Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการประเมิน_ITA2563_print

รายงานผลการประเมิน_ITA2563_print

Published by Charanya Sriprai, 2021-01-28 05:35:29

Description: รายงานผลการประเมิน_ITA2563_print

Search

Read the Text Version

Integrity and Transparency Assessment Report 2020 รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใส ในการดำเนนิ งาน ของหนว ยงานภาครฐั 2563 ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹ ».».ª. คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ National Anti-Corruption Commission of Thailand



รายงานผลการประเมิน คุณธรรมและความโปรง่ ใส ในการด�ำ เนนิ งาน ของหน่วยงานภาครัฐ 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ National Anti-Corruption Commission of Thailand

Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ค�ำน�ำ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นบั ปที ี่ 7 ของการด�ำเนนิ การทผ่ี า่ นมา และเป็นปที ่ี 3 ทีไ่ ดป้ รับเขา้ สู่การประเมนิ ในรปู แบบออนไลน์ โดยการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ด�ำเนินการในหวั ข้อ “Open to Transparency : เปิดประตูสู่ความโปรง่ ใส” ซึ่งเป็นแนวคดิ ทถี่ อื เปน็ หวั ใจหลกั ส�ำคญั ของการประเมนิ ITA ทจ่ี ะนำ� ไปสกู่ ารยกระดบั คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสของหน่วยงานภาครัฐ โดยประกอบด้วย การ “เปิด” 3 อย่าง ดงั นี้ l เปิดเผยข้อมูลภาครัฐ หมายถึง หน่วยงานภาครัฐจะต้องมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ให้ประชาชนและสาธารณชนได้รับทราบ ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานของการให้บริการภาครัฐให้เกิดความโปร่งใส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปิดเผยข้อมูลทางเว็บไซต์หลักของหน่วยงานซึ่งเป็นแพลตฟอร์มอีเลกทรอนิกส์ออนไลน์ ที่ผ้รู ับบริการและประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู ไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว และเปน็ ทางการมากทส่ี ุด l เปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม หมายถึง หน่วยงานภาครัฐจะต้องมีการเปิดโอกาสให้ทุกคน ท่ีเก่ียวข้องกับการด�ำเนินภารกิจของหน่วยงาน ท้ังเจ้าหน้าท่ีของรัฐ บุคลากรภายในหน่วยงาน และประชาชน ผรู้ บั บรกิ ารและผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสยี ในภารกจิ ของหน่วยงาน ไดม้ ีส่วนร่วมในการพัฒนาการให้บรกิ ารภาครัฐ l เปิดใจรบั การเปลี่ยนแปลง หมายถงึ ผบู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั จะตอ้ งเปดิ ใจรบั การเปลยี่ นแปลง ของโลก เทคโนโลยี สภาพสังคม และรูปแบบพฤติกรรมการใช้ชีวิตท่ีปรับเปล่ียนไปสู่โลกออนไลน์เพ่ิมมากข้ึน ซึ่งล้วนส่งผลต่อการบริหารจัดการและการให้บริการภาครัฐ ที่จะต้องมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงไปเพ่ือให้ การดำ� เนนิ งานภาครัฐมปี ระสิทธิภาพ เกดิ ความโปร่งใส และตอบสนองตอ่ ประชาชน ตลอดปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการท่ีเก่ียวข้องกับ การบริหารจัดการการประเมินฯ รวมถึงหน่วยงานก�ำกับติดตามการประเมินฯ ประกอบด้วย ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ส�ำนักงาน ป.ป.ท. ส�ำนกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกิจ ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้ร่วมกันก�ำกับติดตามการประเมินฯ โดยมอบหมาย ให้สถาบันการศึกษา 3 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และโรงเรียน นายร้อยต�ำรวจ ในฐานะผู้เช่ียวชาญและคนกลางเป็นผู้ตรวจประเมินและให้ข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานภาครัฐ ท่ีเข้าร่วมการประเมนิ จนแลว้ เสร็จตามหลักเกณฑแ์ ละข้ันตอนการประเมนิ ทก่ี �ำหนด รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ก Integrity and Transparency Assessment Report 2020

รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นการสรุปผลการประเมินฯ ในมิติท่ีมีความส�ำคัญต่อการบริหารจัดการทั้งในเชิงภารกิจและในเชิงพ้ืนท่ี รวมถึง อภิปรายรายละเอียดและให้ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ของหน่วยงานภาครัฐ นอกจากนี้ ยังได้มีการสรุปข้อมูลในรายภาคและจังหวัดของประเทศไทย เพ่ือใช้เป็นข้อมูล ประกอบการวางแผนและพัฒนาการด�ำเนินงานให้เกิดการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในแต่ละพื้นที่ จังหวัดท่ัวประเทศให้สามารถบรรลุซ่ึงเป้าหมายตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้าน การทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะผู้จัดท�ำคาดหวังว่ารายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 น้ี จะเป็นประโยชนแ์ ละสามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู และบทเรียนใหแ้ กห่ น่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานที่เก่ียวข้องน�ำไปประกอบการวางแผนการบริหารจัดการภายใน การปรับปรุงพัฒนาในด้าน คุณธรรมและความโปร่งใส และยกระดับมาตรฐานการด�ำเนินงานภาครัฐให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีก�ำหนดและเกิด ประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและผรู้ บั บรกิ ารภาครฐั ตอ่ ไป ข รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

บทสรุปผู้บรหิ าร การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (การประเมิน ITA) เป็นเคร่ืองมือการประเมินเชิงบวกที่มุ่งพัฒนาระบบราชการไทยในเชิงสร้างสรรค์มากกว่ามุ่งจับผิด เปรียบเสมือน เครื่องมือตรวจสุขภาพองค์กรประจ�ำปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐท่ัวประเทศได้รับทราบถึง สถานะและปัญหาการด�ำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กร ผลการประเมินที่ได้จะช่วยให้ หน่วยงานภาครัฐสามารถน�ำไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการ สามารถอ�ำนวยความสะดวก และตอบสนองต่อประชาชนได้ดีย่ิงขึ้น ขณะเดียวกันการประเมิน ITA ยังเป็น เครื่องมือในการยกระดับมาตรฐานการด�ำเนินงานภาครัฐตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดังนั้น การประเมิน ITA จึงไม่ได้เป็นเพียงการประเมินคุณธรรม การด�ำเนินงาน การปอ้ งกันการทจุ รติ ในองค์กร และการเปดิ เผยขอ้ มูลภาครฐั แต่ยังเปน็ การประเมินประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานและคุณภาพการให้บริการประชาชน เพื่อให้ทราบถึงช่องว่างของความไม่เป็นธรรมและความด้อย ประสิทธิภาพ ส�ำหรับน�ำไปจัดท�ำแนวทางมาตรการต่างๆ ในการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบของแต่ละ หน่วยงาน ตลอดจนระบบราชการไทยตอ่ ไป สำ� หรับในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 น้ี มีหน่วยงานภาครฐั จำ� นวน 8,303 แหง่ ทวั่ ประเทศ เข้ารว่ มการ ประเมิน ITA ครอบคลุมหน่วยงานภาครัฐทั้งในฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และองค์กรอิสระ กล่าวได้ว่า เป็นการประเมินด้านธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการภาครัฐท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทยในปัจจุบัน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 น้ี มีประชาชนและเจา้ หน้าท่ขี องรัฐเข้ามามีส่วนรว่ มในการให้ข้อมูลการดำ� เนนิ งาน ของหน่วยงานภาครัฐทว่ั ประเทศ จำ� นวน 1,301,665 ราย เพิ่มขนึ้ มากกว่าปีงบประมาณที่ผา่ นมาถึงร้อยละ 29.36 สะทอ้ นใหเ้ หน็ ว่าประชาชนและเจ้าหน้าทีข่ องรฐั มีการตืน่ ตัวต่อประเด็นการต่อต้านการทุจรติ มากยิง่ ข้นึ รวมไปถึง มีความกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานและการให้บริการภาครัฐเพ่ือน�ำไปสู่การปรับปรุงพัฒนา ให้มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใสมากยิ่งขึ้น ซ่ึงเป็นสัญญาณที่ดีในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการต่อต้าน การทุจริตจากทกุ ภาคสว่ น การประเมิน ITA ได้ค�ำนึงถึงการเก็บข้อมูลอย่างรอบด้านและหลากหลายมิติ เพื่อให้ผลการประเมิน สามารถสะท้อนสุขภาวะขององค์กรในด้านคุณธรรมและความโปร่งใสได้อย่างแท้จริง โดยมีการเก็บข้อมูลจาก 3 ส่วน ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 การเก็บข้อมูลจากบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรภาครัฐทุกระดับท่ีปฏิบัติงานมาไม่น้อยกว่า 1 ปี ได้มีโอกาส เท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นต่อคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานภายในองค์กรของตนเอง รวมถึงให้ข้อเสนอแนะหรือข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นคุณธรรมและความโปร่งใสโดยตรงต่อผู้บริหารของ หน่วยงานตนเอง โดยสอบถามการรับรู้และความคดิ เห็นใน 5 ตัวชีว้ ัด ไดแ้ ก่ รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ค Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ตวั ชีว้ ัดท่ี 1 การปฏิบตั ิหนา้ ท่ี ตัวช้วี ัดท่ี 2 การใช้งบประมาณ ตวั ชี้วัดที่ 3 การใชอ้ ำ� นาจ ตวั ชวี้ ดั ท่ี 4 การใช้ทรพั ยส์ นิ ของราชการ ตัวชว้ี ดั ที่ 5 การแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ ส่วนท่ี 2 การเก็บข้อมูลจากผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อหน่วยงานภาครัฐ (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) ในชว่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยสอบถามการรบั รูแ้ ละความคิดเห็นใน 3 ตวั ชวี้ ัด ไดแ้ ก่ ตวั ช้วี ัดท่ี 6 คุณภาพการด�ำเนินงาน ตัวชว้ี ัดท่ี 7 ประสทิ ธภิ าพการสอ่ื สาร ตวั ชว้ี ดั ท่ี 8 การปรบั ปรงุ การท�ำงาน ส่วนท่ี 3 การเปิดเผยข้อมูลทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) เปน็ การตรวจสอบระดบั การเปิดเผยขอ้ มูลของหนว่ ยงานภาครัฐทเ่ี ผยแพรไ่ ว้ทางหนา้ เวบ็ ไซต์ หลักของหน่วยงาน โดยมีคณะที่ปรึกษาการประเมิน ITA ในฐานะผู้เช่ียวชาญและคนกลาง (third party) เป็นผู้ตรวจสอบข้อมูลและให้คะแนน พร้อมข้อเสนอแนะตามหลักเกณฑ์การประเมินที่ก�ำหนด แบ่งออกเป็น 2 ตวั ชวี้ ัด ไดแ้ ก่ ตัวช้ีวดั ท่ี 9 การเปดิ เผยขอ้ มูล ตวั ชว้ี ัดท่ี 10 การปอ้ งกันการทจุ รติ หนว่ ยงานภาครฐั 8,303 แห่งทว่ั ประเทศ ได้เริม่ กระบวนการประเมิน ITA ผ่านระบบ ITAS ทเ่ี ว็บไซต์ https://itas.nacc.go.th/ ต้ังแต่วนั ที่ 1 เมษายน 2563 และได้สน้ิ สุดกระบวนการประเมนิ เมอ่ื วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2563 โดยคณะท่ีปรึกษาได้ตรวจให้คะแนนและให้ข้อเสนอแนะในการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน ของแตล่ ะหนว่ ยงานภาครัฐทัว่ ประเทศเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยแล้ว ผลการประเมิน ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พบว่า มีคะแนนเฉล่ียในภาพรวมของประเทศ เทา่ กบั 67.90 คะแนน อยใู่ นระดับระดบั ปานกลาง ทรี่ ะดับผลการประเมนิ (Rating Score) ระดับ C สูงข้ึนกว่า ปีท่ีผ่านมา 1.15 คะแนน มีจ�ำนวนหน่วยงานภาครัฐที่มีผลการประเมิน ITA ผ่านค่าเป้าหมายตามแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพียงร้อยละ 13.19 หรือเพียง 1,095 หน่วยงาน จากเปา้ หมายท่ีต้ังไวใ้ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทร่ี อ้ ยละ 50 เมื่อพิจารณาประเภทหน่วยงานท่ีผ่านเกณฑ์คะแนนท่ีก�ำหนดไว้ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ ซึง่ ต้องมีระดบั ผลการประเมิน 85 คะแนนขึน้ ไป หรอื ตัง้ แต่ระดบั A - AA พบวา่ หนว่ ยงานสว่ นใหญ่ในกลมุ่ ที่ได้ คะแนนระดบั A - AA คอื หน่วยงานประเภทองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ รองลงมาคอื ประเภทหน่วยงานส่วนกลาง โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดเป็นหน่วยงานกลุ่มใหญ่ท่ีมีสัดส่วนหรือจ�ำนวนของหน่วยงานในการเข้าร่วม การประเมิน ITA มากท่ีสุด คิดเป็นกว่าร้อยละ 94.57 ของหน่วยงานที่เข้ารับการประเมิน ITA ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ท้ังหมด อย่างไรก็ตาม ยังมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอีกเป็นจ�ำนวนมากเช่นกันท่ียังไม่ผ่าน คา่ เป้าหมายที่กำ� หนดไว้ หากจ�ำแนกตามประเภทของหน่วยงานภาครัฐแล้ว พบว่า มีหน่วยงานภาครัฐจ�ำนวน 10 ประเภท ท่ผี ่านคา่ เป้าหมายท่ีก�ำหนดไวใ้ นแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าตฯิ ไดแ้ ก่ หนว่ ยงานในสงั กดั รัฐสภา องคก์ รศาล ง รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

