Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือประวัติศาสตร์ชุมชน ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หนังสือประวัติศาสตร์ชุมชน ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Published by วรางคณา, 2021-12-09 18:16:26

Description: หนังสือประวัติศาสตร์ชุมชน ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Search

Read the Text Version

ตำบลท่าขนอนประวัติศาสตร์ชุมชน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี จั ด ทำ โ ด ย วิ ศ ว ก ร สั ง ค ม ตำ บ ล ท่ า ข น อ น

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเจ้าพระบรมราชินีนาถ ครั้งเสด็จทรงเยี่ยมประชาชน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ ๗ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ เนื่องในวโรกาสปีการฉลองกาญนาภิเษก

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ท่าขนอน สวยอย่างไร? เพราะอะไรถึงต้องไป เ ยื อ น สั ก ค รั้ ง . . . . . คำถามที่เรามักจะได้ยินบ่อยๆเมื่อพูดถึง ตำบลท่าขนอนในวันนี้พวกเราทีมวิศวกร สังคมตำบลท่าขนอน..อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานีขออาสาพาทุกท่าน ไปทำความรู้จักกับตำบลท่าขนอนของ พวกเราคงจะดีไม่น้อยหากวันหยุดยาวนี้ จะได้พักผ่อนท่ามกลางความเขียวขจีที่ มีภูเขาใหญ่ล้อมรอบพร้อมด้วยธรรมชาติ ที่งดงามพระอาทิตย์สีทองลับขอบฟ้า ตำบลท่าขนอนเป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในตัว อำเภอคีรีรัฐนิคมมีลักษณะพื้นที่เป็นที่ ราบลุ่มแม่น้ำบางส่วนมีแม่น้ำพุมดวง เป็นแม่น้ำสายหลัก..ในอดีตผู้คนสัญจร โดยทางน้ำทำให้มีการเก็บภาษีอากรที่ เรียกว่า\"อากรขนอน\"จะเก็บภาษีกันที่ ท่าน้ำหรือท่าเทียบเรือของชาวบ้านใน ชุมชนนั้นๆ....ท่าน้ำหรือท่าเทียบเรือนี้ ชาวบ้านเรียกว่า.\"ท่าขนอน\".ซึ่งต่อมา ท่าขนอนจึงกลายมาเป็นชื่อของหมู่บ้าน ด้วยความอุดมสมบูรณ์ในด้านธรรมชาติ และความเจริญรุ่งเรืองในด้านความเป็น อยู่จึงทำให้เกิดคำขวัญประจำตำบลที่ว่า \"ท่าขนอนเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ฟื้นศาสนสถานประสานใจชุมชน คนรักษ์ธรรมชาติใสสะอาดคลองพุมดวง\"

ทีมวิศวกรสังคม ประจำตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี นางสาวจิราวรรณ บุญเชิด อาจารย์ที่ปรึกษาประจำตำบลท่าขนอน ทีมวิศวกรสังคม (บัณฑิตจบใหม่) นางสาวศลิษา ฤทธิกุล นางสาวพนิดา อนิกร นางสาวสุพิชชา ศรีศิริ นางสาวศศิวิมล ใสยผุด (ประธานตำบล) (รองประธาน) (เลขานุการ) นางสาวศุภกัญญา ใสยผุด นางสาวศิริวรรณ ศิริรัตน์ นางสาวสุวรา ปิยะเขต นางสาววรางคณา วิเศษสมบัติ นายจัตุนันท์ พัฒนพงษ์ นายสุรยุทธ ยี่สุ่น นางสาวภัสราวรรณ บรรสิทธิ์ นางสาวจันทิมา สร้อยสุวรรณ

ทีมวิศวกรสังคม (บัณฑิตจบใหม่) นางสาวสุทิสา จารึกเรียม นางสาวสิริพร วิชัยพล ทีมวิศวกรสังคม (ประชาชน) นางสาวนันทวัลย์ พรหมจารี นางสาวสุพรรษา สังข์มี นายอรรณพ วิชัยดิษฐ นางสาวนฤมล ขาวจิตร (ประธาน) นางสาวนุจรี จันทร์ปาน นางสาวนฤมล อุ่นจิตต์ นางสุณีย์รัตน์ ทรัพย์สิน ทีมวิศวกรสังคม (นักศึกษา) นางสาวศิริพร สังข์สี นายเสถียรพงษ์ นิสัยกล้า นางสาวศศิธร ยอดจันที นางสาวธิดารัตน์ ศรีชาย นายเดชาธร ชูสิทธิ์ นายวัฒนา สุนสถิตย์ นายจักรพงษ์ ไชยกุก

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ก คำนำ วารสารประวัติศาสตร์ชุมชนท่าขนอนเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอเรื่องเล่าวิถีชุมชน คนท่าขนอนและสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจในตำบลท่าขนอนโดยวิศวกรสังคม ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รวบรวมข้อมูลและรูปภาพที่ เป็นจุดเด่นของสถานที่มาไว้ในวารสารเล่มนี้เพื่อดึงดูดให้ผู้ที่สนใจศึกษาข้อมูลของตำบล ท่าขนอนและรักในการเดินทางท่องเที่ยวโดยได้รับความช่วยเหลือจากคนในพื้นที่ที่ช่วย แนะนำและต่อยอดความรู้ได้แก่ ปราชญ์ชุมชน ผู้นําชุมชน ผู้ประกอบการ กลุ่มสมาชิก วิสาหกิจชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในตำบลท่าขนอนคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าวารสารประวัติศาสตร์ชุมชนท่าขนอนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาข้อมูล ในด้านต่างๆของตำบลท่าขนอนและสามารถที่จะยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล ตำบลท่าขนอนได้อย่างมีประสิทธิภาพหากเกิดข้อผิดพลาดประการใดทางคณะผู้จัดทำ ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ข สารบัญ 0000000000000000053421627466741131 กแดกอกลคกดดหขภดศสัูู้้้้่มนกาาาาาาาาานวมมวู่ิ่รรรรณนนนนาษนายนอบ์้้เปพบมดกเศปพณาำาทาปศีัเศราสแา่ากรเนิฒุชละรขืกีณรสศาะล่่า1ใัอิยษภนตปายนศนชตะูชนปรฐมขสากาทวาเิย้ี์กแรข์เำ่ปกอคิตแดัะปจคต็้รรมรังลกูเญอละอลพะเเงงงลพกณท็ืคท้ีก์ลนศุกแา่สมัฐงาลงอสราะกัับางนพดิคชรชีธอิุีมพหมกงแาครช์ลรรกนสะม่าทวว่ปรันาฒบรขตะนริำนเหธบพอราลณนรรีทมสแ่่าวตลขำนะบนตงำอลาบนทน่ลปาขทร่นะาขจอำนนปอี น 3113213243021230359519173172399958 หหหหหปหหหหหหหหหหส่มมมมมมมมมมมมมมมรวููููููููููููููู่่่่่่่่่่่่่่่านทททททททททททททททีีีีีีีีีีีีีีีช่่่่่่่่่่่่่่่ทีญ891113462511711่์1524032ชบบบบบบบบบ้้้้้้้้้าบบบบบบาาาาาาาาาป้้้้้้วนนนนนนนนนาาาาาารบนนนนนน้กทปทหทคโคะา่่่ตทขสคไยะลววาาาารนุัทนนวนขดเยขาลอตรใุปิรยยนาาสนหอนงนคัึงาายงแเสนงองทวชากใงุทนกาตนตามมอ้้า์้ววออมชะงงยเนป(็บนามงสา่ขวนอ)งตำบลท่าขนอน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ค สารบัญ (ต่อ) 44454454455555448624010829693575 หสเนสวหปสถนเทนสสัิิ่้่รจ้้้ำำดืวถำนนราวำำำอดสนนตตตนปนะาีนุพชััน้ย้ัขนกกกกกตส์รำาทีดูุแพีเหสสโสยารฉ่ขงสิพตรกีถงงวาามภ3ยนะฆฆบยานดไพา์์บฟครยกหโยหกสพลึตรีาาววางูเนพงรนฉวนทยจลส่ิานอมางวงกพเวรีทีะ่(ยเปวกี.ยโกรวติิทโท) 55655656แ7666576318598241700695ละเ1กกกกกกกกกกกกกกสิิิิิิิิิิิิิสิร่ื5ั่จจจจจจจจจจจจจจวองกกกกกกกกกกกกกกนคงครรรรรรรรรรรรรรวทมริีัรรรรรรรรรรรรรร่ถวรีมมมมมมมมมมมมมม4ชเาุเอปอออเแแอแแปอรมืยพลีอกปปปปบบบบบบลล้ชตููยานารรรรกกรรรรรรนำงะรรรรรมมมมมยมผกููููปบคเัดปปปปาเเเเเเหกลนลลำ้็ชชชชชชกผกเปิิิิิิววดัาหิทเแงงงงงงจกล็ยถล่นฟด้ปปปปปปีบดิาุนวนพานกาขฏฏฏฏฏฏ้ฟบยดสิิิิิิอำูงุงน่บบบบบบานวกบกััััััเาู้้องตตตตตาตพาำรนิิิิิิีนวกกกกกรกยณ้โาสาาาาาางคารรรรรรรร้กปยปจกาพงั้้ัางดกาออฒกรรรทรงงาานปะำกกร้ยััาดอฐนนยัไแาบงดแแกล้นกผลลอรัะนขละะะย้ิส่อแ่ดตบบาังมลงบภรรูเัยะลสรรัณเ่ศงบชรเเิุททฑยมรมรื์นาาษชรสชุัสสเมมฐนทาาชมกแธธาินาจลสาาชแะรราีพลณณหธะานภภัรััสงิยยณนสดดื้้คอภ้าาัาเยนนล่ออOาุัทคTคกOีภภPััยย

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่หานข้ าน อ| น0 1 ท่าขนอนเมืองน่าอยู่.... ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น ชุ ม ช น ท่ า ข น อ น ด้านการปกครอง \"องค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน\"..ได้ยกฐานะจากสภาตำบลเป็นองค์การบริหาร ส่วนตำบล....โดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล...พ.ศ.2537 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย ซึ่งได้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539 และใช้เป็นศูนย์กลาง การพัฒนาในเขต ตำบลท่าขนอน มีพื้นที่ 172 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 107,500 ไร่ ระยะห่างจาก ตัวจังหวัดสุราษฎร์ธานี 60 กิโลเมตร อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลน้ำหัก อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลกะเปา อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลบ้านยาง อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลกะเปา อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ ตำบลเขาพัง อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้ า นจำปนรวะนชปารกะรช า ก ร ใ น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ป ร ะ ช า ก ร ผู้ ช า ย 4 , 1 3 4 ค น ป ร ะ ช า ก ร ผู้ ห ญิ ง 4 , 1 4 3 ค น ร ว ม ทั้ ง ห ม ด 8 , 2 7 7 ค น

