไปจนถึงเมียนมา และเป็นจุดยุทธศาสตร์ของกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจ รักษ์น้ากับคณะกรรมการรสภานักเรียน ร่วมกับครูที่ อาเซียน หรือ AEC ในด้านการผลิต การค้า การ ปรึกษาของทั้ง 2 กลุ่ม เพื่อจัดตั้งกลุ่ม “ปลวกสร้าง ส่งออกและการขนส่ง ท้ังยังอยู่กึ่งกลางระหว่าง รัง” เพื่อเป็นการวางแผนการดาเนินกิจกรรม “ปลวก ประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม ที่กาลัง รักษน์ ้า” เติบโตอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยจึงเป็นตาแหน่งที่ดี ที่สุดของการลงทุนในอาเซียน เพื่อเชื่อมเอเชียและ 2.2 กิจกรรมการสร้างเครอื ข่าย เช่อื มโลก โครงการพฒั นาระเบียงเศรษฐกจิ พเิ ศษภาค แนวทางการดาเนินงาน การสรา้ งเครอื ข่าย ตะวันออก (ออี ีซี) เปน็ แผนยุทธศาสตรภ์ ายใต้ ไทย 1. ประชุมคณะท างาน เพื่อพิจารณา แลนด์ 4.0 ดว้ ยการพัฒนาเชงิ พื้นทีท่ ต่ี ่อยอด คัดเลือกเครือข่าย จากคุณสมบัติ ความสาเรจ็ มาจากแผนพัฒนาเศรษฐกจิ ภาค ตาแหน่งที่ตั้งของเครือข่าย,ขนาดของ ตะวันออกหรือ Eastern Seaboard ซง่ึ ดาเนนิ มา เครือข่าย และความพรอ้ มของเครอื ข่าย ตลอดกว่า 30 ปีท่ผี า่ นมา โดยในคร้ังนี้สานักงานเพื่อ 2. ติดต่อประสานงาน กับเครอื ข่าย เพ่ือทา การพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ความเข้าใจถึงที่มาและความสาคัญของ โรงการ จุดประสงค์/เป้าหมาย แนว ทางการดาเนินกิจกรรม และบทบาท หนา้ ทขี่ องเครือข่าย รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนึกและความรูใ้ นการผลิตและบรโิ ภคท่ีเป็นมติ รกับ 56 ส่งิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
3. จัดกิจกรรมการลงนามท าบันทึก กิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็น ข้อตกลงความร่วมมือของเครือข่าย อยา่ งมาก นักเรียนและชุมชนเฝ้าระวังแหล่งน้า 3. เครอื ข่ายฯจะต้องมคี วามพร้อม ทง้ั ใน ทง้ั หมด ด้านของทักษะความรู้พื้นฐาน เวลา สถานทีใ่ นการดาเนินกิจกรรมอบรมฯ 4. นักเรียนกลุม่ ปลวกสรา้ งรังและเครือข่าย ตรวจวดั คณุ ภาพนา้ และเข้าร่วมเสวนา นักเรียนและชุมชนเฝ้าระวังแหล่งน้าทัง ทางวชิ าการฯ ได้ ซึ่งหลงั จากพิจารณา หมด เข้าร่วมกิจกรรมอบร ม เชิง คดั เลอื กเครือข่ายนักเรียนและชุมชนเฝา้ ปฏิบัติการ(Workshop) “การตรวจวัด ระวังแหล่งนา้ แล้ว คุณภาพนา้ ในชมุ ชน” กิจกรรมตรวจวัด คุณภาพน้าและกิจกรรมเสวนาทาง บทบาทหนา้ ท่ีของเครอื ขา่ ย วิชาการ เร่อื ง “แนวทางการอนรุ กั ษ์และ 1. เข้ารว่ มกจิ กรรมอบรมworkshop ฟื้นฟูแหล่งน้าในอาเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง “การตรวจวดั คุณภาพนา้ ในชุมชน” เพอื่ ใหเ้ ครือข่าย ฯเข้าใจถึงท่ีมาและความสาคัญของโครงการ หลกั การพจิ ารณาคัดเลอื กเครือขา่ ย ไดแ้ ก่ จดุ ประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ตลอดจนเกดิ 1. ตาแหน่งที่ตั้งของเครือข่ายจะต้องอยู่ องค์ความรู้และทักษะการตรวจวัดคุณภาพน้าอยา่ ง ใกล้กับจุดตรวจน้า เพื่อความสะดวกใน งา่ ย การด าเนินกิจ กร รมล ง พื้ นที ่ตร ว จ วั ด 2. เขา้ ร่วมกจิ กรรมตรวจวัดคุณภาพนา้ เพื่อให้ คุณภาพน ้า และง่ายต่อการด าเนิน เครือข่ายฯ ตรวจวดั คุณภาพน้าในจดุ ตรวจท่ี กิจกรรมเพื่อเป็นการอนุรักษ์และฟื้นฟู รับผดิ ชอบ เปน็ รายเดือน เดือนละ 1 ครั้ง และบันทกึ แหล่งน ้าในอนาคต ตลอดจนเม่ือ ขอ้ มูลคุณภาพน้ในแตล่ ะจุดแล้วจัดทาเป็นฐานขอ้ มลู เครือข่ายมีความใกล้ชิดกับจุดตรวจน้า คุณภาพน้า บริเวณดังกล่าว ก็จะเกิดความตระหนัก 3. เขา้ รว่ มกิจกรรมเสวนาทางวชิ าการ “แนวทางการ ถึงความสาคัญของแหล่งน้าในชุมชน อนรุ ักษ์และฟนื้ ฟูแหลง่ น้าในอาเภอปลวกแดง จงั หวัด และเกิดเปน็ ความยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต ระยอง” 2. ขนาดของเครือข่ายจะต้องเป็นระดับ เพือ่ ให้เครือขา่ ยฯได้ร่วมอภิปรายถึงคณุ ภาพน้าในแต่ องค์กร กลุ่มคน หรือสมาคมต่างๆ ละจดุ แล้วนาขอ้ มลู มาจดั กระทาเปน็ กิจกรรมเพื่อ เพื่อให้เครือข่ายมีความนา่ เชือ่ ถือ มั่นคง อนุรกั ษห์ รือฟ้ืนฟูแหลง่ น้าในจุดตรวจท่รี ับผิดชอบ และยงั่ ยืน สามารถส่งตอ่ องค์ความรู้จาก ตลอดจนการรว่ มอภิปรายถึงอปุ สรรคปญั หาระหวา่ ง รุ่นสู่รุน่ ตลอดจนสามารถขยายเครือข่าย การทากจิ กรรมเพือ่ ปรบั ปรุงแนวทางการดาเนนิ งาน ต่อไปได้ในอนาคต อีกทั้งยังส่งผลดีใน ตอ่ ไปในอนาคต ดา้ นของการทางาน ทจี่ ะสามารถดาเนิน รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจติ สำนึกและความรู้ในการผลติ และบริโภคทีเ่ ปน็ มติ รกับ 57 สิง่ แวดล้อม สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
2.3 กจิ กรรมอบรม (workshop) “การ ระวังแหลง่ นา้ เกดิ ความเข้าใจถงึ ที่มาและความสาคญั ตรวจวดั คุณภาพนา้ ในชุมชน” ของโครงการ จดุ ประสงค์ของโครงการ ตลอดจน สามารถตรวจวัดคุณภาพน้าอย่างง่ายได้ โดยมีแนว เปน็ กจิ กรรมเพ่ือม่งุ เนน้ ใหน้ ักเรยี นกลุม่ ทางการดาเนินกจิ กรรม ดังน้ี ปลวกสร้างรงั และเครือข่ายนักเรียนและชมุ ชนเฝ้า เน่ืองจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) สง่ ผลใหไ้ ม่ สามารถนำกลุ่มนกั เรียนปลวกสรา้ งรงั และเครือข่ายนักเรียนและชมุ ชนเฝ้าระวงั แหล่งน้ำ มาเขา้ รว่ มอบรมได้ พร้อมกัน จงึ ไดป้ ระชุมเพื่อหาแนวทางการแกไ้ ขการดำเนินกจิ กรรม ไดข้ ้อสรปุ วา่ จะมกี ารดำเนนิ การอบรมท่มี ี เน้อื หาเดียวกนั ประกอบด้วย 3 ขน้ั ตอนตามเดมิ แตจ่ ะแบ่งการจัดสถานที่ทอี่ บรมเปน็ 2 ลักษณะ ดงั นี้ 1. การจัดกิจกรรมอบรมนักเรียนกลมุ่ ปลวกสร้างรัง จำนวน 35 คน ณ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม จังหวัดระยอง โดยครทู ่ีปรึกษาเป็นวิทยากรในการบรรยายและประเมนิ ผลตามหวั ข้อต่างๆ 1) นักเรยี นกลุ่มปลวกสร้างรังท่ีเข้ารับการอบรม จำนวน 35 คน 2) รายชอื่ วิทยากรผูใ้ ห้ความรู้ในการอบรม ท่ี ชอื่ -สกุล ตาแหนง่ บทบาทหน้าท่ี 1. นายดนฤทธ์ิ ชานาญชล ครทู ี่ปรกึ ษากลุม่ • บรรยายท่มี าและความสาคัญของโครงการ 2. นางสาวสุกญั ญา นวน บริบูรณ์ ปลวกสร้างรงั • ประเมินผลผู้เขา้ รับการอบรม 3. นายจิรายธุ เมียงมาก • กากับดูแล การอบรม ครูทีป่ รึกษากลมุ่ • อบรมการตรวจวัด คณุ ภาพนา้ อย่างงา่ ย ปลวกสร้างรัง ครูทีป่ รึกษากล่มุ • บรรยายหวั ข้อ ผลกระทบจากการดาเนนิ โครงการ EEC ปลวกสรา้ งรงั รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรใู้ นการผลิตและบรโิ ภคทเี่ ปน็ มิตรกบั 58 สิ่งแวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
2. การจดั กิจกรรมอบรมเครือขา่ ยนกั เรียนและชมุ ชนเฝา้ ระวังแหลง่ น้ำ จำนวน 18 คน แบง่ การอบรม ออกเปน็ 4 ครั้ง ณ สถานท่ขี องเครือข่ายฯ โดยนักเรยี นกลุ่มปลวกสรา้ งรังที่ผ่านการอบรมแลว้ เปน็ วทิ ยากรใน การอบรมร่วมกับครูที่ปรกึ ษา มีรายละเอยี ดดงั น้ี ตารางการดำเนนิ การอบรมนอกสถานที่และรายช่ือผู้เขา้ รับการอบรม ที่ กลุม่ เครอื ขา่ ยนักเรยี นและชุมชนเฝา้ รายช่อื ผเู้ ขา้ รับการอบรม วันท่อี บรม ระวังแหล่งน้า 1. ตวั แทนหมู่บ้านวังแขยง นายพรี ากร ต่อบุญ 10 มนี าคม 2564 นางสาววภิ าภรณ์ พทุ ธศร 2. ตัวแทนหมบู่ า้ นใตส้ ุน นางสาวเบญญาภา คงสมวัย 11 มนี าคม 2564 นางสาวสุรสั สา ปมุ่ ทอง 3. โรงเรยี นชมุ ชนบริษัทน้าตาลตะวันออก ด.ช.พิชาภัชร มาซา 26 กุมภาพนั ธ์ 2564 ด.ญ.ณัฐณชิ า ป้อมหิน ด.ญ.วรี ยา ศรสี วัสด์ิ ด.ญ. วพิ าพร กองปาน ด.ญ ทศั นว์ รรณ ผา่ นภมู ี 4. โรงเรยี นบา้ นปลวกแดง ด.ญ. จิรชั ญากรณ์ พตั ตาสิงห์ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ด.ญ. ดวงกมล ทิมเถ่ือน ด.ญ. อศิรวรรณ ขนุ หม่ืน ด.ญ. กัณปภัทร แสงประกาย ด.ญ.ศศิตา ศิรเิ กตุ 5. โรงเรียนมาบยางพรวทิ ยาคม ด.ช.กติ ตนิ ันท์ จนั ทะคาม 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ด.ญ.พทุ ธวารินทร์ ทองเพชร ด.ช.วรี ภัทร นารี ด.ช. นนั ท์นภสั เสนาฤทธ์ิ หมายเหตุ : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID 19) จึงทาให้ต้องมีการ ปรับเปลยี่ นแผนการอบรมอยหู่ ลายครั้ง สง่ ผลใหก้ ารอบรมของเครือข่าย จะเร่ิมในเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม ซ่ึงไมเ่ ปน็ ไปตามแผนการดาเนินงาน 2) รายชื่อวทิ ยากรผใู้ ห้ความรู้ในการอบรม 59 รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนึกและความร้ใู นการผลติ และบริโภคทีเ่ ปน็ มติ รกับ สิ่งแวดลอ้ ม สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
ท่ี ชอ่ื -สกุล ตาแหน่ง บทบาทหนา้ ที่ 1. นายดนฤทธิ์ ชานาญชล ครทู ี่ปรกึ ษากลุ่มปลวก • บรรยายท่มี าและความสาคัญของโครงการ สรา้ งรัง • ประเมนิ ผลผ้เู ข้ารบั การอบรม 2. นางสาวณารติ า ก้อนทอง • กากบั ดูแล การอบรม 3. นางสาวมนัญญา ปากจั่น สมาชกิ กลมุ่ ปลวกสรา้ งรัง • อบรมการตรวจวดั คณุ ภาพน้าอยา่ งง่าย 4. นางสาวพทั ธนันท์ ชาว สมาชกิ กลมุ่ ปลวกสร้างรงั • จดั ทาข้อมลู สรุปผลการประเมิน สมาชกิ กลมุ่ ปลวกสร้างรงั ข่าว 5. นายครฑุ ไชยศรีรัมย์ สมาชกิ กล่มุ ปลวกสร้างรงั โดยหลงั จากการพจิ ารณาคัดเลอื กเครือข่ายจากคุณสมบตั ดิ ังกลา่ วแลว้ ได้ขอ้ สรปุ ดังนี้ จุด ชือ่ จดุ ชอื่ รายช่อื ตาแหน่ง ตรวจที่ ตรวจ เครอื ขา่ ย 1 ฝายบ้าน ตวั แทน นายสุรพล ตะเพยี รทอง สมาชิกสภา อบต. ปลวกแดง หมู่ 5 วังแขยง หมู่บา้ นวงั คณะกรรมการศนู ยเ์ ฝ้าระวงั และตรวจสอบ แขยง คณุ ภาพแหล่งน้า อาเภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง นายพีรากร ต่อบุญ นกั เรยี นท่อี าศัยอยใู่ นเขตพื้นทบ่ี า้ นวังแขยง นางสาววิภาภรณ์ พทุ ธศร นกั เรยี นที่อาศัยอยู่ในเขตพน้ื ท่ีบา้ นวังแขยง 2 ฝายบา้ น ตัวแทน นายไพบูลย์ แก้วจนิ ดา คณะกรรมการศนู ย์เฝ้าระวงั และตรวจสอบ ใตส้ นุ หมบู่ ้านใต้ คณุ ภาพแหลง่ น้า อาเภอปลวกแดง จงั หวัด สุน ระยอง นางสาวเบญญาภา คงสมวัย นักเรียนท่ีอาศยั อย่ใู นเขตพื้นท่บี า้ นใตส้ นุ นางสาวสุรสั สา ปุ่มทอง นักเรยี นทอ่ี าศัยอยใู่ นเขตพน้ื ที่บ้านใตส้ นุ 3 สะพาน โรงเรยี น นางสนุ ศิ า ญาณวฒั น์ ครู กล่มุ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี บา้ นโรง ชุมชน ด.ช.พชิ าภชั ร มาซา นกั เรียนโรงเรยี นชุมชนบรษิ ทั นา้ ตาลตะวันออก น้าตาล บริษทั ด.ญ.ณัฐณชิ า ป้อมหนิ นักเรยี นโรงเรียนชมุ ชนบริษัทนา้ ตาลตะวนั ออก รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจติ สำนกึ และความรู้ในการผลิตและบริโภคที่เปน็ มิตรกบั 60 สิง่ แวดล้อม สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