องค์กรอิสระ สถาบันอุดมศึกษา รัฐวิสาหกิจ กรมหรือเทียบเท่า องค์การมหาชน หน่วยงานของรัฐอื่นๆ จังหวัด (ส่วนราชการส่วนภูมิภาคระดับจังหวัด) และองค์กรปกครองท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ ส่วนอีก 7 ประเภท ได้แก่ กองทุน เทศบาลนคร องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์กรอัยการ เทศบาลเมือง องค์การบริหารส่วนต�ำบล เทศบาลต�ำบล ยังไม่ผา่ นค่าเปา้ หมายทร่ี อ้ ยละ 50 ของจำ� นวนหน่วยงานทั้งหมดในแตล่ ะประเภท ผลการประเมนิ ITA ในเชิงพน้ื ที่ ซงึ่ ประกอบด้วย ส่วนราชการสว่ นภมู ิภาคระดบั จังหวดั องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำ� บล และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล พบวา่ จงั หวดั นครสวรรค์ ไดค้ ะแนนเฉลยี่ สูงสุด เท่ากบั 82.52 และเป็นจงั หวดั เดียวท่ผี า่ นค่าเปา้ หมายตามแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ความส�ำเร็จดังกล่าวเกิดขึ้น จากการให้ความส�ำคัญของผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการภายในจังหวัด ในการก�ำกับติดตาม ดูแล ให้ค�ำปรึกษา และบูรณาการการด�ำเนินงานร่วมกันอย่างต่อเนื่องตลอดปีงบประมาณ ขณะเดียวกันก็ได้รับ ความร่วมมือจากหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินท้ังส่วนราชการส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภายในจังหวัดเป็นอย่างดี ส่งผลให้กระบวนการประเมินในภาพรวมของจังหวัดนครสวรรค์ด�ำเนินการได้อย่าง ครบถ้วนและมีคณุ ภาพ อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาผลการประเมิน ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ในภาพรวมระดับ ประเทศ จ�ำแนกตามตัวช้ีวัด จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ตัวชี้วัดท่ีฉุดร้ังให้ผลการประเมิน ITA ในภาพรวมระดับ ประเทศไม่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ ได้นั้น เกิดจากหน่วยงานภาครัฐ ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยมีการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงานให้ครบถ้วนตามมาตรฐานเว็บไซต์ ของหน่วยงานภาครฐั และหลักเกณฑก์ ารประเมนิ ที่ก�ำหนด ดงั จะเหน็ ได้จากค่าคะแนนในตัวช้วี ดั ที่ 9 และตวั ช้วี ัดท่ี 10 หน่วยงานภาครัฐท่ีมี Rating Score ตง้ั แตร่ ะดบั C ลงมาจนถึงระดับ F จำ� นวน 5,779 แห่ง มคี ะแนนในตวั ชว้ี ดั ที่ 9 และตัวชี้วัดท่ี 10 ต�่ำกว่า 50 คะแนน ซ่ึงค่าคะแนนท้ัง 2 ตัวช้ีวัดดังกล่าวจะลดลงตามระดับผลการประเมิน จนถึงหน่วยงานท่ีมีผลการประเมิน ITA ต่�ำสุด คือ ไม่มีค่าคะแนนในตัวช้ีวัดท่ี 9 และตัวช้ีวัดท่ี 10 โดยเฉพาะ ค่าคะแนนในตัวช้ีวัดท่ี 10 ซึ่งมีจ�ำนวนเพียง 10 ข้อค�ำถามจากท้ังหมด 43 ข้อค�ำถามน้ัน มีนัยส�ำคัญและส่งผล ต่อคะแนนเฉล่ียของแต่ละหน่วยงานเป็นอย่างยิ่ง เพราะมีสัดส่วนคะแนนรวมกันคิดเป็นครึ่งหน่ึงจากค่าคะแนน ตามแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (แบบ OIT) แต่กลับมีหน่วยงานเป็นจ�ำนวนมากที่ไม่ได้ด�ำเนินการ ปอ้ งกันการทุจริตตามตัวช้วี ดั ที่ 10 ดังน้ัน กลยุทธ์การพัฒนาหนว่ ยงานภาครฐั เพือ่ ยกระดบั ผลการประเมนิ ITA ใหส้ ามารถบรรลเุ ปา้ หมาย ตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นการต่อต้านการทุจรติ ประพฤติมิชอบ ภายในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ใหไ้ ดน้ ัน้ จงึ ต้องมุ่งไปท่ีการแก้ไขปญั หาการเปิดเผยขอ้ มลู ภาครัฐและการดำ� เนินงานป้องกันการทจุ ริตตามตัวชีว้ ัดท่ี 9 และ 10 โดยเน้นหนักหรือเฉพาะเจาะจงลงไปที่กลุ่มหน่วยงานภาครัฐในเชิงพ้ืนที่ ประกอบด้วย จังหวัด (สว่ นราชการสว่ นภมู ภิ าค) และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ซ่งึ มหี น่วยงานท่มี ีผลการประเมนิ อยใู่ นช่วงระดับ C - F คิดเป็นจำ� นวนกวา่ 72.43% หรอื จำ� นวน 5,743 แหง่ จากสว่ นราชการสว่ นภมู ิภาคและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ทง้ั หมด 7,928 แห่ง จากผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลการประเมิน ITA ข้างต้น คณะกรรมการ ป.ป.ช. คณะกรรมการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ คณะอนกุ รรมการก�ำกับ และพัฒนาการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ จึงมีข้อเสนอแนะ เชิงกลยุทธ์ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการยกระดับการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะและการป้องกันการทุจริต รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จ Integrity and Transparency Assessment Report 2020

อย่างเร่งด่วน เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐสามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ ได้ทันตาม เป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ดังน้ี 1) คณะรัฐมนตรี ผู้บริหารกระทรวงมหาดไทย และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรเร่ง ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาการเปิดเผยข้อมูลและบริการสาธารณะผ่านทางเว็บไซต์ของ หน่วยงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 เปน็ หลกั โดยก�ำหนดนโยบาย โครงการ กจิ กรรม การก�ำกบั ควบคมุ หรือการก�ำหนดตัวชี้วัดการปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลและบริการสาธารณะผ่านทางเว็บไซต์ ของหนว่ ยงาน 2) คณะรัฐมนตรีและผู้บริหารหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการก�ำหนดตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการ ควรก�ำหนดตัวชี้วัดการก�ำกับดูแลการประเมิน ITA ของผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ี เพ่ือให้เกิดการก�ำกับดูแล การประเมิน ITA ในแต่ละขั้นตอน และกลั่นกรองข้อมูลท่ีเปิดเผยต่อสาธารณะให้มีความถูกต้องครบถ้วนตาม หลักเกณฑ์การประเมินที่ก�ำหนด อันจะยังผลให้แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริต และประพฤตมิ ิชอบ สามารถบรรลุเป้าหมายตามระยะเวลาท่ีก�ำหนดไว้ไดภ้ ายในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 3) คณะรัฐมนตรี ผู้บริหารกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และผู้บริหารส�ำนักงานพัฒนา รฐั บาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน) ควรสนบั สนุนการออกแบบโครงสร้างของเวบ็ ไซต์ และสว่ นต่อประสานกบั ผู้ใช้งาน เว็บไซต์ (User Interface) ที่เหมาะสมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแต่ละประเภท เพื่อให้ประชาชนได้รับ ประโยชน์จากการเข้าถึงข้อมูลและบริการสาธารณะผ่านระบบสารสนเทศท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน ตลอดจน เพ่ือประหยัดงบประมาณในการจัดจ้างออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแต่ละแห่ง ทีม่ ีความกระจัดกระจายไมเ่ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั อยู่ในปจั จบุ ัน นอกจากนี้ ควรศึกษาแนวทางการพัฒนาเครอื่ งแมข่ ่าย (server) ระบบเครือข่าย (network) พร้อมซอฟตแ์ วร์ (software) ทจ่ี �ำเป็นในระดบั จงั หวดั เพื่อรองรบั เวบ็ ไซต์ ของหน่วยงานภาครัฐและองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ภายในจงั หวัด ซึ่งจะชว่ ยให้การเขา้ ถงึ ข้อมูลภาครัฐมีความเสถียร มากยิง่ ขึน้ อกี ทงั้ ยังชว่ ยประหยัดงบประมาณไดเ้ ป็นจ�ำนวนมาก 4) คณะรัฐมนตรี ผู้บริหารกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และผู้บริหารส�ำนักงานพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ควรก�ำหนดกิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจเชิงบวกในการพัฒนาและยกระดับ การเปิดเผยข้อมูลและบริการภาครัฐผ่านระบบสารสนเทศ เพ่ือเป็นการมอบสิ่งจูงใจและสร้างต้นแบบในการพัฒนา ใหแ้ กห่ นว่ ยงานภาครฐั 5) คณะรัฐมนตรีและองค์กรส่ือของรัฐ ควรสนับสนุนงบประมาณในการผลิตสื่อออนไลน์หรือรายการ โทรทัศน์ที่มีเนื้อหาในการเสริมสร้างองค์ความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ขององค์กรหรือประเทศที่ประสบ ความส�ำเร็จในการใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศในการเปิดเผยข้อมูลและให้บริการประชาชน เพื่อเสริมสร้าง แรงบันดาลใจ องค์ความรู้ และสร้างความตระหนักให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนได้เห็นถึงประโยชน์ ของการเปดิ เผยขอ้ มูลและการรับบริการภาครฐั ผา่ นระบบสารสนเทศ 6) ผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอ�ำเภอ ซึ่งมีหน้าที่และอ�ำนาจในการก�ำกับดูแลการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการส่วนภูมิภาค และก�ำกับดูแลการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย จัดต้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท ควรก�ำกับดูแลการเปิดเผยข้อมูลและบริการสาธารณะผ่านทาง เวบ็ ไซต์ของหนว่ ยงานอย่างนอ้ ยตามที่กฎหมายก�ำหนด ฉ รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

สารบญั เร่อื ง หน้า การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน 1 ของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สรปุ ผลคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ 9 ผลการประเมนิ ระดับประเทศ 11 ผลการประเมินตามเป้าหมายแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติฯ 12 ผลการประเมินตามระดับผลการประเมนิ (Rating Score) 12 ผลการประเมนิ รายประเภทหนว่ ยงานส่วนกลางกับหนว่ ยงานส่วนพืน้ ท ่ี 14 ผลการประเมนิ รายประเภทหนว่ ยงาน 14 ผลการประเมินรายกลุ่มการประเมิน 16 ผลการประเมินรายจงั หวดั 18 ถอดบทเรยี นการบริหารจัดการและการยกระดับ ITA จังหวัดนครสวรรค์ 21 ผลการประเมินตามตวั ช้วี ัด 23 ผลคะแนนตามแหล่งข้อมลู 25 28 การอภิปรายและข้อเสนอแนะตอ่ ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส ในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั อภิปรายผลการประเมิน ITA และให้ข้อเสนอแนะเพอื่ การบรรลุเป้าหมายตามแผนแมบ่ ท 29 ภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นการต่อต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบ อภิปรายผลการประเมิน ITA และให้ข้อเสนอแนะรายตวั ช้วี ัดและข้อค�ำถาม 44 ภาคผนวก : สรปุ ผลการประเมนิ รายพื้นทขี่ องประเทศไทย 55 สรปุ ผลการประเมินกลมุ่ ท่ี 1 ภาคกลาง 56 สรุปผลการประเมินกลุ่มที่ 2 ภาคตะวนั ออก 66 สรปุ ผลการประเมนิ กลุ่มท่ี 3 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนล่าง 75 สรปุ ผลการประเมินกลมุ่ ที่ 4 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน 84 สรุปผลการประเมนิ กลุ่มที่ 5 ภาคเหนอื ตอนบน 97 สรุปผลการประเมนิ กลมุ่ ที่ 6 ภาคเหนือตอนลา่ ง 106 สรุปผลการประเมินกลมุ่ ที่ 7 ภาคตะวันตก 116 สรุปผลการประเมินกลุ่มที่ 8 ภาคใตต้ อนบน 125 สรปุ ผลการประเมินกลุ่มที่ 9 ภาคใตต้ อนลา่ ง 133 สรุปผลการประเมินส่วนกลางและกรุงเทพมหานคร 141



การประเมินคณุ ธรรม และความโปรง่ ใส ในการด�ำเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1. ขอ้ มูลทว่ั ไปเก่ยี วกบั การประเมิน การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เป็นเคร่ืองมือในเชิงบวกที่มุ่งพัฒนาระบบราชการไทยในเชิงสร้างสรรค์ มากกวา่ มงุ่ จบั ผดิ เปรียบเสมือนเครอ่ื งมอื ตรวจสขุ ภาพองคก์ รประจ�ำปี โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ให้หน่วยงานภาครัฐ ท่ัวประเทศได้รับทราบถึงสถานะและปัญหาการด�ำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กร ผลการประเมิน ที่ได้จะช่วยให้หน่วยงานภาครัฐสามารถน�ำไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการ สามารถอ�ำนวยความสะดวก และตอบสนองตอ่ ประชาชนไดด้ ียิง่ ขน้ึ ขณะเดยี วกันยงั เปน็ เครื่องมือ ในการยกระดับมาตรฐานการด�ำเนินงานภาครัฐ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้าน การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ ดว้ ยเหตนุ ก้ี ารประเมนิ ITA จงึ ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งการประเมินคุณธรรมการด�ำเนินงาน การป้องกันการทุจริตในองค์กรและการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ แต่ยังเป็นการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และการให้บริการประชาชน เพื่อให้ทราบถึงช่องว่างของความไม่เป็นธรรมและความด้อยประสิทธิภาพ ส�ำหรับ น�ำไปจัดทำ� แนวทางมาตรการตา่ งๆ ในการป้องกันการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบในระบบราชการไทยตอ่ ไป รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ต้ังกลไกการก�ำกับติดตามการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ โดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับนโยบายได้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ และระดับปฏิบัติได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ก�ำกับและพัฒนาการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อท�ำหน้าท่ี ก�ำกับติดตามและยกระดับผลการประเมินให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี รวมถึงด�ำเนินการอื่นใดให้เป็นไปตาม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยกลไกท้ัง 2 ระดับข้างต้น ประกอบดว้ ย หัวหนา้ สว่ นราชการระดบั นโยบาย นักวชิ าการ และผู้ทรงคณุ วุฒิ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นบั เป็นปีที่ 7 ของการดำ� เนนิ การท่ีผ่านมา และเปน็ ปีที่ 3 ทไี่ ดป้ รบั เขา้ สกู่ ารประเมนิ ในรปู แบบออนไลน์ โดยส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกแบบเกณฑ์การประเมิน และน�ำไปต่อยอดพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน ของหน่วยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment System: ITAS) เพือ่ น�ำมาใช้เป็นศูนย์กลาง ในการดำ� เนนิ การประเมินใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพเพ่มิ มากขน้ึ ทั้งในแงร่ ะยะเวลาและในแงง่ บประมาณทใ่ี ช้ในการประเมินผล ส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐท่ัวประเทศ เกิดความตระหนักในการบริหารงานและการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงาน ให้มีคุณธรรมและให้ความส�ำคัญกับความโปร่งใสขององค์กรของรัฐเพิ่มมากขึ้นเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้ว่า ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นต้นมา ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐและ เกิดการพัฒนางานของหน่วยงานภาครัฐในทางปฏิบัติอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะอย่างย่ิงความตื่นตัวและหันมา ให้ความสนใจต่อการพัฒนาแฟลตฟอร์มอีเล็กทรอนิกส์ของตนเองให้ทันสมัยและน่าสนใจมากข้ึน ท่ีส�ำคัญคือ ส่งผลให้หน่วยงานมีการจัดการข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นระบบระเบียบและเตรียมความพร้อมในการเปิดเผยข้อมูล ต่อสาธารณะให้ไดร้ ับทราบและสง่ เสริมให้เกิดการตรวจสอบเพือ่ ความโปรง่ ใสของหนว่ ยงานอีกดว้ ย ตลอดปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา คณะกรรมการฯ คณะอนุกรรมการฯ และหน่วยงานก�ำกับ ตดิ ตามการประเมินฯ ประกอบดว้ ย สำ� นักงาน ป.ป.ช. ส�ำนักงาน ป.ป.ท. สำ� นักงานปลัดกระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ได้ร่วมกันด�ำเนินการประเมินฯ จนแล้วเสร็จตามหลักเกณฑ์และข้ันตอนที่ก�ำหนด โดยได้มอบหมายให้คณะท่ีปรึกษา จากสถาบันการศึกษาและการวิจัย 3 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ ในฐานะผู้เชี่ยวชาญและคนกลาง (third party) เปน็ ผจู้ ดั เกบ็ ขอ้ มลู ตรวจประเมนิ และใหข้ อ้ เสนอแนะแกห่ นว่ ยงานภาครฐั ซงึ่ ผลการประเมนิ และข้อเสนอแนะท่ีได้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานภาครัฐ ในการน�ำไปปรับปรุงพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการด�ำเนินงานภาครัฐให้บรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ในแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบตอ่ ไป 2 รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