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ทห่ าน้ขาน|อ0น2 ศู น ย์ พั ฒ น า เ ด็ ก เ ล็ ก สั ง กั ด อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น มีทั้งหมด 4 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าขนอน มีนักเรียนทั้งสิ้น 75 คน - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยวนสาว มีนักเรียนทั้งสิ้น 50 คน - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไทรงาม มีนักเรียนทั้งสิ้น 5 คน - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกะเปาใต้ มีนักเรียนทั้งสิ้น 27 คน ด้านศาสนา การนับถือศาสนาของคนในตำบลท่าขนอน - ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.69 - ผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.25 - ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 0.06 วัด 1 แห่ง คือ วัดปราการ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านท่าขนอน สำนักสงฆ์ 3 แห่ง 1) สำนักสงฆ์วัดปราการ ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 ตำบลท่าขนอน 2) สำนักสงฆ์บ้านยวนสาว ตั้งอยู่หมู่ที่ 13 ตำบลท่าขนอน 3) สำนักสงฆ์โตนยาง ตั้งอยู่หมู่ที่ 15 ตำบลท่าขนอน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 0 3 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ การพาณิชย์ ธนาคาร 4 แห่ง สถานีบริการน้ำมัน 2 แห่ง บริษัท 1 แห่ง ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า - แห่ง ห้างหุ้นส่วนจำกัด - แห่ง ตลาดสด 1 แห่ง ร้านค้าต่างๆ 20 แห่ง โรงฆ่าสัตว์ - แห่ง ซุปเปอร์มาเก็ต 3 แห่ง กลุ่มอาชีพ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน มีกลุ่มอาชีพ จำนวน 4 กลุ่ม 1. กลุ่มแม่บ้าน 2. กลุ่มพัฒนาสตรี 3. กลุ่มเลี้ยงปลา หมู่ที่ 8 บ้านโตนยาง 4. กลุ่มเลี้ยงปลา หมู่ที่ 6 บ้านป่ายาง ค ว า ม เ ชื่ อ ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ พิ ธี ก ร ร ม -ปปรระเะพเพณณีีแวันลขึะ้นงปาีในหปม่รปะจรำะมปีาณเดือนมกราคม - ประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประมาณเดือน พฤษภาคม - ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือนเมษายน - ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน - ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณ เดือนกรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 0 4 ด้านเศรษฐกิจ การเกษตร มีประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็น หลัก ได้แก่ การทำสวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน นาข้าว และปลูกพืช ผลไม้ต่าง ๆ ดังนี้ (จำนวนประชากรที่สำรวจ 5,235 คน) - อาชีพเกษตรกรรม (ทำสวน) ร้อยละ 85 ของจำนวนประชากรทั้งหมด - อาชีพเกษตรกรรม (ทำนา) ร้อยละ 2.04 ของจำนวนประชากรทั้งหมด - อาชีพรับจ้าง ร้อยละ 7.32 ของจำนวน ประชากรทั้งหมด - อาชีพค้าขาย ร้อยละ 1.87 ของจำนวน ประชากรทั้งหมด - อื่น ๆ ร้อยละ 3.77 ของจำนวนประชากร ทั้งหมด การปศุศัตว์ เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยง ในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร ฯลฯ การบริการ โรงแรม - แห่ง ร้านอาหาร 5 แห่ง ประกอบด้วย (1) ร้านครัวคีรี (2) ขนมจีนป้าเขียว (3) ร้านครัวสุขสันต์ (4) ร้านขนมจีน เกี๊ยวปลาแม่วร (5) ร้านข้าวแกงบ้านส้อง โรงภาพยนตร์ - แห่ง สถานีขนส่ง - แห่ง ร้านเกมส์ - แห่ง

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 0 5 ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ตำ บ ล ท่ า ข น อ น การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change) หมายถึง การที่ระบบสังคมกระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่นขนบธรรมเนียมประเพณีระบบครอบครัว ระบบการ ปกครองได้เปลี่ยนแปลงไปไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมนี้อาจจะ เป็นไปในทาง ก้าวหน้าหรือถดถอย เป็นไปได้อย่างถาวรหรือชั่วคราว โดยการวางแผนให้ เป็นไปหรือเป็นไปเอง และที่เป็นประโยชน์หรือให้โทษได้ทั้งสิ้น ตำบลท่าขนอนเป็นตำบลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานของอำเภอคีรีรัฐนิคมตั้งอยู่อยู่ริมแม่น้ำ พุมดวงบนคาบสมุทรมลายูซึ่งเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญมาตั้งแต่สมัยอดีต วิถีชีวิตของผู้คน ของตำบลท่าขนอนในอดีตจะผูกพันกับสายน้ำ ทั้งในการคมนาคม อุปโภคบริโภค และเป็น สังคมเกษตรกรรมดังจะเห็นได้จากการสร้างบ้านเรือนที่ตั้งอยู่ตลอดแนวแม่น้ำพุมดวง รวม ไปถึงที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอคีรีรัฐนิคม สถานีตำรวจภูธรคีรีรัฐนิคม หรือสถานที่ราชการ ต่างๆ ก็จะตั้งอยู่ริมแม่น้ำพุมดวงบริเวณชุมชนตลาดเก่าอีกด้วย แต่ด้วยพื้นที่ของตำบลท่าขนอนเป็นพื้นที่รับน้ำจากพื้นที่ทางด้านตะวันของจังหวัด สุราษฎร์ธานี คลองหลายสาขาไหลลงแม่น้ำพุมดวงทั้งหมดทำให้พื้นที่ของตำบลท่าขนอน เกิดน้ำท่วมอยู่บ่อยครั้ง บ้านเรือน สถานที่ราชการถูกน้ำท่วมจนเกิดความเสียหาย ต่อมามี ถนนตัดผ่านคือทางหลวงหมายเลข 4247 หรือถนนขุนคีรี จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้าน สังคมและวัฒนธรรมของตำบลท่าขนอน เริ่มมีการย้ายสถานที่ราชการไปก่อสร้างที่ยังสถาน ที่ที่ไม่มีน้ำท่วมถึงซึ่งก็คือที่ตั้งของศูนย์ราชการอำเภอคีรีรัฐนิคมในปัจจุบันสังคมของตำบล ท่าขนอนจะไม่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วแบบที่เรียกว่าเปลี่ยนแปลงอย่างหน้ามือเป็นหลัง มือหากการเปลี่ยนแปลงนั้นจะมีลักษณะแบบค่อยเป็นค่อยไปบ้านเรือนประชาชนเริ่ม เคลื่อนย้ายมาอยู่ริมถนนเกิดเป็นย่านชุมชนเกิดขึ้นตลอดเขตแนวถนนและเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่ขยายตัวขึ้นวีถีชีวิตและวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับสายน้ำของผู้คน ตำบลท่าขนอนค่อยๆลดลง

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 0 6 ขนาดและที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศของตำบลท่าขนอนพื้นที่ด้านทิศ ตำบลท่าขนอนมีพื้นที่ทั้งหมด ตะวันตกมีลักษณะเป็นภูเขาสูงโดยมีภูเขาที่สำคัญ 176 ตารางกิโลเมตร (68 ตร.ไมล์) ได้แก่ทิวเขาแดนมุ่ยส่วนบริเวณตอนกลางของตำบลมี ลักษณะเป็นที่ราบสูงและบริเวณด้านทิศตะวันออกมี หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วน ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำพุมดวงซึ่งไหลผ่านพื้นที่ ตำบลท่าขนอน ประกอบด้วย ด้านทิศใต้ของตำบลท่าขนอนนอกจากนี้มีคลองกะเปา ซึ่งมีต้นกำเนิดจากทิวเขาแดนมุ่ยมีทิศทางการไหลจาก หมู่ที่ 1 บ้านท่าขนอน ทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก สำหรับการใช้ หมู่ที่ 2 บ้านท่า ประโยชน์ที่ดินในตำบลท่าขนอน ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านควน เกษตรกรรมมีพื้นที่ประมาณร้อยละ 60 ของพื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านหาดหึง ตำบลได้แก่ พื้นที่บริเวณตอนกลางไปจนจรดด้านทิศ หมู่ที่ 5 บ้านกะเปาใต้ ตะวันออกของตำบล ส่วนพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางตำบล หมู่ที่ 6 บ้านป่ายาง ไปจนจรดด้านตะวันออกใช้ประโยชน์เป็นพื้นที่ หมู่ที่ 7 บ้านคลองเกาะ (บางส่วน) เกษตรกรรม ในลักษณะของปาล์มน้ำมัน ยางพารา หมู่ที่ 8 บ้านโตนยาง และผลไม้ สำหรับพื้นที่ชุมชนส่วนใหญ่ตั้งบ้านเรือนอยู่ หมู่ที่ 9 บ้านทรายแก้ว บริเวณทิศ ตะวันออกของตำบล ซึ่งพอสรุป ได้ดังนี้ หมู่ที่ 10 บ้านสุขสันต์ 1. หมู่ที่ 8, 11, 12, 13, 14, 15 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ หมู่ที่ 11 บ้านทรายทอง ลาดชนเหมาะแก่การปลูกยางพาราและ ผลไม้ต่าง ๆ หมู่ที่ 12 บ้านขนุนทอง 2. หมู่ที่ 3, 4, 5, 6, 10, 7 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ หมู่ที่ 13 บ้านยวนสาว ลุ่มเหมาะกับการทำนาและไม้ผลต่าง ๆ หมู่ที่ 14 บ้านคลองน้อย หมู่ที่ 15 บ้านไทรงาม

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 0 7 แม่น้ำสายสำคัญ เป็นแหล่งน้ำธรรมชาติน้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติใน ตำบลท่าขนอน ดังนี้ - คลองพุมดวง ไหลผ่านหมู่ที่ 1,2,4,5,10 - คลองปังหลา ไหลผ่านหมู่ที่ 1,3,7,8,9,13,15,14 - คลองกะเปา ไหลผ่านหมู่ที่ 6,9,11,13 - คลองตุย ไหลผ่านหมู่ที่ 8,12,15 - คลองน้อย ไหลผ่านหมู่ที่ 9,14 - คลองน้ำขาว ไหลผ่านหมู่ที่ 9,13 - คลองร่มข้าว ไหลผ่านหมู่ที่ 9 - คลองโตน ไหลผ่านหมู่ที่ 2,3 - คลองนา ไหลผ่านหมู่ที่ 4,5 - คลองหยวย ไหลผ่านหมู่ที่ 4,5,9,11 ภูมิอากาศ ลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื้นอากาศ เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูซึ่งมี 2 ฤดู ดังนี้ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึง กลางเดือนพฤษภาคมอากาศร้อนและแห้ง แล้งแต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็นบ้างครั้งเกิด พายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ ประชาชนทุกปี ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมฝนตกมากใน ช่วงเดือนพฤษภาคม–ตุลาคม แต่อาจ เกิด“ช่วงฝนทิ้ง”ซึ่งอาจนานประมาณ 1 – 2 สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมี ฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม แต่ในเขต อบต. ไม่เคยเกิดอุทกภัยรุนแรง มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 900 มิลลิเมตร

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 0 8 ทำไมต้องชื่อท่าขนอน ? ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ตำ บ ล ท่ า ข น อ น . . . . ท่าขนอนเป็นด่านเก็บภาษีเป็นด่านที่เก็บภาษี สินค้าที่มาจากจังหวัดพังงาตะกั่วป่าและภูเก็ต การเดินทางไปค้าขายของคนในสมัยก่อนต้อง เดินทางผ่านมาทางช่องเขาแล้วจึงล่องมาตาม ลำคลองผ่านชายทะเลและริมทางรถไฟการที่ พื้นที่บริเวณนี้เป็นด่านเก็บภาษีอากรจึงเรียก ตำบลนี้ว่าตำบลท่าขนอนและอำเภอก็ใช้ชื่อว่า อำเภอท่าขนอนตอนหลังเห็นว่าชื่อของอำเภอ ไม่ตรงกับสภาพทางภูมิศาสตร์จึงได้เปลี่ยนชื่อ มาเป็นอำเภอคีรีรัฐนิคมแต่ตำบลก็ยังชื่อตำบล ท่าขนอนเหมือนเดิม