จดุ ช่อื จดุ ชอื่ รายชื่อ ตาแหน่ง ตรวจท่ี ตรวจ เครือขา่ ย นักเรียนโรงเรยี นชุมชนบริษทั น้าตาลตะวนั ออก น้าตาล ด.ญ.วรี ยา ศรีสวัสด์ิ ตะวันออก ด.ญ. วพิ าพร กองปาน นกั เรยี นโรงเรียนชุมชนบรษิ ัทนา้ ตาลตะวันออก ด.ญ ทศั น์วรรณ ผา่ นภูมี นักเรยี นโรงเรียนชมุ ชนบรษิ ัทนา้ ตาลตะวันออก 4 สะพาน โรงเรียน นางสาวอรวรรณ พนู ผล ครู กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักเรยี นโรงเรียนบา้ นปลวกแดง ปลวก บา้ นปลวก ด.ญ. จิรชั ญากรณ์ พัตตาสงิ ห์ นักเรียนโรงเรียนบ้านปลวกแดง นักเรยี นโรงเรียนบ้านปลวกแดง แดง แดง ด.ญ. ดวงกมล ทมิ เถื่อน นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านปลวกแดง นักเรียนโรงเรียนบา้ นปลวกแดง ด.ญ. อศิรวรรณ ขุนหม่ืน ครู กลุม่ สาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ครู กลมุ่ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ด.ญ. กณั ปภัทร แสงประกาย นักเรยี นโรงเรยี นมาบยางพรวิทยาคม นักเรยี นโรงเรียนมาบยางพรวิทยาคม ด.ญ.ศศติ า ศิรเิ กตุ นกั เรยี นโรงเรียนมาบยางพรวทิ ยาคม นกั เรยี นโรงเรยี นมาบยางพรวทิ ยาคม 5 สะพาน โรงเรียน นางนติ ยา เหลยี งตระกลู บ้าน มาบยางพร นางสาวเบญจวรรณ คาภู ซอย วิทยาคม ด.ช.กติ ตนิ นั ท์ จันทะคาม สพุ รรณ ด.ญ.พทุ ธวารนิ ทร์ ทองเพชร ด.ช.วรี ภัทร นารี ด.ช. นนั ทน์ ภัส เสนาฤทธิ์ 2.4 กจิ กรรมตรวจวดั คุณภาพน้า มีจุดประสงค์เพื่อตรวจวัดคุณภาพนา้ และจัดทาเป็นฐานขอ้ มูลคุณภาพน้าในแต่ละจุดตรวจที่อยู่ในท้งั 2 คลองไดแ้ กค่ ลองระเวิงและคลองปลวกแดง แบง่ เปน็ 5 จดุ ตรวจได้แก่ จุดตรวจฝายบ้านวังแขยง ฝายบ้านใต้ สนุ สะพานบ้านโรงนา้ ตาล สะพานบ้านปลวกแดง และสะพานบ้านซอยสพุ รรณ ซึ่งในแตล่ ะจุดตรวจ มีลกั ษณะ ทแี่ ตกต่างกนั ดังนี้ ท่ี คลอง ชอื่ จุดตรวจ บรเิ วณโดยรอบ ข้อมูลจากการลงพ้นื ท่ีสงั เกตและการสมั ภาษณ์ บริเวณจดุ ตรวจ 1. คลอง ฝายบ้านใต้ โรงงานอุตสาหกรรม, ระเวิง สุน แหลง่ ชมุ ชน, พ้ืนท่ี • เปน็ ฝายก้ันน้า มีขนาดเล็ก ได้รับนา้ จากอาเภอ หนองใหญ่ จ.ชลบุรี (ทกี่ าลังมีการสรา้ งโรง ทาการเกษตร อุตสาหกรรมเป็นจานวนมาก) รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจติ สำนกึ และความรูใ้ นการผลติ และบริโภคทเ่ี ปน็ มติ รกับ 61 ส่งิ แวดล้อม สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
ท่ี คลอง ชือ่ จดุ ตรวจ บรเิ วณโดยรอบ ข้อมูลจากการลงพน้ื ท่ีสังเกตและการสมั ภาษณ์ บรเิ วณจุดตรวจ • บรเิ วณรอบฝายบางส่วนเปน็ ที่ท้งิ ขยะ • บรเิ วณรอบๆจุดตรวจมีวัชพชื เปน็ จานวนมาก • มกี ารลกั ลอบนารถบรรทุกสินคา้ มาลา้ งทาความ สะอาดเป็นประจา • พืน้ ท่ใี นเขตชมุ ชนโดยรอบ ไม่มีมาตรการในการ รักษาความสะอาด • มีการเพาะปลูกพืชประเภท ปาล์ม ยางพารา และ มันสาปะหลงั ในพื้นท่ี • บางครั้งมีการซ้ือท่ีดนิ ท่ีอยู่ใกลค้ ลองเพ่ือใช้สาหรบั ทิ้งขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม 2. สะพานบา้ น โรงงานอุตสาหกรรม, • อยใู่ กล้กบั แหล่งปล่อยน้าทง้ิ จากนิคมอุตสาหกรรม โรงนา้ ตาล แหลง่ ชมุ ชน • พน้ื ทโ่ี ดยรอบเปน็ โรงงานอตุ สาหกรรม มชี ุมชนอยู่ บ้างเลก็ น้อย • บริเวณจดุ ตรวจมีลกั ษณะเป็นปา่ พื้นคลองเป็นหนิ กรวดเปน็ เปน็ จานวนมาก • บรเิ วณจดุ ตรวจขาดการดูแล ทาให้มขี ยะประเภท ขยะพลาสติกและขวดแก้วเป็นจานวนมาก • ในชว่ งทตี่ รวจเปน็ ชว่ ยฤดูแลง้ น้ามีปรมิ าณน้อย 3. ฝายบ้านวงั แหลง่ ชุมชน, พ้ืนที่ • อยใู่ กล้กับอ่างเกบ็ นา้ หนองปลาไหล โดยไดร้ ับนา้ แขยง ทาการเกษตร มาจากจุดตรวจฝายบ้านใตส้ ดุ และบ้านโรงน้าตาล • บริเวณรอบๆจดุ ตรวจมีวัชพืชเปน็ จานวนมาก • อยใู่ กล้กบั แหลง่ ชมุ ชนท่หี นาแน่นปานกลาง • ฝายมขี นาดปานกลาง มคี วามกวา้ งและความลึก พอสมควร • มีคนในพ้นื ท่จี บั สตั วน์ า้ ทุกวนั • บรเิ วณใกลฝ้ ายมีการนานา้ มาทาเปน็ น้าประปา ของหมู่บ้าน หมู่ 5 (บ้านวงั แขยง) 4. สะพานบ้าน โรงงานอตุ สาหกรรม, • จดุ ตรวจอยูใ่ นตาแหน่งกลางนิคมอุตสาหกรรมที่มี ซอยสพุ รรณ แหล่งชมุ ชน โรงงานหนาแน่น รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความร้ใู นการผลิตและบริโภคท่ีเป็นมิตรกับ 62 ส่ิงแวดลอ้ ม สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง
ที่ คลอง ชอื่ จุดตรวจ บริเวณโดยรอบ ข้อมูลจากการลงพ้นื ท่ีสงั เกตและการสัมภาษณ์ บริเวณจดุ ตรวจ คลอง ปลวก • บรเิ วณโดยรอบมีชุมชนขนาดใหญ่ มีจานวน แดง ประชากรอาศยั อยอู่ ย่างหนาแน่น 5. สะพานบา้ น แหลง่ ชมุ ชน, พืน้ ท่ี • ในช่วงที่ตรวจเปน็ ช่วยฤดูแล้ง นา้ มีปริมาณน้อย ปลวกแดง ทาการเกษตร • บริเวณโดยรอบคลองขาดการดแู ล ทาใหม้ วี ชั พชื และขยะ • ไดร้ ับนา้ มาจากจดุ ตรวจสะพานบ้านซอยสุพรรณ โดยผา่ นแหลง่ โรงงานอตุ สาหกรรม • บริเวณโดยรอบเปน็ แขตชมุ ชนขนาดใหญ่ มี ประชากรหนาแนน่ • บริเวณใกล้เคยี งมกี ารปลูกพืช เช่นสบั ปะรด ยางพารา และมนั สาปะหลัง • บรเิ วณใกล้เคียงมกี ารนาน้าจากคลองไปกกั เกบ็ ใน สระขนาดใหญเ่ พ่ือทานา้ ประปาในเขตเทศบาลหมู่ ที่ 1 (บา้ นปลวกแดง) • บริเวณรอบๆคลองขาดการดูแล มขี ยะและวชั พืช จานวนมาก กจิ กรรมการตรวจนา้ ในแตล่ ะจุดตรวจมแี ผนการดาเนนิ งาน ดังน้ี รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจติ สำนึกและความรู้ในการผลิตและบรโิ ภคทเ่ี ป็นมิตรกบั 63 สง่ิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
ตาแหน่ง วนั /เดอื น/ปี วัน/เดือน/ปี วัน/เดอื น/ปี รายละเอยี ด กลมุ่ กลมุ่ แหลง่ น้าที่ ทต่ี รวจสอบ ท่ตี รวจสอบ ท่ีตรวจสอบ การ นกั เรียน เครอื ข่าย ตรวจวัด คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้งั ที่ 3 ตรวจสอบ ผู้รบั ผดิ ชอบ เฝ้าระวัง (station) (ประจาเดือน (ประจาเดือน (ประจาเดอื น คุณภาพนา้ แหลง่ น้าที่ ม.ค.) ก.พ.) มี.ค.) รบั ผดิ ชอบ คลองปลวกแดง 1. สะพาน 18 ม.ค. 64 22 ก.พ. 64 8 มี.ค. 64 - สี, กล่ิน, กลุ่มนกั เรยี น รร.มาบยาง บา้ น อณุ หภมู ิ, ปลวกสร้าง พร สพุ รรณ pH, DO รงั วิทยาคม 2. สะพาน 19 ม.ค. 64 23 ก.พ. 64 9 มี.ค. 64 - โลหะ กลุ่มนักเรียน รร.บ้าน บ้านปลวก (Pb, Mn, ปลวกสรา้ ง ปลวกแดง แดง Zn) รัง คลองระเวิง 3. ฝายวัง 20 ม.ค. 64 24 ก.พ. 64 10 มี.ค. 64 - สี, กลนิ่ , กล่มุ นักเรยี น ชมุ ชน แขยง อณุ หภมู ิ, ปลวกสรา้ ง หมบู่ า้ นวัง pH, DO รงั แขยง 4. สะพาน 21 ม.ค. 64 25 ก.พ. 64 11 ม.ี ค. 64 - โลหะ (Pb, กล่มุ นักเรยี น ชมุ ชน บา้ นใตส้ นุ Mn, Zn) ปลวกสรา้ ง หมู่บ้านใต้ รงั สนุ 5. สะพาน 22 ม.ค. 64 26 ก.พ. 64 12 มี.ค. 64 กลุม่ นกั เรียน รร.ชมุ ชน บา้ นโรง ปลวกสรา้ ง บริษัท น้าตาล รัง น้าตาล ตะวนั ออก ตะวนั ออก การตรวจวัดคณุ ภาพนา้ ในแต่ละจดุ จะมีแนวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี รายงานผลการวจิ ัยโครงการสร้างจิตสำนึกและความรู้ในการผลติ และบรโิ ภคท่เี ปน็ มิตรกับ 64 ส่งิ แวดล้อม สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
1. การตรวจวดั ณ จดุ ตรวจ การตรวจวัด ณ จดุ ตรวจ จะตรวจโดยกลมุ่ เครอื ข่ายนักเรียนและชุมชยเฝ้าระวังแหลง่ น้าเปน็ หลกั โดยมกี ลมุ่ นักเรียนปลวกสร้างรงั และครูทป่ี รึกษาเปน็ ผู้อานวยความสะดวกในการจดั หาอุปกรณ์ และ ตรวจสอบความถูกตอ้ งระหว่างการดาเนินการตรวจวัด ซง่ึ การตรวจวดั ณ จุดตรวจจะแบ่งเป็นการสังเกต และการตรวจวดั โดยใชเ้ คร่อื งมือแลว้ บนั ทึกผลผา่ น Google form โดยมกี ารละเอยี ด ดังนี้ 1.1 การสงั เกต การ การตรวจวดั ผลการสงั เกต การแปรผล สงั เกตุ *อา้ งองิ จาก สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวดั เพชรบุรี สี สังเกตสขี องน้าจากแหลง่ นา้ โดยตรง ไม่มสี ี ยงั ไมค่ วรสรุปวา่ นา้ สะอาดเพราะ หรือตกั นา้ ข้นึ มาอย่างน้อย 2 ลติ ร อาจมสี ง่ิ เจือปนอยู่ โดยตกั ลึกลงไปประมาณครงึ่ หนึง่ สีเขียว แพลงคต์ อนพชื ของความลกึ นาข้ึนมาใสข่ วดแกว้ ใส แล้วจงึ สงั เกตสี ซึง่ สีของนา้ จะบง่ ชถี้ งึ สเี หลืองหรือสี มีซากพืชยอ่ ยสลาย สาเหตทุ ีท่ าใหเ้ กิดสี หรอื บอกถงึ สง่ิ ท่ี นา้ ตาลหรือสชี าใส ละลายอย่ใู นนา้ ได้ สแี ดงหรือสีเหลอื ง เป็นสขี องสาหรา่ ยอีกจาพวกหน่งึ หรอื สมี ะฮอกกานี (dinoflagellates) สนี า้ ตาลข่นุ หรือสี มตี ะกอนดินเจือปน อาจเกิดจาก แดง การกดั เซาะหนา้ ดนิ หรือชายฝัง่ สรี ุง้ มคี ราบนา้ มนั ทผ่ี ิวหนา้ สเี ทาหรอื สีดา นา้ เนา่ จากสิ่งปฏิกูล หรืออาจมี แร่ธาตจุ ากธรรมชาตเิ จือปน กล่ิน สงั เกตกล่ินของน้าจากแหล่งน้า กล่ินหอม กล่ินผลไม้ กลนิ่ กระเทียม กล่ิน โดยตรง โดยไปยนื ริมน้าแล้วสดู แตงกวา กล่นิ นา้ หอม กล่นิ ยา หายใจดมกลิ่น หรือตักน้าขึ้นมา ตา่ งๆ อยา่ งน้อย 2 ลติ ร ควรตกั ลงไปลึก กลิ่นต้นไม้ กลิ่นสาหรา่ ย กลนิ่ หญา้ กลิ่น ประมาณครง่ึ หน่งึ ของความลึกใส่ ต้นไม้ กล่ินแพลงค์ตอนตา่ งๆ ขวดแกว้ ใสแล้วจึงดมกลิ่นโดยใชม้ ือ กลิ่นดินและเช้ือรา กลิน่ ดิน กลิ่นโคลน กล่ินเชอื้ รา โบกกลนิ่ ให้โชยเขา้ จมกู กลนิ่ ของนา้ ต่างๆ รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจติ สำนึกและความรู้ในการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับ 65 สิง่ แวดล้อม สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
การ การตรวจวดั ผลการสังเกต การแปรผล สงั เกตุ *อา้ งองิ จาก สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวดั เพชรบรุ ี จะบ่งบอกถึงสาเหตุมลพิษของลาน้า กลนิ่ คาว กลิ่นคาวปลา กลิ่นนา้ มันตบั ปลา นนั้ ได้อยา่ งครา่ วๆ กลน่ิ หอยต่างๆ (dinoflagellates) กลิน่ ยา กลิน่ ฟนี อล กลิ่นน้ามันทาร์ กล่ิน นา้ มัน กลิ่นไขมัน กลนิ่ พาราฟิน กลน่ิ คลอรีน กล่นิ ไฮโดรเจนซัล ไซด์กลิน่ คลอโรฟนี อลหรือกล่ิน ผลิตภณั ฑ์ยาตา่ งๆ ดนิ หรอื ชายฝง่ั กลนิ่ เน่า กลิ่นของสดเน่า กลน่ิ ขยะ กลิ่น นา้ ท้ิง กล่นิ คอกหมู กล่นิ มูลสัตว์ ตา่ งๆ ลักษณะ ใชส้ ง่ิ มชี ีวติ ทอ่ี าศยั อยใู่ นแหลง่ น้า แมลงชปี ะขาว ตณุ ภาพนา้ ดีมาก ทาง น้ัน ตวั อ่อนแมลงเกาะ ชวี ภาพ หนิ ตวั ออ่ นแมลง คณุ ภาพนา้ ดี หนอนปลวกน้า ตัวออ่ นแมลงปอ คณุ ภาพนา้ ปานกลาง หนอนแดง คุณภาพนา้ ไม่ดี ไสเ้ ดอื นนา้ จืด 3. เครอื่ งวัดค่าความเปน็ กรด ดา่ ง ใช้การอา่ นค่าจาก ข้อมูลจากกรมประมงระบุวา่ คา่ อุณหภูมิ HANNA รนุ่ HI98127 และ เครื่องมือท้ัง 2 อณุ หภมู ทิ ่ีเหมาะสมตอ่ การดานง ในนา้ เครอื่ งวดั ค่าออกซิเจนในนา้ อยา่ ง แล้วหา ชีวติ ของสตั วน์ ้าควรอยู่ HANNA แบบภาคสนาม DO ค่าเฉล่ีย ในช่วง 23-32 องศาเซลเซยี ส meter Portable รนุ่ HI 9147-04 Portable Dissolved Oxygen 1.2 การตรวจวัดโดยใช้เครื่องมือ รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจติ สำนึกและความรใู้ นการผลิตและบรโิ ภคท่เี ป็นมิตรกับ 66 ส่ิงแวดลอ้ ม สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง
การตรวจวดั เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการ วธิ ีการตรวจวดั การแปรผล 1.คา่ กรด-ด่าง ตรวจ (pH) • เก็บตัวอย่างน้า ที่ จากบทความเร่อื งความเปน็ เครอ่ื งวดั ค่าความเป็นกรด 2.ปริมาณ ด่าง HANNA รุ่น ความลึก กรด-ด่างของนา้ (pH) จากศนู ย์ ออกซเิ จนที่ HI98127 ละลายในน้า พอประมาณและ ห้องปฏิบตั ิการกรมอนามัยระบุ (Dissolved เครอื่ งวัดค่าออกซิเจนใน oxygen , DO) นา้ HANNA แบบ ใหอ้ ยใู่ นบรเิ วณ วา่ กรด-เบส มคี ่าต้ังแต่ 0-14 ภาคสนาม DO meter Portable ร่นุ HI 9147- ส่วนกลางของ ในแหล่งนา้ ทเ่ี หมาะสมควรมคี ่า 04 Portable Dissolved Oxygen Meter คลองจุดตรวจ 6.5-8 ซ่ึงหากมคี ่าตา่ กวา่ 6.5 • ใช้เครื่อง pH จะมีสภาพเป็นกรด หากสูงกว่า8 Meter จุ่มลงไปใน จะมสี ภาพเปน็ ด่าง บีกเกอร์ตัวอยา่ ง น้า ระวงั ไม่ให้โดน บกี เกอร์ • อา่ นค่าตวั เลขจาก หนา้ จอ จนกวา่ ตัวเลขจะนิง่ • บันทกึ ผล • เก็บตัวอยา่ งน้า ท่ี อ้างอิงจากสานักงานส่ิงแวดล้อม ความลึก ภาคท่ี 6 ระบวุ า่ ปริมาณ พอประมาณและ ออกซิเจนละลายน้าในแหล่งน้า ให้อยใู่ นบริเวณ สว่ นกลางของ ซ่ึงเปน็ คา่ ที่มีความจาเป็นตอ่ การ คลองจุดตรวจ หายใจของพชื และสตั ว์น้า • ใชเ้ ครื่อง DO ปรมิ าณออกซเิ จนละลายมีหน่วย meter จ่มุ ลงไปใน เปน็ มลิ ลกิ รมั ต่อลติ ร (mg/L) บกี เกอรต์ วั อยา่ ง แหล่งนา้ ทเ่ี หมาะแกก่ าร น้า ระวังไม่ให้โดน ดารงชวี ติ การขยายพันธุแ์ ละ บีกเกอร์ การอนรุ ักษส์ ัตว์น้า ควรมคี า่ DO • อา่ นคา่ ตัวเลขจาก ไมต่ ่ากวา่ 4 mg/L ตาม มาตรฐานคณุ ภาพน้าในแหลง่ นา้ หน้าจอ จนกว่า ผิวดินของกรมควบคุมมลพิษ ตวั เลขจะน่งิ • บนั ทกึ ผล รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจติ สำนกึ และความรูใ้ นการผลติ และบรโิ ภคท่ีเป็นมติ รกบั 67 ส่งิ แวดล้อม สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