2. กรอบแนวทางการประเมิน การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ก�ำหนดกรอบแนวทางในการด�ำเนินงาน ทเี่ ชือ่ มโยงและต่อเนื่องจากการประเมนิ ในปที ผ่ี ่านมา โดยไดค้ ำ� นึงถึงการเก็บขอ้ มลู อยา่ งรอบดา้ นและหลากหลายมิติ รวมไปถึงก�ำหนดระเบียบวิธีการประเมินผลที่เป็นไปตามหลักการทางสถิติและทางวิชาการ โดยมีการเก็บข้อมูล จาก 3 ส่วน ดังน้ี 2.1 การเก็บข้อมูลจากบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) โดยเปดิ โอกาสให้บุคลากรภาครฐั ทุกระดบั ทีป่ ฏิบตั ิงานมาไม่น้อยกวา่ 1 ปี ไดม้ ีโอกาสเท่าเทียมกนั ในการแสดงความคิดเห็นต่อคุณธรรมและความโปร่งใสในองค์กรของตนเอง โดยสอบถามการรับรู้และความคิดเห็น ใน 5 ตัวชว้ี ดั ไดแ้ ก่ ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 การปฏิบัติหน้าท่ี ตัวช้วี ดั ท่ี 2 การใช้งบประมาณ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 3 การใชอ้ ำ� นาจ ตัวชี้วัดท่ี 4 การใช้ทรัพย์สนิ ของราชการ ตัวชว้ี ัดท่ี 5 การแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ 2.2 การเก็บขอ้ มลู จากผ้รู บั บรกิ ารหรอื ผู้ติดต่อหนว่ ยงานภาครัฐ (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) ในชว่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยสอบถามการรบั รู้และความคิดเหน็ ใน 3 ตวั ชี้วัด ไดแ้ ก่ ตวั ชว้ี ัดที่ 6 คุณภาพการด�ำเนินงาน ตวั ชว้ี ัดที่ 7 ประสทิ ธภิ าพการสื่อสาร ตวั ชี้วดั ที่ 8 การปรบั ปรงุ การทำ� งาน 2.3 การเปิดเผยข้อมูลทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) เปน็ การตรวจสอบระดบั การเปดิ เผยข้อมลู ของหนว่ ยงานภาครฐั ท่เี ผยแพรไ่ ว้ทางหน้าเวบ็ ไซต์ หลกั ของหนว่ ยงาน โดยมีคณะทปี่ รกึ ษาการประเมิน ITA เป็นผตู้ รวจสอบขอ้ มูลและใหค้ ะแนน พร้อมข้อเสนอแนะ ในการพฒั นาองคก์ รตามหลักเกณฑก์ ารประเมนิ ทกี่ �ำหนด แบง่ ออกเป็น 2 ตวั ช้วี ดั ไดแ้ ก่ ตวั ชี้วดั ท่ี 9 การเปิดเผยขอ้ มูล ตวั ชว้ี ัดท่ี 10 การป้องกันการทุจริต รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 3 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

3. หนว่ ยงานขับเคลอื่ นและกลมุ่ เปา้ หมายการประเมนิ 3.1 หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้องกบั การประเมนิ ประกอบดว้ ย 3 กล่มุ คอื 3.1.1 หน่วยงานดำ� เนินการประเมิน : ส�ำนกั ประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส สำ� นกั งาน ป.ป.ช. เป็นหน่วยงานศูนย์กลางด�ำเนินการประเมินในภาพรวม โดยมีการจัดจ้างคณะที่ปรึกษาจากสถาบันการศึกษาหรือ สถาบันวิจัยในฐานะผู้เช่ียวชาญและคนกลาง (third party) เข้ามาท�ำหน้าที่ด�ำเนินการประเมินผลตามเคร่ืองมือ ระเบียบวิธีการประเมิน และกรอบระยะเวลาท่ีก�ำหนด รวมไปถึงให้ค�ำปรึกษาและข้อเสนอแนะในระหว่าง กระบวนการประเมนิ ต่างๆ แก่หน่วยงานภาครัฐท่ีเข้าร่วมการประเมิน ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้มอบหมายใหม้ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และโรงเรยี นนายร้อยต�ำรวจ เป็นผูต้ รวจประเมิน และให้ข้อเสนอแนะแก่หนว่ ยงานภาครัฐทีเ่ ข้ารว่ มการประเมนิ 3.1.2 หน่วยงานก�ำกับดูแลการประเมิน : มีบทบาทในการร่วมก�ำกับติดตามการประเมินของ หน่วยงานภาครัฐภายใต้การก�ำกับดูแลของตนเอง รวมไปถึงการประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐภายใต้การก�ำกับ ในระหว่างกระบวนการประเมินในขั้นตอนต่างๆ โดยมีหน่วยงานท่ีท�ำหน้าท่ีก�ำกับดูแลการประเมิน 5 หน่วยงาน ไดแ้ ก่ (1) ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประกอบด้วย สำ� นักประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส ส�ำนักพัฒนา และส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ภาค 1 - 9 และส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัด (2) สำ� นกั งาน ป.ป.ท. ประกอบดว้ ย กองปอ้ งกนั การทจุ รติ ในภาครฐั และสำ� นกั งาน ป.ป.ท. เขต 1 - 9 (3) ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกิจ (4) สำ� นกั งานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (5) กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ ประกอบดว้ ย กองกฎหมายและระเบยี บทอ้ งถน่ิ และ ส�ำนักงานสง่ เสรมิ การปกครองท้องถนิ่ จงั หวดั 3.1.3 หนว่ ยงานกลมุ่ เปา้ หมายการประเมนิ : มบี ทบาทในการเขา้ รว่ มการประเมนิ ตามกระบวนการ และกรอบระยะเวลาท่ีก�ำหนด ประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐ จ�ำนวน 8,303 หน่วยงาน มีขอบเขตครอบคลุม หน่วยงานภาครฐั ในประเภทต่างๆ ดังนี้ (1) องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ ศาล หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา กรมหรือเทียบเท่า องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ สถาบันอุดมศึกษา กองทุน หน่วยงานของรัฐอื่นๆ โดยมีขอบเขตการประเมิน ครอบคลมุ การบรหิ ารราชการในภาพรวมของหนว่ ยงาน ประกอบดว้ ย สว่ นกลางของหนว่ ยงาน และสว่ นราชการ ในระดับพ้นื ทีท่ ่ขี ้ึนตรงตอ่ ส่วนกลางของหนว่ ยงาน (2) จงั หวัด มขี อบเขตการประเมินในภาพรวมของการบริหารราชการส่วนภมู ภิ าค ซึง่ ครอบคลุม เฉพาะกลไกการบริหารราชการระดับจังหวัด ประกอบด้วย ส�ำนักงานจังหวัด และส่วนราชการส่วนภูมิภาค ทอ่ี ยใู่ นการควบคมุ ดแู ลของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทงั้ นี้ ไมร่ วมราชการในจงั หวดั ทข่ี น้ึ ตรงตอ่ สว่ นกลาง และราชการ ระดบั อำ� เภอ (3) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีขอบเขตการประเมินในภาพรวมของการบริหารราชการ ส่วนท้องถ่ิน ซึ่งครอบคลุมเฉพาะการบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฝ่ายบริหาร และฝ่ายประจ�ำ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 4 รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

3.2 การแบง่ กลมุ่ เป้าหมายการประเมนิ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้มีการออกแบบแนวทางการบริหารและขับเคล่ือนการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้สามารถก�ำกับติดตามการประเมินให้ เป็นไปตามระยะเวลาท่ีก�ำหนด และเป็นไปตามหลักการทางวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมาตรฐาน เดียวกนั โดยจำ� แนกกลมุ่ เป้าหมายออกเป็น 10 กลุม่ ดงั นี้ กล่มุ หนว่ ยงาน จำ� นวน (หนว่ ยงาน) 1 จงั หวัดและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในจังหวดั ชยั นาท นนทบรุ ี ปทมุ ธานี พระนครศรอี ยธุ ยา ลพบรุ ี สมทุ รปราการ สระบรุ ี สงิ หบ์ รุ ี อา่ งทอง 729 จังหวัด องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ รูปแบบ 592 2 พเิ ศษ ในจงั หวดั จนั ทบุรี ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจนี บรุ ี ระยอง 1,475 สระแก้ว เมืองพทั ยา 1,512 3 จังหวดั และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในจังหวัดชยั ภมู ิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรสี ะเกษ สรุ ินทร์ อุบลราชธานี อ�ำนาจเจรญิ 830 879 จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ในจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ ขอนแก่น นครพนม 706 4 บงึ กาฬ มหาสารคาม มกุ ดาหาร รอ้ ยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย 573 631 หนองบวั ล�ำภู และอุดรธานี 376 5 จังหวัดและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นในจงั หวัดเชยี งราย เชียงใหม่ น่าน แพร่ 8,303 พะเยา แมฮ่ ่องสอน ล�ำปาง ลำ� พูน 6 จังหวดั และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินในจังหวัดกำ� แพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พจิ ิตร พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั อตุ รดิตถ์ อุทัยธานี 7 จังหวดั และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในจังหวดั กาญจนบรุ ี นครปฐม ประจวบครี ขี นั ธ์ เพชรบรุ ี ราชบรุ ี สมทุ รสงคราม สมทุ รสาคร สพุ รรณบรุ ี 8 จงั หวัดและองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ในจังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรธี รรมราช พังงา ภเู กต็ ระนอง สรุ าษฎร์ธานี 9 จงั หวดั และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ในจงั หวดั ตรงั นราธิวาส ปตั ตานี พทั ลงุ ยะลา สงขลา สตลู 10 องคก์ รอสิ ระ องคก์ รอยั การ ศาล หน่วยงานในสังกัดรฐั สภา กรมหรอื เทยี บเทา่ องคก์ ารมหาชน รฐั วสิ าหกิจ หน่วยงานของรฐั อ่ืน ๆ สถาบนั อดุ มศกึ ษา กองทนุ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ (กรุงเทพมหานคร) รวม รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 5 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

4. ระเบยี บวิธกี ารประเมนิ 4.1 ตวั ช้ีวดั การประเมิน การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ� เนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ประกอบไปดว้ ย 10 ตัวชีว้ ดั ไดแ้ ก่ 1) การปฏิบตั หิ นา้ ที่ 2) การใช้งบประมาณ 3) การใชอ้ �ำนาจ 4) การใชท้ รัพยส์ นิ ของราชการ 5) การแก้ไขปญั หาการทจุ รติ 6) คุณภาพการด�ำเนินงาน 7) ประสิทธิภาพการสื่อสาร 8) การปรับปรุงระบบการท�ำงาน 9) การเปดิ เผยขอ้ มลู 10) การปอ้ งกันการทจุ รติ 4.2 เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการประเมนิ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ใช้เครอ่ื งมอื การประเมนิ จำ� นวน ๓ เครอื่ งมอื ดงั น้ี 4.2.1 แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) มวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อประเมนิ ระดับการรบั รูข้ องผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียภายในท่ีมตี ่อหน่วยงานตนเอง ประกอบด้วยตัวชี้วัดการปฏิบัติหน้าที่ ตัวชี้วัดการใช้งบประมาณ ตัวช้ีวัดการใช้อ�ำนาจ ตัวชี้วัดการใช้ทรัพย์สิน ของราชการ และตวั ชีว้ ัดการแก้ไขปัญหาการทุจรติ 4.2.2 แบบวดั การรบั รู้ของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกท่ีมีต่อหน่วยงาน ทป่ี ระเมนิ ประกอบดว้ ยตวั ชว้ี ดั คณุ ภาพการดำ� เนนิ งาน ตวั ชว้ี ดั ประสทิ ธภิ าพการสอื่ สาร และตวั ชวี้ ดั การปรบั ปรงุ ระบบการทำ� งาน 4.2.3 แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) มีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื ประเมนิ ระดบั การเปดิ เผยขอ้ มลู ตอ่ สาธารณะท่ีประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้ ทางเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงาน ประกอบดว้ ยตวั ชว้ี ดั การเปดิ เผยขอ้ มลู และตวั ชวี้ ดั การปอ้ งกนั การทจุ รติ 4.3 ประชากร/กล่มุ ตวั อยา่ ง/การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง/การเก็บรวบรวมข้อมูล จะก�ำหนดประชากรท่ีครอบคลุมในทุกมิติ ของหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือให้ได้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย มีความครบถ้วนตามตัวชี้วัดและเคร่ืองมือ การประเมิน รวมถึงมีขนาดตัวอย่างตามหลักความเป็นตัวแทนที่ดี โดยก�ำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลตาม ความเหมาะสมของกลุ่มตวั อย่าง ดงั น้ี 4.3.1 ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียภายใน 1) นิยาม : ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในหมายถึงบุคลากรในหน่วยงานต้ังแต่ระดับผู้บริหาร 6 รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ผู้อ�ำนวยการ/หัวหน้า ข้าราชการ/พนักงาน ไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจ้าง ที่ท�ำงานให้กับหน่วยงานมาเป็นระยะ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี 2) เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล : ใช้แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3) การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างขั้นต�่ำ : ก�ำหนดให้ขนาดกลุ่มตัวอย่างข้ันต�่ำของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียภายในมีจ�ำนวนร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในท้ังหมด แต่จะต้องมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 30 ตัวอย่าง กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในจ�ำนวนน้อยกว่า 30 คน ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียภายในท้ังหมด สว่ นกรณหี นว่ ยงานมผี ูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียภายในจ�ำนวน มากกวา่ 4,000 คน ให้เก็บข้อมูล จากผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ภายในจำ� นวนไม่นอ้ ยกวา่ 400 ตัวอยา่ ง 4) การรวบรวมขอ้ มูล : หน่วยงานเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์ชอ่ งทางการตอบแบบส�ำรวจ IIT เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในเข้ามาตอบในระบบ ITAS ด้วยตนเอง ทั้งนี้ หน่วยงานจะต้องก�ำกับ ตดิ ตามและสง่ เสริมให้มีการตอบไมน่ อ้ ยกว่าจ�ำนวนกลุ่มตวั อย่างขัน้ ต�ำ่ หรอื ตามทส่ี �ำนกั งาน ป.ป.ช. กำ� หนด 4.3.2 ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียภายนอก 1) นิยาม : ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ภายนอกหมายถึงบคุ คล นิติบคุ คล บริษัทเอกชน หรอื หนว่ ยงาน ของรัฐอนื่ ทม่ี ารบั บริการหรอื มาตดิ ตอ่ ตามภารกิจของหนว่ ยงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2) เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล : ใช้แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3) การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างข้ันต�่ำ : ก�ำหนดให้ขนาดกลุ่มตัวอย่างข้ันต�่ำของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียภายนอกมีจ�ำนวนร้อยละ 10 ของจำ� นวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกทั้งหมด แต่จะต้องมีจำ� นวนไม่น้อยกว่า 30 ตัวอย่าง กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจ�ำนวนน้อยกว่า 30 คน ให้เก็บข้อมูลจากผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายนอกทงั้ หมด สว่ นกรณหี นว่ ยงานมผี มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายนอกจำ� นวน มากกวา่ 4,000 คน ให้เก็บข้อมูลจาก ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียภายนอกจำ� นวนไมน่ ้อยกว่า 400 ตัวอย่าง 4) การรวบรวมข้อมูล : คณะที่ปรึกษาจะจัดเก็บรวบรวมข้อมูลตามแบบส�ำรวจ EIT จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกตามบัญชีรายช่ือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกท่ีหน่วยงานรวบรวมและจัดส่งในระบบ ITAS ก่อนเป็นเบ้อื งต้น โดยอาจมกี ารขอข้อมลู รายชื่อผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ภายนอกเพมิ่ เติมจากหนว่ ยงาน หรือขออนุญาต เก็บข้อมูลภาคสนามจากหน่วยงานท่ีเข้าร่วมการประเมิน หรือเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอ่ืนที่ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ก�ำหนด ทั้งนี้ คณะท่ีปรึกษาจะมีการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีคุณภาพ มลี ักษณะความเป็นตัวแทนทีด่ ที างวชิ าการ และมขี ้อมูลการตอบไมน่ อ้ ยกว่าจำ� นวนกลุม่ ตวั อย่างขัน้ ต่�ำท่ีก�ำหนด 4.3.3 หน่วยงาน 1) นยิ าม : หมายถงึ หนว่ ยงานภาครฐั ท่เี ปน็ กลมุ่ เปา้ หมายในการประเมนิ 2) เคร่ืองมือท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล : ใช้แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) 3) การรวบรวมขอ้ มลู : หนว่ ยงานตอบแบบสำ� รวจ OIT ลงในระบบ ITAS หนว่ ยงานละ 1 ชดุ จากนั้นคณะทป่ี รกึ ษาจะตรวจสอบข้อมูลตามแบบ OIT โดยตรวจสอบการเผยแพร่ข้อมูลบนเวบ็ ไซต์ของหนว่ ยงาน จากคำ� ตอบของหนว่ ยงานทีเ่ ข้าร่วมการประเมนิ ตามเกณฑ์การประเมินทส่ี �ำนกั งาน ป.ป.ช. กำ� หนด แล้วท�ำการให้ คะแนน ใหค้ วามเหน็ และบันทกึ ข้อมลู ในระบบ ITAS รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 7 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