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 0 9 ประวัติความเป็นมาของ ขหมนู่ทาี่ด1แมลีพืะ้นที่ทีต่ัท้ัง้งหมด 619 ไร่ หมู่ที่ 1 บ้านท่าขนอน ทิศเหนือ จด หมู่ที่ 7 ตำบลท่าขนอนทาง รถไฟสายคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในอดีตบริเวณนี้เป็นด่านเก็บภาษีที่เรียกว่า ทิศใต้ จด แม่น้ำพุมดวง หมู่ที่ 4 อากรขนอนซึ่งสถานที่เก็บอากรขนอนที่ท่าน้ำ ตำบลท่าขนอน หรือท่าเรือนี้เรียกว่าท่าขนอนซึ่งเป็นที่อยู่ ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ 2 ตำบลท่าขนอน อาศัยของชุมชนที่มีความเจริญเป็นอย่างมาก ชุมชนบ้านท่า มีบ้านเรือนแพประมาณ100กว่า หลังคาเรือน ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ 5 ตำบลท่าขนอน เป็นสถานที่แลกเปลี่ยนสินค้ามีโรงแรม เลปั็กนษที่ณราบะภลุู่มมิมีปแรหะล่เงทน้ศำใช้ได้ตลอดปีคือ โรงภาพยนตร์ โรงสีข้าว ร้านทำทอง โรง แม่น้ำพุมดวงพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของ ปั่นไฟขนาดเล็กนอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของ ชุมชน ได้แก่ ยางพารา ลองกอง เงาะ ศูนย์ราชการอำเภอคีรีรัฐนิคมและ ปาล์มน้ำมัน ทรัพยากรธรรมชาติในอดีตมีความอุดม สมบูรณ์มากมีป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้ำ ดินอุดม สมบูรณ์ เป็นแหล่งผลิตข้าวขายในชุมชน ทเป็รนัพแหยลา่งกน้รำธธรรรรมมชชาตาินต้ิำที่เกิดขึ้นตาม ทำประมงน้ำจืดการค้าไม้ ทำสวนผลไม้ สวน ธรรมชาติใน หมู่ที่ 1 ตำบลท่าขนอนดังนี้ กาแฟและเลี้ยงสัตว์ สำหรับประชากรกลุ่ม -คลองพุมดวง ไหลผ่านหมู่ที่ 1,2,4,5,10 แรกที่ตั้งรกรากคือขุนคีรี เทวกุล นายอำเภอ -คลองปังหลา ไหลผ่านหมู่ที่ คีรีรัฐนิคม ต่อมาเมื่อมีประชากรเพิ่มมากขึ้น 1,3,7,8,9,13, 15, 14 อาคารที่ว่าการอำเภอชำรุดทรุดโทรม -รมีะWบบIFกIฟารีรในสื่หอมูส่บ้าารนใรนะชยุมะ1ช0น0เมตรจาก ประกอบกับมีปัญหาน้ำท่วมขังทุกปีจึงได้มี การย้ายศูนย์ราชการไปอยู่แห่งใหม่ที่น้ำท่วม ศาลาหมู่บ้าน ไม่ถึงใกล้กับสถานีรถไฟเปิดทำการได้ -มีการกระจายข่าวแจ้งข่าวทางLINE ประมาณ 10 ปีที่ทำการอำเภอเกิดไฟไหม้ FACEBOOK สาเหตุมาจากฟ้าผ่าทำให้ที่ว่าการอำเภอเกิด - ในชุมชนมีเครื่องวัดระดับน้ำ ความเสียหายจึงได้มาก่อสร้างที่ว่าการอำเภอ หลังใหม่ที่อยู่ปัจจุบัน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 0 กเส้านรทคามงเนข้าาหคมูม่บ้าน บ้านท่าขนอน มีการคมนาคม 2 เส้นทาง คือทางรถไฟ และทางรถยนต์ เส้นทางจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีถึง บ้านท่าขนอนระยะทาง 80 กิโลเมตร สาธารณูปโภค ไฟฟ้า ชาวบ้านมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน น้ำประปาชาวบ้านมีน้ำประปาใช้ประมาณ 80% ของจำนวนครัวเรือน กผู้ใาหรญป่บ้กาคนครนอทงี่1 ส.ต.อ.เสรี เสรยางค์กูล ไม่สามารถระบุเวลาได้ ผู้ใหญ่บ้านคนที่2 นายนุกูล เพชรศรี ไม่สามารถระบุเวลาได้ ผู้ใหญ่บ้านคนที่3 นายอนันตชัย ละอองสุวรรณ ปีพ.ศ.2542–2544 ผู้ใหญ่บ้านคนที่4 นายจำเนียน พลจร ปีพ.ศ.2547–4 ก.พ.2552 ผู้ใหญ่บ้านคนที่5 นายชนะศักดิ์ วิเชียรวงศ์ 4 มี.ค.2552–30 ส.ค.2552 ผู้ใหญ่บ้านคนที่6 นางสาวกนกพร สุขเกิด 11ก.ย.2552–ปัจจุบัน จปำรนะวชนาคกรัรวเรือนทั้งหมด 498 ครัวเรือน ประชากรรวมทั้งสิ้นจำนวน 1377 คน ประชาชนที่เป็นชายจำนวน 702 คน ประชากรที่เป็นหญิงจำนวน 675 คน ผู้สูงอายุจำนวน 98 คน เด็กเล็กต่ำกว่าหกขวบจำนวน 37 คน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 1 ศกูนายร์พศัึฒกนษาาเด็กเล็กสังกัด มีทั้งหมด 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าขนอนมีนักเรียน ทั้งสิ้น 75 คน โรงเรียนสังกัด สพฐ. มีทั้งหมด 2 แห่ง โรงเรียนบ้านท่าขนอนมีนักเรียนทั้งสิ้น 414 คน โรงเรียนอนุบาลตรีพัฒน์มีนักเรียนทั้งสิ้น 72 คน ศาสนา ประชากรในพื้นที่นับถือศาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ เศรษฐกิจและอาชีพ โครงสร้างทางเศรษฐกิจประชาชนจะประกอบ อาชีพด้านการเกษตร เช่น ทำสวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา ค้าขาย รับราชการ และรับจ้าง - รายได้เฉลี่ยของประชาชน124,576.71บาท/ คน/ปี - ครัวเรือนมีการออมร้อยละ - บาท/คน/ปี

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 2 ประวัติความเป็นมาของ แทหรัลพ่งยน้ำาธกรรรมธชรารติมไชด้าแตกิ่ หมู่ที่ 2 บ้านท่า คลองพุมดวง เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมี น้ำใช้เพียงพอตลอดทั้งปี เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ตั้งหมู่บ้านมาแต่โบราณ คลองกำปัง มีน้ำไหลผ่านในช่วงฤดูฝน มีคลองพุมดวงไหลผ่านทางด้านตะวันออก ของหมู่บ้านอยู่ในการดูแลสุขาภิบาล การคมนาคม ท่าขนอนในปีพ.ศ.2499และต่อมาในปี พ.ศ.2542ได้ยกฐานะเป็นเทศบาลตำบล เลี้ยวขวาเข้าสู่ทางหลวงชลบท 4100 ท่าขนอน ประมาณ 200 เมตร ใช้เวลาประมาณ 5 นาทีทางเข้าหมู่บ้านจะมีเส้นทางที่สามารถ ขนาดและที่ตั้ง เข้าออกได้ทางเดียวภายในหมู่บ้านจะทาง ตันยาวไปถึงคลองพุมดวงเป็นตรงไม่ซอย ทิศเหนือติดต่อกับ คลองกำปัง ตัดผ่านเพราะหมู่ติดกับคลองพุมดวง การ ทิศใต้ติดต่อกับ หมู่ที่ 1และหมู่ที่ 7 คมนาคมภายหมู่ถึงเข้าออกได้ทางเดียว ทิศตะวันออกติดต่อกับ คลองพุมดวง จากทางเข้าถึงสุดซอยมีระยะทาง800เมตร ทิศตะวันตกติดต่อกับทางรถไฟ จากทางเข้าหมู่บ้าน สายสุราษฎร์ธานี-คีรีรัฐนิคม ผกู้ใาหรญป่บ้กาคนครนอทงี่ 1 นายน้อมนาเมือง ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายเล็ก โกลา ลักษณะภูมิประเทศ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายซุ้น รองสกุล ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 นายเชิ้ม วิสาละ บ้านท่า หมู่ที่ 2 ตำบลท่าขนอน ตั้งอยู่ใน ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 5 นายสุวรรณ วิสาละ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 6 นายสมศักดิ์ ปิ่นทอง ห่างจากจังหวัด 65 กิโลเมตรสภาพพื้นที่ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 7 ด.ต.เดชา ชูประเสริฐ เป็นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำพุมดวงลักษณะพื้นที่ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 8 นายศราวุฒิ บัวศรีคำ เหมาะที่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม (คนปัจจุบัน) เหมาะแก่การทำเกษตรกรรมประกอบด้วย ลักษณะภูมิอากาศทั่วไปของภาคใต้จะ มี2ฤดู คือ ฤดูร้อน และฤดูฝนซึ่งฤดูฝนจะมี ระยะเวลานานกว่าทำให้อากาศโดยทั่วไป เย็นอากาศตอนกลางคืนถึงเช้าจะเย็น เหมาะแก่การทำสวน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 3 ประชากร จำนวนประชากรรวมทั้งสิ้น 297 คน แยกเป็น ผู้ชาย 143 คน ผู้หญิง 154 คน ผู้สูงอายุ(อายุ60ปีบริบูรณ์ขึ้นไป) รวมทั้งสิ้น 67คน แยกเป็นผู้ชาย 31 คน ผู้หญิง 36 คน คนพิการ รวมทั้งสิ้น 7คน แยกเป็น ผู้ชาย 3 คน ผู้หญิง 4 คน จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 83 ครัวเรือน การศึกษา ประชากรบ้านท่าหมู่ที่ 2 ส่วนใหญ่จบการศึกษา ภาคบังคับ 100 %ใช้ภาษาไทยท้องถิ่นเป็นภาษา หลักประชาชนบ้านท่าจบการศึกษาระดับประถม โรงเรียนบ้านท่าขนอน ระดับมัธยมศึกษา ได้แก่ โรงเรียนคีรีรัฐวิทยาคม ศาสนา นับถือศาสนาพุทธ100%มีวัดปราการซึ่งตั้งอยู่ใน หมู่บ้านเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านและเป็น สถานที่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาของชาว ชุมชนบ้านท่าและหมู่บ้านใกล้เคียง ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมที่สืบต่อกัน มายาวนานคืองานประเพณีพิธีสวดกลางบ้าน จัดขึ้นประมาณปลายเดือนเมษายนหรือต้น เดือนพฤษภาคม(ขึ้นเดือน 6ไทย) ซึ่งเรียกกันว่า \"จบปี จบเดือน\" และทำบุญตักบาตรในวันขึ้นปี ใหม่เป็นประจำทุกๆ ปี

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 4 เศรษฐกิจและอาชีพ โครงการหมู่บ้านด้านเศรษฐกิจกลุ่มเลี้ยงผึ้ง กลุ่มเพาะเห็ด ปุ๋ยหมักในหมู่บ้านมีจะมีอาชีพ ของคนในหมู่บ้านดังนี้ อาชีพหลักของประชากรได้แก่การทำสวน ยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน อาชีพรอง ได้แก่ การค้าขาย เลี้ยงสัตว์ อาชีพเสริม ได้แก่ การปลูกผัก เช่น แตงกวา ฟักทอง บวบ มะเขือ มะละกอ ด้วยสภาพของ หมู่อยู่ในเศรษฐกิจ จึงทำให้ คนในหมู่บ้านมี รายได้ สม่ำเสมอโดยการขายของหน้าหมู่บ้าน หรืออยู่ใกล้ ที่รับซื้อ ผลผลิต ทางการเกษตร