หมายเหตุ : ครูที่ปรกึ ษาจงึ ให้เก็บตัวอยา่ งน้ามาตรวจ 1. การตรวจวดั ทกุ ครั้งจะมีการเตรยี มขวดนา้ ในบริเวณทปี่ ลอดภัย ขนาด 1.5 ลติ ร เพอ่ื เกบ็ ตวั อย่างนา้ กลบั 5. การเกบ็ ตัวอยา่ งน้าในจดุ ตรวจเพือ่ นากลับ โรงเรยี นเพอื่ ตรวจหาค่าโลหะ มาตรวจหาค่าโลหะท่ีโรงเรยี น ยังไมม่ ีการ 2. การลงพื้นที่จุดตรวจทุกคร้ังจะตอ้ งมีครูท่ี เกบ็ รกั ษาอุณหภมู ิของตัวอยา่ งน้าให้คงท่ี ปรึกษา เพ่ือความปลอดภยั ในการ เนอ่ื งจากปัญหาดา้ นงบประมาณและ ตรวจวัด เนอื่ งจากระยะทางจากจดุ ตรวจทกุ จุดไป 3. การลงพ้ืนที่ทกุ ครงั้ จะตอ้ งใสอ่ ุปกรณ์ถุง ถงึ โรงเรยี น มีระยะทางทไ่ี ม่ไกลมากนกั มือยาง และมีการทาความสะอาดอุปกรณ์ ก่อนและหลังใช้งานทุกครั้ง 4. การตรวจวัดคา่ DO ควรตรวจวดั โดยการ จมุ่ DO meter ลงไปในแหล่งน้าได้เลย แตเ่ น่อื งจากความปลอดภัยของนกั เรยี น รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจติ สำนกึ และความรูใ้ นการผลิตและบรโิ ภคที่เป็นมติ รกับ 68 สงิ่ แวดล้อม สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
2. การตรวจหาคา่ โลหะทีห่ อ้ งปฏบิ ตั ิการ เสมอ โดยการตรวจวัดทุกครั้งจะมีการเตรียม การตรวจวัดค่าโลหะ จะทาการตรวจวัด เครื่องมือก่อน เมื่อได้รับตัวอย่างน้ามาจากการลง พ้นื ที่ตรวจแลว้ น้นั จงึ เรม่ิ ดาเนินการตรวจวดั โดยมี ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ โรงเรียนปลวกแดง รายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี พิทยาคม โดยกลุ่มนักเรียนปลวกสร้างรัง โดยมีครู ทป่ี รึกษาคอยกากบั และตรวจสอบความถูกตอ้ งอยู่ การ เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ สารละลาย วธิ กี ารตรวจวดั การแปรผล ตรวจวัด ในการตรวจ ทใ่ี ช้ (หลงั จากกรองนา้ ตวั อยา่ งด้วย (อ้างองิ จาก ตะก่ัว ทดสอบ (Pb) กระดาษกรองแลว้ 2 รอบ) มาตรฐานคุณภาพ สังกะสี นา้ ในแหล่งน้าผิว (Zn) ดนิ จากกรมควบคุม มลพิษ) Spectrophot Pb 1 / •ใชส้ าร Pb-1,Pb-2 หยดลงไปใน < 0.05 mg/L ometer Pb2 ตัวอยา่ งนา้ เขยา่ ใหส้ ารเขา้ กัน (เม่ือวดั จากคา่ การ Pharo 100 •นาสารละลายทไ่ี ด้ใส่ควิ เวท เช็ด ดดู กลืนแสง) Spectroquant รอบนอกคิวเวทให้เเหง้ เเลว้ นาคิว เวทลงเครอ่ื ง (ใชห้ ลกั การ • รอเคร่ืองประมวลผลและจด ทางานโดยการ อา่ นค่าจากการ บนั ทึกผล ดดู กลนื แสง) Multiparamet Zn •ใช้สาร Zn reagent A/B ทีม่ ี < 1.0 mg/L er Laboratory reagent ลักษณะเป็นผงทัง้ 2 สารใส่ลงไป (เมอื่ วัดจากค่าการ Photometer A/B ในตัวอยา่ งน้าเขยา่ ให้สารเข้ากนั ดูดกลนื แสง) รนุ่ HI 83099 •นาสารละลายท่ไี ด้ใสค่ วิ เวท เช็ด (ใช้หลักการ รอบนอกคิวเวทใหเ้ เหง้ เเล้วนาควิ ทางานโดยการ เวทลงเครอื่ ง อ่านค่าจากการ • รอเคร่ืองประมวลผลและจด ดดู กลนื แสง) บนั ทึกผล รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลิตและบรโิ ภคทเ่ี ป็นมิตรกบั 69 ส่งิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
การ เครื่องมือทใี่ ช้ สารละลาย วธิ กี ารตรวจวัด การแปรผล ตรวจวัด ในการตรวจ ท่ใี ช้ (หลังจากกรองน้าตัวอยา่ งด้วย (อา้ งองิ จาก ทดสอบ กระดาษกรองแลว้ 2 รอบ) มาตรฐานคณุ ภาพ นา้ ในแหล่งนา้ ผวิ ดินจากกรมควบคุม มลพษิ ) แมงกานีส Mn HR •ใชส้ าร Zn reagent A ทีเ่ ป็นผง (Mn) reagent เเละ Zn reagent B ที่เปน็ A/B สารละลายใส่ลงไปในตัวอยา่ งนา้ เขย่าใหส้ ารเข้ากัน •นาสารละลายทไ่ี ด้ใส่คิวเวท เช็ด รอบนอกคิวเวทใหเ้ เหง้ เเลว้ นาคิว เวทลงเคร่ือง • รอเคร่ืองประมวลผลและจด บันทึกผล หมายเหตุ : 1. ในการตรวจวัดคา่ โลหะจะทาการตรวจวัด 2 รอบ หากค่าทีต่ รวจได้รอบท่ี 2 ไม่ตรงกบั ค่าท่ีตรวจใน รอบแรกจะทาการตรวจเพ่ิมในรอบท่ี 3 แลว้ นาค่าทีไ่ ด้ท้งั หมดมาเฉล่ยี 2. การตรวจวัดค่าโลหะท้งั หมดถกู วิเคราะห์โดยเคร่ืองมือท่ใี ช้สมบัติการวัดค่าจากการดดู กลืนแสง ดังนน้ั ในการแปรผลอาจมีความคลาดเคลอ่ื นอยูบ่ ้าง เน่ืองจากความขุน่ ของน้าในการตรวจบางครัง้ ไมส่ ามารถ กรองฝุ่นละอองในนา้ ไดห้ มดหรอื การเชด็ คิวเวทไม่สะอาดกอ่ นเข้าเคร่ืองตรวจ รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจติ สำนกึ และความรใู้ นการผลติ และบรโิ ภคที่เป็นมิตรกับ 70 ส่งิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
3. การบันทึกผลผ่าน Google Form ก็ยงั คงพบปัญหาอยู่บ้างจากกลุ่มเครือขา่ ยฯ ในการจัดทา Google form จัดขน้ึ โดย สว่ นมากท่ไี ม่มเี ครื่องมอื สาหรับเขา้ ใช้งาน 4. การจดั เกบ็ เป็นฐานข้อมลู และเผยแพร่ข้อมลู นักเรียนกลุ่มปลวกสร้างรงั เพื่อสะดวกต่อการ ผ่าน Google site บนั ทกึ ผลการตรวจ ณ จดุ ตรวจ และจดุ ตรวจ ณ หอ้ งปฏิบตั ิการ โดยข้อมูลทีบ่ ันทกึ ผลจะถูกจัดเก็บ เป็นการนาขอ้ มูลจากการตรวจวัดคุณภาพ เปน็ ฐานข้อมลู ใน Google site แบบอัตโนมตั ิ ซงึ่ มี น้าในแต่ละจุดมาจัดทาเป็นฐานข้อมูลและ รายละเอยี ดดังน้ี สารสนเทศในระบบออนไลน์ เพื่อให้นักเรียน หรือ ชุมชนในพื้นที่สามารถเข้าชมข้อมูลได้อย่างง่าย หมายเหตุ : ในการใช้งาน มีการปรบั เปลย่ี นขอ้ มลู โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี อยบู่ ่อยครงั้ เพ่ือประสทิ ธิภาพในการบันทึกผล แต่ รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลิตและบริโภคท่เี ป็นมติ รกบั 71 สิ่งแวดล้อม สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
2.5 กิจกรรมเสวนาทางวิชาการ เรอ่ื ง 2. กจิ กรรมบรรยายผลสรุปคุณภาพนา้ ใน “แนวทางอนรุ กั ษแ์ ละฟ้นื ฟูแหลง่ น้า ในอาเภอ แตล่ ะจดุ ตรวจ โดยครสู ุกญั ญา นวนบรบิ รู ณ์ ที่ ปลวกแดงจังหวัดระยอง” ปรึกษากลุ่มปลวกสร้างรัง เป็นการบรรยายถงึ ผล การตรวจวัดคณุ ภาพน้าในแต่ละจดุ ตรวจ สรปุ ผล เปน็ กิจกรรมท่มี จี ดุ ประสงคเ์ พื่อให้ การวิเคราะห์แหลง่ น้าเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานนา้ นักเรียนกล่มุ ปลวกสรา้ งรงั และกล่มุ เครอื ขา่ ยฯ ได้ ผวิ ดินจากกรมควบคุมผลพิษ นาข้อมลู จากการตรวจวดั คุณภาพแหล่งน้าทุกจุด ตรวจ มาวเิ คราะห์และจัดกระทาเปน็ กิจกรรมเพ่ือ 3. กจิ กรรมบรรยายสถานการณ์นา้ ในอดีต อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้าทีร่ ับผดิ ชอบ ตลอดจน และปัจจุบัน ในอาเภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง การอภิปรายพูดคยุ ถงึ อปุ สรรคในการทางาน เพื่อ โดยวทิ ยากรพิเศษ จ่าสบิ เอกสุรสิทธ์ิ ไชยลาภ วางแผนในการทางานในอนาคต เพื่อความยั่งยนื ประธานศูนยเ์ ฝา้ ระวงั และตรวจสอบคณุ ภาพนา้ ของโครงการ โดยกิจกรรมเสวนาทางวชิ าการฯ อาเภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง เปน็ การเล่าถึง จดั ขน้ึ ในวันท่ี17 มนี าคม 2564 ณ ห้องมัลติมีเดยี ความเปน็ มาของสภาพน้าในอดตี จนถึงปจั จุบัน โรงเรยี นปลวกแดงพิทยาคม มีรายละเอียดดังน้ี ตลอดจนสถานการณ์คุณภาพน้าในปัจจุบนั และ แนวโน้มในอนาคต อีกทง้ั แนวทางการอนรุ กั ษแ์ ละ 1. กิจกรรมลงนามบันทกึ ข้อตกลงรว่ มกัน ฟนื้ ฟแู หล่งน้าที่เหมาะสม ระหวา่ งโรงเรยี นปลวกแดงพิทยาคม โรงเรียนมาบ ยางพรวทิ ยาคม โรงเรียนบ้านปลวกแดง โรงเรยี น 4. กจิ กรรมการพูดคยุ อภิปรายเกี่ยวกับ ชุมชนบริษัทโรงน้าตาลตะวนั ออก ตัวแทนหม่บู า้ น ปญั หาและอุปสรรคในแต่ละจุดตรวจ ตลอดจนหา วังแขยง และตัวแทนหมู่บ้านใตส้ นุ เพอื่ เป็น แนวทางการแก้ไข เพื่อปรับปรุงการดาเนนิ เครอื ข่ายในการเฝา้ ระวังแหล่งนา้ ในชุมชนปลวก โครงการในอนาคต โดยได้ขอ้ สรุปดังน้ี แดง โดยมรี ายละเอยี ดการลงนามบนั ทกึ ข้อตกลง ร่วมกันดังนี้ 5. กิจกรรมการนาข้อมูลจากการตรวจวดั คณุ ภาพแหล่งน้าทกุ จุดตรวจ มาวเิ คราะห์และจดั 1.1. เพอื่ สนับสนนุ สง่ เสริมการ กระทาเป็นกจิ กรรมเพ่ืออนุรกั ษ์และฟ้นื ฟูแหลง่ นา้ สร้างเครือข่ายเฝา้ ระวงั แหล่งนา้ ในชมุ ชน ในอาเภอ ทรี่ บั ผิดชอบ โดยการแบง่ ผเู้ ข้ารว่ มงานเปน็ กลุม่ ปลวกแดง จงั หวัดระยอง อยา่ งเขม้ แข็งและยง่ั ยืน ตามจดุ ตรวจ แลว้ นาเสนอกจิ กรรมท่ีจะจัดทาใน อนาคตของโครงการ “ปลวกรักษ์นา้ 2” 1.2. ความร่วมมือในการจัด กิจกรรมเพอื่ อนรุ กั ษ์และฟ้นื ฟูแหล่งนา้ ใน ชุมชนอาเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง รายงานผลการวจิ ัยโครงการสร้างจติ สำนึกและความรใู้ นการผลติ และบริโภคทเี่ ป็นมิตรกบั 72 สง่ิ แวดล้อม สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวจิ ัย การวิจัยเร่อื ง ผลการจดั การและพฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมในท้องถน่ิ เพื่อรองรับ และตอบสนองต่อการขยายตัวในเขตพืน้ ท่ีพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก อย่างมีสว่ นรว่ ม ภายใตโ้ ครงการปลวก รกั ษ์น้า มีวิธใี นการดาเนนิ การวจิ ยั ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการวจิ ัยครัง้ น้ี นกั เรียนและชมุ ชนบรเิ วณคลองระเวิง และคลองปลวกแดง กลุ่มตัวอย่าง เป็นการเลือกตัวอย่าง โดยการเลือกแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) โดยได้ กล่มุ ตวั อย่างเปน็ กลุ่มเครือข่ายนักเรยี นและชมุ เฝ้าระวังแหล่งน้า จานวน 5 จุดตรวจ และนักเรียนแกนนา รวม 59 คน ตารางที่ 1 แสดงกลุ่มตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการวจิ ัย จุดตรวจ คลอง ชอ่ื จุดตรวจ ช่ือเครอื ข่าย กลุ่มตัวอยา่ ง ท่ี (คน) 1 ฝายบ้านวังแขยง ตวั แทนหมู่บ้านวงั แขยง 3 2 คลองระเวิง ฝายบ้านใตส้ ุน ตวั แทนหมู่บา้ นใตส้ ุน 3 3 สะพานบ้านโรงนา้ ตาล โรงเรยี นชุมชนบรษิ ทั นา้ ตาล 6 ตะวนั ออก 4 คลองปลวก สะพานบา้ นปลวกแดง โรงเรียนบา้ นปลวกแดง 6 5 แดง สะพานบ้านซอย โรงเรียนมาบยางพรวทิ ยาคม 6 สุพรรณ 2. เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั 2.1 แผนการดาเนนิ กิจกรรมโครงการ “ปลวกรักษน์ า้ ” ผู้วิจยั มีข้นั ตอนในการสร้างแผนการดาเนนิ กิจกรรมโครงการ “ปลวกรักษน์ า้ ” โดยการประชุมวาง แผนการดาเนินงาน ซึ่งเป็นการประชุมระหว่างกลุ่มนักเรียนยุวชนรักษ์น้ากับคณะกรรมการรสภานักเรียน ร่วมกับครูที่ปรึกษาของทั้ง 2 กลุ่ม เพื่อจัดตั้งกลุ่ม “ปลวกสร้างรัง” เพื่อเป็นการวางแผนการดาเนินกิจกรรม “ปลวกรักษน์ า้ ” โดยมรี ายละเอยี ดในการประชุม ดังน้ี 1. ครทู ปี่ รกึ ษาโครงการอธบิ ายถึงท่ีมาและความสาคัญของโครงการ สภาพปัญหา สถานการณ์มลพิษทางน้าในปัจจุบัน ผลกระทบจากนโยบาย ESB และ EEC ความสาคญั ของอ่างเกบ็ น้าหนองปลาไหล รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจติ สำนกึ และความรู้ในการผลติ และบรโิ ภคท่ีเป็นมิตรกับ 73 สิง่ แวดล้อม สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