5. หลกั เกณฑ์การประเมินผล 5.1 เปา้ หมายตามแผนแม่บทฯ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐมีความส�ำคัญและ ได้รับการยอมรับในระดับนโยบายของประเทศ โดยถูกก�ำหนดเป็นตัวชี้วัดของแผนย่อยด้านการป้องกันการทุจริต ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ และถูกก�ำหนด เป็นมาตรการท่ีส�ำคัญในแผนระดับชาติต่างๆ มากมาย อาทิ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบ ปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบอีกด้วย โดยก�ำหนดให้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วยงานภาครัฐที่ผ่าน เกณฑก์ ารประเมิน ITA (85 คะแนนข้ึนไป) จะตอ้ งมสี ัดสว่ นไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 นอกจากน้ี ยังได้รบั การก�ำหนด ไว้ในแผนบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และแผนปฏิบัติการ ดา้ นการตอ่ ต้านการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2563 - 2565) อีกด้วย 5.2 คะแนนและระดับผลการประเมิน จะมี 2 ลกั ษณะ คอื คา่ คะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน และระดับผลการประเมิน (Rating Score) โดยจำ� แนกออกเป็น 7 ระดบั ดงั น้ี คะแนน ระดบั 95.00 - 100 AA 85.00 - 94.99 A 75.00 - 84.99 B 65.00 - 74.99 C 55.00 - 64.99 D 50.00 - 54.99 E 0 - 49.99 F 5.3 กรอบระยะเวลาการประเมิน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 น้ี ได้มีด�ำเนินการประเมินผลต้ังแต่ ช่วงเดอื นเมษายน - เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2563 ดังนี้ ท่ี กิจกรรม ช่วงระยะเวลา 1 ลงทะเบยี นเขา้ ใช้งานระบบ เม.ย. 2 นำ�เขา้ ขอ้ มูลในการประเมนิ เม.ย. 3 เก็บข้อมูลแบบสำ�รวจ IIT พ.ค. - มิ.ย. 4 เกบ็ ขอ้ มลู แบบสำ�รวจ EIT พ.ค. - ม.ิ ย. 5 ตอบแบบสำ�รวจ OIT พ.ค. 6 ตรวจและให้คะแนนแบบ OIT มิ.ย. 7 ประมวลผลคะแนน ก.ค. 8 วิเคราะห์ผลและให้ข้อเสนอแนะ ส.ค. 9 นำ�เสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการที่เก่ยี วขอ้ ง ส.ค. 10 ประกาศผลการปะเมนิ ก.ย. 8 รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ธรรม และความโปร่งใส ในการด�ำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 การประเมิน ITA ถอื เป็นการประเมินด้านคณุ ธรรมและความโปร่งใสท่มี ีขนาดใหญท่ ี่สดุ ของประเทศไทย ในปัจจุบัน โดยใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการของหน่วยงานภาครัฐอย่าง รอบด้าน ทัง้ จากข้าราชการ พนกั งาน เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั และผมู้ ารบั บรกิ ารหรือติดตอ่ ราชการกบั หนว่ ยงานภาครฐั ตลอดจนมีการให้คะแนนระดับความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลจากคณะที่ปรึกษาในฐานะผู้เชี่ยวชาญและ คนกลางที่เข้ามาท�ำหน้าท่ีเป็นตัวแทนสาธารณชนในการตรวจสอบระดับการเปิดเผยข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ แต่ละแห่ง ซ่งึ สะท้อนให้เหน็ ถงึ ความโปรง่ ใสและผลการดำ� เนนิ งานของแต่ละหน่วยงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการตอบแบบส�ำรวจเพ่ิมขึ้น มากกว่าปงี บประมาณท่ผี า่ นมาถึงรอ้ ยละ 29.36 สะทอ้ นให้เห็นว่าประชาชนและเจ้าหน้าทขี่ องรฐั มีความตนื่ ตวั ตอ่ ประเด็นการต่อตา้ นการทุจริตมากยิ่งขึน้ รวมไปถึงมคี วามกล้าท่ีจะแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ การปฏิบตั ิงานและการให้ บริการภาครัฐเพื่อน�ำไปสู่การปรับปรุงพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใสมากยิ่งข้ึน ซึ่งเป็นสัญญาณท่ีดี ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตจากทุกภาคส่วน โดยสามารถสรุปข้อมูลสถิติทั่วไปของผู้มี ส่วนไดส้ ว่ นเสยี ทเี่ ข้ามามีสว่ นรว่ มในการประเมนิ ITA ไดด้ งั นี้ รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 9 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

แหลง่ ขอ้ มลู ข้าราชการ พนักงาน ผูร้ ับบรกิ าร/ติดตอ่ เว็บไซต์หนว่ ยงานภาครฐั และเจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐ กบั หน่วยงานของรฐั 8,303 เวบ็ ไซต์ 447,790 คน 853,875 คน การเปิดเผยข้อมลู และ รวม 1,301,665 คน การให้บรกิ ารผา่ นเว็บไซต์ หนว่ ยงานภาครฐั ระยะเวลาปฏบิ ัติงานในหน่วยงาน การติดต่อกบั หนว่ ยงาน รวม 8,303 หนว่ ยงาน 1 - 5 ป ี 29.01% งานหลกั ของหนว่ ยงาน 48.48% 6 - 10 ป ี 28.06% งานจดั ซอื้ จัดจ้าง 10.10% 11 - 20 ปี 29.94% งานสนับสนนุ 15.86% มากกว่า 20 ปี 12.99% งานอ่นื ๆ 25.56% การศกึ ษา สถานะการตดิ ต่อ ประถมศึกษา 3.95 % บคุ คลทั่วไป 67.23% มัธยมศึกษา 13.34 % หน่วยงานของรัฐ 19.55% อนุปริญญา/เทียบเท่า 10.59 % องคก์ รธรุ กิจ 7.84% ปริญญาตรี/เทยี บเทา่ 49.82 % อน่ื ๆ 5.38% สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี 21.57 % อ่นื ๆ 0.74 % อายุ อายุ ต่ำ�กว่า 20 ป ี 0.17 % ตำ่ �กว่า 20 ปี 3.75% 20 - 30 ปี 12.10 % 20 - 30 ป ี 15.96% 31- 40 ปี 3 2.52 % 31 - 40 ป ี 21.01% 41 - 50 ปี 34.31 % 41 - 50 ปี 25.03% 51 - 60 ป ี 19.49 % 51 - 60 ปี 21.12% มากกว่า 60 ปี 1.41 % มากกวา่ 60 ป ี 13.13% 10 รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

1. ผลการประเมนิ ระดับประเทศ 1. ผลการกปารระปเมระินเรมะินดคบั ุณปธรระรเทมศและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2ก5า6ร3ปรมะีหเนม่วินยคงุณานธทรรี่เขม้าแรลับะกคาวราปมรโะปเมร่ิงนใทสั้งใสนิ้นกา8ร,ด3า0เ3นินหงนา่วนยขงอางนหนโด่วยยภงาพนภรวามคพรับฐปว่าระมจีผาลปคีงบะแปนรนะมเฉาลณี่ย ใพน.ภศ.าพ25ร6วม3ขมอีหงนป่วรยะเงทานศทเี่เทข่า้ากรับก6า7ร.ป90ระคเมะินแทน้ังนส้ินผล8ก,3าร0ป3รหะเนม่วินยงITานA โขดอยงภปารพะเรทวศมอพยบู่ใวน่าระมดีผับลรคะะดแับนปนาเฉนลก่ียลใานง ทภี่ราะพดรับวผมลขกอางรปปรระะเทเมศินเ(ทR่าaกtiับng6S7c.9o0reค) ะระแดนับนCผลสกูงขา้ึนรปจารกะปเมีทินีผ่ า่ IนTมAาข1อ.1ง5ปรคะะเแทนศนอยดู่ใงั นแรสะดดงใับนรแะผดนับภปมู าิทนี่ ก1ลาง ที่ระดับผลการประเมิน (Rating Score) ระดบั C สูงขึน้ จากปที ่ผี า่ นมา 1.15 คะแนน ดงั แสดงในแผนภมู ทิ ี่ 1 ITA Average Score 100 80 68.78 66.74 67.9 60 40 20 0 2561 2562 2563 หมายเหตุ: แแผผนนภภูมูมิทิท่ี ี่11ภภาาพพรรววมมคคะะแแนนนนเเฉฉลล่ยี่ียขขอองงหหนน่วว่ ยยงงาานนภภาาคครรฐัฐั รระะดดบั ับปปรระะเเททศศ 1) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นผลการประเมินเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทด่ี าเนนิ การครบถ้วน หมายเหต:ุ 1) ปีงบตปารมะมการณอบพ/.เศก.ณ25ฑ6์ก1าเรปปน็ รผะลเมกิานรใปหรมะ่ เ1ม0นิ เตฉัวพชา้ีวะัดองจคาก์ นรวปนกค5ร,อ9ง9ส4่วแนหท่อ้งงไถมิ่น่รทว่ดีมำ� หเนนิ่วกยางราคนรภบาถค้วรนัฐตสา่วมนกกรอลบาง/ เกณทฑี่ย์กังาครงปใชระก้ เรมอินบใ/หเกมณ่ 1ฑ0์กาตรัวปชรี้วะัดเมจนิ �ำเนดวมิ น55ต,ัว9ช9ว้ี4ัดแทหงั้ ่งน้ี ไเมพ่รอื วใมหหส้ นาม่วายรงถาเนปภรายี คบรเัฐทสยี ่วบนคกะลแานงนทร่ียะังหควงา่ใชงป้กีไรดอ้บ/ เกณ2ฑ)์กปารีงบปรปะรเะมมนิ าเณดิมพ5.ศต.วั 2ช5วี้ 6ดั 2ทเป้งั นน็ ี้ ผเพลอ่ืกใาหร้สปารมะาเรมถนิ เขปอรงยี หบนเทว่ ียบงาคนะภแานคนรรฐั ะทหุกวป่างรปะไีเดภ้ทท่วั ประเทศที่ดาเนินการ 2) ปงี บคปรบะมถ้วาณนตพาม.ศห.ล2ัก5เก62ณฑเป์ก็นาผรลปกราะรเมปินระทเ่กีมาินหขนอดงหจนา่วนยวงนาน8ภ,0า5ค8รฐั แทหุกง่ ประเภททว่ั ประเทศท่ีดำ� เนินการครบถว้ น ตาม3ห)ลปักเีงกบณปฑระก์ มาราปณระพเ.มศิน. ท25่ีก6�ำห3นเปดน็ จผำ� ลนกวานร8ป,ร0ะ5เ8มินแขหอ่งงหนว่ ยงานภาครัฐทุกประเภททว่ั ประเทศทีด่ าเนินการ 3) ปงี บคปรบะมถว้าณนตพาม.ศห.ล2กั 5เก63ณฑเป์กน็ าผรลปกราะรเมปินระทเี่กมานิ หขนอดงหจนาว่ นยวงนาน8ภ,3า0ค3รฐั แทหกุ ง่ ประเภททัว่ ประเทศทด่ี �ำเนินการครบถ้วน 2. ผลการป ระตเามมินหตลกัาเมกเณปฑ้า์กหามรปายระแเมผินนทแีก่ มำ� ห่บนทดภจา�ำยนใวตน้ย8ุท,3ธ0ศ3าแสหต่งร์ชาติฯ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้มีการกาหนด ค่าเป้าหมายผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ไว้ว่าใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วยงานภาครัฐจะต้องมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด 85 คะแนน เป็น จานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 หรือคิดเป็นจานวน 6,642 หน่วยงาน ต่อมาคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติให้ กาหนดค่าเป้าหมายย่อยในแต่ละปีงบประมาณ โดยทอนค่าคะแนนย่อยในแต่ละปีงบประมาณจากเป้าหมาย ของปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ท่กี าหนดไว้ตามแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติฯ สาหรับเป้าหมายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน่วยงานภาครัฐจานวนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 50 จะต้อง มีผลการประเมิน 85 คะแนนขึ้นไป ซ่ึงจากผลการประเมนิ จริงพบว่า มีหน่วยงานท่ีมีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ ทรา่ีกยางหานนผดลก8า5รปคระะเแมนนิ คนณุ เพธรยี รงมรแอ้ละยคลวะาม1โป3ร.่ง1ใ9สใหนกราือรเดพำ�ยี เนงิน1งา,0น9ข5องหหนนว่ว่ ยยงงาานนภเาทคา่ รนัฐนั้ ปรดะจงั �ำ แปสงี ดบงปใรนะมแาผณนพภ.ูมศทิ. 2่ี 5263 11 Integrity and Transparency Assessment Report 2020 รายงานคุณธรรมและความโปร่งใสของหนว่ ยงานภาครัฐ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 9