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 5 ประวัติความเป็นมาของ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ หมู่ที่ 3 บ้านควน เป็นราบสูงสภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ดั้งเดิมการก่อตั้งหมู่บ้าน เมื่อถึงฤดูแล้งน้ำจะแห้งแต่มีห้วยขนานและ ไม่สามารถทราบได้แน่นอนรู้เพียงว่าเดิมมี ห้วยขนุนซึ่งอยู่ระหว่างบ้านควนกับบ้าน 2ชื่อคือบ้านควนและบ้านปากโตนทั้งสอง ปากโตน ให้ชาวบ้านได้อุปโภคบริโภค หมู่บ้านนี้อยู่ใกล้กับทุ่งนาเรียกว่า\"ทุ่งละมุ\" ประชาชนส่วนใหญ่ย้ายมาจากที่อื่นเพื่อ ทรัพยากรธรรมชาติ อาศัยการทำนาเป็นอาชีพหลักต่อมาเมื่อ ทางราชกรเห็นว่าการปกครองดูแลไม่ทั่วถึง มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทางการเกษตร จึงมีการแต่งตั้งผู้ใหญ่บ้านเพื่อทำหน้าที่ใน ของส่วนบุคคลปกคลุมไปด้วยพืชทาง การปกครองดูแลพื้นที่และเห็นว่าประชากร เศรษฐกิจได้แก่ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน และ และพื้นที่ของบ้านควนมากกว่าบ้านปาก ผลไม้ตามฤดูการณ์ โตนจึงให้สองหมู่บ้านรวมกันเรียกชื่อว่า \"บ้านควน\" จนถึงปัจจุบัน การคมนาคม ขนาดและที่ตั้ง การเดินทางเข้าหมู่บ้านจากที่ว่าการอำเภอ คีรีรัฐนิคม มุ่งทางทิศใต้ ไปยังถนนหลวง พื้นที่ทั้งหมด9,000ไร่ 14.4ตารางกิโลเมตร แผ่นดิน 4247 หนองไทร-ยวนสาวประมาณ บ้านควนหมู่ที่ 3 ตั้งอยู่ในตำบลท่าขนอน 1 กิโลเมตร ตรงไปยังถนนลาดยางสายคีรี อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ห่าง รัฐ-ปากหาร ผ่านสำนักสงฆ์เมรุวัดปราการ จากอำเภอคีรีรัฐนิคม ไปทางทิศใต้ประมาณ ผ่านโรงเรียนบ้านปากโตน ถึงศาลหมู่บ้าน 2 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีไป ระยะทางประมาณ 2.5 กิโลเมตร ใช้เวลา ทางทิศตะวันออก ประมาณ 45 กิโลเมตร เดินทางประมาณ 5 นาที มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อหมู่ที่ 12 ตำบลท่าขนอน การปกครอง ทิศใต้ ติดต่อหมู่ที่ 7 ตำบลท่าขนอน ทิศตะวันออก ติดต่อหมู่ที่ 1 ตำบลบ้านยาง ผู้ใหญ่บ้าน นางนิสากร แสงจันทร์ ทิศตะวันตก ติดต่อหมู่ที่ 14 และหมู่ที่ 8 โทร.093-754-7989 ตำบลท่าขนอน ผู้ช่วยฝ่ายปกครอง นางประเจียด อินจิน โทร.087-284-7684 ผู้ช่วยฝ่ายปกครอง นางสาวบุษภรณ์ พลจร โทร.061-484-4383

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 6 ประชากร รวมทั้งสิ้น 513 คน แยกเป็นผู้ชาย 254 คน ผู้หญิง 259 คน ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป) รวมทั้งสิ้น 82 คน แยกเป็นผู้ชาย 41 คน ผู้หญิง 41 คน การศึกษา โรงเรียนบ้านปากโตนเปิดการศึกษา ในระดับอนุบาล - ประถมศึกษา จำนวน 84 คน ศาสนา ไม่มีสถานประกอบพิธีกรรมทางศาสนานิยม ไปประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่วัดปราการ เศรษฐกิจและอาชีพ อาชีพหลักของครัวเรือน อาชีพเกษตรกร จำนวน 121 คน อาชีพรับจ้าง จำนวน 9 คน อาชีพค้าขาย จำนวน 3 คน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 7 ประวัติความเป็นมาของ ลักษณะภูมิประเทศ หมู่ที่ 4 บ้านหาดหึง บ้านหาดหึงมีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มติด สมัยก่อนพนมและบ้านตาขุนเป็นเขตรับผิด คลองพุมดวง ลักษณะดินทั่วไปเป็นดินเหนียว ชอบของอำเภอคีรีรัฐนิคม การเดินทาง เหมาะแก่การทำเกษตรกรรม ได้แก่ ยางพารา สัญจรไปมาต้องใช้เรือแจวเป็นพาหนะและ ต้องผ่านบ้านหาดหึง มีคลองพุมดวงไหล ทรัพยากรธรรมชาติ ผ่านและที่บริเวณนั้นจะเป็นหาดทราย ใกล้ๆกันจะเป็นป่าไม้มีช้างมาก ช้างก็จะไป เป็นแหล่งน้ำธรรมชาติที่เกิดขึ้นเองตาม หากินโดยเดินทางข้ามคลองไป-มา และจะ ธรรมชาติในตำบลท่าขนอนดังนี้ หลุดพักที่หาดทรายแห่งนี้เมื่อมีช้างมารวม คลองพุมดวงไหลผ่านหมู่ที่ 1,2,4,5,10 ตัวกันมากทั้งช้างพังและช้างพลาย ก็จะเกิด คลองนาไหลผ่านหมู่ที่ 4,5 อาการแย่งช้างพลายโดยช้างพังจะฟาดงวง คลองหยวนไหลผ่านหมู่ที่ 4,5,9,11 ไปมาพร้อมส่งเสียงร้องดังลั่น ชาวบ้านที่ ก- กาารรคเดมินนทาาคงสมัญจรเข้าสู่หมู่บ้าน ใช้ถนน แจวเรือผ่านไปมาจะเรียกกันว่า ช้างหึงเป็น คอนกรีตและถนนลูกรัง ที่หวาดกลัวของชาวบ้านที่ต้องใช้เส้นทางนี้ - การเดินทางไปสู่อำเภอ ใช้เส้นทางสาย และจะเตือนกันให้ระวังที่มีอาการหึงตัวเมีย ท่าขนอน – เขาพัง ระยะทางประมาณ เมื่อผ่านบริเวณหาดทรายแห่งนี้ ที่เรียกกัน 2 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 5 นาที ว่า \"หาดช้างหึง\" ต่อมาเมื่อทางราชการ ได้ -ทเส้นทางจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีถึงบ้าน จัดตั้งหมู่บ้าน ผู้นำหมู่บ้านได้ให้ใช้ชื่อว่า หาดหึงไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ \"หมู่บ้านหาดหึง\" โดยได้ตั้งชื่อว่า ช้างออก 63 กิโลเมตร จนถึงทุกวันนี้ พขื้นนทาี่ทดั้งแหลมะดที่8ตั้0ง0ไร่ หรือ 1.28 ตาราง กิโลเมตร ทิศเหนือติดต่อกับเทศบาลตำบลท่าขนอน ทิศใต้ติดต่อกับบ้านกะเปาใต้ ทิศตะวันออกติดต่อกับคลองพุมดวง ทิศตะวันตกติดต่อกับคลองหยวน (ต่อเขต หมู่ที่ 5 ตำบลท่าขนอน)

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 8 กนาายรปปรกาโคมรทอย์งแก้วพิชัย สก่วานรใศหึกญ่ษจบาการศึกษาภาคบังคับ100% นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน ใช้ภาษาไทยท้องถิ่นเป็นภาษาหลัก นายสุรยุทธิ์ กุลคีรี นศับาถสือนศาาสนาพุทธ100% ประธานคณะกรรมการ นายบุญเลิศ ชูสิทธิ์ เศรษฐกิจและอาชีพ รองประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน นายกิตติพันธ์ สมบุญ -โครงสร้างทางเศรษฐกิจประชาชนจะ รองประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน ประกอบอาชีพด้านการเกษตร เช่น ทำสวน นางบุปผา ธิมากุล ยางพารา ปลูกผัก เลี้ยงโคเนื้อ ค้าขาย และ เลขานุการ รับจ้าง นายธรรมรงค์ จิตราภิรมย์ -รายได้เฉลี่ยของประชากร ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน58,898บาท/คน/ปี นายวิชัย รักกะเปา กรรมการหมู่บ้าน นายธีระพงษ์ ชูพร้อม กรรมการหมู่บ้าน นายเกริกเกียรติ ศรีสาคร กรรมการหมู่บ้าน นายนิวัฒน์ วิสาละ ผู้ทรงคุณวุฒิ นายวิเชียร เจริญ ที่ปรึกษา ประชากร จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 82 ครัวเรือน จำนวนประชากรในหมู่ที่ 4 บ้านหาดหึง รวมทั้งหมด 267 คน แยกเป็น ผู้ชาย 132 คน ผู้หญิง 135 คน จำนวนผู้สูงอายุ(อายุ60ปีบริบูรณ์ขึ้นไป) รวมทั้งหมด 54 คน แยกเป็น ผู้ชาย 27 คน ผู้หญิง 27 คน จำนวนผู้พิการ รวมทั้งหมด 7 คน แยกเป็นผู้ชาย 4 คน ผู้หญิง 3 คน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 1 9 ประวัติความเป็นมาของ ทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ที่ 5 บ้านกะเปาใต้ แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ได้แก่ คลองกะเปา,คลองพุมดวง จัดตั้งเมื่อปีพ.ศ.2447ชื่อ\"บ้านกะเปาใต้\" กกาารรเดคินมทนาางคเข้มาหมู่บ้านจากที่ว่าการอำเภอ เนื่องจากหมู่บ้านมีพื้นที่ติดต่อกับคลอง คีรีรัฐนิคมมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก ไปยัง กะเปาด้านล่างที่ไหลสู่คลองพุมดวงที่เรียก ถนนสายท่าขนอน–เขาพัง ระยะทาง กันมาตั้งแต่สมัยก่อนว่าต้านใต้น้ำทางด้าน ประมาณ 5 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาเดินทาง บนติดกับคลองกะเปาตำบลกะเปาเรียกว่า 5 นาที กะเปาเหนือส่วนด้านใต้เรียกว่ากะเปาใต้ เป็นพื้นที่หมู่ที่5ของตำบลท่าขนอนใน การปกครอง ปัจจุบันและมีผู้นำหมู่บ้านตั้งแต่อดีตถึง ปัจจุบัน เป็นผู้นำหมู่บ้านคนแรกพ่อขุนยงค์ ครรชิต พขื้นนทาี่ทดั้งแหลมะดที่2ตั้,ง490 ไร่ ผู้นำคนที่ 2 ท่านขุนพิพิธ ปาลคะเชนทร์ หรือ 3.984 ตารางกิโลเมตร ผู้ใหญ่บ้านคนที่ื 1 นายคิด อนุเจริญกุล อาณาเขตติดต่อ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายอัด แก้วอนันต์ บ้านกะเปาใต้อยู่ห่างจากอำเภอคีรีรัฐนิคม ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายชุม อ่อนทอง ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 2 กิโลเมตร ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 นายขัน นาคบำรุง ห่างจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี 50 กิโลเมตร ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 5 นายเจริญ นาคบำรุง มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 6 นายศิริพงษ์ ศักดา ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่ 11 ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 7 นายสมยศ ศักดา ทิศใต้ ติดต่อกับคลองพุมดวง ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน นายเผ่าพันธุ์ สุขสด ทิศตะวันออก ติดต่อกับหมู่ที่ 4 รปวรมะทชั้งาสิก้นร338 คน แยกเป็น ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ 6 ผู้ชาย 162 คน ผู้หญิง 176 คน ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป) ลักษณะภูมิประเทศ รวมทั้งสิ้น 61 คน แยกเป็น ผู้ชาย 30 คน ผู้หญิง 31 คน เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การทำนาและมี คนพิการ รวมทั้งสิ้น 5 คน แยกเป็น พื้นที่ส่วนหนึ่งติดกับแม่น้ำพุมดวงขณะนี้ ผู้ชาย 3 คน ผู้หญิง 2 คน หมู่บ้านกำลังฟื้นฟูการทำนากับชาวบ้าน ผู้ที่สนใจหลายครัวเรือน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 0 การศึกษา ประชากรบ้านกะเปาใต้ส่วนใหญ่จบการศึกษา ภาคบังคับ 100 % มีศูนย์พัฒนาเด็กจำนวน 1แห่งได้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกะเปาอยู่ในการ ดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน ศาสนา นับถือศาสนาพุทธ 100% เศรษฐกิจและอาชีพ โครงสร้างทางเศรษฐกิจประชาชนจะประกอบ อาชีพด้านการเกษตรเช่นทำสวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา ค้าขาย รับราชการ และรับจ้าง - รายได้เฉลี่ยของประชาชน 54456.26 บาท /คน/ปี - ครัวเรือนมีการออมร้อยละ - บาท/คน/ปี