2. กลุ่มนกั เรียนปลวกสร้างรังร่วมกนั อภปิ รายถงึ แนวทางการแกไ้ ขปญั หา เพือ่ กาหนด กลุ่มเปา้ หมาย จุดประสงคแ์ ละเปา้ หมายของโครงการให้ชัดเจน โดยไดข้ ้อสรปุ ดงั น้ี 2.1 กลมุ่ เป้าหมายของโครงการ ได้แก่ กลมุ่ เครอื ขา่ ยนักเรียนและชมุ ชนเฝ้าระวังแหล่งนา้ 2.2 จุดประสงคข์ องโครงการ 2.3 เป้าหมายของโครงการ 3. เมื่อได้จุดประสงค์และเป้าหมายของโครงการที่ชัดเจนแล้ว กลุ่มนักเรียนปลวก สร้างรัง ได้ร่วมกันเสนอความคิดเห็นถึงรูปแบบของกิจกรรม เพื่อให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์และเป้าหมายของโครงการ โดยได้ข้อสรุปถึงรูปแบบกิจกรรม ภายในกรอบ ระยะเวลา 3 เดอื น ดงั นี้ 3.1 กจิ กรรมจดั ต้ังกลมุ่ เครอื ข่ายนกั เรยี นและชมุ ชนเฝ้าระวังแหล่งน้า เพ่ือใหเ้ กดิ กลุ่มเครือข่ายเฝา้ ระวงั แหล่งน้าทัง้ 2 คลอง ได้แก่คลองปลวกแดงและคลอง ระเวงิ โดยแบ่งจดุ เฝา้ ระวงั แหล่งน้าไดเ้ ปน็ 5 จุดใน 2 คลอง คอื ฝายบา้ นวังแขยง, ฝายบ้านใต้สุน, สะพานบา้ น โรงนา้ ตาล, สะพานบ้านปลวกแดง และสะพานบ้านซอยสุพรรณ โดยมีหน้าทใ่ี นการตรวจวัดคุณภาพแหลง่ น้า ในจุดตรวจทรี่ บั ผดิ ชอบ รายงานผลการตรวจวัดคณุ ภาพนา้ และเข้าร่วมกิจกรรมเสวนาทางวชิ าการฯ เพื่อหา แนวทางในการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูแหล่งนา้ ในจดุ ที่รบั ผดิ ชอบ 3.2 กิจกรรมอบรมเชงิ ปฏิบัติการ (workshop) “การตรวจวดั คุณภาพแหล่งน้าในชุมชน” เพ่ือให้กลมุ่ นักเรยี นปลวกสรา้ งรังและเครือข่ายนักเรียนและชมุ ชนเฝ้าระวังแหล่งน้าในแต่ ละจดุ เกิดความเข้าใจถงึ ที่มาและความสาคัญของโครงการ จุดประสงค์และเปา้ หมายของโครงการร่วมกัน และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และทักษะการตรวจวัดคุณภาพน้าอย่างง่ายได้ ก่อนลงพื้นท่ี ตรวจวัดคณุ ภาพนา้ จรงิ 3.4 กจิ กรรมตรวจวัดคณุ ภาพแหล่งน้า เพอ่ื ให้กลุ่มนักเรยี นปลวกสร้างรังและเครือข่ายนักเรยี นและชมุ ชนเฝ้าระวงั แหล่งน้าได้ลง พื้นที่ตรวจวัดคุณภาพน้าในจุดตรวจที่รับผิดชอบ แล้วรายงานผลการตรวจวัดคุณภาพน้าผ่านระบบออนไลน์ เพ่ือจัดทาเปน็ ฐานข้อมลู คณุ ภาพน้าในแตล่ ะจดุ ตรวจต่อไป โดยจะมีการลงพ้นื ทตี่ รวจวดั คณุ ภาพนา้ เดือนละ 1 ครง้ั รวม 3 เดือน จะมกี ารตรวจวดั ท้งั สิ้น 3 คร้ัง 3.5 กิจกรรมเสวนาทางวิชาการ เรื่อง “แนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้าในอาเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง” เพ่อื ให้กลุ่มนักเรยี นปลวกสร้างรังและกลุ่มเครือข่ายนักเรียนและชุมชนเฝ้าระวังแหล่งน้า ไดร้ ่วมอภปิ รายถึงอุปสรรค ปญั หา ท่เี กดิ ขนึ้ ระหวา่ งการทากิจกรรม เพื่อร่วมกนั วางแผนในการแกไ้ ขปัญหาการ รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลิตและบริโภคทเ่ี ป็นมติ รกับ 74 สิง่ แวดลอ้ ม สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
ทางานในครั้งต่อไป ตลอดจนเพื่อให้นักเรียนกลุ่มปลวกสร้างรังและเครือข่ายเฝ้าระวังแหล่งน้าในแต่ละจุด ไดร้ ับทราบถึงคณุ ภาพแหล่งน้าในจุดทรี่ ับผิดชอบและจดุ อ่ืนๆ เพ่ือดาเนินการวางแผนการทากจิ กรรมเพ่ือแก้ไข การอนุรักษแ์ ละฟ้ืนฟคู ุณภาพแหล่งนา้ ในจดุ ที่ตนเองรับผิดชอบต่อไป 4. นักเรยี นกลุ่มปลวกสรา้ งรังและครูที่ปรึกษา ร่วมกันคดั เลือกจุดตรวจนา้ จากท้ัง 2 คลองได้แก่ คลองปลวกแดงและคลองระเวงิ ท่ีไหลลงอา่ งเก็บน้าหนองปลาไหล โดยมีหลักการพิจารณา คือ พิจารณาจากจุดตรวจเดิมของศูนย์เฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพนา้ อาเภอปลวกแดงที่ร่วมมือกบั กลุ่มยวุ ชน รักษ์นา้ ตาแหนง่ ที่ต้ังของจุดตรวจโดยจะตอ้ งอยู่ในแหล่งชุมชนหรือโรงงานอตุ สาหกรรม และความปลอดภยั ของจดุ ตรวจ ซ่ึงหลังจากพิจารณาคดั เลอื กจุดตรวจน้าแล้ว ไดต้ าแหน่งของจุดตรวจ ดงั ตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 แสดงจุดตรวจน้า จุดตรวจที่ คลอง ช่ือจุดตรวจ 1 คลองระเวิง ฝายบ้านวงั แขยง 2 ฝายบา้ นใต้สุน 3 สะพานบ้านโรงนา้ ตาล 4 คลองปลวกแดง สะพานบ้านปลวกแดง 5 สะพานบ้านซอยสุพรรณ 5. นักเรียนกลุ่มปลวกสร้างรังและครูที่ปรึกษา ร่วมกันคัดเลือกเครือข่ายนักเรียน และชุมชนเฝ้าระวังแหล่งน้าจากจุดตรวจทั้ง 5 จุด โดยพิจารณาจากตาแหน่งที่ตั้งของเครือข่ายจะต้องอยู่ใกล้ กับจุดตรวจนา้ ขนาดของเครอื ขา่ ยจะตอ้ งเป็นองค์กรท่ีมคี วามนา่ เช่ือถือ และเครือข่ายฯจะต้องมีความพร้อมใน การดาเนินกิจกรรมอบรมฯ ตรวจวัดคุณภาพน้า และเข้าร่วมเสวนาทางวิชาการฯ ได้ ซึ่งหลังจากพิจารณา คัดเลอื กเครอื ข่ายนักเรยี นและชมุ ชนเฝ้าระวงั แหลง่ น้าแล้ว ไดข้ ้อสรปุ ดังตารางท่ี 3 ตารางที่ 3 แสดงจุดตรวจนา้ และเครอื ข่ายเผ้าระวังแหลง่ น้า จดุ ตรวจท่ี คลอง ชอ่ื จดุ ตรวจ ชือ่ เครอื ขา่ ย 1 คลองระเวิง ฝายบา้ นวงั แขยง ตัวแทนหมู่บา้ นวงั แขยง 2 ฝายบา้ นใตส้ นุ ตวั แทนหมูบ่ า้ นใตส้ ุน 3 สะพานบ้านโรงน้าตาล โรงเรยี นชมุ ชนบริษัทนา้ ตาลตะวนั ออก 4 คลองปลวกแดง สะพานบ้านปลวกแดง โรงเรียนบา้ นปลวกแดง 5 สะพานบ้านซอยสพุ รรณ โรงเรียนมาบยางพรวิทยาคม รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจติ สำนึกและความรู้ในการผลิตและบรโิ ภคท่ีเป็นมิตรกบั 75 ส่ิงแวดลอ้ ม สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
6. นกั เรียนกลุ่มปลวกสร้างรังและครูท่ีปรึกษา ร่วมกัน 6.2 ลกั ษณะของประชากรและชมุ ชนใน กาหนดสิ่งที่ต้องการตรวจวัดคุณภาพน้าในแต่ละจุด อาเภอปลวกแดง มกี ารขยายตัวอย่างรวดเรว็ ทาให้ โดยมหี ลกั การพจิ ารณา ดงั นี้ กลายเป็นชมุ ชนขนาดใหญ่ท่มี ีจานวนประชากรเปน็ 6.1 สานกั งานเกษตรอาเภอปลวกแดง จงั หวดั จานวนมาก จากการศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเติมเรื่องมลพิษ ระยอง ได้ใหข้ ้อมลู การใช้พ้นื ทีป่ ลูกพืชเศรษฐกิจของ ทางนา้ (water pollution) จากรายวชิ าชวี วทิ ยาของ อาเภอปลวกแดง จังหวดั ระยอง ปี 2562/2563 จาก มลพษิ คณะศิลปะศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ สาขา ข้อมลู สรุปได้วา่ พ้นื ท่ีทาการเกษตรทั้งหมด ชวี วิทยามหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 119,382.50 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 34.74 ของพ้ืนที่ ระบุวา่ น้าเสยี จากชมุ ชน (Domestic ท้งั หมด ซ่ึงจากการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเตมิ จากศูนยว์ ิจัย wastewater) เป็นน้าจากการใช้ในชวี ติ ประจาวนั ของ ระบบทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ครวั เรือน น้าเสียน้ีมักเกดิ การเนา่ เสยี จนสง่ กล่ินเหมน็ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ระบวุ า่ ในระบบการเกษตรที่ใช้ ทาให้ออกซิเจนในนา้ ลดลง มเี ชอ้ื โรคปะปนมาในน้าน้ี ปยุ๋ และสารเคมีกาจัดวชั พืช โรคและแมลงจานวนมาก 6.3 เนอ่ื งจากในปจั จุบันอาเภอปลวกแดง เป็น และต่อเน่ืองเปน็ เวลานาน โดยวธิ ที ไี่ ม่เหมาะสม เมื่อ แหล่งที่ต้ังของโรงงานอุตสาหกรรมจานวนมาก โดย ฝนตกลงมาจะเกดิ การชะล้าง และไหลพาสารเคมี ขอ้ มูลจากกรมโรงงานอตุ สาหกรรมในสงั กัดกระทรวง ต่างๆ ลงไปยงั แหล่งน้า จะทาให้เกิดการปนเปือ้ นของ อุตสาหกรรมระบุว่า ในพนื้ ทีอ่ าเภอปลวกแดงมีจานวน น้า และเกดิ การสะสมสารประกอบต่างๆ เชน่ ไนเตรต โรงงานท้ังสน้ิ 1,254 โรงงาน (ข้อมูล ณ วันท่ี 8 สารฟอสเฟตทาใหร้ ะดบั ความเปน็ กรด-เบส เมษายน 2564) แบ่งเป็น โรงงานทอ่ี ยู่ในนคิ ม เปลยี่ นแปลงไป และสารเคมีทใ่ี ชก้ าจดั วชั พชื โรคและ อุตสาหกรรม 941 โรงงานและโรงงานจาพวกทอี่ ยู่ แมลง ทาให้แหล่งนา้ เปน็ พิษซ่ึงจะเป็นอนั ตรายตอ่ นอกนิคมฯ 358 โรงงาน เมือ่ แบ่งจานวนตามประเภท มนุษย์สตั วน์ ้า สัตวเ์ ล้ยี ง พชื นา้ ของโรงงานรายหมวดอตุ สาหกรรมท่ีสำคัญ ดังตารางท่ี ตารางท่ี 4 แสดงจานวนโรงงานตามประเภทโรงงานรายหมวดอตุ สาหกรรมทีส่ าคญั ลาดบั ที่ กลุม่ อตุ สาหกรรม จานวน 1 ผลิตภณั ฑ์จากพชื 5 โรงงาน 2 อตุ สาหกรรมอาหาร 41 โรงงาน 3 อตุ สาหกรรมเครื่องดื่ม 2 โรงงาน 4 สิง่ ทอ 10 โรงงาน 5 ผลติ หนังสัตว์และผลติ ภัณฑจ์ ากหนงั สตั ว์ 2 โรงงาน 6 แปรรูปไมแ้ ละผลติ ภณั ฑ์จากไม้ 13 โรงงาน 7 เครอื่ งเรือนหรอื เครอ่ื งตบแตง่ ในอาคารจากไม้ แกว้ ยาง หรอื โลหะอน่ื ๆ 3 โรงงาน 8 ผลิตกระดาษและผลติ ภณั ฑก์ ระดาษ 20 โรงงาน 9 การพิมพ์ การเยบ็ เล่ม ทาปกหรอื การทาแมพ่ มิ พ์ 21 โรงงาน รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลิตและบรโิ ภคทเ่ี ปน็ มติ รกับ 76 สง่ิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
ลาดับที่ กลมุ่ อุตสาหกรรม จานวน 53 โรงงาน 10 เคมภี ณั ฑ์และผลติ ภัณฑเ์ คมี 2 โรงงาน 38 โรงงาน 11 ผลติ ภณั ฑจ์ ากปโิ ตรเลียม 134 โรงงาน 37 โรงงาน 12 ยางและผลติ ภัณฑ์ยาง 23 โรงงาน 173 โรงงาน 13 ผลติ ภัณฑ์พลาสตกิ 116 โรงงาน 77 โรงงาน 14 ผลิตภณั ฑ์อโลหะ 292 โรงงาน 192 โรงงาน 15 ผลติ โลหะขั้นมลู ฐาน 1,254 โรงงาน 16 ผลิตภัณฑโ์ ลหะ 17 ผลิตเครอ่ื งจักรและเคร่อื งกล 18 ผลิตเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าและอปุ กรณ์ 19 ผลติ ยานพาหนะและอปุ กรณร์ วมทัง้ การซอ่ มยานพาหนะและอปุ กรณ์ 20 การผลิตอน่ื ๆ รวม ซง่ึ จากสถติ ิพบวา่ กว่า 681 โรงงาน หรอื เคลือบ สงั กะสี (Zn) เพื่อปอ้ งกันสนมิ เช่นเดียวกับ มากกว่าร้อยละ 50 ของโรงงานท้ังหมด เป็น อุตสาหกรรม ตะก่วั (Pb) ทีเ่ ป็นวตั ถดุ ิบหลักในการ โรงงานอุตสาหกรรมท่เี กี่ยวข้องกบั อปุ กรณ์ ผลิตแบตเตอรีร่ ถยนต์ ตลอดจนอุตสาหกรรม เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ช้นิ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ช้นิ สว่ น ประเภทอิเล็กทรอนิกส์เคร่ืองใช้ไฟฟา้ จาก รถยนต์หรือโลหะ โดยขอ้ มลู จากงานวจิ ัยเร่อื ง การศกึ ษาบทความวจิ ัย จากสถาบนั วิจัยสภาวะ การประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมกรณศี กึ ษา : แวดลอ้ ม จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ระบวุ ่า อุตสาหกรรมเหล็ก และอตุ สาหกรรมตะกั่ว จาก ช้นิ ส่วนผลติ ภัณฑเ์ ครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ และ กรมอตุ สาหกรรมพ้นื ฐานและเหมอื งแร่ ระบวุ ่า อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์สว่ นใหญม่ ีองค์ประกอบของโลหะ มลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรมเหลก็ นอกจาก หนักและสารอนั ตรายหลายชนดิ อาทิ ตะกว่ั ในจอ จะมาจากกระบวนการผลิตแล้ว วตั ถดุ ิบทีเ่ ปน็ เศษ แก้วโทรทศั น์ ปรอทในหลอดฟลูออเรสเซนต์ แม้วา่ เหล็ก เหล็กถลุง และเหล็กพรุนก็เปน็ สว่ นสาคญั จะมีเทคโนโลยกี ารบาบัดมากมายมารองรับนา้ เสยี นอกจากนีใ้ นขนั้ ตอนการปรบั ปรุงคณุ ภาพเหล็กให้ จากโรงงานอตุ สาหกรรม แต่การป้องกันการรว่ั ไหล ได้มาตรฐาน จะเติมเฟอโรแมงกานีส และเฟอโร ของโลหะหนักจากโรงงานนั้นเป็นส่งิ ที่ทาได้ยาก โครเมียม ซง่ึ มีโลหะหนักปะปนอยู่ เช่น แมงกานีส เพราะการกาจัดของเสยี ของโรงงานอตุ สาหกรรม (Mn) โครเมยี ม ตะก่ัว และสารหนู อีกทัง้ ยังมกี าร ไม่สามารถควบคุมได้ ดงั นน้ั หากไม่มีการจดั การท่ดี ี อาจมีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมได้ รายงานผลการวจิ ัยโครงการสร้างจติ สำนึกและความร้ใู นการผลิตและบรโิ ภคทเ่ี ปน็ มิตรกับ 77 สง่ิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