2. ผลการประเมินตามเป้าหมายแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติฯ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้มีการก�ำหนด ค่าเป้าหมายผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ไว้ว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วยงานภาครัฐจะต้องมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนด 85 คะแนน เป็นจ�ำนวนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 หรือคิดเปน็ จ�ำนวน 6,642 หน่วยงาน ตอ่ มาคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดม้ มี ติใหก้ �ำหนดค่าเป้าหมายยอ่ ย ในแตล่ ะปงี บประมาณ โดยทอนคา่ คะแนนยอ่ ยในแต่ละปงี บประมาณจากเป้าหมายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ทีก่ �ำหนดไวต้ ามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าตฯิ สำ� หรบั เปา้ หมายของปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน่วยงานภาครัฐจำ� นวนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 50 จะตอ้ ง มีผลการประเมิน 85 คะแนนขึ้นไป ซึ่งจากผลการประเมินจริงพบว่า มีหน่วยงานที่มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ท่ี กำ� หนด 85 คะแนน เพียงรอ้ ยละ 13.19 หรือเพยี ง 1,095 หนว่ ยงานเท่านัน้ ดงั แสดงในแผนภูมิท่ี 2 สดั สว่ นหน่วยงานทผี่ า่ นเกณฑ์ตามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ทฯ ผา่ นเกณฑจ์ รงิ ผา่ นเกณฑ์ (เป้าหมาย) 100 80 80 65 60 50 40 35 20 11.69 13.19 20 7.29 0 2561 2562 2563 2564 2565 แแผผนนภภมู ูมิททิ ี่ ่ี22สสัดดั สส่ว่วนนหหนน่ว่วยยงงาานนภภาาคครรฐััฐทท่ผีีผ่ า่า่ นนเเกกณณฑฑ์ต์ตาามมเเปป้าา้ หหมมาายยขขอองงแแผผนนแแมม่บ่บททภภาายยใใตต้ย้ยุทุทธธศศาาสสตตรร์ช์ชาาตตฯิ ฯิ 3. ผลการประเมินตามระดับผลการประเมิน (Rating Score) ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ3. .2ผ56ล3กสะาทร้อปนรใหะ้เหม็นนิ ว่าตหานม่วยรงะาดนภบั าผครลัฐมกีคาุณรธปรรรมะแเลมะนิ คว(าRมโaปtรi่งnใสgในSระcดoับrปeา)นกลางค่อนไปทางต่า พหโโร2รดดระะ.2ยศือยดด.ส3.คสับับว่3ิ่ด2วนDอCน5เแใป6หยลให-็นหผ3่าญะรFลรงญรเ่ือไ้อกสะป่แเรคดายะปน็ กตริดลบัทห็น็่ตหปเะ้อนปหารBาน่ว็มนะนก2ยรใเร่พว9มห้องแ้อย.ิาจินย้8เมยงนหาคล0้วาลปร็นุณะ่นาะณรขวอปธะ1่อา2างรเ7รหงเ9ภคระจ.ห2น.มท์ก8เาน1ภแ่วอร0ะ่วลยทปงลตขยคะงอึกกาาอง์กคมงคลานรงวคลงรนหปาภ์กใาอมทกนนาดรงโ่ีคเค่วปปบัขปสรยร้ร่ากวรอัฐงระ่งนคงามใ่วเสรนทสภีคม่วอใท้อุทณกนนง่ีเงหาสทกขธถร่วนร้อ้าาิ่นปนรรรง่วจรดมว่ถทยะะมำ�ิ่นแง้อเเเกลามนปงกนาะถินนิ็วนรคท่ินท่างปหวา่ีผั้ง2รนานก่หาะ,ม่ข4ววนมเโ่7ายอมเดปก4งงิน2รหณาทรห,่งนน4อฑ้ัใงน7สว่สหงว่์คย4่วลใมยะนงนงงหดาแมราในนนหะานรภ่ควดนอญมายืัอบทง่คทผีงลรปี่กราลี่มะงาาัฐนกมดีผนหาัาบลปมกนรคกรปีลผดือCะาราลไรจระงวกะร�ำปคเ้ใาดม้อปน่รอรันิบยงีะแนปบใลเผนไCรมปะปนะรินรรทะเแ2ะม้ออดาม2มินยยับง่บ.าล3ู่ตใใณทนนD3ะ่�ำ แภลาะยรใะตด้ยบั ุทธBศรา้อสยตลระ์ชา1ต7ิ.ป21ระตเดาม็นลก�ำาดรบัต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ซึ่งต้องมีระดับผลการประเมินต้ังแต่ A – AA กลบั พบว่า 1) หน่วยงานท่ีไดร้ ะดับ AA จานวน 56 หน่วยงาน ส่วนใหญ่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีจานวนถึง 40 หน่วยงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 71.42 ของหน่วยงานในระดับ AA รองลงมาคือหน่วยงาน สว่ นกลาง จานวน 16 หนว่ ยงาน หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 28.58 ของหนว่ ยงานในระดับ AA ม1ีจ2านวIรnนาtยถeงึงgาrน7itผy7ล3aก2nาห)dรนปหTร่วนrะaยเ่วมnงยนิsางpคนาaณุ นreหธทnรร่ีไcรดือyม้รคแAละิดsะดคเsับปeวsา็นsAมmรโป้จอeรายnง่ นtลใสวRะในนep7ก1o4า,รr.04tด302�ำ 9เ0นข2หนิ อ0งนงา่วหนยขนงอ่าวงนยหงนสาว่ ่วนยนงใใานหนรภญะา่ดเคปัรบ็นฐั อAปงรคระจอ์ก�ำ งรปลปีงบงกมปคราระคมอืาองณสห่วพนน.ศท่ว.้อย2งง5ถา6่ินน3

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะเป็นหน่วยงานส่วนใหญ่ที่มีผลการประเมินอยู่ใน ระดบั C - F แต่หากพจิ ารณาเจาะลึกลงในประเภทหนว่ ยงานที่ผา่ นเกณฑ์คะแนนทีก่ ำ� หนดไวใ้ นแผนแมบ่ ทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ซ่ึงต้องมีระดับผลการประเมินตั้งแต่ A - AA กลับพบว่า 1) หนว่ ยงานท่ไี ดร้ ะดับ AA จ�ำนวน 56 หนว่ ยงาน สว่ นใหญเ่ ปน็ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ มีจำ� นวนถึง 40 หน่วยงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 71.42 ของหน่วยงานในระดับ AA รองลงมาคือหน่วยงานส่วนกลาง จ�ำนวน 16 หน่วยงาน หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 28.58 ของหน่วยงานในระดบั AA 2) หนว่ ยงานทไี่ ดร้ ะดบั A จำ� นวน 1,039 หนว่ ยงาน สว่ นใหญเ่ ปน็ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ มีจำ� นวนถงึ 773 หนว่ ยงาน หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 74.40 ของหน่วยงานในระดับ A รองลงมาคอื หนว่ ยงานส่วนกลาง 228 หนว่ ยงาน หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 21.94 และจังหวดั (สว่ นราชการสว่ นภูมภิ าค) 38 จงั หวัด หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 3.66 จากผลการประเมินข้างต้นจะเห็นได้ว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานกลุ่มใหญ่ที่ผ่าน การประเมนิ ทัง้ ในระดับ A - AA อกี ท้งั หน่วยงานท่ไี ด้คะแนนสงู สดุ 10 ล�ำดบั แรก กวา่ ครึง่ หนึง่ เปน็ องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถิ่น ดังนั้น จึงเป็นท่ีชัดเจนว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถด�ำเนินการประเมินตามกรอบ การประเมนิ ITA ท่กี ำ� หนดได้และสามารถท�ำได้ดีหากมคี วามม่งุ ม่นั ตัง้ ใจในการพัฒนาการด�ำเนินงานและการเปิดเผย ข้อมูลภาครัฐให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ก�ำหนด เพียงแต่ขนาดหรือจ�ำนวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการประเมนิ ITA นน้ั มสี ดั สว่ นเปน็ จำ� นวนมากทสี่ ดุ เมอื่ เทยี บกบั ประเภทหนว่ ยงานอน่ื ๆ หรอื คดิ เปน็ จำ� นวนกวา่ รอ้ ยละ 94.57 ของหนว่ ยงานท่เี ขา้ รบั การประเมนิ ITA ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ทัง้ หมด สดั สว่ นหนว่ ยงานในแตล่ ะระดบั ผลการประเมนิ (Rating Score) 3000 2,474 2500 2000 1,854 D 952 1500 1,429 499 1000 1,039 500 56 EF ABC 0 AA แผนภูมิที่ 3 สดั ส่วนหน่วยงานจาแนกตามระดับผลการประเมิน แผนภูมิที่ 3 สัดสว่ นหนว่ ยงานจ�ำแนกตามระดบั ผลการประเมิน 4. ผลการประเมินรายประเภทหนว่ ยงานสว่ นกลางกับหน่วยงานสว่ นพนื้ ท่ี หน่วยงานในส่วนกลางไดแ้ ก่ หน่วยงานประเภทต่างๆในกลุ่มที่ 10 มีสัดส่วนผลการประเมนิ ในระดับ ปานกลางค่อนไปทางสูง โดยมีสัดส่วนผลการประเมินสูงสุดในระดับ A ที่ร้อยละ 60.37 ขณะที่หน่วยงานใน ระดับพ้ืนท่ี ได้แก่ จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มท่ี 1 - 9 มีผลการประเมินในระดับปานกลาง ค่อนไปทางตา่ โดยมสี ัดส่วนผลการประเมนิ สงู สุดในระดบั D ทีร่ อ้ ยละ 31.10 ดังแสดงในแผนภูมิท่ี 4 รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 13 สัดส่วนประเภทหนว่ ยงาInนteใgนrแitตy่ลanะdระTดraบั nผspลaกreาnรcปyรAะsเsมeินssment Report 2020

500 56 0 AA A B C D E F 4. ผลการประเมแินผรนาภยมู ิทปี่ 3ระสเดัภสทว่ นหหนน่ว่วยยงงานาจนาแสนว่ กนตากมลระาดงบั กผลบั กหารนป่วระยเงมนิานส่วนพ้นื ที่ โปไ ดดร4คปาย้แะน.่อามกดกนนผสี่ับลลไกจดัปาพกลังงสทื้นาาหคว่ หารงท่อวนงคปหนัดน่ีตผ่อไรน่วแไลา่ดะปนย่ลวก้แเงทโไยะมาดกปาางอรินนย่งาทงปจสรมในคาังนราูงีสใ์กงหะยสนดัสโรเวป่ดวสมูปสงัดนยร่วิน่วกโแมกะนนสดคลเีสลกูงผภยระดัาสลอลมทองสุดางกีสไห่วงงสใดาคันดนไน่วร้แด์กผสรนว่ปก้แลระ่วยทร่กปกดนงะห้อ่าับกผาเหงนรมคนลถปนD่วนิรสก่ินรย่วอส่วาทะใงยงูงนรเนาร่ีงมสสปกน้อากินดุ่วลรนปยลนสใะุ่มลปรนางูทเทะะงสรรม้อเกี่ะะดุินภ3ง1บัเดใ1ทภสถนับห.ู่ินง-ตท1รนสะใ่า0ตD9นุ่วดดง่าดๆยบักใทงมนังงๆลี่รีผแAใารุ่ม้อใลนสนะนยททกกดดสกลร่ี่ีาลงับ1ว่ล้อะรใุ่มนนุ่มยปท-3Aลแทพร1่ี9ะผะ่ีนื้ท.11เ1นม6่ีทม0ร00ภ0้ีผอิน่ี .ูมมมลยด3ใทินีสีสกลงั7แัดัรด่ีาะ4ขะสรสสณ6ดปด่่วว0ับะนงนร.ใทะปผผ3นเหี่ลาล7มแนนกกินผขก่วาานใณยรลรนภปงปาะรามูงรรทะนคะิทะดี่ให่อเเ่ีนมับม4นนรินนิป่วไะใปใายดนนนทงับรรากาพะะนงลดนื้ดตใาับทันบ่�ำง ี่ สัดสว่ นประเภทหน่วยงานในแต่ละระดบั ผลการประเมิน 100.00% พืน้ ท่ภี ูมิภาค พ้นื ที่สว่ นกลาง 90.00% 80.00% 60.37% 70.00% 60.00% 10.23% 25.27% 23.03% 31.10% 12.02% 50.00% 16.83% 7.98% 1.60% 0.27% 40.00% 30.00% 40..2560%% 6.28% 20.00% 0.27% 10.00% AA A B C D E 0.00% F แแผผนนภภูมูมทิทิ ่ีี่ 44 สสดัดั สส่วว่ นนปปรระะเเภภททหหนน่วว่ ยยงงาานนสสว่ ่วนนกกลลาางงกกับับสส่ว่วนนพพืน้ ื้นทท่ีใใี่นนแแตต่ลล่ ะะรระะดดับบั ผผลลกกาารรปปรระะเมเมินิน รายงานคณุ ธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครฐั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 11 5. ผลการประเมินรายประเภทหนว่ ยงาน เมอื่ พจิ ารณาจากระดบั ผลการประเมนิ (Rating Score) จำ� แนกตามประเภทของหนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี ขา้ รบั การประเมิน เปรียบเทียบกับเป้าหมายตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ ซ่ึงก�ำหนดค่าเป้าหมายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไว้ว่า หน่วยงานภาครัฐจะต้องมีค่าคะแนน ผ่านเกณฑ์ 85 คะแนน จ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของหน่วยงานทั้งหมด หากจ�ำแนกตามประเภทของ หนว่ ยงานภาครฐั แล้ว พบว่า มหี นว่ ยงานภาครัฐจำ� นวน 10 ประเภททผ่ี า่ นค่าเปา้ หมายทกี่ �ำหนด ไดแ้ ก่ หน่วยงาน ในสังกัดรัฐสภา องค์กรศาล องค์กรอิสระ สถาบันอุดมศึกษา รัฐวิสาหกิจ กรมหรือเทียบเท่า องค์การมหาชน หน่วยงานของรัฐอ่ืน ๆ จังหวัด (ส่วนราชการส่วนภูมิภาค) และองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ส่วนอีก 7 ประเภท ไดแ้ ก่ กองทุน เทศบาลนคร องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด องคก์ รอัยการ เทศบาลเมอื ง องคก์ ารบริหาร สว่ นต�ำบล เทศบาลต�ำบล ยงั ไม่ผา่ นคา่ เปา้ หมายทรี่ อ้ ยละ 50 ของจ�ำนวนหนว่ ยงานทง้ั หมดในแตล่ ะประเภท 14 รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

แต่หากพิจารณาในมิติค่าคะแนนเฉลี่ยของหน่วยงานในแต่ละประเภทว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนด ไว้ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบหรือไม่ ซึ่งจะต้องมีค่า คะแนนเฉลย่ี ตั้งแต่ 85 คะแนนข้ึนไป พบว่า จากภาพรวมของหนว่ ยงานภาครฐั ทงั้ 17 ประเภท มีหน่วยงานภาครัฐ 7 ประเภท ที่มีคะแนนเฉล่ียผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา องค์กรศาล องค์กรอิสระ สถาบันอุดมศึกษา รัฐวิสาหกิจ กรมหรือเทียบเท่า และองค์การมหาชน ขณะเดียวกันยังคงมีหน่วยงานภาครัฐ อีก 10 ประเภทที่ยังมคี ะแนนเฉลี่ยไม่ผ่านเกณฑ์ ที่ ประเภทหน่วยงาน จำ�นวน ผ่านเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ คะแนน ระดับ เฉลี่ย 1 หนว่ ยงานในสังกัดรฐั สภา หน่วยงาน คะแนน (แหง่ ) จำ�นวน 50% A 2 องคก์ รศาล 93.05 A 3 องค์กรอสิ ระ 3 3 ผา่ น 91.41 A 4 สถาบนั อุดมศึกษา 89.44 A 5 รฐั วิสาหกจิ 3 3 ผ่าน 87.46 A 6 กรมหรอื เทยี บเทา่ 85.60 A 7 องคก์ ารมหาชน 5 5 ผา่ น 85.59 A 8 หน่วยงานของรฐั อื่น ๆ 85.02 B 9 กองทนุ 83 60 ผา่ น 83.47 B 10 จังหวดั 83.42 B 11 เทศบาลนคร 53 34 ผา่ น 82.04 B 12 องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด 75.85 C 13 อปท. รูปแบบพเิ ศษ 146 91 ผ่าน 74.78 C 14 องคก์ รอัยการ 73.34 C 15 เทศบาลเมอื ง 55 33 ผ่าน 71.30 C 16 องคก์ ารบริหารส่วนตำ�บล 70.02 C 17 เทศบาลตำ�บล 19 12 ผา่ น 66.84 C 66.40 7 3 ไมผ่ ่าน 76 38 ผา่ น 30 11 ไม่ผา่ น 76 16 ไมผ่ ่าน 2 1 ผา่ น 1 0 ไม่ผ่าน 188 30 ไม่ผา่ น 5,313 556 ไมผ่ ่าน 2,243 199 ไม่ผ่าน รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 15 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