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 1 ประวัติความเป็นมาของ ทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ที่ 6 บ้านป่ายาง แม่น้ำสายสำคัญคือแม่น้ำพุมดวง - บ้านป่ายางตั้งมานานหลายชั่วอายุคน คลองกะเปา เป็นแม่น้ำสายเศรษฐกิจของ ประวัติความเป็นมาเดิมมีให้ใครเล่าให้ บ้านป่ายางและของอำเภอคีรีรัฐนิคม ฟังได้ ทราบแต่เพียงว่าในหมู่บ้านมีต้นยาง ชาวบ้านใช้ชีวิตโดยการพึ่งพิงแม่น้ำสายนี้ทั้ง ใหญ่อยู่ทั่ว ชาวบ้านต่างเรียกกันว่าป่ายาง ทำการเกษตรใช้อุปโภคบริโภคและหาอาหาร เมื่อมีชาวบ้านมาตั้งบ้านเรือนอยู่เป็น กกาารรคคมมนานคามคจมะใช้ทางรถเป็นหลักถนนเส้น จำนวนมาก จึงตั้งเป็นหมู่บ้านและเรียกชื่อ หลักคือถนนสายท่าขนอน-เขาพังและมีทาง บ้านว่า “บ้านป่ายาง” มาจนถึงปัจจุบัน เรือแต่ใช้ส่วนน้อยโดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้ทาง ถนนเป็นหลักพื้นที่บ้านป่ายางหมู่ที่6 อยู่ห่าง มขีพนื้นาทดี่ทัแ้งลหะมทีด่ตั้7ง80 ไร่หรือ 1.248 ตาราง จากตัวอำเภอคีรีรัฐนิคม4กิโลเมตรและห่าง กิโลเมตรบ้านป่ายาง หมู่ที่6อยู่ห่างจากตัว จากตัวเมืองสุราษฎร์ธานี อำเภอ 4กิโลเมตรและอยู่ห่างจากตัวเมือง 50 กิโลเมตร จังหวัดสุราษฎร์ธานี 50 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ การปกครอง ทิศเหนือ ติดกับบ้านทรายแก้วหมู่ที่ 11 ทิศใต้ ติดต่อกับคลองกะเปา ผู้ใหญ่บ้าน นายยงยุทธ เพชรชู ทิศตะวันออก ติดกับบ้านกะเปาใต้ หมู่ที่ 5 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นางอรนุช ชัยชำนิ ทิศตะวันตก ติดต่อกลับคลองกะเปา ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นางสุนิสา บุญกระสินธ์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความปลอดภัย ลมีัลกักษษณณะะเภปู็มนิปพื้นรทะี่เรทาศบลุ่มแม่น้ำติดกับ นายวินัย พรมทอง คลองพุมดวง มีภูเขาล้อมรอบ ดินเป็นดิน อบต.นายโอภาส ศรีสวัสดิ์ เหนียวเหมาะแก่การทำนาและการทำการ อบต.นายพงษ์เทพ คุ้มนุ้ย เกษตร

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 2 ประชากร จำนวนประชากรทั้งสิ้น 317 คน แยกเป็น ผู้ชาย 156 คน ผู้หญิง 161 คน ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จำนวน 49 คน ผู้ชาย 17 คน ผู้หญิง 32 คน คนพิการทั้งสิ้น 7 คน แยกเป็น ผู้ชาย 4 คน ผู้หญิง 3 คน กกำาลัรงศศึึกกษษาาชั้นประถมศึกษา 18 คน กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษา/ปวช/ปวส 8คน ศศาาสสนนาาพุทธ 97% ศาสนาอิสลาม 3 % เศรษฐกิจและอาชีพ อาชีพทำสวน จำนวน 92 คน อาชีพค้าขาย จำนวน 5 คน อาชีพรับจ้างทั่วไป จำนวน 37 คน พนักงานรัฐ/เอกชน จำนวน 21 คน ว่างงาน จำนวน 5 คน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 3 ประวัติความเป็นมาของ แทหรัลพ่งยน้ำาธกรรรมธชรารติมไชด้าแตกิ่ คลองปังหลา หมู่ที่ 7 บ้านคลองเกาะ คลองพุมดวง เดิมมีชื่อว่าบ้านยางคีมซึ่งแยกหมู่บ้านออกมา จกาากรทีค่ว่มากนาารคอำมเภอคีรีรัฐนิคมมุ่งหน้าทาง จากหมู่ที่1และหมู่ที่2ตำบลท่าขนอนบางส่วน ทิศตะวันออไปยังถนนหลวงแผ่นดิน มาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2477(โดยประมาณ) หมายเลข 4247 หนองไทร-ยวนสาว หมู่ที่ 7 เป็นหมู่บ้านขนาดเล็กซึ่งมีประชากร ระยะทาง 2กิโลเมตรใช้เวลาในการเดินทาง อาศัยมากนักแต่มีความอุดมสมบูรณ์ด้วย ประมาณ 2 นาที ทรัพยากรธรรมชาติ การตั้งหมู่บ้านได้ตั้งชื่อ กผู้ใาหรญป่บ้กาคนครนอทงี่ 1 นายแดง แก้วสิงขรณ์ ตามลักษณะภูมิประเทศตามตำนานเรื่องเล่าสู่ ตั้งแต่ปี 2447 ถึง ปี2474 กันมาดังกล่าวและบ้านยางขาคีมได้เปลี่ยนชื่อ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายห้อย นาเจริญ มาเป็นบ้านคลองเกาะเนื่องจากเกิดภัย ตั้งแต่ปี 2474 ถึง ปี2510 ธรรมชาติทำให้สภาพสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายชีพ รัชชะ หมู่ที่7 เปลี่ยนไปมีลักษณะเป็นพื้นที่ที่มี ตั้งแต่ปี 2510 ถึง ปี 2532 ลำคลองล้อมรอบที่ตั้งหมู่บ้านมีลักษณะเป็น ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 นายพิริยะ คงพันธ์ เกาะได้ใช้ชื่อว่า \"บ้านคลองเกาะ\" มาจนถึง ตั้งแต่ปี 2532 ถึง ปี2543 ปัจจุบัน ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 5 นายนิคม คชโสภณ มขีเนนื้าอดที่แปลระะมที่าตัณ้ง5,000ไร่ หรือ ตั้งแต่ปี 2543 ถึง ปี 2547 8ตารางกิโลเมตร ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 6 นายไพโรจน์ วิเชียร มีอาณาเขต ดังนี้ ตั้งแต่ปี 2547 ถึง ปี 2552 ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ที่ 3 บ้านควน ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 7 นายนภดล พิศนุพงศ์ ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ 1 ตำบลท่าขนอน ตั้งแต่ปี 2552 ถึงปัจจุบัน ทิศตะวันออก ติดต่อกับหมู่ที่ 2และหมู่ที่ 10 ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 1 และหมู่ ที่ 14 ลมีัสกภษาณพพื้ะนภูทีม่สิ่ปวนรหะเนึท่งศที่เป็นที่ราบลุ่มติดคลอง ปังหลาและคลองพุมดวงยันลักษณะดินเป็นดิน ร่วนปนทรายและเป็นทุ่งนา เหมาะแก่การทำ เกษตรกรรมประกอบด้วยลักษณะภูมิอากาศ ทั่วไปของภาคใต้จะมี2ฤดูคือฤดูร้อนและฤดูฝน ซึ่งฤดูฝนจะมีระยะเวลานานกว่าทำให้อากาศ โดยทั่วไปชื้นเย็น อากาศตอนกลางคืนถึงเช้าจะ เย็นเหมาะแก่การทำสวนยางพารา

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 4 ปจำรนะวชนาคกรัรวเรือน 126 ครัวเรือน จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น 263 คน แยกเป็น ชาย 130 คน หญิง 133 คน เกด็ากรแศลึะกเษยาาวชนได้รับการศึกษาภาคบังคับ ทุกคนประชาชนอายุ 15 ถึง 60 เขียนและ อ่านได้ทุกคน ศนับาถสือนศาาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ เโศครรงษสรฐ้ากงิทจาแงลเศะอรษาฐชีกพิจประชาชนจะ ประกอบอาชีพด้านการเกษตร เช่น ทำ สวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา ค้าขาย รับราชการ และรับจ้าง - รายได้เฉลี่ยของประชาชน จำนวน68,065.64บาท/คน/ปี - ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง 38,000 บาท คน/ปี) ปี 2561 จำนวน - ครัวเรือน - ครัวเรือนมีการออมร้อยละ - บาท/คน/ปี

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 5 ประวัติความเป็นมาของ มลีัลกักษษณณะะภภููมมิิปปรระเะทเทศศเป็นที่ราบมีคลองตุย หมู่ที่ 8 บ้านโตนยาง ไหลผ่านลักษณะของดินเป็นดินร่วนเหมาะ บ้านโตนยางเดิมอยู่หมู่ที่3บ้านควน แก่การปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมัน ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม หลายปีต่อ บทรริเัวพณยใกาล้กเคีรยธงมรีภูรเขมาชป่าาตไิม้ มาปริมาณประชากรเพิ่มมากขึ้นจนกระทั่งมี กกาารรเดคินมทนาางคเข้มาสู่หมู่บ้านจากอำเภอคีรีรัฐนิคม ครัวเรือน 16 ครัวเรือน จึงได้แยกออกมา มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตกไปยังถนนทางหลวง จากบ้านควนตั้งเป็นบ้านโตนยางหมู่ที่ 8 แผ่นดินหมายเลข 4847 หนองไทร-ยวนสาว ตำบลท่าขนอน เมื่อปี พ.ศ. 2510 ประมาณ 8 กิโลเมตรมีถนนสำหรับการ ชื่อหมู่บ้าน \"โตนยาง\" เนื่องจากในหมู่บ้านมี คมนาคมของหมู่บ้าน ต้นยางใหญ่มีลักษณะสวยงามและมีน้ำตก 6 สาย ดังนี้ โตนยางอยู่ใกล้เคียงมีเสียงของน้ำตกไหล ถนนคอนกรีต 1 สาย (ถนนซอยพิกุลทอง กระทบผิวน้ำเกิดเสียงดังจึงรวมตัวเรียกชื่อ ระยะทางประมาณ 1,200 เมตร) ว่า \"บ้านโตนยาง\" ซึ่งแปลว่า สูงใหญ่ ผู้ใหญ่ ถนนซอยดอกไม้ บ้านในสมัยนั้นคือ นายสมพร ไพลอย และ ถนนซอยพิกุลทอง 2 ได้เกษียณอายุราชการเมื่อปี พ.ศ.2537 ถนนสายโตนยาง ขณะนั้นกำนันตำบลท่าขนอนคือ นายเสรี ถนนซอยในช่อง เสรยางศ์กูรได้มีความคิดกว้างไกลระดมชาว ถนนลูกรัง 5 สาย รวมระยะทาง 6,000 เมตร บ้านสร้างโรงเรียนบ้านโตนยางเปิดทำการ สอนเมื่อปีพ.ศ. 2500โดยคุณครูคล่อง ศักดา เป็นผู้สอน ซึ่งโรงเรียนตั้งมาแล้วกว่า 60 ปี มขีพนื้นาทดี่ปแรละะมทีา่ตณั้ง4,750ไร่เป็นพื้นที่ทำการ ผกู้ใาหรญป่บ้กาคนครนอทงี่ 1 นายสมพร ไพลอย เกษตร 3,750ไร่พื้นที่อยู่อาศัยจำนวน1,000 พ.ศ. 2510 - 2537 ไร่อยู่ในเขตความรับผิดชอบขององค์การ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายแบน วรรณคีรี บริหารส่วนตำบลท่าขนอน ห่างจากที่ พ.ศ. 2537 - 2547 ว่าการอำเภอคีรีรัฐนิคมไปทางทิศตะวันตก ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายทรงศักดิ์ ศรีแมน ระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร พ.ศ. 2547 - 2552 ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่ 8 ตำบลน้ำหัก ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 นายทรงศักดิ์ ศรีแมน ทิศใต้ ติดต่อกับหมู่ที่ 14 ตำบลท่าขนอน พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน ทิศตะวันออก ติดต่อกับหมู่ที่3 และหมู่ที่12 ตำบลท่าขนอน ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ 15 ตำบลท่าขนอน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 6 ปจำรนะวชนาคกรัรวเรือนทั้งสิ้น 145 ครัวเรือน มีประชากร 469 คน แบ่งเป็นผู้ชาย 242 คน ผู้หญิง 227 คน ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 73 คน การศึกษา โรงเรียนบ้านโตนยาง เปิดสอนตั้งแต่ ชั้นอนุบาล1-ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ศนับาถสือนศาาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ 1เศ.ทรำษสวฐนกิยจางแล7ะ5อคารชัีวพเรือน 2.ทำสวนปาล์มน้ำมัน 85 ครัวเรือน 3.ทำสวนผลไม้ 20 ครัวเรือน 4.ปลูกผัก 10 ครัวเรือน 5.รับราชการ 8 ครัวเรือน 6.รับจ้าง 30 ครัวเรือน 7.ค้าขาย 9 ครัวเรือน 8.ซ่อมมอเตอร์ไซด์ 2 ครัวเรือน 9.เลี้ยงไก่ไข่ 35 ครัวเรือน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตร เช่น ทำสวนยาง สวนปาล์มน้ำมัน สวนผลไม้ รองลงมาคือการรับจ้างภาคการเกษตร รับจ้างกรีดยาง ตัดปาล์ม โดยภาวะ เศรษฐกิจของท้องถิ่นอยู่ในระดับที่สามารถ พึ่งตนเองได้ มีรายได้เฉลี่ยของหมู่บ้าน 73,078 บาท/คน/ปีผลผลิตทางการเกษตร ที่นำรายได้เข้าหมู่บ้านมากที่สุด คือ ยางพาราและปาล์มน้ำมัน จำนวน 44,367 บาท/คน/ปี