6.4 จากรายงานผลการวิเคราะห์คุณภาพ ออกซิเจนละลายน ้า (DO) , ของแข็งทั้งหมด แหล่งนา้ ในจังหวัดระยอง คร้ังที่ 2 เดือนกุมภาพนั ธ์ (Total Solid, TS) , แบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์ม 2562 ของส านักงานทรัพยากรธรรมชาติและ (Fecal Coliform Bacteria, FCB) , ไนเตรท (NO สิ่งแวดล้อมจังหวัดระยอง แจ้งว่าในบริเวณบ้านวงั 3 -) , ฟอสเฟต (PO 4 3-) , ความขุ่น (Turbidity), แขยง บ้านหมอมุ่ย อ่างเก็บน้าดอกกรายและอ่าง อุณหภูมิ (Temperature) , และความสกปรกใน เก็บน้าหนองปลาไหล พบว่ามีค่าดัชนีคุณภาพน้า รูปสารอินทรีย์ (Biological Oxygen Demand, (Water Quality Index : WQI) ท่ีมกี ารวัดคุณภาพ BOD) เข้าด้วยกันเป็นคะแนนรวมอย่างเดียว เฉล่ีย น ้า 9 ดัชนี ได้แก่ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) , แลว้ พน้ื ท่ีทัง้ หมดอยู่ในระดับพอใช้ถงึ เสื่อมโทรม 6.5 อปุ กรณ์และเครือ่ งมอื ตรวจวัด 5) สารละลายเพื่อใชท้ ดสอบ Pb 1 / Pb2 คุณภาพนา้ จากโครงการยวุ ชนรักษ์นา้ ท่ีสามารถ , Zn reagent A/B และ Mn HR reagent A/B ใชก้ ารได้ ไดแ้ ก่ ดงั น้นั หลงั การพิจารณาการกาหนดสิง่ ที่ 1) เครื่อง Spectrophotometer Pharo ต้องการตรวจวดั คุณภาพนา้ ในแต่ละจุด ได้ข้อสรุป 100 Spectroquant ซึ่งเป็นเคร่ืองวดั ค่าการ วา่ กลมุ่ นกั เรยี นปลวกสรา้ งรงั และเครือข่าย ดดู กลนื เเสงของสารละลาย นักเรยี นและชมุ ชน จะมกี ารตรวจวดั คุณภาพนา้ ไดแ้ ก่ ลกั ษณะทางกายภาพ (สี กลนิ่ และลกั ษณะ 2) เครื่อง Multiparameter Laboratory โดยรอบจุดตรวจ) คา่ ความเป็นกรดเบส(pH) ค่า Photometer รนุ่ HI 83099 ออกซิเจนละลายในนา้ (DO) อุณหภูมิ และค่าโลหะ หนกั (ตะก่วั สังกะสี และแมงกานีส) 3) เครอื่ ง pH Meter เครื่องวัดค่าความ เปน็ กรด ดา่ งรนุ่ HI98127 7. รายละเอยี ดการดาเนนิ กจิ กรรม ทง้ั รูปแบบของกิจกรรมวัสดุอุปกรณ์ทตี่ อ้ งจดั เตรยี ม 4) เครอ่ื งวัดคา่ ออกซเิ จนในน้า กาหนดวนั เวลา สถานทใ่ี นการดาเนินกิจกรรม ผู้ท่ี HANNA แบบภาคสนาม DO meter Portable เก่ยี วข้องและผู้ที่รบั ผดิ ชอบกิจกรรมดังตารางที่ 5 รุ่น HI 9147-04 Portable Dissolved Oxygen Meter ตารางท่ี 5 แสดงแผนการดาเนนิ กจิ กรรม รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจติ สำนึกและความร้ใู นการผลติ และบรโิ ภคทีเ่ ป็นมติ รกับ 78 ส่ิงแวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
วสั ด/ุ ลา กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ รายละเอยี ดกิจกรรม อปุ กรณ์/ ผู้ท่ี ชว่ งเวลา ดับ รายการท่ี เก่ยี วข้อง การ ต้อง - กลมุ่ ดาเนนิ งาน นักเรียน จดั เตรียม ปลวกสร้าง 21 ธ.ค. 63 รังและครูที่ 1. ประชุม เพอ่ื วาง - ทาความเข้าใจ - วาระการ ปรึกษา - ผบู้ ริหาร วางแผน แผนการ หลักการและเหตุผล ประชุม โรงเรยี น ปลวกแดง การ ดาเนนิ งาน ของโครงการ พทิ ยาคม ดาเนนิ งาน โครงการ - ระบตุ าแหน่งแหลง่ “ปลวกรักษ์ นา้ ทีส่ าคัญในอาเภอ นา้ ” ปลวกแดง ไดแ้ ก่ สะพานบา้ นสุพรรณ สะพานบ้านใตส้ นุ สะพานบ้านโรงนา้ ตาล ตะวันออก สะพานบา้ น ปลวกแดง และฝายวงั แขยง - กาหนดลักษณะของ การตรวจวดั คุณภาพ น้า - เสนอ/คดั เลือก เครือข่ายชุมชนเฝา้ ระวังแหล่งน้าท่ี เหมาะสมกับโครงการ เพือ่ จดั ทา MOU - วางแผนการ ดาเนินงานโครงการ ร่วมกนั - จดั เตรยี มวสั ดุ/ อุปกรณ์ ทเ่ี กย่ี วข้อง รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนึกและความร้ใู นการผลติ และบรโิ ภคทเ่ี ป็นมติ รกบั 79 สิง่ แวดลอ้ ม สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
วัสด/ุ ลา กจิ กรรม วัตถุประสงค์ รายละเอยี ดกิจกรรม อุปกรณ์/ ผูท้ ี่ ชว่ งเวลา ดับ รายการท่ี เกย่ี วข้อง การ ตอ้ ง ดาเนินงาน จัดเตรยี ม 2. จัดตง้ั กลมุ่ เพือ่ จดั ตั้ง - ประสานงานและทา - เอกสาร - กลุ่ม 22-30 ธ.ค. นกั เรียน 63 เครือข่าย เครือข่าย ความเข้าใจกับ MOU ปลวกสรา้ ง รงั และครูที่ นกั เรยี น นักเรียนและ เครอื ข่ายชมุ ชนเฝา้ ปรกึ ษา - เครือข่าย และชุมชน ชมุ ชนเฝา้ ระวังแหล่งนา้ ได้แก่ เฝา้ ระวัง แหล่งน้าใน ระวังแหลง่ น้า รร.มาบยางพรวทิ ยาคม ชุมชนไดแ้ ก่ รร.มาบยาง ครอบคลุม , รร.ชมุ ชนบรษิ ัท พรวทิ ยาคม, รร.ชมุ ชน พืน้ ทีแ่ หลง่ นา้ นา้ ตาลตะวันออก, รร. บริษัท น้าตาล ทัง้ 5 แหลง่ บ้านปลวกแดง, ชมุ ชน ตะวันออก, รร.บา้ น ในอาเภอ หมู่บา้ นใตส้ ุน, ชมุ ชน ปลวกแดง, ชมุ ชน ปลวกแดง หมู่บ้านวงั แขยง หมู่บา้ นใต้ สนุ , ชมุ ชน จังหวัดระยอง - จัดทา MOU ระหว่าง หมบู่ า้ นวงั แขยง ร้อยละ 100 กล่มุ นักเรียนยุวชนรักษ์ น้าและเครือขา่ ยชุมชน รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจติ สำนึกและความรู้ในการผลิตและบริโภคท่เี ป็นมติ รกบั 80 สิ่งแวดล้อม สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
วสั ด/ุ ลา กิจกรรม วัตถุประสงค์ รายละเอยี ดกจิ กรรม อปุ กรณ/์ ผทู้ ี่ ช่วงเวลา ดบั รายการท่ี เกีย่ วข้อง การ ตอ้ ง ดาเนินงาน จดั เตรียม 3. กิจกรรม เพ่อื ใหก้ ลุ่ม - กลมุ่ นกั เรียนยุวชน - - วทิ ยากร 22 ม.ค. 64 อบมรมเชงิ เครอื ข่าย รักษ์นา้ จานวน 35 คน กาหนดการ - กลุม่ ปฏิบตั กิ าร นักเรยี นและ และเครือขา่ ยชมุ ชน อบรม นักเรียน (worksho ชมุ ชนเฝา้ เฝ้าระวังแหล่งนา้ - ปลวกสรา้ ง p) ระวงั แหลง่ นา้ จานวน 15 คน รวม แบบทดสอบ รังและครูที่ “การ มีทักษะการ ทงั้ สน้ิ 50 คน เขา้ ร่วม กอ่ น/หลัง ปรกึ ษา ตรวจวดั ตรวจวดั อบรมเชงิ ปฏิบัติการ การเข้ารบั - เครือขา่ ย คุณภาพ คุณภาพแหลง่ - ทาความเขา้ ใจ การอบรม เฝ้าระวัง แหล่งนา้ น้าเบื้องตน้ ได้ หลักการและเหตุผล - อุปกรณ์ แหลง่ น้าใน ในชุมชน” รอ้ ยละ 80 ของโครงการ/ ตรวจวดั ชุมชนไดแ้ ก่ ผลกระทบจากการ คุณภาพน้า รร.มาบยาง ดาเนนิ โครงการ EEC ไดแ้ ก่ สี, พรวิทยาคม, - ผู้เข้ารว่ มอบรมทา กลิ่น, รร.ชมุ ชน แบบทดสอบกอ่ นเขา้ อุณหภมู ิ, บริษัท รบั การอบรม PH, DO น้าตาล - วิทยากร คณุ ครสู ุ โลหะหนัก ตะวันออก, กญั ญา นวนบริบูรณใ์ ห้ (Pb, Mn, รร.บา้ น ความร้เู ชิงปฏบิ ตั ิการ Zn) และ ปลวกแดง, ในเรอื่ งการตรวจวัด ชมุ ชน คุณภาพแหล่งน้า ได้แก่ หมู่บ้านใต้ สี, กล่นิ , อณุ หภูม,ิ pH, สุน, ชมุ ชน DO และโลหะท่ี หมู่บา้ นวงั ปนเป้อื นในแหลง่ น้า แขยง (Pb, , Mn, Zn) - ผูบ้ รหิ าร - ระบุตาแหน่ง/ โรงเรียน กาหนดภาระหนา้ ที่ รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลติ และบริโภคท่เี ป็นมติ รกบั 81 สง่ิ แวดลอ้ ม สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
ลา กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ รายละเอยี ดกจิ กรรม วัสด/ุ ผ้ทู ่ี ชว่ งเวลา ดบั อุปกรณ์/ เก่ียวข้อง การ รายการที่ ดาเนนิ งาน ตอ้ ง การทางานของกลมุ่ จดั เตรียม - กลุ่ม 25-29 ม.ค. นักเรียนปลวกสรา้ งรงั นกั เรยี น 64 และเครือขา่ ยชุมชน - อุปกรณ์ ปลวกสรา้ ง และ เฝ้าระวงั แหล่งนา้ ตรวจวดั รงั และครูที่ 22-26 ก.พ. - กาหนดวนั ลงพ้ืนท่ี คณุ ภาพ ปรกึ ษา 64 เพอื่ ตรวจวัดคุณภาพ แหลง่ น้า - เครอื ข่าย แหล่งนา้ - อุปกรณ์ เฝ้าระวงั - ผู้เขา้ ร่วมอบรมทา จดั เก็บ แหล่งนา้ ใน แบบทดสอบหลังเข้า ข้อมูล ชมุ ชนได้แก่ รบั การอบรม คณุ ภาพ รร.มาบยาง 4. กิจกรรม เพื่อตรวจวดั - กลุ่มนักเรยี นยวุ ชน แหลง่ น้า พรวทิ ยาคม, ตรวจวัด คุณภาพน้า รักษน์ า้ และเครือข่าย รร.ชุมชน คณุ ภาพนา้ จานวน 6 ชมุ ชนเฝ้าระวังแหล่ง บรษิ ัท แหล่งน้าและ นา้ ลงพ้นื ท่ีประจา นา้ ตาล จดั ทา ตาแหนง่ ตะวนั ออก, ฐานขอ้ มลู - ดาเนินการตรวจวดั รร.บ้าน คุณภาพแหลง่ คุณภาพนา้ น้าในอาเภอ - เก็บขอ้ มูลคณุ ภาพ ปลวกแดง แหล่งน้าลงฐานขอ้ มลู จังหวัดระยอง รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนึกและความรใู้ นการผลิตและบรโิ ภคที่เป็นมติ รกับ 82 สง่ิ แวดล้อม สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
ลา กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ รายละเอียดกิจกรรม วัสดุ/ ผูท้ ่ี ชว่ งเวลา ดับ อุปกรณ/์ เกย่ี วข้อง การ เพ่ือนา รายการที่ ฐานขอ้ มลู ดาเนินงาน คณุ ภาพแหล่ง ต้อง นา้ มาจัดทา จดั เตรยี ม โครงการ/ 5. กจิ กรรม กิจกรรม เพอื่ - กลมุ่ นกั เรยี นยวุ ชน - อปุ กรณ์ ปลวกแดง, เสวนาทาง อนรุ กั ษ์และ รกั ษ์น้าจานวน 35 คน เคร่อื งเขียน ชมุ ชน วชิ าการ ฟื้นฟูแหล่งน้า และเครือขา่ ยชุมชน สาหรับการ หมู่บา้ นใต้ “แนว ในอาเภอ เฝา้ ระวังแหลง่ นา้ นาเสนอ สุน, ชุมชน ทางการ ปลวกแดง จานวน 15 คน รวม โครงการ/ หมบู่ า้ นวงั อนุรักษ์ จังหวัดระยอง ท้ังส้ิน 50 คน เข้ารว่ ม กจิ กรรม แขยง และฟื้นฟู เสวนาเชิงวชิ าการ - วิทยากร 17 ม.ี ค. 64 แหล่งน้า - วทิ ยากรพูดถึง จากศูนยเ์ ฝา้ ในอาเภอ สถานการณ์นา้ ของ ระวงั และ ปลวกแดง อาเภอปลวกแดงใน ตรวจสอบ จังหวัด ปจั จุบนั คุณภาพน้า ระยอง” - พดู คยุ ถงึ อุปสรรคใน อาเภอปลวก ระหวา่ งการดาเนินงาน แดง พร้อมรว่ มกนั หาแนว - กลมุ่ ทางการแก้ไข นกั เรียน - แบ่งกลุม่ นักเรยี นและ ปลวกสร้าง เครอื ข่ายชมุ ชนเฝ้า รงั และครูท่ี ระวังแหล่งน้า ตาม ปรึกษา ตาแหน่งทตี่ รวจวัด - เครอื ข่าย คุณภาพนา้ เฝ้าระวงั แหลง่ นา้ ใน ชุมชนไดแ้ ก่ รร.มาบยาง พรวิทยาคม, รร.ชมุ ชน บรษิ ัท รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจติ สำนกึ และความรู้ในการผลิตและบรโิ ภคท่ีเป็นมติ รกบั 83 ส่ิงแวดล้อม สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
วสั ดุ/ ลา กจิ กรรม วัตถุประสงค์ รายละเอียดกจิ กรรม อปุ กรณ์/ ผทู้ ่ี ช่วงเวลา ดบั รายการที่ เกี่ยวข้อง การ ตอ้ ง ดาเนินงาน จัดเตรยี ม - แต่ละกล่มุ ออกมา น้าตาล นาเสนอถงึ ผลการ ตะวนั ออก, ตรวจวัดคุณภาพนา้ ใน รร.บ้าน แต่ละแหล่งนา้ ท่ี ปลวกแดง, รบั ผดิ ชอบ ชมุ ชน -แตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั หม่บู า้ นใต้ เขยี นโครงการหรือ สุน, ชมุ ชน กจิ กรรมเชิงอนรุ กั ษ์ หมูบ่ า้ นวัง และฟ้ืนฟแู หล่งน้า ตาม แขยง ปัญหาของแหลง่ นา้ ท่ี รบั ผดิ ชอบ - แตล่ ะกลุ่มร่วมกนั นาเสนอโครงการ/ กจิ กรรม และกลุ่มอ่นื ๆ รว่ มกนั อภิปราย - สรุปผลการ ดาเนนิ งาน โครงการ/ กจิ กรรมทีจ่ ะ ดาเนนิ การต่อไป 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิด้านทฤษฎกี าร 1) ศกึ ษาทฤษฎี ค่มู ือการตรวจวัดคุณภาพ ตรวจวดั คุณภาพน้าอย่างงา่ ย น้าอยา่ งง่าย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลัง 2) ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับทฤษฎีและวิธี การอบรม เรื่อง การตรวจวัดคุณภาพน้าอย่างง่าย สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ แบบปรนัยจานวน 1 ชดุ รวม 20 ข้อ มีข้นั ตอนการ สร้าง ดังน้ี 3) สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เรื่อง การตรวจวัดคุณภาพน้าอย่างง่าย ให้สอดคล้องกับ รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจิตสำนกึ และความรูใ้ นการผลิตและบริโภคทีเ่ ป็นมิตรกับ 84 สิ่งแวดลอ้ ม สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