6. ผลการประเมนิ รายกลมุ่ การประเมิน การประเมนิ ITA ไดก้ ำ� หนดรปู แบบการบรหิ ารจดั การประเมนิ โดยแบง่ หนว่ ยงานภาครฐั ออกเปน็ 10 กลมุ่ เพื่อให้สามารถบริหารจัดการและก�ำกับติดตามการประเมินให้เป็นไปตามหลักการทางวิชาการและระยะเวลาที่ ก�ำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมาตรฐานเดียวกัน เมอ่ื พจิ ารณาผลการประเมนิ ITA จำ� แนกตามกลมุ่ การประเมนิ พบวา่ หนว่ ยงานภาครฐั ในกลมุ่ ที่ 1 - 9 ซ่ึงประกอบด้วย จังหวัด (ส่วนราชการส่วนภูมิภาคระดับจังหวัด) กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ยังไม่ผ่าค่าเป้าหมาย ตามที่ก�ำหนดไว้ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ โดยมีจ�ำนวนหน่วยงานผ่านเกณฑ์การประเมิน 85 คะแนน ไม่ถึงครึ่งหนึ่งหรือ 50% ของจ�ำนวนหน่วยงานภาครัฐทั้งหมดภายในกลุ่ม และมีเพียงหนว่ ยงานภาครฐั ในกลมุ่ ที่ 10 เพยี งกลมุ่ เดยี ว ซงึ่ ประกอบดว้ ย หนว่ ยงานภาครฐั สว่ นกลางประเภทตา่ งๆ ทม่ี จี �ำนวนหน่วยงานและมีค่าคะแนนเฉล่ีย ของท้งั กลุ่มผา่ นค่าเป้าหมายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าตฯิ 16 รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ผลการประเมิน ITA จำ� แนกตามกล่มุ การประเมิน ท่ี กล่มุ จ�ำนวน ผา่ นเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ คะแนนเฉล่ยี ระดบั หนว่ ยงาน คะแนน (แหง่ ) จ�ำนวน 50% 1 กลุ่มท่ี 1 65.72 C 2 กลุม่ ท่ี 2 729 59 ไม่ผา่ น 67.69 C 3 กลมุ่ ท่ี 3 592 57 ไม่ผา่ น 61.85 D 4 กลมุ่ ท่ี 4 1475 63 ไมผ่ า่ น 64.99 D 5 กลมุ่ ท่ี 5 1512 126 ไม่ผ่าน 64.40 D 6 กลุม่ ท่ี 6 830 43 ไมผ่ า่ น 75.84 B 7 กลุม่ ท่ี 7 879 251 ไม่ผ่าน 72.18 C 8 กล่มุ ท่ี 8 706 134 ไมผ่ ่าน 66.32 C 9 กล่มุ ท่ี 9 573 40 ไม่ผา่ น 71.15 C 10 กลมุ่ ที่ 10 631 77 ไมผ่ า่ น 85.91 A 376 245 ผา่ น การแบ่งกลมุ่ การประเมินออกเปน็ 10 กลุ่มตามตารางขา้ งตน้ ยังมีความสอดคล้องกบั เขตอ�ำนาจศาลอาญา คดีทุจริตและประพฤติมชิ อบภาค 1 - 9 สอดคลอ้ งกับการแบ่งสว่ นราชการและพน้ื ท่ีการดำ� เนินงานของสำ� นักงาน ป.ป.ช. ภาค 1 - 9 ส�ำนักงาน ป.ป.ท. เขต 1 - 9 ตลอดจนสอดคล้องกับการแบ่งพื้นท่ีการด�ำเนินงานของหน่วยงาน ในกระบวนการยุติธรรมอ่ืนๆ อีกหลายหนว่ ยงาน ซ่งึ นอกจากจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การบรหิ ารจดั การและกำ� กบั ตดิ ตาม การประเมนิ แลว้ ยงั เปน็ ประโยชนต์ อ่ การเทยี บเคยี งกบั การควบคมุ คดที จุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในแตล่ ะพน้ื ทด่ี ว้ ย โดยสามารถเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ITA กบั สถติ คิ ำ� กลา่ วหาการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบในแต่ละพื้นท่ี ซึง่ ปรากฏ ในระบบฐานข้อมลู คดีทุจริต (ACMS) ของส�ำนักงาน ป.ป.ช. เมอ่ื วันท่ี 21 ตุลาคม 2563 เวลา 9.00 น. ไดด้ ังนี้ กล่มุ / หนว่ ยงาน การประเมิน ITA ผ่านเกณฑ์ ค�ำกลา่ วหา สถติ ิค�ำกลา่ วหา เพ่ิม/ลด ภาค 729 คะแนน ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ) 62 คำ� กล่าวหา เพิม่ /ลด (รอ้ ยละ) ภาค 1 592 เฉลีย่ 63 (จ�ำนวน) 63 (จ�ำนวน) ภาค 2 1475 8.09% 1336 -28.29% ภาค 3 1512 65.72 59 9.63% 784 958 -378 -20.66% ภาค 4 830 67.69 57 4.27% 1262 622 -162 -6.74% ภาค 5 879 61.85 63 8.33% 1345 1177 -85 -8.10% ภาค 6 706 64.99 126 5.18% 902 1236 -109 -25.94% ภาค 7 573 64.40 43 28.56% 1085 668 -234 -19.82% ภาค 8 631 75.84 251 18.98% 776 870 -215 -2.84% ภาค 9 376 72.18 134 6.98% 712 754 -22 -16.01% สว่ นกลาง 66.32 40 12.20% 431 598 -114 -25.75% 71.15 77 65.16% 1757 320 -111 -20.32% 85.91 245 1400 -357 รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 17 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

7. ผลการประเมนิ รายจงั หวดั ผลการประเมิน ITA ภาพรวมของหน่วยงานภาครัฐในจังหวัด ซึ่งประกอบด้วย จังหวัด (ส่วนราชการ สว่ นภมู ิภาคระดับจังหวัด) องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต�ำบล และองค์การ บริหารส่วนต�ำบล พบวา่ จังหวัดท่ีได้คะแนนเฉล่ียสูงสุด คือ จังหวัดนครสวรรค์ ได้คะแนนเท่ากับ 82.52 และเป็นจังหวัดเดียว ที่มีจ�ำนวนหน่วยงานผ่านค่าเป้าหมายตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริต และประพฤติมชิ อบ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซ่งึ กำ� หนดไวว้ ่า หนว่ ยงานภาครัฐจะตอ้ งมคี า่ คะแนนผา่ นเกณฑ์ 85 คะแนน จำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของหนว่ ยงานทง้ั หมด จังหวัดที่ได้คะแนนรองลงมา คือ จังหวัดนครปฐม ได้คะแนนเท่ากับ 79.99 และอันดับที่สาม คอื จงั หวดั พิษณุโลก ได้คะแนนเท่ากับ 79.63 สว่ นจงั หวัดที่ไดค้ ะแนนภาพรวมต�ำ่ กวา่ จงั หวัดอื่นๆ คือ จังหวดั ร้อยเอ็ด ไดค้ ะแนนเทา่ กับ 57.81 เม่ือแยกพิจารณาเฉพาะคะแนนในส่วนของจังหวัด (ส่วนราชการส่วนภูมิภาคระดับจังหวัด) พบว่า จาก 76 จังหวัดที่เข้าร่วมการประเมินท้ังหมด มี 38 จังหวัดท่ีมีค่าคะแนนสูงกว่า 85 คะแนน จึงกล่าวได้ว่า ผลการประเมินเฉพาะในส่วนของจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 น้ัน มีจ�ำนวนหน่วยงานผ่านเกณฑ์เกิน ร้อยละ 50 อันเป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้าน การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ ที่ ภาพรวมพ้นื ท่ี จำ�นวน ผา่ นเกณฑ์ รวมผ่านเกณฑ์ สว่ นราชการ คะแนน ระดบั จังหวดั หน่วยงาน คะแนน (แห่ง) จำ�นวน 50% สว่ นภมู ภิ าค เฉล่ยี B 1 นครสวรรค์ 144 75 ผ่าน ผา่ น 82.52 B 118 47 ไม่ผ่าน ผ่าน 79.99 B 2 นครปฐม 104 31 ไม่ผ่าน ผา่ น 79.63 B 47 16 ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น 77.97 B 3 พษิ ณโุ ลก 142 50 ไม่ผ่าน ผ่าน 77.15 B 39 13 ไมผ่ า่ น ผา่ น 76.88 B 4 นนทบรุ ี 91 35 ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น 76.82 B 65 20 ไมผ่ า่ น ผา่ น 76.50 B 5 สกลนคร 45 13 ไม่ผ่าน ผา่ น 75.62 B 129 30 ไม่ผ่าน ผา่ น 75.39 C 6 สมุทรสาคร 103 31 ไมผ่ ่าน ผ่าน 74.97 C 92 17 ไมผ่ า่ น ผ่าน 74.47 C 7 กำ�แพงเพชร 115 28 ไมผ่ ่าน ไมผ่ ่าน 74.36 C 65 12 ไม่ผา่ น ผา่ น 74.35 C 8 อทุ ัยธานี 61 15 ไมผ่ า่ น ไมผ่ ่าน 74.23 C 86 22 ไม่ผ่าน ผ่าน 73.70 9 ตราด 10 เพชรบูรณ์ 11 พิจิตร 12 สุโขทัย 13 ปตั ตานี 14 ยะลา 15 ชัยนาท 16 เพชรบุรี 18 รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ท่ี ภาพรวมพืน้ ที่ จำ�นวน ผา่ นเกณฑ์ รวมผา่ นเกณฑ์ ส่วนราชการ คะแนน ระดับ จังหวดั หน่วยงาน คะแนน (แหง่ ) จำ�นวน 50% สว่ นภูมภิ าค เฉลยี่ C 17 บงึ กาฬ 61 13 ไม่ผ่าน ไมผ่ ่าน 73.29 C 37 8 ไมผ่ ่าน ผ่าน 73.10 C 18 สมทุ รสงคราม 75 9 ไม่ผ่าน ไมผ่ ่าน 72.64 C 62 10 ไมผ่ ่าน ผา่ น 72.54 C 19 พัทลงุ 53 10 ไมผ่ า่ น ไม่ผา่ น 72.35 C 70 10 ไมผ่ า่ น ผา่ น 71.71 C 20 ประจวบครี ขี ันธ์ 90 14 ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน 71.47 C 100 17 ไมผ่ า่ น ไม่ผา่ น 70.88 C 21 พังงา 20 2 ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น 70.86 C 71 6 ไมผ่ ่าน ไม่ผ่าน 70.76 C 22 ตาก 123 15 ไม่ผา่ น ผา่ น 69.84 C 142 9 ไม่ผ่าน ไม่ผา่ น 69.53 C 23 นราธวิ าส 128 11 ไม่ผา่ น ผ่าน 69.46 C 89 12 ไมผ่ ่าน ผ่าน 69.14 C 24 ชลบรุ ี 59 6 ไม่ผา่ น ผ่าน 68.83 C 43 3 ไมผ่ า่ น ไมผ่ ่าน 68.69 C 25 ภูเก็ต 69 11 ไมผ่ า่ น ผ่าน 68.35 C 80 3 ไมผ่ า่ น ไม่ผา่ น 68.03 C 26 ปราจนี บรุ ี 152 15 ไมผ่ ่าน ไม่ผ่าน 67.99 C 83 5 ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น 67.54 C 27 กาญจนบรุ ี 127 12 ไม่ผ่าน ไม่ผา่ น 67.48 C 32 3 ไม่ผา่ น ไม่ผา่ น 67.46 C 28 สงขลา 101 2 ไม่ผ่าน ไม่ผา่ น 67.35 C 186 17 ไม่ผ่าน ไมผ่ ่าน 67.25 C 29 สพุ รรณบรุ ี 47 5 ไม่ผา่ น ไมผ่ ่าน 67.24 C 69 3 ไมผ่ า่ น ไม่ผ่าน 67.14 C 30 ยโสธร 113 8 ไมผ่ ่าน ผา่ น 66.36 C 56 3 ไมผ่ ่าน ไมผ่ า่ น 66.27 C 31 ลำ�พูน 212 11 ไมผ่ ่าน ผา่ น 65.96 C 104 7 ไม่ผา่ น ผา่ น 65.74 32 สตูล 33 หนองคาย 34 ชุมพร 35 กาฬสินธ์ุ 36 จันทบุรี 37 ลพบรุ ี 38 ระนอง 39 ตรัง 40 นครศรีธรรมราช 41 นครนายก 42 ระยอง 43 ราชบรุ ี 44 มกุ ดาหาร 45 เชียงใหม่ 46 ลำ�ปาง รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 19 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ที่ ภาพรวมพ้นื ท่ี จำ�นวน ผ่านเกณฑ์ รวมผ่านเกณฑ์ สว่ นราชการ คะแนน ระดับ จังหวดั หน่วยงาน คะแนน (แห่ง) จำ�นวน 50% สว่ นภมู ภิ าค เฉลี่ย 47 กระบ่ี 63 1 ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน 65.73 C 48 สุรินทร์ 174 11 ไม่ผา่ น ผ่าน 65.43 C 49 สระแกว้ 67 6 ไมผ่ า่ น ผา่ น 65.32 C 50 เชียงราย 145 4 ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น 65.10 C 51 เลย 102 7 ไม่ผา่ น ผา่ น 64.52 D 52 อตุ รดิตถ์ 81 2 ไมผ่ า่ น ไม่ผา่ น 64.44 D 53 ขอนแก่น 226 7 ไม่ผา่ น ไมผ่ ่าน 64.26 D 54 อา่ งทอง 66 5 ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น 63.99 D 55 สมุทรปราการ 50 2 ไมผ่ า่ น ผา่ น 63.92 D 56 สระบุรี 110 0 ไม่ผ่าน ไมผ่ ่าน 63.29 D 57 แมฮ่ ่องสอน 51 6 ไมผ่ า่ น ผา่ น 63.26 D 58 ปทุมธานี 66 3 ไมผ่ ่าน ผา่ น 63.22 D 59 หนองบวั ลำ�ภู 69 4 ไม่ผา่ น ผา่ น 63.17 D 60 อุดรธานี 182 7 ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น 63.09 D 61 สิงหบ์ รุ ี 43 1 ไมผ่ า่ น ไม่ผ่าน 62.73 D 62 นครพนม 105 4 ไม่ผ่าน ผา่ น 62.62 D 63 พระนครศรีอยธุ ยา 159 5 ไมผ่ ่าน ไม่ผา่ น 62.25 D 64 น่าน 101 3 ไมผ่ ่าน ผา่ น 62.02 D 65 ฉะเชิงเทรา 110 2 ไม่ผา่ น ไม่ผ่าน 61.65 D 66 บรุ รี มั ย์ 210 9 ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน 61.63 D 67 พะเยา 73 1 ไมผ่ ่าน ผ่าน 61.49 D 68 ชัยภมู ิ 144 6 ไม่ผ่าน ไม่ผา่ น 61.25 D 69 สุราษฎร์ธานี 139 4 ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น 61.15 D 70 นครราชสีมา 335 8 ไมผ่ ่าน ผา่ น 61.05 D 71 มหาสารคาม 144 3 ไม่ผา่ น ไม่ผา่ น 60.89 D 72 แพร่ 85 5 ไม่ผ่าน ผา่ น 60.64 D 73 อุบลราชธานี 240 9 ไมผ่ ่าน ผา่ น 60.28 D 74 ศรสี ะเกษ 218 4 ไมผ่ า่ น ผา่ น 60.25 D 75 อำ�นาจเจรญิ 65 4 ไมผ่ า่ น ผา่ น 59.54 D 76 ร้อยเอ็ด 204 2 ไมผ่ ่าน ไมผ่ า่ น 57.81 D 20 รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ถอดบทเรียนการบริหารจัดการและยกระดบั ITA จังหวัดนครสวรรค์ จากตารางผลการประเมิน ITA ในภาพรวมของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ในจังหวัดข้างต้นจะเห็นได้ว่า จังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยท่ีมีหน่วยงานภายในจังหวัดผ่านค่าเป้าหมายตามที่ก�ำหนดไว้ ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มากกว่าร้อยละ 50 ของหน่วยงานภาครัฐ ท้งั หมดภายในจงั หวัด ซ่งึ ผลการดำ� เนนิ งานดังกลา่ วเกิดข้นึ จากการใหค้ วามส�ำคัญใน 2 ระดับ 1) ระดับนโยบาย : ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ (นายอรรถพร สิงหวิชัย) ได้ให้ความส�ำคัญ เป็นอย่างมากกับการยกระดบั การประเมิน ITA ในฐานะเครื่องมอื การพฒั นาการปฏิบัติราชการและการให้บริการ สาธารณะ โดยมีการมอบนโยบาย การส่ังการ และการถ่ายทอดภารกิจความรับผิดชอบในการขับเคลื่อน การยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสให้แก่ส่วนราชการต่างๆ ภายในจังหวัดตามล�ำดับ ผู้ว่าราชการจังหวัด นครสวรรค์ยังได้สั่งการให้ส�ำนักงานจังหวัดท�ำหน้าท่ีก�ำกับดูแลให้ค�ำปรึกษาแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายในจังหวัดร่วมกับส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ และส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัดนครสวรรค์ด้วย นอกจากนี้ ยังได้มอบหมายให้ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ ในฐานะ ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต จังหวัดนครสวรรค์ ต้องรายงานความก้าวหน้าในการประเมิน ITA ของทุกหน่วยงานภายในจังหวัดไปยัง รองผ้วู ่าราชการจงั หวัด (นางสรลั พัชร ประโมทะกะ) ซึ่งได้รบั มอบหมายใหท้ ำ� หน้าทก่ี �ำกับตดิ ตามการประเมิน ITA ของจังหวัดเป็นประจ�ำทุกวัน ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาการประเมินและการให้ความช่วยเหลือแก่หน่วยงาน ทีเ่ ขา้ รับการประเมนิ สามารถดำ� เนินการได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย การให้ความสำ� คญั กับการประเมิน ITA ของผวู้ า่ ราชการจังหวดั นครสวรรค์ ยังได้ส่งผลให้ผู้บริหารและ เจ้าหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีความตื่นตัวในการประเมินเป็นอย่างมาก และเห็นถึงความส�ำคัญของ การสร้างการมีส่วนร่วมในการประเมินให้กว้างขวางและครอบคลุม ดังจะเห็นได้จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บางแห่ง ได้มีการลงพื้นท่ีประชาสัมพันธ์การประเมิน ITA ให้ประชาชนรับทราบ รวมถึงมีการประชาสัมพันธ์ ผ่านรถแห่ประชาสัมพันธ์ไปยังย่านชุมชนต่างๆ เพ่ือเชิญชวนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมสะท้อนผลการด�ำเนินงาน ผ่านเครื่องมอื การประเมิน ITA ใหไ้ ด้มากท่สี ุด เพอื่ ใหผ้ ลการประเมินทไี่ ดส้ ามารถสะทอ้ นความคดิ เห็นของประชาชน และเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้อย่างครอบคลุมและแม่นย�ำ อันจะน�ำมาสู่การก�ำหนดนโยบายและการพัฒนาการปฏิบัติ ราชการในปงี บประมาณตอ่ ไปให้ตอบสนองตรงตอ่ ความต้องการของประชาชนในจงั หวัดนครสวรรคไ์ ด้อยา่ งแทจ้ รงิ 2) ในระดบั ปฏบิ ตั ิ : เกดิ จากความสำ� เรจ็ ในการบรู ณาการการดำ� เนนิ งาน งบประมาณ และการประสาน ความร่วมมือกันระหว่างผู้บริหารและคณะเจ้าหน้าที่จาก 3 หน่วยงานหลักในจังหวัด ได้แก่ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดนครสวรรค์ และส�ำนักงานจังหวัด นครสวรรค์ โดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ภายในจังหวัดนครสวรรค์ การประสานความรว่ มมอื และจดั กิจกรรมแลกเปลยี่ นองคค์ วามรู/้ วิธีการปฏบิ ตั ิราชการระหว่าง 3 หนว่ ยงานหลกั ภายในจังหวดั กับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ในพน้ื ที่ ไดด้ �ำเนนิ การใน 2 รปู แบบ คือ (1) รูปแบบออนไลน์ : ด�ำเนินการจัดตั้งไลน์กลุ่ม ITA จังหวัดนครสวรรค์ (Line Application) ซ่ึงรวมหน่วยงานท้ังในส่วนของจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัด นครสวรรค์ ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดนครสวรรค์ และส�ำนักงานจังหวัดนครสวรรค์ ได้ประสานความรว่ มมือกนั ในการใหค้ �ำปรกึ ษา อพั เดทองค์ความรู้ ขอ้ มลู ข่าวสาร ตอบข้อซักถาม และสอบถาม ปัญหาการด�ำเนินการประเมินในขั้นตอนต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานอย่างต่อเน่ืองเป็นประจ�ำ โดยให้ความส�ำคัญ รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 21 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