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 7 ประวัติความเป็นมาของ เลปั็กนษพื้ณนที่ะรภาูบมิเปชิงรเะขเาทลัศกษณะดิน ทั่วไปเป็น หมู่ที่ 9 บ้านทรายแก้ว ดินร่วนปนทรายเหมะแก่การทำเกษตรปลูก ยางพารา ปาล์มน้ำ สวนผลไม้ และเลี้ยงสัตว์ เมื่อปี พ.ศ. 2500 ได้มีชาวบ้านกลุ่มแรกเข้า ทคลรอัพงธยรรามกชารติธจรำรนวมนช๑าตแิห่ง คือ คลองขุด มาบุกเบิกจับจองที่ดินทำกิน ซึ่งส่วนมากเป็น ชาวบ้านที่มาจากหมู่ที่ 1 , 3 และ หมู่ที่ 7 ตำบลท่าขนอน โดยพื้นที่แห่งนี้ติดกับเขต บ้านป่ายาง หมู่ที่ 6 ตำบลท่าขนอน เมื่อปี กกาารรเดคินมทนาางคเข้มาสู่หมู่บ้านจากอำเภอคีรีรัฐนิคม พ.ศ. 2511 ได้แยกพื้นที่เป็นหมู่ที่ 9 ตำบล มุ่งหน้าทางทิศตะวันตกไปยังถนนถนนหลวง ท่าขนอน และตั้งชื่อตามลักษณะภูมิประเทศ แผ่นดิน หมายเลข 4247 สายหนองไทร - ซึ่งเป็นทุ่งหญ้าเสื่อมโทรมลักษณะดินเป็นดิน ยวนสาว ระยะทาง ประมาณ 8 กิโลเมตรโดย ทรายประกายคล้ายแก้ว จึงได้ชื่อหมู่บ้าน ใช้เวลาเดินทางประมาณ 8 นาที แห่งนี้ว่า “บ้านทรายแก้ว” โดยมีกำนันเสรี การปกครอง เสรยางกูล เป็นผู้จัดตั้ง และมีนายอำพร สังข์คร เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ผู้ใหญ่บ้าน นายสมศักดิ์ วิมัติ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง นางสาวดวงกมล วิมัติ ขตั้งนอายูด่ในแตลำะบทีล่ตทั้่งาขนอนอำเภอคีรีรัฐนิคม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานีห่างจากอำเภอ นายธีรพงศ์ไมทอง คีรีรัฐนิคมไปทางทิศเหนือ 11 กิโลเมตรห่าง ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ จากจังหวัดสุราษฎร์ธานีไปทางทิศตะวันตก นายสงคราม เหมือนวงศ์ เฉียงใต้ 68กิโลเมตร สมาชิก อบต. นายอนันต์ ถนอมสุข อาณาเขตติดต่อ ดังนี้ สมาชิก อบต. นายภิรมณ์ มีลักษณ์ ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ 8 หมู่ 13 หมู่ 15 รปวรมะทชั้งาสิก้นร422คน แยกเป็น ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ 14 หมู่ 11 ตำบลท่า ขนอน บางส่วน ผู้ชาย212 คน ผู้หญิง210 คน ทิศตะวันออก ติดต่อกับหมู่ 14 จำนวนครัวเรือน 172 ครัวเรือน ทิศตะวัตก ติดต่อกับหมู่ 8 ต.กะเปา โดยมี คลองเปาเป็นแนวกั้น มกีโารรงศเรึีกยนษเาขตพื้นที่จำนวน1 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านทรายแก้ว

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 8 ศาสนา นับถือศาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ เศรษฐกิจและอาชีพ อาชีพหลักของครัวเรือน อาชีพทำสวน จำนวน 172 ครัวเรือน อาชีพค้าขาย จำนวน 6 ครัวเรือน อาชีพรับจ้าง จำนวน 15 ครัวเรือน อาชีพอื่นๆ จำนวน - ครัวเรือน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 2 9 ประวัติความเป็นมาของ ลส่ัวกนษใหณญ่ะเภป็ูนมิพืป้นรทีะ่รเทาบศลักษณะดินมีลักษณะ หมู่ที่ 10 บ้านสุขสันต์ สีดำสำหรับทำการเกษตร ปลูกพืชเศรษฐกิจ และปลูกผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน ลองกอง บ้านสุขสันต์เป็นหมู่บ้านหมู่ที่10 ของตำบล คทลรอัพงพุยมาดวกงรธรรมชาติ ท่าขนอนเดิมรวมอยู่กับบ้านท่าหมู่ที่ 2 มี กกาารรเดคินมทนาางคเข้มาสู่หมู่บ้าน จากที่ว่าการอำเภอ นายเล็ก โกลาเป็นผู้ใหญ่บ้านเรียกชื่อคุ้ม คีรีรัฐนิคม มุ่งหน้าทางทิศตะวันออก ทางถนน บ้านว่า \"แจะดล\" ต่อมาเมื่อปี 2513 ยวนสาว- หนองไทร (ทางหลวงสาย 4247 ) ส.ต.อ.เสรี เสรยางค์กูร กำนันตำบลท่า ประมาณ 2 กิโลเมตร ผ่านเทศบาลตำบล ขนอน ได้ขอแยกพื้นที่และการปกครองของ ท่าขนอน จากถนนหลวงสาย 401 แยกบ้าน หมู่ที่ 2 ซึ่งประชากรและครัวเรือนอาศัยอยู่ ทำเนียบ อำเภอคีรีรัฐนิคม ระยะทางประมาณ มากมีพื้นที่กว้างขวางออกมาเป็นหมู่ที่ 10 12 กิโลเมตร ข้ามคลองพุมดวง เลี้ยวขวา เข้า ขณะแยกหมู่บ้าน มีครัวเรือน จำนวน เขตหมู่บ้านจากถนนสาย 41 ลอดสะพานพุ 33หลักคาเรือน มีประชากรประมาณ 150 มดวง (สะพานโรงเหล้า) ตามถนนหลวงสาย คน ทำการเลือกผู้ใหญ่บ้านเมื่อวันที่ 13 4247 ระยะทาง27 กิโลเมตร เข้าเขตหมู่บ้าน กันยายน 2513 ได้นายแดง จันทร์ปานเป็น ลักษณะสังเกตหมู่บ้านได้ปลูกต้นสนทะเลไว้ ผู้ใหญ่บ้านคนแรกผู้ใหญ่บ้านได้ปกครองและ ริมถนน นำชาวบ้านร่วมกับกำนัน พัฒนาหมู่บ้านมี กกำานรันปหกมู่คบ้ารนองนายพลสินธุ์ แสงสุวรรณ การตัดถนน เพื่อความสะดวกในการ ผู้ช่วยกำนันหมู่บ้าน นายถาวร ภูมี คมนาคมชาวบ้านมีความสมัครสมานสามัคคี ผู้ช่วยกำนันหมู่บ้าน (ผรส.) ร่วมมือร่วมใจในการพัฒนา ไปมาหาสู่กัน นายชำนาญ ชุมบ้านยาง แบบพี่แบบน้อย ไม่มีการลักขโมย ใช้ชีวิตอยู่ (ผรส.) นายสมโพธิ์ เพชรศรี อย่างมีความสุข ประกอบอาชีพสุจริต ผู้ช่วยกำนันหมู่บ้าน นายวิทยา เกตุสุ้น ส.ต.อ.เสรี เสรยางค์กูรจึงได้เปลี่ยนชื่อบ้าน อบต. นายณรงฤทธิ์ หมกแดง จาก “แจะดล” เป็น “บ้านสุขสันต์” ตั้งแต่ อบต. นายไกรรงค์ เพรชศรี นั้นเป็นต้นมา ปจำรนะวชนาคกรัรวเรือนทั้งหมด 206 ครัวเรือน แยกเป็นผู้ชาย 295 คน ผู้หญิง 271 คน ทขิศนเาหดนืแอลติะดทีต่่ตัอ้งหมู่ที่ 1 ตำบลบ้านยาง รวม 566 คน ทิศใต้ ติดต่อหมู่ที่ 2 เขตเทศบาลท่าขนอน บางส่วนและคลองพุมดวง ทิศตะวันออก ติดต่อหมู่ที่ 3 ตำบลบ้านยาง ทิศตะวันตก ติดต่อหมู่ที่ 2 เขตเทศบาล ท่าขนอนลักษณะภูมิประเทศ

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 3 0 นศับาถสือนศาาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ เโศครรงษสรฐ้ากงิทจาแงลเศะอรษาฐชีกพิจประชาชนจะประกอบ อาชีพด้านการเกษตร เช่น ทำสวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา ค้าขาย รับราชการ และรับจ้าง