จุดประสงค์การอบรม ซึ่งเป็นแบบทดสอบปรนยั 4 คะแนน +1 สาหรับข้อที่สอดคล้องกับ ตวั เลอื ก 20 ขอ้ จุดประสงคก์ ารอบรม 4) นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธเ์ิ ร่ือง การ คะแนน 0 ส าหรับข้อที่ไม่แน่ใจว่า ตรวจวัดคุณภาพน ้าอย่างง่าย ที่สร้างเสร็จ สอดคล้องกบั จุดประสงค์การอบรม เรียบร้อยแล้วเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้อง ความสอดคล้องของ คะแนน -1 สาหรบั ข้อที่ไม่สอดคล้องกับ เนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ตามเกณฑ์การ จดุ ประสงค์การอบรม โดยผเู้ ช่ยี วชาญไดป้ ระเมนิ พจิ ารณาดงั ตอ่ ไปน้ี ความสอดคล้องไว้ ดังตารางท่ี 6 ตารางที่ 6 ค่าดชั นคี วามสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์เิ ร่ือง การตรวจวดั คุณภาพน้าอย่างง่าย โดยผเู้ ชย่ี วชาญ 3 คน แบบทดสอบ ความคิดเห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญ ผลรวมของคะแนน คา่ ข้อที่ คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 (R) IOC= ∑R สรปุ ผล N 1 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้ 2 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 3 0 +1 0 1 0.33 ใช้ไม่ได้ 4 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 5 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้ 6 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้ 7 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้ 8 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 9 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้ 10 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 11 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 12 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 13 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้ 14 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 15 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 16 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้ 17 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจติ สำนกึ และความรูใ้ นการผลิตและบริโภคท่ีเปน็ มติ รกับ 85 ส่ิงแวดลอ้ ม สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
แบบทดสอบ ความคดิ เหน็ ของผ้เู ชยี่ วชาญ ผลรวมของคะแนน ค่า ข้อที่ คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 (R) IOC= ∑R สรุปผล 18 +1 +1 +1 3 N 19 +1 +1 +1 3 ใช้ได้ 20 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้ 1 ใช้ได้ 1 5) คัดเลือกข้อสอบที่มีค่า IOC > 0.5 ข้ึน แบบทดสอบท้ังฉบับ โดยพบว่า แบบทดสอบนี้มีค่า ไป จากการตรวจสอบของผู้เชย่ี วชาญ ซึ่งถือว่าเป็น ความเช่ือมัน่ ( rtt ) ทงั้ ฉบบั เท่ากับ 0.91 ข้อสอบที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สามารถนาไปใชไ้ ด้ 2.3 แบบประเมินทกั ษะการใช้ เครอื่ งมือทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้แบบบันทึกการ 6) นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์เิ รื่อง การ สังเกตและประเมินผลการใช้เคร่อื งมือ ตรวจวัดคุณภาพน้าอย่างง่าย ที่ได้ไปทดลองกับ วทิ ยาศาสตร์ นักเรียนกลุ่มแกนนาปลวกสร้างรัง โรงเรียนปลวก แดงพิทยาคม ซึ่งผ่านการอบรมการตรวจวัด 1) ศึกษาแผนการดาเนินกิจกรรมการ คุณภาพน้าเบื้องต้นมาแล้ว จานวน 30 คน เพื่อ อบรมการตรวจวดั คณุ ภาพนา้ อย่างง่าย ทสี่ รา้ งข้ึน วิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจ เพอื่ กาหนดจุดมุ่งหมาย ของแบบสังเกต ข้ันตอน จาแนก (r) การสงั เกต พฤติกรรมทจี่ ะสังเกต เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ น การสังเกต และผูท้ ่ีจะสังเกต 7) คัดเลือกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เรื่อง การตรวจวัดคุณภาพน้าอย่างง่าย ที่มีค่า 2) ศึกษาแนวการสร้างแบบสังเกต ความยากงา่ ย (p) อยรู่ ะหว่าง 0.20 - 0.80 และค่า จาก อรนุช ศรีสะอาด (2546: 43 - 46) เกย่ี วกบั อานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป จานวน 20 ขอบข่าย วิธสี รา้ ง การดาเนนิ การ มาปรับสร้าง ข้อ โดยพบว่า ข้อสอบที่คัดเลือกไว้ มีค่าความยาก แบบสงั เกตพฤติกรรมของผู้วิจยั ง่าย (p) ตั้งแต่ 0.26 ถึง 0.60 และมีค่าอานาจ จาแนก (r) ต้ังแต่ 0.24 ถึง 0.64 3) เขยี นแบบสงั เกตพฤติกรรมการ เรียนรู้ แบบมีโครงสรา้ ง 8) นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธเ์ิ ร่ือง การ ตรวจวัดคุณภาพน้าอย่างง่าย จานวน 20 ข้อ ที่ 4) นาแบบสงั เกตพฤติกรรมที่สรา้ งขนึ้ คัดเลือกแล้วไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่มแกนนา ใหผ้ ู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสม รปู แบบ ปลวกสร้างรัง โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม ซึ่งผ่าน เน้ือหา และภาษาท่ีใช้ การอบรมการตรวจวัดคุณภาพน้าเบื้องต้นมาแล้ว จานวน 30 คน เพื่อหาความเชื่อมั่น ( rtt ) ของ 5) นาแบบสังเกตพฤตกิ รรมท่ีสร้างข้นึ เสนอตอ่ ผเู้ ช่ียวชาญเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสมของรูปแบบ เนื้อหา และภาษาท่ใี ช้ รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลิตและบริโภคทเี่ ป็นมิตรกบั 86 สิ่งแวดล้อม สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง
6) นาแบบสงั เกตพฤติกรรมที่ได้รับ อย่างง่ายหลังการอบรม และประเมินทักษะการใช้ การปรับปรงุ มาจดั พิมพ์ฉบับสมบูรณ์ เพ่ือใชเ้ ก็บ เครอ่ื งมือทางวทิ ยาศาสตร์ระหวา่ งการอบรม รวบรวมข้อมูลร่วมกันกบั แผนการดาเนินกจิ กรรม 3. การเก็บรวมรวมข้อมลู 4) กจิ กรรมตรวจวัดคณุ ภาพน้า เพื่อตรวจวัดคุณภาพน้า จานวน 5 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในงานวิจยั นี้ ได้ ดาเนนิ กจิ กรรมตามเครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั คือ แหล่งน้าและจัดทาฐานข้อมูลคุณภาพแหล่งน้าใน แผนการดาเนินกิจกรรมปลวกรักษน์ า้ ซึ่ง อาเภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง ประกอบดว้ ย 5 กิจกรรม ดังนี้ 5) เสวนาทางวิชาการ เร่อื ง “แนวทาง 1) กจิ กรรมประชุมวางแผน อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้า ในอาเภอปลวกแดง 2) จดั ต้งั กลุ่มเครอื ขา่ ยนักเรียนและชมุ ชน จงั หวัดระยอง” มีการตดิ ตอ่ ประสานงานกับเครือขา่ ย เพื่อนาฐานข้อมูลคุณภาพแหล่งน้า เพอื่ ทาความเข้าใจถงึ ท่ีมาและความสาคญั ของ มาจัดทาโครงการ/กิจกรรม เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟู โครงการ จดุ ประสงค์/เปา้ หมาย แนวทางการ แหล่งนา้ ในอาเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง ดาเนินกิจกรรม และบทบาทหน้าทขี่ องเครือข่าย 4. การวเิ คราะห์ข้อมลู และจดั กิจกรรมการลงนามทาบนั ทึกข้อตกลงความ ร่วมมือของเครือข่ายนักเรียนและชุมชนเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมลู การวัดผลสัมฤทธดิ์ ้าน แหลง่ นา้ ทงั้ หมด ทฤษฎกี ารตรวจวัดคุณภาพน้าอยา่ งง่ายหลงั การ อบรม และประเมนิ ทักษะการใช้เครือ่ งมือทาง 3) กิจกรรมอบรม (workshop) “การ วิทยาศาสตรร์ ะหว่างการอบรม โดยการคานวณ ตรวจวัดคณุ ภาพนา้ ในชมุ ชน” ค่าสถติ โิ ดยใช้สถติ ิเชิงพรรณนา ไดแ้ ก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ยี (Mean) จากนัน้ นาค่าเฉลีย่ มากาหนด ในกิจกรรมนี้ ผู้วิจัยได้ดาเนินการ เกณฑ์การประเมิน วัดผลสัมฤทธิ์ด้านทฤษฎีการตรวจวัดคุณภาพน้า รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความร้ใู นการผลติ และบริโภคท่ีเปน็ มิตรกบั 87 ส่ิงแวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจยั เรือ่ ง “ผลการจดั การและ ตอนที่ 1 การลงพน้ื ทีส่ ังเกตและการสัมภาษณ์ พฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มใน บรเิ วณจดุ ตรวจ ทอ้ งถ่นิ เพ่ือรองรบั และตอบสนองต่อการขยายตัว ในเขตพน้ื ที่พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก อย่างมี การตรวจวัดคุ ณภาพน ้าแล ะจั ดท า เ ป็ น ส่วนร่วม ภายใตโ้ ครงการปลวกรักษน์ ้า” ผวู้ ิจยั ฐานข้อมลู คณุ ภาพนา้ ในแต่ละจดุ ตรวจท่อี ย่ใู นทงั้ 2 รวบรวมข้อมลู จากกลมุ่ ตัวอย่าง ไดน้ าเสนอผลการ คลองได้แก่คลองระเวิงและคลองปลวกแดง วิเคราะห์ข้อมลู มีรายละเอยี ดดังน้ี แบ่งเป็น 5 จุดตรวจได้แก่ จุดตรวจฝายบ้านวัง แขยง ฝายบ้านใต้สุน สะพานบ้านโรงน้าตาล สะพานบ้านปลวกแดง และสะพานบ้านซอย สุพรรณ ซึ่งในแต่ละจุดตรวจ มีลักษณะที่แตกต่าง กนั ดงั ตารางท่ี 7 ตารางที่ 7 แสดงขอ้ มลู จากการลงพน้ื ทส่ี ังเกตและการสัมภาษณ์ บริเวณจุดตรวจ ท่ี คลอง ชือ่ จุด บรเิ วณโดยรอบ ขอ้ มูลจากการลงพ้นื ที่สงั เกตและการสมั ภาษณ์ ตรวจ บริเวณจุดตรวจ 1. คลอง ฝายบา้ นใต้ โรงงานอุตสาหกรรม,• เปน็ ฝายกัน้ น้า มขี นาดเล็ก ได้รบั น้าจากอาเภอ ระเวงิ สนุ แหล่งชมุ ชน, พ้นื ทีท่ า หนองใหญ่ จ.ชลบรุ ี (ท่ีกาลังมีการสรา้ งโรง การเกษตร อตุ สาหกรรมเปน็ จานวนมาก) • บรเิ วณรอบฝายบางสว่ นเปน็ ทีท่ ง้ิ ขยะ • บริเวณรอบๆจดุ ตรวจมีวัชพืชเปน็ จานวนมาก • มีการลักลอบนารถบรรทุกสนิ คา้ มาลา้ งทาความ สะอาดเปน็ ประจา • พ้นื ทใ่ี นเขตชุมชนโดยรอบ ไม่มมี าตรการในการ รักษาความสะอาด • มกี ารเพาะปลูกพชื ประเภท ปาลม์ ยางพารา และมนั สาปะหลังในพน้ื ที่ • บางคร้ังมีการซื้อทีด่ ินที่อยใู่ กลค้ ลองเพื่อใช้ สาหรับทง้ิ ขยะจากโรงงานอตุ สาหกรรม รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรูใ้ นการผลติ และบริโภคทีเ่ ป็นมิตรกับ 88 สง่ิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
ท่ี คลอง ชื่อจดุ บรเิ วณโดยรอบ ข้อมูลจากการลงพน้ื ท่ีสงั เกตและการสมั ภาษณ์ 2. ตรวจ โรงงานอุตสาหกรรม,• บริเวณจุดตรวจ สะพาน แหล่งชมุ ชน 3. บา้ นโรง อย่ใู กล้กับแหลง่ ปล่อยน้าท้งิ จากนิคม นา้ ตาล • อตุ สาหกรรม 4. คลอง พืน้ ท่โี ดยรอบเป็นโรงงานอตุ สาหกรรม มชี ุมชน ปลวก ฝายบา้ นวัง • อยบู่ า้ งเลก็ น้อย แดง แขยง บริเวณจุดตรวจมีลักษณะเป็นป่า พืน้ คลองเปน็ • หนิ กรวดเปน็ เป็นจานวนมาก สะพาน บรเิ วณจุดตรวจขาดการดูแล ทาใหม้ ขี ยะ บา้ นซอย • ประเภทขยะพลาสติกและขวดแก้วเปน็ จานวน สุพรรณ มาก แหลง่ ชมุ ชน, พื้นท่ีทา• ในช่วงทตี่ รวจเปน็ ชว่ ยฤดแู ลง้ นา้ มีปรมิ าณน้อย การเกษตร อยใู่ กล้กับอ่างเก็บนา้ หนองปลาไหล โดยได้รับนา้ • มาจากจุดตรวจฝายบ้านใตส้ ุดและบ้านโรง • นา้ ตาล • บรเิ วณรอบๆจุดตรวจมวี ัชพืชเป็นจานวนมาก อยู่ใกล้กบั แหลง่ ชมุ ชนทห่ี นาแนน่ ปานกลาง • ฝายมีขนาดปานกลาง มีความกวา้ งและความลกึ • พอสมควร มคี นในพ้นื ที่จบั สัตว์น้าทุกวัน โรงงานอุตสาหกรรม,• บริเวณใกลฝ้ ายมีการนาน้ามาทาเปน็ นา้ ประปา แหลง่ ชุมชน ของหมู่บ้าน หมู่ 5 (บ้านวงั แขยง) • จดุ ตรวจอยูใ่ นตาแหนง่ กลางนิคมอตุ สาหกรรมท่ี มีโรงงานหนาแนน่ • บริเวณโดยรอบมชี ุมชนขนาดใหญ่ มจี านวน • ประชากรอาศัยอยอู่ ย่างหนาแน่น ในช่วงทต่ี รวจเปน็ ชว่ ยฤดูแลง้ นา้ มปี ริมาณน้อย บริเวณโดยรอบคลองขาดการดแู ล ทาใหม้ วี ชั พืช และขยะ รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจติ สำนึกและความรใู้ นการผลิตและบริโภคทีเ่ ป็นมิตรกบั 89 สง่ิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