เป็นพิเศษกับการอธิบายวิธีการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือยกระดับคุณธรรมความ โปร่งใสและคุณภาพในการใหบ้ ริการสาธารณะแกป่ ระชาชนภายในจงั หวัดนครสวรรค์ นอกจากนี้ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ (นายสมยศ กาสี) และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบภารกิจป้องกันการทุจริตของส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ ยังได้มี การประสานงานกบั คณะทีป่ รึกษาการประเมนิ ITA อย่างใกล้ชดิ โดยเป็นตวั กลางการประสานงานการให้ค�ำปรึกษา ระหว่างหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินกับคณะท่ีปรึกษา เพ่ือให้กระบวนการให้ค�ำปรึกษาหรือการใหค้ �ำอธิบาย สามารถคลายข้อสงสัยและชี้แนะแนวทางการปฏิบัติได้อย่างเข้าใจง่าย ชัดเจน และทันท่วงที ซ่ึงค�ำอธิบายต่อ ขอ้ สงสยั ต่างๆ จากบางหน่วยงานทไ่ี ดส้ อบถามเข้ามายงั สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ประจ�ำจงั หวดั นครสวรรค์ จะถูกน�ำมา เผยแพร่และสร้างความเข้าใจให้แก่หน่วยงานอื่นๆ ภายในจังหวัดด้วย ส่งผลให้การรับรู้ข้อมูลข่าวสารและ องค์ความรู้ในการประเมิน ITA ของส่วนราชการส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในจังหวัดเป็นไป อยา่ งท่วั ถึงและทนั ต่อการกระบวนการประเมนิ (2) รูปแบบการสัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) โดยส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำ จังหวัดนครสวรรค์ ได้บูรณาการการด�ำเนินงานและงบประมาณร่วมกับส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัดนครสวรรค์ และท้องถิ่นอ�ำเภอในจังหวัดนครสวรรค์ 15 อ�ำเภอ ในการขับเคลื่อนกระบวนการยกระดับ คุณธรรมและความโปร่งใสในภาพรวมของจังหวดั นครสวรรค์ โดยแบ่งออกเปน็ 3 ระยะหลกั ดังน้ี ระยะที่ 1 กอ่ นการประเมนิ : ดำ� เนนิ การจัดประชุมชแี้ จงเพ่ือเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการประเมนิ ITA ให้แก่ทุกหน่วยงานภายในจังหวัด จ�ำนวน 143 แห่ง โดยแบ่งการจัดกิจกรรมออกเป็น 13 ครั้ง ครอบคลุม 15 อ�ำเภอภายในจังหวัดนครสวรรค์ โดยทุกหน่วยงานจะต้องส่งผู้เข้าร่วมการประชุมช้ีแจงอย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ การประเมิน ITA ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น การจดั ประชุมชี้แจงดังกลา่ ว สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ประจำ� จงั หวดั นครสวรรค์ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัดและท้องถิ่นอ�ำเภอทุกแห่ง ในการประสานงาน การจัดสรรงบประมาณ และการสนับสนุนบุคลากรในการร่วมจัดประชุมช้ีแจงให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในอ�ำเภอนั้นๆ ส่งผลให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานภายในจังหวัดนครสวรรค์ ไดร้ ับการใหค้ วามรแู้ ละวธิ ีการประเมิน ITA อย่างทวั่ ถึงและครอบคลมุ ระยะที่ 2 ระหวา่ งการประเมนิ : ด�ำเนินการกำ� กบั และติดตามผา่ นกลไกของคณะอนกุ รรมการ ด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตจังหวัดนครสวรรค์ ซ่ึงมีผู้ว่าราชการ จังหวัดนครสวรรค์ เป็นประธาน มีผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ และหัวหน้า ส�ำนักงานจังหวัดนครสวรรค์ เป็นอนุกรรมการและเลขานุการร่วม โดยจัดประชุมอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง เพื่อรายงานความก้าวหน้าในการประเมิน ITA ของจังหวัดนครสวรรค์ และเพื่อพิจารณาสั่งการสนับสนุน การประเมิน ITA ของหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นไปตามข้ันตอนและกรอบระยะเวลาที่ก�ำหนด โดยหากองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นใดด�ำเนินการล่าช้าจะมีการส่ังการให้หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดนครสวรรค์ด�ำเนินการ ติดตามสอบถามข้อขัดข้องไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้ันทันที ในช่วงสปั ดาห์สุดท้ายของการประเมนิ ในข้ันตอนการตอบแบบ OIT หนว่ ยงานหลกั ทั้ง 3 หน่วยงาน ได้บูรณาการความร่วมมือในการจัดประชุมปฏิบัติการ (workshop) โดยส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน จังหวัดนครสวรรค์ เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดประชุม ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ ท�ำหน้าที่ วิทยากรให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่หน่วยงานบางส่วนที่ยังด�ำเนินการไม่ครบขั้นตอนการประเมิน โดยมีการน�ำ ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐทางเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ได้คะแนนดีเยี่ยมในปีที่ผ่านมาหรือ ท่ีเห็นว่ามีความเหมาะสมแก่การเป็นต้นแบบ มาอธิบายให้หน่วยงานเกิดความเข้าใจและกระตุ้นให้หน่วยงานเร่ง 22 รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ด�ำเนินการให้ถูกต้องก่อนส้ินสุดระยะเวลาการประเมิน ส่งผลให้กระบวนการประเมินในภาพรวมของจังหวัด นครสวรรคด์ ำ� เนนิ การได้อยา่ งครบถ้วนและมคี ุณภาพ ระยะท่ี 3 หลังการประเมิน : เม่ือมีการประกาศผลการประเมิน ITA ผู้ว่าราชการจังหวัด นครสวรรค์ ได้ด�ำเนินการเรียกประชุมส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกแห่งในจังหวัด เพื่อร่วมกัน ถอดบทเรียนแลกเปล่ียนประสบการณ์ ท้ังในกรณีการด�ำเนินงานด้านต่างๆ ที่จะใช้เป็นต้นแบบให้หน่วยงานอ่ืนๆ ในจังหวัดไดไ้ ปปรบั ใชด้ �ำเนินการตาม และในกรณจี ุดอ่อนท่ีต้องแกไ้ ขปรับปรุง โดยผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครสวรรค์ จะมีหนังสือเชิญผู้บริหารและผู้รับผิดชอบการประเมิน ITA ของทุกหน่วยงาน 144 แห่งให้เข้าร่วมการประชุม ถอดบทเรียนภายหลังประกาศผลการประเมิน ITA เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อให้ทุกหน่วยงานสามารถปรับปรุง พัฒนาการด�ำเนินงานและการเปดิ เผยขอ้ มลู ไดต้ ้งั แต่ช่วงเรม่ิ ต้นของปีงบประมาณ 88..ผผลกลารกปาระรเปมนิ รตะาเมมตินวั ชตีว้ ดัามตวั ช้ีวดั ผลการประเมินจำ�าแนกราายยตตัววั ชชีว้ ้ีวัดัดใในนภภาาพพรรววมมขขอองงหหนนว่ ่วยยงงาานนภภาาคครรฐั ัฐททุกุกแแหหง่ ่งพพบบววา่ า่ ตตัวัวชชีว้ ี้วัดัดททีม่ ีม่คีคา่ ค่าคะะแแนนน ผา่ นผต่าานมตเากมณเกฑณท์ ฑก่ี ำ�์ทห่ีกนาหดไนวดใ้ นไวแ้ใผนนแแผมนบ่แมท่บภทายภใาตยย้ ใตทุ ย้ธุศทาธสศตาสรช์ตารตช์ ิาตปิรปะรเดะเน็ ดก็นากราตรอ่ ตต่อา้ ตน้ากนากราทรจุทรุจติ รแติ ลแะลปะรปะรพะพฤตฤมิตชิมอิชบอบ มีเพมียีเงพีย2ง ต2ัวตชั้ีวัดชี้วไัดด้แไดก้แ่ กต่ัวตชัว้ีวชัด้ีวทัด่ี ท1่ี 1กากราปรฏปิบฏัติบิหัตนิห้านท้าี่ทแ่ี ลแะลตะัวตชัว้ีวชัด้ีวทัดี่ท3่ี 3กกาารรใชใช้อ้อ�ำนานาจาจขขณณะะทท่ีต่ีตัวัวชช้ีวี้ัดวัดทที่เห่ีเหลลือืออีกีก 8 ต8วั ชตวี้ ัวัดชว้ียัดงไยมัง่ผไา่ มน่ผตา่ านมตเกามณเกฑณท์ ่กีฑำ� ท์ หก่ี นาดหนด ส�ำาหรบั ตัวชว้ี ัดัดททห่ี ่ีหนน่ว่วยยงงาานนภภาาคครรฐั ัฐไไดด้ค้คะะแแนนนนเฉเฉลลย่ี ี่ยสสงู สูงดุสุดไดไดแ้ ้แกก่ ต่ ตัวัชวชว้ี ัด้ีวัดทที่ 1ี่ 1กกาารรปปฏฏบิ ิบตั ัตหิ ิหนนา้ ท้าที่ ไ่ี ดไดค้ ้คะแะแนนน เท่าเกทับ่าก9ับ0.1950.1ร5องรลองงมลางมคือา คตือัวชตี้วัวดชที้ว่ี ัด3ทกี่ า3รกใชา้อร�ำใชน้อาจานไาดจ้คะไดแน้คนะแเทน่านกเับท่า8ก6ับ.1486แ.1ล4ะตแัวลชะี้วตัดัวทช่ี ี้ว6ัดคทุณี่ 6ภคาพุณกภาารพ ด�ำเกนาินรงดาานเนไินดง้คาะนแไนดน้คเะทแ่านกนับเท8่า3ก.5ับ2 8 3โ.ด52ยตัวโดชย้ีวัตดัวทชี่ไดี้วัด้คทะแ่ีไดน้คนะตแ่�ำนสนุดตมา่ สจุดากมกาจาารกเปกิดาเรผเปยขิด้อเผมยูลขภ้อามคูลรภัฐาผค่านรัฐทผา่างน เว็บทไซาตง์ขเวอ็บงไหซนต่ว์ขยองงาหนนค่วือยงตาวันชคี้วัดือทตี่ ัว9ชกี้วาัดรทเปี่ 9ิดเกผายรขเป้อมิดูลเผไยดข้ค้อะมแูลนนไดเท้คา่ะกแับนน5เ3ท.่า1ก2ับแล5ะ3ต.1วั 2ชวี้แัดลทะ่ีต1ัว0ชี้วกัดาทรป่ี 1้อ0งกกนั าร การปทอ้ ุจงรกติ นั ไกดาค้ ระทแจุ นรนติ เทได่าค้กะับแ3น6น.เ2ท9่ากดบังแ3ส6ด.ง2ใ9นแดผังนแสภดมู งทิ ใ่ีน5แผนภูมทิ ี่ 5 ผลการประเมนิ จาแนกรายตวั ช้ีวดั 90.15 การปอ้ ง3ก6นั .2ก9ารทจุ รติ ก1า0รป0ฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี การใชง้8บ2ป.2ร9ะมาณ 80 60 การเปิดเผยข้อมลู 40 กา8รใ6ช.1้อ4านาจ 53.12 20 0 การปรับปรงุ การทางาน การใชท้ รพั ย์สินของราชการ 80.11 81.41 ประสทิ ธิภา8พ2ก.5า8รสอ่ื สาร คุณภาพ8ก3า.ร5ด2าเนนิ งาน การแกไ้8ข3ป.2ญั 2หาการทจุ รติ แผแนผภนมู ภทิ มู ่ี ิท5ี่ 5ผลผกลากราปรรปะรเมะเนิ มจนิ ำ� จแานแกนตกาตมาตมัวตชัวี้วชดั วี้ ดั รายงานผลการปจ8รา.1ะกเมผตินลัวคกชุณา้ีวธรัดรปรทรมผ่ี ะแ่าลเมนะคินเวกตาณามมโฑปตร์ตัว่งาชใสม้ีวในแัดกผทาน้ังรแด1�ำมI0nเน่บteตินทgงัวภrาชiนาt้ีวyขยัดอใaงตnพห้ยdบนุทTว่วธrย่าaศงnตาาsนัวสpภชตaาี้วrรคeัดช์ nรทาัฐc่ีไตyปดิฯรA้คะsจะsำ�แeปsนงี sนบmปe8รnะ5มtาRคณeะpแพoน.rศนt.2ข205ึ้น26ไ03ปซ่ึง2ถ3ือว่า ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ท่ีกาหนดไว้ในแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ มีจานวน 2 ตัวชว้ี ัด ได้แก่ ตัวช้ีวัดท่ี 1