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 3 1 ประวัติความเป็นมาของ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม เช่น ดินขาด หมู่ที่ 11 บ้านทรายทอง คุณภาพสารอาหาร แข็งตัวทำให้พืชต่างๆ หา อาหารไม่ได้เกษตรกรต้องหาธาตุอาหารต่างๆ ตั้งอยู่ในตำบลท่าขนอน..อำเภอคีรีรัฐนิคม ใส่บำรุงพืชให้รายจ่ายเพิ่มขึ้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี แยกออกจากบ้านทราย แก้ว หมู่ที่ 9 ต.ท่าขนอน เนื่องจากมีจำนวน ประชากรเพิ่มขึ้นเมื่อวันที่2พฤษภาคม 2513 กกาารรเดคินมทนาางคเข้มาสู่หมู่บ้านจากที่ว่าการอำเภอ ชื่อ \"บ้านทรายทอง\" ที่เรียกกันทั่วไป ตั้งชื่อ คีรีรัฐนิคมมีมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก ไปยัง ให้คล้องจองกับบ้านทรายแก้ว หมู่ที่ 9 ที่ได้ ถนนหลวงหมายเลข 4247 หนองไทร-ยวน แยกตัวออกมา สาว ระยะทางประมาณ 7กิโลเมตรใช้ระยะ เวลาเดินทางประมาณ 10 นาที ขพื้นนทาี่ทดั้งแหลมะดที่6ตั้,ง750 ไร่ หรือ 10.8 ตาราง การปกครอง กิโลเมตร ห่างจากอำเภอคีรีรัฐนิคมไปทาง ผู้ใหญ่บ้าน นายสมเกียรติ วรรณยุวัฒน์ ทิศตะวันตก ประมาณ 6 กิโลเมตร ห่างจาก โทร. 095-307-3884 จังหวัดสุราษฎร์ธานี 65 กิโลเมตร ผช.ฝ่ายปกครอง นายพยงค์ ชูสิทธ์ อาณาเขตติด โทร. 092-568-4424 ทิศเหนือ ติดต่อหมู่ที่ 14 และ หมู่ที่ 9 ผช.ฝ่ายปกครอง นายเทพพิทักษ์ ถิ่นหนองจิก ทิศใต้ ติดต่อทางรถไฟ และหมู่ที่ 6 โทร. 081-787-7187 ทิศตะวันออก ติดต่อหมู่ที่ 14 ผช.ฝ่ายรักษาความสงบ นายรัตนพงศ์ เพชรา ทิศตะวันตก ติดต่อคลองกะเปา โทร. 093-735-0974 ส.อบต.นายสมพร ถิ่นหนองจิก เลปั็กนษที่ณราบะภติูดมิคปลรอะงเเทปศาลักษณะดินเป็นดิน โทร. 087-788-6068 ร่วนปนทรายเหมาะแก่การทำเกษตรกรรม ส.อบต. นายศุภชัย คุ้มนุ้ย ประกอบด้วยลักษณะภูมิอากาศทั่วไปของ โทร. 087-279-2273 ภาคใต้จะมี 2 ฤดูคือ ฤดูร้อน และฤดูฝน ประชากร ซึ่งฤดูฝนจะมีระยะเวลานานกว่าทำให้ รวมทั้งสิ้น 471 คน อากาศโดยทั่วไป ชื้น เย็น อากาศตอนกลาง แยกเป็น ผู้ชาย 244 ผู้หญิง 227 คน คืนถึงเช้าจะเย็นเหมาะแก่การทำสวน ยางพารา ศาสนา นับถือศาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 3 2 อเศาชรีพษหฐลักกิจขอแงลคะรอัวาเรชืีอพน - อาชีพทำสวน - อาชีพค้าขาย - อาชีพรับจ้างทั่วไป - อาชีพปลูกผัก / เพาะเห็ดฟาง รายได้เฉลี่ยของประชากร (ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 61) จำนวน55,683.06 บาท/คน/ปี ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง 38,000 บาท คน/ปี) ปี 2561 จำนวน - ครัวเรือน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 3 3 ประวัติความเป็นมาของ กเส้านรทคามงกนาารคเดิมนทางเข้าหมู่บ้านจากที่ว่าการ หมู่ที่ 12 บ้านขนุนทอง อำเภอคีรีรัฐนิคมมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก ไปยังถนนโรงเรียนคีรีรัฐนิคม - บ้านปากหาร ระยะทาง 7 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทาง ตั้งเมื่อพ.ศ. 2533 แยกมาจาหมู่ที่ 6 10 นาทีโดยประมาณ ตำบลท่าขนอนมีเขตติดต่อกับน้ำหักและ ตำบลบ้านยางซึ่ง \"ขนุนทอง\" เดิมในหมู่บ้าน มีต้นขนุนอยู่ริมคลองตุยลักษณะต้นสูงใหญ่ ผกู้ใาหรญป่บ้กาคนครนอทงี่ 1 นายก้ำ พรหมจันทร์ มีผลสีเหลืองดังทองชาวบ้านเรียกชื่อต่อๆกัน ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายไพรัตน์ ศักดา มานายก้ำ พรหมจันทร์เป็นผู้ใหญ่คนแรก ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายสุบรรชา จันทร์ปาน ผู้ใหญ่คนที่ 2 นายไพรัตน์ ศักดา และผู้ใหญ่ (คนปัจจุบัน) คนปัจจุบัน คือ นายสุบรรชา จันทร์ปาน จปำรนะวชนาคกรัรวเรือนทั้งหมด 362 ครัวเรือน ขมีพนื้นาทดี่ทัแ้งลหะมทีด่ตั้7ง.560 ไร่ หรือ ประชากร รวมทั้งสิ้น 450 คน 12 ตารางกิโลเมตร แยกเป็น ผู้ชาย 226 คน ผู้หญิง 224 คน ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่ 8 ตำบลน้ำหัก กลุ่มเปราะบาง ได้แก่ -คนพิการ 10 คน ทิศใต้ ติดต่อกับหมู่ที่ 3 ตำบลท่าขนอน -ผู้ป่วยติดเตียง 1 คน ทิศตะวันออก ติดต่อกับหมู่ที่ 2 และ หมู่ที่ 6 -ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป) 54 คน ตำบลบ้านยาง ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ 8 นศับาถสือนศาาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ ตำบลท่าขนอน มลีัลกักษษณณะะภภููมมิิปปรระเะทเทศศเป็นพื้นที่ราบลุ่มติด -กมาีรกาศึรกฝึษกอาบรมคุณภาพชีวิต การให้ ริมคลองตุย(ในอดีตมีอาชีพหลักทำนา) ประชาชนได้รับความรู้ วิทยาการ เทคโนโลยี สมัยใหม่ เพื่อเป็นแนวทางการศึกษาเลือกการ ปัจจุบันทำเกษตรหลักของภาคใต้ ได้แก่ ประกอบอาชีพที่เหมาะสมไปประยุกต์ใช้และ สวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน และผลไม้ สร้างรายได้ในชีวิตประจำวัน เป็นพื้นที่ที่เหมาะแก่การเกษตรได้ทุกฤดูกาล - การส่งเสริมการพัฒนาการศึกษาทั้งในระบบ และนอกระบบ และเพิ่มช่องทางการรับข้อมูล หทมรู่ัทพี่ ย12ากบ้รานธขรนรุนมทชอางติมีคลองตุยไหลผ่าน ข่าวสารเพื่อยกระดับความรู้ของบุคลากรใน องค์กรและบุคลากรท้องถิ่นตลอดจนนักเรียน อีกทั้งเพื่อส่งเสริมให้มีการรักการอ่านใฝ่ศึกษา เพื่อก้าวทันโลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 3 4 ปเศรระชษาฐกกริสจ่วแนลใหะอญ่าขชอีพงหมู่บ้านมีการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีการทำ เกษตรหลักของภาคใต้ได้แก่สวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน และผลไม้ เพราะเป็นพื้นที่ที่เหมาะ แก่การเกษตรได้ทุกฤดูกาลอีกทั้งยังมีการรวมกลุ่ม ในการทำกิจกรรมกลุ่มอาชีพเพื่อสร้าง รายได้เสริมด้วยหลักการพึ่งตนเองทำเอง ขายเอง ทำให้ได้รับผลกำไรเพิ่มมากขึ้น อาทิเช่น กลุ่มเลี้ยงสุกร รู้จักการออม โดยประชากรมีรายได้เฉลี่ย (ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 62) จำนวน 54,142.52 บาท/คน/ปี

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 3 5 ประวัติความเป็นมาของ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ หมู่ที่ 13 บ้านยวนสาว โดยทั่วไปของพื้นที่ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยได้รับ อิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัด ผ่านอ่าวไทยและมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จาก เดิมมีต้นยวนขนาดกลางอยู่ต้นหนึ่งกลาง คาบสมุทรอินเดียภูมิอากาศโดยรวมจึงเป็น หมู่บ้าน มีกิ่งก้านสาขามากมายจนมีผึ้งหลวง แบบร้อนขึ้น มีฝนตกยาวนานระหว่างเดือน มาทำรังเกือบเต็มต้น เป็นที่ชื่นชมของผู้หาน้ำ พฤษภาคม ถึง เดือนมกราคมของทุกปีมีฤดู ผึ้งป่า บรรดานักตีผึ้งให้นามว่า \"ต้นยวนสาว\" ร้อนระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-เดือนเมษายน ต่อมาเมื่อปีพ.ศ.2524-2527 มีราษฎรมา มีอากาศร้อนตลอดฤดู และมีฤดูฝนตั้งแต่ อาศัยทำมาหากินเป็นกลุ่มบ้าน จึงตั้งชื่อ เดือนพฤษภาคม-เดือนมกราคม โดยในช่วง หมู่บ้านว่า \"บ้านยวนสาว\" หมู่บ้านนี้แยกมา เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคมอิทธิพล จากบ้านทรายแก้ว หมู่ที่ 9 ตำบลท่าขนอน จากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้มีฝนตกปาน เป็น บ้านยวนสาว หมู่ที่ 13 ตำบลท่าขนอน กลางส่วนฝนตกหนักจะเกิดในช่วงที่ได้รับ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.2524 โดย อิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ นายขจร หัดหิน เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน มกราคม ขบ้านนายดวแนลสาะทวี่อตัยู้่งห่างจากอำเภอคีรีรัฐนิคม ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ไปทางทิศเหนือ 13 กิโลเมตรห่างจาก จังหวัดสุราษฎร์ธานีไปทางทิศตะวันตกเฉียง คลองธรรมชาติ จำนวน 2 แห่ง ใต้ 70 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ 1.คลองกะเปา ทิศเหนือ ติดต่อกับบ้านไทรงาม 2.คลองปังหลา หมู่ที่ 15 ตำบลท่าขนอน กเส้านรทคามงทีน่ า1คจมากอำเภอคีรีรัฐนิคมมุ่งหน้า ทิศใต้ ติดต่อกับบ้านฉลาด ทางทิศตะวันตกไปยังถนนถนนหลวงแผ่น หมู่ที่ 8 ตำบลกะเปา ดิน หมายเลข 4247 สายหนองไทร-ยวน ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านทรายแก้ว สาว ระยะทาง ประมาณ 10 กิโลเมตร หมู่ที่ 9 ตำบลท่าขนอน โดยใช้เวลาเดินทางประมาณ 10 นาที ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตป่าอนุรักษ์ เส้นทางที่ 2 ถนนสายไทรงาม-ยวนสาว คลองยัน เป็นถนนลูกรัง ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตรใช้เวลาเดินทาง ประมาณ20นาที เส้นทางที่ 3เส้นทางบ้านฉลาด-ยวนสาว เป็นถนนลาดยาง 1 กิโลเมตรและถนน ลูกรัง 4 กิโลเมตรการเดินทางสัญจรไป-มา ภายในหมู่บ้านใช้ถนนลูกรัง ใช้เวลาเดิน ทางประมาณ 20 นาที

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 3 6 ผกู้ใาหรญป่บ้กาคนครนอทงี่ 1 นายขจร หัดหิน ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายอำนวย ศักดา ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายเสน่ห์ วิชิตเชื้อ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 นายพรศักดิ์ เพ็ชรชู ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 5 นายนพพร ศักดา (คนปัจจุบัน) จปำรนะวชนาทัก้งรหมด 373 ครัวเรือน ปกราะรชศาึกกรษบ้าานยวนสาว ส่วนใหญ่จบการศึกษา ภาคบังคับ 100 % มีศูนย์พัฒนาเด็ก จำนวน1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน ยวนสาวอยู่ในการดูแลขององค์การบริหารส่วน ตำบลท่าขนอน ศนับาถสือนศาาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ มีสำนักสงฆ์จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ สำนักสงฆ์บ้านยวนสาว เปศรระชษาฐชกนิจจะแปลระะอกาอชบีพอาชีพด้านการเกษตร เช่น ทำสวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา ค้าขาย รับราชการ และรับจ้าง -รายได้เฉลี่ยของประชาชน 63376.19บาท/ คน/ปี -ครัวเรือนมีการออมร้อยละ - บาท/คน/ปี