ท่ี คลอง ชื่อจดุ บรเิ วณโดยรอบ ข้อมูลจากการลงพื้นท่ีสังเกตและการสมั ภาษณ์ ตรวจ บริเวณจดุ ตรวจ 5. สะพาน แหลง่ ชมุ ชน, พื้นทที่ า• ได้รบั น้ามาจากจุดตรวจสะพานบา้ นซอยสพุ รรณ บ้านปลวก การเกษตร โดยผา่ นแหลง่ โรงงานอุตสาหกรรม แดง • บรเิ วณโดยรอบเป็นแขตชมุ ชนขนาดใหญ่ มี ประชากรหนาแนน่ • บริเวณใกลเ้ คียงมีการปลูกพชื เชน่ สบั ปะรด ยางพารา และมันสาปะหลงั • บริเวณใกล้เคยี งมกี ารนาน้าจากคลองไปกักเกบ็ ในสระขนาดใหญ่เพื่อทาน้าประปาในเขต เทศบาลหมู่ที่ 1 (บ้านปลวกแดง) • บริเวณรอบๆคลองขาดการดูแล มขี ยะและวชั พืช จานวนมาก ตอนท่ี 2 แผนการดาเนนิ งานของแต่ละจุดตรวจ กิจกรรมการตรวจนา้ ในแต่ละจุดตรวจมีแผนการดาเนนิ งาน ดังตารางที่ 8 ตารางท่ี 8 แสดงแผนการดาเนนิ กจิ กรรมของแต่ละจุดตรวจ ตาแหน่ง วัน/เดอื น/ปี วนั /เดือน/ปี วัน/เดือน/ปี รายละเอยี ด กลมุ่ กลมุ่ เครือขา่ ยเฝา้ ระวงั แหล่งนา้ ท่ี แหลง่ น้าท่ี ที่ตรวจสอบ ท่ตี รวจสอบ ที่ตรวจสอบ การ นกั เรยี น ตรวจวัด คร้ังที่ 1 ครัง้ ที่ 2 คร้งั ที่ 3 ตรวจสอบ ผรู้ ับผิดชอบ รบั ผดิ ชอบ (station) คณุ ภาพน้า (ประจาเดือน (ประจาเดือน (ประจาเดือน ม.ค.) ก.พ.) มี.ค.) คลองปลวกแดง 22 ก.พ. 64 8 มี.ค. 64 - สี, กล่นิ , กลุ่มนกั เรยี น รร.มาบยางพรวิทยาคม 1. สะพานบ้าน 18 ม.ค. 64 23 ก.พ. 64 9 ม.ี ค. 64 อณุ หภมู ,ิ pH, ปลวกสรา้ งรัง รร.บา้ นปลวกแดง DO สพุ รรณ - โลหะ กล่มุ นักเรียน ชุมชนหมูบ่ า้ นวงั แขยง (Pb, Mn, ปลวกสร้างรัง 2. สะพานบ้าน 19 ม.ค. 64 Zn) ปลวกแดง คลองระเวงิ 10 มี.ค. 64 กลมุ่ นกั เรยี น 3. ฝายวังแขยง 20 ม.ค. 64 24 ก.พ. 64 ปลวกสร้างรงั รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจติ สำนึกและความร้ใู นการผลิตและบริโภคทีเ่ ป็นมติ รกับ 90 สง่ิ แวดล้อม สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง
ตาแหนง่ วนั /เดือน/ปี วัน/เดอื น/ปี วัน/เดอื น/ปี รายละเอียด กล่มุ กล่มุ เครือขา่ ยเฝา้ แหลง่ นา้ ที่ ทีต่ รวจสอบ ทีต่ รวจสอบ ท่ีตรวจสอบ การ นกั เรียน ระวังแหลง่ น้าที่ ตรวจวดั ผู้รับผิดชอบ (station) ครงั้ ที่ 1 ครง้ั ท่ี 2 ครง้ั ที่ 3 ตรวจสอบ รบั ผิดชอบ (ประจาเดอื น (ประจาเดอื น (ประจาเดอื น คณุ ภาพนา้ ม.ค.) ก.พ.) มี.ค.) 4. สะพานบ้าน 21 ม.ค. 64 25 ก.พ. 64 11 มี.ค. 64 - สี, กลน่ิ , กลมุ่ นกั เรียน ชุมชนหม่บู า้ นใตส้ ุน 26 ก.พ. 64 12 มี.ค. 64 อุณหภูม,ิ pH, ปลวกสรา้ งรงั ใตส้ นุ DO รร.ชุมชนบริษัทนา้ ตาล - โลหะ (Pb, กล่มุ นกั เรียน ตะวนั ออก 5. สะพาน 22 ม.ค. 64 Mn, Zn) ปลวกสรา้ งรัง บา้ นโรง น้าตาล ตะวนั ออก ตอนที่ 3 ผลการตรวจวัดคณุ ภาพนา้ ของแต่ละจดุ ตรวจ หลังจากการลงพืน้ ทเี่ พ่อื ตรวจวัดคุณภาพนา้ ทั้งหมด เมื่อแบ่งเป็นรายจุดตรวจแล้ว มรี ายละเอียดดงั น้ี 1. จุดตรวจฝายบา้ นใต้สนุ ค่า PH คา่ DO สารปนเป้ือนในน้า (mg/L) (ค่า (คา่ Zn Mn Pb รอบ สี กลนิ่ อณุ หภูมิ มาตรฐาน7) มาตรฐาน4 (คา่ (คา่ (คา่ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน (22 ํc - 32 mg/l) 1.0) 1.0) 0.05) ํc) 0.0 1.0 1.17 6.8 2 0.10 1.2 1.34 1 นา้ ตาล มกี ลิน่ บางๆ 27.2 7.43 2.16 2 เขียว มกี ลนิ่ เนา่ 31.13 0.10 1.1 1.25 7.1 2.08 0.10 1.1 1.253 เลก็ นอ้ ย 30.4 7.11 2.08 29.57 3 น้าตาล มีกลิ่นบางๆ เฉล่ียรวม รายงานผลการวจิ ัยโครงการสร้างจิตสำนึกและความรู้ในการผลิตและบริโภคทเี่ ปน็ มิตรกับ 91 ส่ิงแวดล้อม สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
จากตารางแสดงผลการวิเคราะห์คุณลักษณะทางกายภาพ ค่าเฉลี่ยทั้ง 3 รอบ ของฝายบ้านใต้สุน พบว่า อุณหภูมิของแหล่งน้า เท่ากับ 29.6 ํc อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนดอุณหภูมิไม่สูงกว่า ธรรมชาติเกิน 3 ํc ) ความเป็นกรดและด่าง (pH) เท่ากับ 7.1 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนด 5.0- 9.0) ค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO) เท่ากับ 2.08 mg/L ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนดมีค่าไม่ น้อยกว่า 4.0 mg/L) กลิ่นและสีของฝายบ้านใต้ กลิ่นมีกลิ่นเน่าเล็กนอ้ ย สีของน้าอยู่ในเกณฑ์ปกติ (มาตรฐาน กาหนดไม่มีสิ่งของที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ที่ทาให้สี กลิ่น และรสของน้าเปลี่ยนไปตามธรรมชาติ) มี ปริมาณสังกะสี เท่ากับ 0.10 mg/L ซึ่งมีค่าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) ปริมาณ แมงกานีส เท่ากับ 1.10 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) ปริมาณตะกั่ว เท่ากับ 1.25 ซงึ่ มีคา่ สูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไมเ่ กนิ 0.05 mg/L) 2. จดุ ตรวจฝายบา้ นวงั แขยง รอบ สี กลิ่น อณุ หภมู ิ คา่ PH คา่ DO สารปนเปอ้ื นในนา้ (mg/L) มาตรฐาน (ค่ามาตรฐาน6.5- (คา่ มาตรฐาน 4mg/l) Zn Mn Pb (22 ํc - 33 8) 3.5 (ค่ามาตรฐาน (ค่ามาตรฐาน (คา่ มาตรฐาน ํc) 6.7 6.4 1.0) 1.0) 0.05) 1 เขียว ไม่มี 28.3 7 5.53 0.0 1.0 0.66 30.4 8 กลิ่น 30.1 8 0.083 0.5 0.43 2 น้าตาล ไมม่ ี 0.1 1.33 0.83 กลน่ิ 3 น้าตาล ไมม่ ี กลิ่น เฉล่ยี รวม 29.6 7.5 0.06 0.94 0.64 จากตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ เกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนด 5.0-9.0) คา่ คณุ ลักษณะทางกายภาพ ค่าเฉลยี่ ทัง้ 3 รอบ ของ ออกซิเจนละลายในนา้ (DO) เท่ากับ 5.53 mg/L ฝายบ้านวงั แขยง พบวา่ อณุ หภมู ิของแหลง่ น้า อย่ใู นเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนดมคี า่ ไม่ เท่ากับ 29.6 ํc อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐาน น้อยกว่า 4.0 mg/L) กลน่ิ และสีของฝายบา้ นวัง กาหนดอุณหภูมิไม่สูงกว่าธรรมชาติเกนิ 3 ํc ) แขยง กลิน่ ของนา้ อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน สขี องน้า ความเป็นกรดและด่าง (pH) เท่ากับ 7.5 อยู่ใน อย่ใู นเกณฑ์ปกติ (มาตรฐานกาหนดไมม่ ีสิง่ ของท่ี รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจติ สำนึกและความรใู้ นการผลิตและบรโิ ภคที่เปน็ มิตรกับ 92 สงิ่ แวดลอ้ ม สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
เกิดจากการกระทาของมนุษย์ท่ีทาใหส้ ี กลนิ่ และ แมงกานีส เท่ากบั 0.94 ซ่ึงมีคา่ ตา่ กวา่ เกณฑ์ มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) ปริมาณ รสของนา้ เปลี่ยนไปตามธรรมชาต)ิ มปี ริมาณ ตะก่วั เท่ากบั 0.64 ซง่ึ มคี ่าสูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกนิ 0.05 mg/L สงั กะสี เทา่ กับ 0.06 mg/L ซ่ึงมคี า่ ต่ากวา่ เกณฑ์ มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกนิ 1.0 mg/L) ปริมาณ 3. จดุ ตรวจสะพานบ้านโรงน้าตาล รอบ สี กล่นิ อณุ หภมู ิ คา่ PH ค่า DO สารปนเป้อื นในนา้ (mg/L) (คา่ มาตรฐาน มาตรฐาน (ค่ามาตรฐาน6.5- 4mg/l) Zn Mn Pb (22 ํc - 33 ํ 3.8 c) 8 ) 3.9 (คา่ มาตรฐาน (คา่ มาตรฐาน (ค่ามาตรฐาน 1 นา้ ตาล มกี ลิ่น 27.8 7 1.0) 1.0) 0.05) 6.9 17.4 ออ่ น 7.6 0.00 0.3 0.26 2 สเี หลอื ง ไมม่ ี 30.1 0.09 0.8 0.54 ออ่ น กลนิ่ 3 เหลอื งขุน่ กลน่ิ ฝน 30.3 0.30 0.6 0.93 เฉลยี่ รวม 29.40 7.17 8.37 0.13 0.57 1.73 จากตารางแสดงผลการว ิเคราะ ห์ บ้านโรงน้าตาล กลิ่นของน้าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณลักษณะทางกายภาพ ค่าเฉลี่ยทั้ง 3 รอบ ของ สีของน้าอยู่ในเกณฑ์ปกติ (มาตรฐานกาหนดไม่มี สะพานบ้านโรงน้าตาล พบว่า อุณหภูมิของแหล่ง สิ่งของท่ีเกิดจากการกระทาของมนุษย์ที่ทาให้สี น ้า เท่ากับ 29.4 ํc อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน กลิ่น และรสของน้าเปลี่ยนไปตามธรรมชาติ) มี (มาตรฐานกาหนดอุณหภูมิไม่สูงกว่าธรรมชาติเกิน ปริมาณสังกะสี เท่ากับ 0.13 mg/L ซึ่งมีค่าต่ากว่า 3 ํc ) ความเป็นกรดและด่าง (pH) เท่ากับ 7.2 เกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนด 5.0-9.0) ปริมาณแมงกานีส เท่ากับ 0.57 ซึ่งมีค่าต่ากว่า ค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO) เท่ากับ 8.37 เกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) mg/L อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนดมี ปริมาณตะกั่ว เท่ากับ 1.73 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ ค่าไม่น้อยกว่า 4.0 mg/L) กลิ่นและสีของสะพาน มาตรฐาน (มาตรฐานไมเ่ กิน 0.05 mg/L 4. จุดตรวจสะพานบ้านปลวกแดง ค่า DO สารปนเปื้อนในน้า (mg/L) ค่า PH รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลติ และบริโภคที่เปน็ มิตรกบั 93 สิ่งแวดล้อม สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
รอบ สี กลน่ิ อุณหภูมิ (คา่ มาตรฐาน (คา่ มาตรฐาน Zn Pb มาตรฐาน 6.5-8) 4mg/l) (คา่ มาตรฐาน1.0) Mn (คา่ มาตรฐาน0.05) (คา่ มาตรฐาน1.0) (22 ํc - 33 4 0.6 1.25 5.2 0.8 ํc) 0.01 0.76 0.6 1 เขยี ว ไม่มี 28.8 7.4 กลิน่ 2 สเี หลืองอ่อน กลิน่ ดิน 32.5 7.8 3 เหลอื งข่นุ กลิ่นดิน 30.7 7.7 4.1 0.15 0.9 0.69 เฉลย่ี รวม 30.6 7.6 4.4 0.25 0.8 0.9 จากตารางแสดงผลการวิเคราะห์คุณลักษณะทางกายภาพ ค่าเฉลี่ยทั้ง 3 รอบ ของสะพานบ้านปลวก แดง พบว่า อุณหภมู ิของแหล่งน้า เท่ากับ 30.6 ํc อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน (มาตรฐานกาหนดอณุ หภูมิไม่สูงกว่า ธรรมชาติเกิน 3 ํc ) ความเป็นกรดและด่าง (pH) เท่ากับ 7.6 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนด 5.0- 9.0) ค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO) เทา่ กับ 4.40 mg/L อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนดมีค่าไม่น้อย กว่า 4.0 mg/L) กล่ินและสีของสะพานบา้ นปลวกแดง กลิ่นของนา้ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สีของน้าอยู่ในเกณฑ์ ปกติ (มาตรฐานกาหนดไม่มีสิง่ ของท่ีเกิดจากการกระทาของมนุษยท์ ่ีทาให้สี กลิ่น และรสของน้าเปล่ียนไปตาม ธรรมชาติ) มีปริมาณสังกะสี เท่ากับ 0.25 mg/L ซึ่งมีค่าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) ปริมาณแมงกานีส เท่ากับ 0.80 ซึ่งมีค่าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) ปริมาณตะก่ัว เท่ากบั 0.90 ซง่ึ มีคา่ สูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน (มาตรฐานไมเ่ กนิ 0.05 mg/L) 5. จุดตรวจสะพานบ้านซอยสุพรรณ รอบ สี กลน่ิ อุณหภูมิ ค่า PH ค่า DO สารปนเปื้อนในน้า (mg/L) มาตรฐาน (ค่ามาตรฐาน (ค่ามาตรฐาน 1 น้าตาล ไม่มี (22 ํc - Zn Mn Pb 33 ํc) 6.5-8) 4mg/l) (คา่ มาตรฐาน (ค่ามาตรฐาน (ค่ามาตรฐาน กล่นิ 31.8 7.4 3.6 1.0) 1.0) 0.05) 2 เหลอื ง กลน่ิ ดนิ 0.04 1.33 4.25 3 เหลืองขุ่น กล่นิ ดนิ 32.7 29 6.8 4.9 0.3 0.8 1.08 7.8 13.6 0.00 0.33 1.25 เฉลี่ยรวม 31.16 7.33 7.36 0.11 0.8 2.19 จากตารางแสดงผลการวิเคราะห์คุณลักษณะทางกายภาพ ค่าเฉลี่ยทั้ง 3 รอบ ของสะพาน บ้านซอยสุพรรณ พบว่า อุณหภูมิของแหล่งน้า เท่ากับ 31.2 ํc อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนด อุณหภูมิไม่สูงกว่าธรรมชาติเกิน 3 ํc ) ความเป็นกรดและด่าง (pH) เท่ากับ 7.3 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนด 5.0-9.0) ค่าออกซิเจนละลายในน้า (DO) เท่ากับ 7.36 mg/L อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานกาหนดมคี ่าไม่น้อยกว่า 4.0 mg/L) กลิน่ และสีของสะพานบา้ นซอยสพุ รรณ กลิ่นของนา้ อยู่ในเกณฑ์ รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจติ สำนกึ และความรใู้ นการผลิตและบริโภคที่เปน็ มติ รกับ 94 ส่งิ แวดลอ้ ม สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
มาตรฐาน สีของน้าอยู่ในเกณฑ์ปกติ (มาตรฐานกาหนดไม่มีสิ่งของที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ที่ทาให้สี กลิ่น และรสของน้าเปลี่ยนไปตามธรรมชาติ) มีปริมาณสังกะสี เท่ากับ 0.11 mg/L ซึ่งมีค่าต่ากว่าเกณฑ์ มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) ปริมาณแมงกานีส เท่ากับ 0.80 ซึ่งมีค่าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 1.0 mg/L) ปริมาณตะกั่ว เท่ากับ 2.19 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (มาตรฐานไม่เกิน 0.05 mg/L) รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรู้ในการผลติ และบริโภคท่ีเปน็ มติ รกับ 95 สง่ิ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
บทท่ี 5 สรุปการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. สรปุ การวิจัย นาและกลุ่มเครือข่ายนักเรียนและชุมเฝ้าระวัง แหล่งน้า พบว่า สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด และจาก 1.1 การสรา้ งเครอื ข่ายนกั เรยี นและ การสังเกตการทากิจกรรมการตรวจวัดคุณภาพ ชมุ ชนเฝา้ ระวังแหล่งน้าใหค้ รอบคลมุ พ้ืนท่แี หล่ง แหล่งน้าแต่ละจุดตรวจ พบว่า นักเรียนมีความรู้ นา้ สาคญั ในอาเภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง ความสามารถในการใช้เครื่องมือการตรวจวัด คุณภาพน้าอยา่ งงา่ ย อยู่ในระดบั ดมี าก การดาเนินโครงการปลวกรักษ์น้า มีส่วนร่วมกับเครือข่ายทั้ง 5 เครือข่าย ที่เข้าร่วม 1.1 เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพ โภครงการ เป็นเวลา 3 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือน แหลง่ นา้ และจัดทาฐานข้อมลู ในแต่ละจุดตรวจ มกราคม 2564 ถึงเดอื นมนี าคม 2564 โดยติดตาม การตรวจวัดคุณภาพแหลง่ นา้ เดอื นละ 1 ครงั้ เป็น การน าข้อมูลจากการตรวจวัด เวลา 3 เดือนพบว่า เครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการมี คุณภาพน้าในแต่ละจุดมาจดั ทาเป็นฐานข้อมลู และ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตรวจวัดคุณภาพแหล่ง สารสนเทศในระบบออนไลน์ เพื่อให้นักเรียน หรือ น ้าอย่างง่าย การจัดการสิ่งแวดล้อม และมี ชมุ ชนในพ้นื ที่สามารถเข้าชมขอ้ มูลได้อยา่ งงา่ ย จ ิตส าน ึกใน การ อน ุร ักษ์ส ิ่งแว ดล ้ อม มากย ิ ่ ง ข้ึ น นักเรียนและชุมชนสามารถเผยแพร่ความรู้ไปยัง เยาวชน ซึ่งเป็นกาลังสาคัญในอนาคต ที่จะช่วย รกั ษาส่งิ แวดล้อมให้คงอยู่ตลอดไป 1.2 กลุ่มเครือขา่ ยนักเรียนและชมุ เฝา้ ระวงั แหล่งน้ามีทักษะการเก็บข้อมลู ทางกายภาพ และตรวจวัดคณุ ภาพแหลง่ น้าในลาคลองของ อาเภอปลวกแดง จังหวดั ระยอง ผลการวัดผลสัมฤทธิ์การวัดคุณภาพน้า อยา่ งงา่ ยของนักเรียนกล่มุ แกนนาและ กลุ่มเครือข่ายนักเรียนและชุมเฝ้าระวังแหล่งน้า พบว่า หลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรม ตาม เกณฑ์ที่กาหนด และการประเมินทักษะการใช้ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มแกน รายงานผลการวจิ ยั โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรใู้ นการผลิตและบริโภคทีเ่ ปน็ มติ รกบั 96 สิง่ แวดล้อม สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
2. อภปิ รายผล จากกจิ กรรมเสวนาทางวิชาการ เรอ่ื ง “แนวทางอนรุ กั ษแ์ ละฟื้นฟูแหล่งน้า ในอาเภอปลวกแดงจังหวัด ระยอง” ไดส้ รปุ ผลท่ไี ดจ้ ากการอภิปรายถึงอปุ สรรคและแนวทางการดาเนินงานในอนาคต ที่ อุปสรรค แนวทางการแก้ไข 1 ความถี่ในการตรวจวัดคุณภาพน้า ปรับเปล่ียนระยะเวลาในการลงพน้ื ที่ตรวจวดั คณุ ภาพ น้าจากเดือนละ 1 ครัง้ เปน็ 4 เดือน/ครัง้ 2 สภาพอากาศระหวา่ งการลงพ้ืนที่ ปรบั เปลีย่ นเวลาลงพน้ื ทีต่ รวจวดั คุณภาพน้า จาก ตรวจ มีอุณหภูมสิ ูง ชว่ งเวลา 12.30-13.30 เป็นชว่ ง 8.30-9.30 3 ความปลอดภัยระหว่างลงพ้นื ที่ · จดั หาอปุ กรณป์ ้องกนั เพ่มิ เติมระหว่างลงพ้นื ทตี่ รวจวดั เชน่ หมวก เส้อื สะท้อนแสง ถุงมอื ยาง เป็นต้น · มกี ารกาหนดตาแหน่งหน้าท่ีของกลมุ่ ใหช้ ดั เจน ระหว่างลงพ้นื ท่ี เชน่ หน้าทีต่ รวจวดั หน้าทด่ี ูแลความ ปลอดภัย/อุปกรณป์ ฐมพยาบาล หนา้ ทเ่ี กบ็ รักษา ตวั อย่างนา้ และหนา้ ท่ดี ูแลรักษาอปุ กรณ์ 4 อปุ กรณ์ในการตรวจวัดและ · จดั หางบประมาณจากการประสานงานกับหน่วยงาน สารละลายสาหรบั ตรวจวดั ค่าโลหะ ทีเ่ ก่ียวข้องเพ่ิมเตมิ เพ่ือจัดซ้อื อุปกรณ์และสารเพม่ิ เติม ในนา้ ไมเ่ พียงพอ · ปรบั เปล่ียนกิจกรรมเป็นการมุง่ เนน้ ในการจัดกิจกรรม เพอ่ื อนุรักษ์และฟนื้ ฟแู หลง่ นา้ ณ จุดตรวจ แทน 5 ระยะเวลาในการทากจิ กรรมเพอื่ สาน ปรับเปลี่ยนกิจกรรมจากกิจกรรมเสวนาทางวิชาการท่ี สัมพนั ธ์ระหว่างเครือขา่ ยในกิจกรรม ใชเ้ วลา 3 ช่วั โมง เปน็ กิจกรรมค่ายฯ ทใี่ ชเ้ วลาร่วมกัน เสวนาทางวิชาการ มีเวลานอ้ ย ได้มากกกวา่ เดมิ และมีการสับเปลย่ี นหมุนวนกนั เป็น จนเกนิ ไป เจา้ ภาพในการจัดกจิ กรรม มีการนาเสนอ กิจกรรมหาแนวทางในการอนรุ ักษ์และฟ้ืนฟูแหล่งน้า เปน็ กิจกรรมทีม่ ีการนาข้อมูล จากการตรวจวัดคุณภาพแหล่งน้าทุกจุดตรวจ มาวิเคราะห์และจัดกระทาเป็นกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟู แหล่งน้าที่รับผิดชอบ โดยการแบ่งผู้เข้าร่วมงานเป็นกลุ่มตามจุดตรวจ แล้วนาเสนอกิจกรรมที่จะจัดทาใน อนาคตของ โครงการ “ปลวกรกั ษ์นา้ ระยะท่ี 2” รายงานผลการวิจยั โครงการสร้างจติ สำนกึ และความร้ใู นการผลิตและบรโิ ภคทเ่ี ปน็ มิตรกบั 97 สงิ่ แวดล้อม สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
3. ข้อเสนอแนะ ปญั หาจากโครงการ 3) ในการอบรมผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ เพื่อให้มี 1) ควรมกี ารจัดหาหนว่ ยงานหรือองค์กรที่ เกย่ี วขอ้ งกบั การรับผิดชอบ ตรวจสอบ หรือ ความรแู้ ละทักษะการตรวจวัดคุณภาพนา้ อนุรกั ษ์แหลง่ นา้ ในชุมชนเพิ่มเติม เชน่ กรม ควรใชผ้ ูเ้ ชยี่ วชาญจากหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ชลประทาน องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในการอบรม เพ่ือให้เกิดความเข้าใจที่ถกู ต้อง กรมควบคุมมลพิษ นิคมอตุ สาหกรรมฯใน ตามหลักวชิ าการ ตลอดจนได้ผลการ พื้นท่ี เปน็ ตน้ เพ่ือประสิทธภิ าพและความ ตรวจวัดทีน่ ่าเชือ่ ถือสามารถนามาเปน็ แหล่ง ยัง่ ยืนของโครงการ อา้ งองิ ได้ในอนาคต 4) การสร้างเครือขา่ ยตลอดจนการขยาย 2) จากการศึกษาประกาศ เครือข่าย ควรมกี ารดาเนินการอย่างมี คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาค คุณภาพ ทั้งการทาความเขา้ ใจจุดประสงค์ ตะวนั ออก เรือ่ ง แผนผังการใช้ประโยชน์ ของโครงการ การอบรมเครอื ขา่ ย การลง ท่ีดนิ และแผนผงั การพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ทต่ี รวจวัดคณุ ภาพนา้ เพ่ือใหไ้ ด้เครือขา่ ย พืน้ ฐานและระบบสาธารณปู โภค เขตพัฒนา เฝ้าระวังแหลง่ นา้ ท่มี ีคุณภาพ พเิ ศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2562 ระบุวา่ จะ 5) การลงพ้นื ท่ีตรวจวัดคณุ ภาพน้า ควรมีการ มีการสรา้ งระบบบาบัดน้าเสยี ชมุ ชน บริเวณ แบ่งหน้าทขี่ องกลุ่มเฝ้าระวงั แหลง่ น้าให้ คลองปลวกแดง ดงั นน้ั ในการดาเนิน ชดั เจน ทง้ั ผตู้ รวจวดั ผูด้ ูแลความปลอดภัย ผู้ กจิ กรรม “ปลวกรักษ์นา้ ” ควรมุ่งเน้นในการ เก็บตัวอยา่ งนา้ เปน็ ตน้ รวมถึงการใส่เคร่ือง สรา้ งเครอื ข่ายนักเรียนและชมุ ชนเฝ้าระวัง ป้องกนั เพ่ือความสะดวกและปลอดภยั ขณะ แหลง่ น้า และการจัดกิจกรรมเพ่อื อนรุ ักษ์ ลงพ้นื ทต่ี รวจ และฟน้ื ฟูแหล่งน้าในจุดตรวจที่รบั ผดิ ชอบ 6) ในข้ันตอนการนาเอาผลการตรวจวดั คุณภาพ เพอ่ื ใหเ้ กิดความตระหนักในการอนุรักษ์ น้าในแต่ละจุดมาวเิ คราะหเ์ พื่อจัดทา แหล่งนา้ ในชมุ ชน ส่วนการปรบั ปรงุ คณุ ภาพ กิจกรรมเพือ่ อนรุ ักษแ์ ละฟนื้ ฟูแหล่งน้าในแต่ แหลง่ น้าใหด้ ขี น้ึ ควรเป็นหนา้ ทข่ี อง ละจดุ ควรมีการสนับสนุน กากบั หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง เม่ือได้รับการสะท้อน รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจติ สำนึกและความรูใ้ นการผลิตและบรโิ ภคที่เปน็ มติ รกับ 98 สงิ่ แวดล้อม สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
ภาคผนวก ก ผลการประเมินผเู้ ขา้ ร่วมอบรมการจัดกจิ กรรมอบรมตรวจวัดคณุ ภาพนา้ อย่างงา่ ย 1. คะแนนแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิเร่ือง การตรวจคุณภาพนา้ อยา่ งง่าย ของกลมุ่ นักเรียนแกนนา กล่มุ เครือข่ายนักเรยี นและชุมชน 2. คะแนนแบบสังเกตการใช้เครื่องมือวทิ ยาศาสตร์ ของกลุ่มนักเรยี นแกนนา กลุ่มเครอื ข่ายนกั เรียน และชุมชน รายงานผลการวจิ ัยโครงการสร้างจติ สำนึกและความร้ใู นการผลติ และบรโิ ภคท่ีเปน็ มิตรกบั 99 สงิ่ แวดลอ้ ม สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง
ผลการประเมนิ ด้านทฤษฎกี ารตรวจวดั คณุ ภาพน้าอย่างง่าย ระหวา่ งก่อนเรียนและหลงั เรียน คะแนนเต็ม 20 คะแนน ลำดบั ชอื่ - นามสกุล ผลการทดสอบความร้ภู าคทฤษฎี Pre-test Post-test 1. นกั เรียนกลมุ่ ปลวกสรา้ งรัง 1 นางสาวภาวณิ ี ทมุ สิงห์ 9 18 2 นายครุฑ ไชยศรีรัมย์ 10 20 3 นายศิรวฒั น์ กลางประพนั ธ์ 11 20 4 นายธรรมธร ทรัพย์มลู 8 19 5 นายภรู ณิ ์ ม่งั มี 9 19 6 นายธงชาติ มีลอง 10 20 7 นายวฒุ ิพงษ์ สิทธพิ รม 10 20 8 นายสิทธิพร ฉายรัศมี 7 18 9 นายศุภวชิ ญ์ ถอื ยิง่ ดี 9 18 10 นายอภวิ ิชญ์ เหลืองเจริญ 11 20 11 นางสาวมนันญา ปากจน่ั 11 20 12 นางสาวชนกิ านต์ รตั นภิรมย์ 12 20 13 นางสาวนุชศรา เงินจันทร์ 10 19 14 นางสาวพยิ ดา พ่อค้า 9 17 15 นางสาวนชั ฐินี หลงละลวด 8 19 16 นางสาวยุวดี แสงเพ็ง 8 19 17 นางสาวอัยรดา อาจวารนิ ทร์ 7 18 18 นางสาวพัทธนันท์ ชาวขา่ ว 10 20 รายงานผลการวิจัยโครงการสร้างจิตสำนกึ และความรูใ้ นการผลติ และบริโภคที่เปน็ มิตรกับ 100 สง่ิ แวดล้อม สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154