ปปรระะววััตติิศศาาสสตตรร์์ชชุุมมชชนนตตำำบบลลทท่่าาขขนนออนน ห น้ า | 3 7 ประวัติความเป็นมาของ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ หมู่ที่ 14 บ้านคลองน้อย คลองธรรมชาติ จำนวน 1 แห่ง คือ คลองน้อย เดิมบ้านคลองน้อยพัฒนาเป็นบ้านทรายแก้ว กกาารรเดคินมทนาางคเข้มาสู่หมู่บ้านจากอำเภอ หมู่ที่ 9 ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม คีรีรัฐนิคมมุ่งหน้าทางทิศตะวันตกไปยัง จังหวัดสุราษฎร์ธานีแยกหมู่บ้านมาเป็นบ้าน ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4247 คลองน้อยพัฒนา เมื่อปี พ.ศ. 2537 หนองไทร-ยวนสาว ระยะทาง ประมาณ 3 มีลำคลองเล็กๆไหลผ่านชาวบ้านจึงเรียก กิโลเมตร โดยใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 หมู่บ้านนี้เป็น\"บ้านคลองน้อยพัฒนา\"จนถึง นาที ปัจจุบันนายเชื้อน หมานพัฒน์ ตำรงตำแหน่ง กผู้ใาหรญป่บ้กาคนครนอทงี่ 1 นายเชื้อน หมานพัฒน์ ผู้ใหญ่บ้านคนแรก พ.ศ.2537 - พ.ศ.2542 ขบ้านนาคดลแอลงนะ้ทอี่ยตั้งหมู่ที่ 14 ตำบลท่าขนอน ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายนพรัตน์ วิเชียรวงศ์ อำเภอคีรีรัฐนิคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ.2542 - พ.ศ.2547 ห่างจากอำเภอคีรีรัฐนิคม ไปทางทิศตะวันตก ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 นายถาวร เพ็ชรเจริญ ประมาณ 3 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัด พ.ศ.2547 - พ.ศ.2553 สุราษฎร์ธานีไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 นายรัจรินทร์ พัฒน์อินทร์ 60 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ (คนปัจจุบัน) ทิศเหนือ ติดต่อหมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 3 ปรวรมะทชั้งาสิก้นร353 คน แยกเป็น ตำบลท่าขนอน ผู้ชาย 164 คน ผู้หญิง 189 คน ทิศใต้ ติดต่อหมู่ที่ 11 ตำบลท่าขนอน ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป) ทิศตะวันออก ติดต่อเขตเทศบาลตำบล รวมทั้งสิ้น 72 คน แยกเป็น ผู้ชาย 33 คน ท่าขนอน ผู้หญิง 39 คน ทิศตะวันตก ติดต่อหมู่ที่ 9 ตำบลท่าขนอน กบ้าานรคศลึอกงนษ้อายมีสถานศึกษาระดับประถม บล้ัากนษคณลอะงภนู้อมิยปรหะมู่เทที่ ศ14 ตำบลท่าขนอน จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โรงเรียนคีรีรัฐนิคม ภูมิประเทศโดยทั่วไปส่วนใหญ่พื้นที่ราบเรียบ มีนักเรียนจำนวน 126 คน ลักษณะดินทั่วไปเป็นดินร่วนปนทรายเหมาะ โรงเรียนบ้านทรายแก้ว แก่การปลูกยางพารา ปลูกปาล์มน้ำมัน ผลไม้ มีนักเรียน จำนวน 86 คน พืชผักสวนครัว

ปปรระะววััตติิศศาาสสตตรร์์ชชุุมมชชนนตตำำบบลลทท่่าาขขนนออนน ห น้ า | 3 8 บศ้าานสคนลาองน้อยมีสถานที่ปฏิบัติธรรมทางศาสนา คือ สำนักสงฆ์วัดปราการและเมรุวัด ปราการซึ่งมีกุฏิพระภิกษุสงฆ์มาจำวัด ในวันพระชาวบ้านจะไปทำบุญอย่างสม่ำเสมอ และ งานประเพณีประจำของบ้านคลองน้อยพัฒนา ได้แก่ ทำบุญตักบาตรในวันขึ้นปีใหม่การ รดน้ำผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ทำบุญวันสารทเดือนสิบ (ส่งตายาย) ทำบุญวันเข้าพรรษา วัน ออกพรรษา และสวดกลางบ้าน หรือที่เรียกว่า จบปีจบเดือน ซึ่งทำกันในวันแรม 1 ค่ำ เดือน หก (ไทย) เปศรระชษาฐชกนิสจ่วแนลใะหอญ่าขชอีพงหมู่บ้านมีการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีการรวม กลุ่มในการทำกิจกรรมกลุ่มอาชีพเพื่อสร้างรายได้เสริมด้วยหลักการพึ่งตนเอง ทำเอง ขาย เองทำให้ได้รับผลกำไรเพิ่มมากขึ้น อาทิ เช่น กลุ่มเลี้ยงสุกร กลุ่มเลี้ยงโค กลุ่มสกรีนผ้า ฯลฯ - ฝึกอบรมคุณภาพชีวิต การมีงานทำและเพิ่มรายได้เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ วิทยาการ เทคโนโลยีสมัยใหม่ แนวทางการศึกษาเลือกการประกอบอาชีพที่เหมาะสมไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน

ปปรระะววััตติิศศาาสสตตรร์์ชชุุมมชชนนตตำำบบลลทท่่าาขขนนออนน ห น้ า | 3 9 ประวัติความเป็นมาของ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ หมู่ที่ 15 บ้านไทรงาม คลองธรรมชาติ จำนวน 2 แห่ง เดิมเป็นพื้นที่หมู่บ้านโตนยาง หมู่ที่ 8 ตำบล 1.คลองตุย ท่าขนอน โดยได้แยกหมู่บ้านเมื่อ วันที่ 17 2.คลองปังหลา กรกฎาคม พ.ศ. 2538 จาก “บ้านโตนยาง” จกาากรทีค่ว่มากนาารคอำมเภอคีรีรัฐนิคม มุ่งหน้าทาง มาเป็น บ้านไทรงาม หมู่ที่ 15 ตำบลท่า ทิศตะวันตกไปยังถนนหลวงแผ่นดิน ขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี หมายเลข 4247 หนองไทร - ยวนสาว ประมาณ 3 กิโลเมตร ตรงไปถนนหลวง ขเป็นนาทีด่ราแบลสะูงทีแ่ตลั้งะที่ราบเชิงเขามีพื้นที่ทั้งหมด ชนบท ระยะทาง7 กิโลเมตร สู่บ้าน 4,570 ไร่แบ่งเป็นพื้นที่ทำการเกษตร จำนวน ไทรงาม หมู่ที่15 ตำบลท่าขนอน ใช้เวลา 3,570 ไร่ พื้นที่อยู่อาศัย จำนวน 1,000 ไร่ ในการเดินทางประมาณ 15 นาที อยู่ในเขตความรับผิดชอบขององค์การบริหาร ก1.าผู้รใหปญก่บค้ารนอนงายสายัณห์ วิเชียร ส่วนตำบลท่าขนอน บ้านไทรงาม ตั้งอยู่ใน 2.ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัด นายจรรยา ศรีศิลป์ สุราษฎร์ธานี ห่างจากอำเภอคีรีรัฐนิคมไป 3.ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง ทางทิศตะวันตก 10กิโลเมตรห่างจากจังหวัด นางสาวเสาวลักษ์ พรหมขวัญ สุราษฎร์ธานีไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 4.ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ 70กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ นายครรชิต แก้วสิงขรณ์ ทิศเหนือ ติดต่อกับคลองตุย หมู่ที่ 8 5.นายก อบต.ท่าขนอน ตำบลน้ำหัก นายปราโมทย์แก้วพิชัย ทิศใต้ ติดต่อกับ คอลงปังหลาหมู่ที่ 13 6. สมาชิก อบต. นายพรชัย ศึกเสือ ตำบลท่าขนอน รปวรมะทชั้งาสิก้นร454คน แยกเป็น ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านโตนยาง ผู้ชาย241 คน ผู้หญิง213 หมู่ที่ 8 ตำบลท่าขนอน คนผู้สูงอายุ (อายุ60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป) ทิศตะวันตก ติดต่อกับป่าอนุรักษ์ รวมทั้งสิ้น 62 คน แยกเป็น ผู้ชาย 27 คน ผู้หญิง 35 คน ลลัักกษษณณะภะูมภิูปมิรปะเรทะศเทเปศ็นพื้นที่ราบสูงติดกับ คนพิการ รวมทั้งสิ้น 7 คน แยกเป็น เชิงเขาเหมาะแก่การทำการเกษตร ส่วนหนึ่ง ผู้ชาย 5 คน ผู้หญิง 2 คน เป็นที่ติดกับคลองตุยไหลผ่านเหมาะแก่การ จำนวนครัวเรือน 145 ครัวเรือน ปลูกผลไม้ ยางพาราปาล์มน้ำมันการ คมนาคมสายหลักผ่านไปสู่อำเภอคีรีรัฐนิคม คือถนนทางหลวงชนบท

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 4 0 ปกราะรชศาึกกรษบ้าานยวนสาวส่วนใหญ่จบการศึกษา ภาคบังคับ 100 % มีศูนย์พัฒนาเด็ก จำนวน 1 แห่งได้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยวน สาวอยู่ในการดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าขนอน นศับาถสือนศาาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ มีสำนักสงฆ์จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ สำนักสงฆ์บ้านโตนยาง เ-.ศ.ปรรษะฐชากิชจนแส่ลวนะอใหาญช่ีขพองหมู่บ้านมีการดำเนิน ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง..มีการ รวมกลุ่มในการทำกิจกรรมกลุ่มอาชีพเพื่อสร้าง รายได้เสริมด้วยหลักการพึ่งตนเอง..ทำเอง ขายเองทำให้ให้ได้รับผลกำไรเพิ่มมากขึ้นอาทิ เช่นการรวมกลุ่มทำเครื่องแกงของกลุ่มแม่บ้าน -..ฝึกอบรมคุณภาพชีวิต..การมีงานทำและเพิ่ม รายได้เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 4 1 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านของชุมชน.... ชื่อ-สกุล : นายวิชิตร จิตรสม อายุ : 60 ปี ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 6 หมู่ 13 ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี อาชีพ : เกษตรกร เบอร์โทร : 081-0859843 ปราชญ์ชาวบ้านด้าน : การท่องเที่ยว ที่มาองค์ความรู้ : ประสบการณ์ด้วยตัวเอง / จากรุ่นสู่รุ่น ประวัติการศึกษาดูงาน : โครงการพระราชดำริ ทุ่งกะมัง กิจกรรมช่วยเหลือสังคม : ได้ถ่ายทอดความรู้ ให้คนในชุมชน และนักท่องเที่ยว รางวัล และประกาศเกียรติคุณที่เคยได้รับ : ประกาศเกียรติคุณ เพชรนาราย สื่อสารมวลชน

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ชุ ม ช น ตำ บ ล ท่ า ข น อ น ห น้ า | 4 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านของชุมชน.... ชื่อ-สกุล : นายวสันต์ อุ่มแสง อายุ : 68 ปี ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 302/3 หมู่ 1 ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี อาชีพ : เภสัชกรแผนโบราณ เบอร์โทร :081-079-5910 ปราชญ์ชาวบ้านด้าน : แพทย์แผนไทย ที่มาองค์ความรู้ : เป็นหมอพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่น สอนวิชาความรู้แก่ชาวบ้าน เช่น สอนทำผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสมุนไพร ในครัวเรือน,การนวดแพทย์แผนไทยและการปลูกสมุนไพรไทย ประวัติการศึกษาดูงาน :ได้เดินทางไปดูงานเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้าน งานอุตสาหกรรม และงานเกี่ยวกับสาธารณสุข จำนวน 72 จังหวัด กิจกรรมช่วยเหลือสังคม : เป็นสมาชิกกู้ภัยพุมดวงสัมพันธ์,ทำงานที่สำนักงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด,เป็นอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ประจำตำบลท่า ขนอน รางวัล และประกาศเกียรติคุณที่เคยได้รับ : ได้รับโล่เกียรติคุณหมอพื้นบ้าน จากพระเทพรัตนราชสุดาฯ