8.1 ตัวช้วี ดั ทผี่ ่านเกณฑ์ตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ จากผลการประเมนิ ตามตัวชีว้ ัดทัง้ 10 ตวั ชว้ี ัด พบวา่ ตัวชี้วดั ที่ได้คะแนน 85 คะแนนขน้ึ ไปซ่ึงถอื ว่า ผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีก�ำหนดไว้ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ มีจ�ำนวน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวช้ีวัดที่ 1 และตวั ช้วี ัดท่ี 3 โดยสรุปตามประเด็นข้อค�ำถาม ดังน้ี ตวั ช้ีวัดที่ 1 การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี คะแนนเฉลยี่ 90.15 คะแนน โดยขอ้ ค�ำถามในตัวชี้วดั น้ที ไี่ ดค้ ะแนน เฉลยี่ สงู สุด คือ การเรยี กรับเงนิ ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ ่ืนจากผู้มาติดต่อเพื่อแลกกับการปฏบิ ตั งิ าน การอนุมตั ิ อนุญาตหรือให้บรกิ าร มีผลคะแนนเทา่ กบั 98.65 คะแนน สว่ นข้อค�ำถามทไ่ี ด้คะแนนเฉลย่ี ตำ่� สดุ คอื การปฏบิ ตั งิ าน หรือให้บริการแก่ผู้ท่มี าตดิ ตอ่ ให้เปน็ ไปตามขั้นตอนและระยะเวลาท่กี ำ� หนด มีผลคะแนนเทา่ กับ 81.46 คะแนน ตัวชวี้ ัดท่ี 3 การใช้อ�ำนาจ คะแนนเฉลยี่ 86.14 คะแนน โดยข้อค�ำถามท่ไี ด้คะแนนเฉลีย่ สงู สุด คือ การส่ังการของผู้บังคับบัญชาให้ท�ำในส่ิงท่ีไม่ถูกต้องหรือมีความเสี่ยงต่อการทุจริต มีผลคะแนนเท่ากับ 95.36 คะแนน ส่วนขอ้ ค�ำถามทไ่ี ดค้ ะแนนเฉล่ยี ตำ่� สุด คอื การคดั เลอื กผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม การศึกษาดูงาน หรือการให้ ทุนการศกึ ษา อยา่ งเป็นธรรม มีผลคะแนนเท่ากบั 77.54 คะแนน 8.2 ตวั ชีว้ ดั ท่ไี มผ่ ่านเกณฑ์ตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าตฯิ ส�ำหรับตัวช้ีวัดที่ได้คะแนนต�่ำกว่าเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ หรอื 85.00 คะแนนขึน้ ไป มีจ�ำนวน 8 ตัวชว้ี ดั ได้แก่ ดงั นี้ ตวั ชีว้ ดั ที่ 2 การใชง้ บประมาณ คะแนนเฉลีย่ 82.29 คะแนน โดยข้อค�ำถามทไ่ี ด้คะแนนเฉลี่ยสงู สุด คือ ความถูกต้องในการเบิกจ่ายเงิน เช่น ค่าท�ำงานล่วงเวลา ค่าวัสดุอุปกรณ์ หรือค่าเดินทาง ฯลฯ มีผลคะแนน เท่ากับ 94.25 คะแนน ส่วนข้อค�ำถามท่ีได้คะแนนเฉล่ียต่�ำสุด คือ การรับรู้เก่ียวกับแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำ� ปีของหนว่ ยงาน มผี ลคะแนนเท่ากับ 67.24 คะแนน ตวั ชว้ี ัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ คะแนนเฉล่ีย 81.41 คะแนน โดยข้อคำ� ถามทไ่ี ด้คะแนน เฉล่ียสูงสุด คือ การไม่น�ำทรัพย์สินของราชการไปเป็นของส่วนตัว หรือน�ำไปให้กลุ่มหรือพวกพ้อง มีผลคะแนน เทา่ กบั 93.87 คะแนน สว่ นขอ้ คำ� ถามทไี่ ดค้ ะแนนเฉลย่ี ตำ�่ สดุ คอื ความสะดวกของขนั้ ตอนการขออนญุ าตยมื ทรพั ยส์ นิ ของราชการในหนว่ ยงานไปใชป้ ฏิบัตงิ าน มผี ลคะแนนเท่ากับ 72.25 คะแนน ตัวช้วี ดั ที่ 5 การแกไ้ ขปัญหาการทุจริต คะแนนเฉลย่ี 83.22 คะแนน โดยข้อคำ� ถามท่ีได้คะแนน เฉล่ยี สูงสดุ คือ การทบทวนนโยบายหรอื มาตรการป้องกนั การทจุ รติ ในหนว่ ยงานใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และการจัดท�ำ แผนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตของหน่วยงาน มีผลคะแนนเท่ากบั 94.79 คะแนน ส่วนข้อค�ำถาม ท่ีได้คะแนนเฉลี่ยต�่ำสุด คือ ความคิดเห็นต่อการด�ำเนินการของหน่วยงานในกรณีท่ีมีผู้ร้องเรียนการทุจริต ภายในหนว่ ยงาน ทง้ั ในด้านความสะดวกในการร้องเรียนและสง่ หลักฐาน การติดตามผลการรอ้ งเรยี น ความม่นั ใจ ว่าจะไม่มีผลกระทบต่อตัวผู้ร้อง และความมั่นใจว่าหน่วยงานจะด�ำเนินการอย่างตรงไปตรงมา โดยมีผลคะแนน เท่ากบั 78.56 คะแนน ตัวชวี้ ัดท่ี 6 คณุ ภาพการด�ำเนินงาน คะแนนเฉล่ยี 83.52 คะแนน โดยข้อคำ� ถามทไ่ี ดค้ ะแนนเฉลยี่ สงู สดุ คอื เจา้ หนา้ ทไี่ มร่ อ้ งขอหรอื ไมเ่ รยี กรบั เงนิ ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดเพอ่ื แลกกบั การปฏบิ ตั งิ าน การอนมุ ัติ อนญุ าต หรอื ใหบ้ ริการ มผี ลคะแนนเทา่ กบั 96.22 คะแนน สว่ นขอ้ ค�ำถามท่ไี ด้คะแนนเฉลยี่ ต่ำ� สดุ คอื การให้ข้อมลู เก่ียวกบั การด�ำเนนิ การหรือบริการตา่ งๆ ของหน่วยงานอย่างตรงไปตรงมา ไมป่ ิดบงั หรือบิดเบือนขอ้ มลู มผี ลคะแนน เท่ากับ 79.94 คะแนน 24 รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ตัวชว้ี ดั ท่ี 7 ประสทิ ธภิ าพการส่อื สาร คะแนนเฉลยี่ 82.58 คะแนน โดยขอ้ ค�ำถามทีไ่ ด้คะแนนเฉล่ีย สูงสุด คือ การรับรู้เก่ียวกับช่องทางรับฟังค�ำติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการด�ำเนินงานและการให้บริการ มีผลคะแนนเท่ากับ 89.47 คะแนน ส่วนข้อค�ำถามที่ได้คะแนนเฉล่ียต�่ำสุด คือ ลักษณะการเผยแพร่ข้อมูล ของหนว่ ยงานมีชอ่ งทางท่ีหลากหลาย เข้าถึงงา่ ยและไม่ซับซ้อน มผี ลคะแนนเทา่ กับ 78.20 คะแนน ตัวช้ีวดั ท่ี 8 การปรบั ปรงุ ระบบการทำ� งาน คะแนนเฉล่ยี 80.11 คะแนน โดยข้อคำ� ถามท่ไี ดค้ ะแนน เฉล่ียสูงสุด คือ การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการด�ำเนินงานหรือการให้บริการเพื่อให้ผู้มาติดต่อหรือรับบริการ เกิดความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น มีผลคะแนนเท่ากับ 91.37 คะแนน ส่วนข้อค�ำถามท่ีได้คะแนนเฉล่ียต่�ำสุด คือ การเปดิ โอกาสให้ผู้มาตดิ ต่อ ผ้รู บั บรกิ าร หรอื ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี เขา้ ไปมสี ่วนรว่ มในการปรับปรุงพฒั นาการดำ� เนินงาน/ การให้บรกิ ารของหน่วยงานใหด้ ขี ้นึ มผี ลคะแนนเท่ากับ 75.95 คะแนน ตัวชี้วัดท่ี 9 การเปิดเผยขอ้ มลู คะแนนเฉลย่ี 53.12 คะแนน อยใู่ นระดับผลการประเมนิ (Rating Score) ที่ระดับ D โดยตัวช้วี ดั ย่อยท่ีไดค้ ะแนนเฉลี่ยสูงสดุ คอื ตัวชีว้ ัดย่อยที่ 9.1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานเก่ียวกบั หนว่ ยงาน เชน่ โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน ขอ้ มลู ผูบ้ รหิ าร อ�ำนาจหน้าท่ี ข้อมูลการตดิ ต่อ เปน็ ตน้ มีผลคะแนนเท่ากับ 69.12 คะแนน ส�ำหรับตัวช้ีวัดย่อยที่ได้คะแนนเฉลี่ยต่�ำสุด คือ ตัวช้ีวัดย่อยท่ี 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีผลคะแนนเท่ากบั 39.10 คะแนน ตัวช้ีวัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต คะแนนเฉลี่ย 36.29 คะแนน อยู่ในระดับผลการประเมิน (Rating Score) ท่ีระดับ F โดยตัวชี้วัดย่อยที่ได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ การด�ำเนินการเพ่ือป้องกันการทุจริต มีผลคะแนนเท่ากับ 43.86 คะแนน และตัวช้ีวัดย่อยท่ีได้คะแนนเฉลี่ยต�่ำสุด คือ มาตรการภายในเพ่ือส่งเสริม ความโปร่งใสและการป้องกนั การทุจริต มผี ลคะแนนเทา่ กบั 26.81 คะแนน 9. ผลคะแนนตามแหล่งข้อมลู การประเมิน ITA ได้มีการก�ำหนดแหล่งข้อมูลจากกลุ่มประชากรท่ีมีความหลากหลาย ทั้งภายใน และภายนอก แนวต้ังและแนวราบ ได้แก่ ข้าราชการ พนักงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในท่ีคละต�ำแหน่ง ต้ังแต่ระดบั ลา่ งจนถึงระดับบน (Internal Stakeholder) ผรู้ ับบริการทีเ่ ป็นประชาชนท่วั ไปจนถึงผบู้ ริหารระดับสงู และกลุ่มสาขาอาชีพต่าง ๆ รวมถึงกลุ่มที่มีความเก่ียวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง (External Stakeholder) จากนนั้ จงึ ก�ำหนดเครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมิน (Tool Selection) โดยแบง่ ออกเป็น 3 ส่วนตามกล่มุ ประชากรทีใ่ ช้ ในการประเมิน โดยมีผลคะแนนจ�ำแนกตามแหล่งขอ้ มูล/เครอื่ งมือการประเมนิ ดงั น้ี รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 25 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

และกลุ่มสาขาอาชีพต่าง ๆ รวมถึงกลุ่มที่มีความเก่ียวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง (External Stakeholder) จากนั้นจงึ กาหนดเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมิน (Tool Selection) โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนตามกลุ่มประชากร ทีใ่ ช้ในการประเมนิ โดยมผี ลคะแนนจาแนกตามแหลง่ ขอ้ มูล/เคร่อื งมือการประเมิน ดงั น้ี 100 84.64 ผลการประเมินจาแนกตามแหล่งขอ้ มูล 80 82.07 60 44.7 40 20 0 EIT OIT IIT แแผผนนภภูมมู ทิ ิท่ี 6ี่ 6ผผลลกการาปรประรเะมเนิมจนิ ำ� จแานแกนตกาตมาแมหแลห่งขล้อง่ ขม้อลู มูล 9.1 ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสียภายใน (IIT) คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 84.64 คะแนน 9ก.1าร ปผรูม้ ะีสเม่วนินไผดลส้ ต่วานมเแสบยี บภาวยัดใกนาร(รIIับTร)ู้ขคอะงแผนู้มนีสเฉ่วลนีย่ไดเท้ส่า่วกนบั เส8ีย4ภ.6า4ยใคนะแพนบนว่า ข้อคาถามท่ีมีผลการประเมิน น้อยที่สุดค ือ “กกาารรปเปริะดเเมผนิยผเกลี่ยตวามกแับบแบผวนดั กกาารรใรชบั ้จร่าขู้ ยองงบผมู้ปสี รว่ะนมไาดณส้ ว่ ”นมเสีคยี ะภแานยในน6พ7บ.2วา่4ขคอ้ ะคแำ� นถนามแทลมี่ ะผี ล“กกาารรปเรปะิดเมโอนิ กาส นใหอ้ ม้ยีสท่วส่ี นดุ รค่วอื ม“ในกการาเรปตดิ รเวผจยสเกอยี่ บวกกาบั รแใผชน้จกา่ ายรงใบชจ้ปา่ รยะงมบาปณระ”มซาณ่ึงม”คี ะมแคี นะแนน7น4.6072.2ค4ะคแะนแนนนสะแทลอ้ ะนใ“หกเ้าหร็นเปวดิ า่ โอบกุคาลสากร ใแหล้มะีสเจ่วน้าหร่วนม้าใทนี่ใกนาหรตนร่ววยจงสาอนบขกอางรรใชัฐ้จย่าังยเหงบ็นปวร่าะหมานณ่ว”ยงซานึ่งมภีคาะคแรนัฐนยัง7เป4.ิด0เ2ผยคเะกแ่ียนวนกับสแะผทน้อนกใาหร้เใหช็น้จว่า่ายงบบุคปลราะกมราณ แขลอะงเหจน้าห่วนยง้าาทนี่ในตหนนเอ่วยงไงดาน้ไมข่ดอีนงรักัฐยกังลเห่า็นวคว่าือ หมนีเจ่ว้ายหงานน้าภทา่ีขคอรงัฐรยัฐังทเปี่ริดาเยผงยาเนก่ียวว่ากไัมบ่แมผีกนากรเาปรใิดชเ้จผ่ายยแงผบนปกระามรใาชณ้จ่าย ขงบอปงหระนม่วายณงานร้อตยนลเอะง3ได2.้ไ7ม6่ดีนหักรือกมลาก่าถวคึงือ14ม6ีเ,จ6้า9ห5นค้านท่ีขออีกงทร้ังัฐทย่ีังรไามย่เงปาิดนโวอ่ากไามส่มใีกหา้เจรเ้าปหิดนเ้าผทยี่ไแดผ้มนีสก่วานรรใ่วชม้จใ่านยการ งตบรปวรจะสมอาบณกราอ้ รยใลชะ้จ่า3ย2ง.7บ6ปหรระอื มมาาณกถทึง่ีเห14ม6า,6ะ9ส5มคกนลอ่ากีวทค้งัือยมังไีเมจเ่้าปหดิ นโอ้ากทาี่ขสอใหงร้เจัฐา้ ทหี่รนาา้ ยทงไ่ี าดนม้ สีวว่่านหรนว่ ่วมยในงากนารไตมร่เวปจิดสโออบกาส กใหารเ้ กใชิด้จก่าายรงบมปีสร่วะนมรา่วณมทใน่ีเหกมาาระตสรมวจกสลา่อวบคกือารมใเี จชา้จ้ หา่ นย้างทบขี่ ปอรงะรมัฐทา่ีรณารยอ้งายนลวะา่ ห2น5ว่ .ย9ง8านหไรมอื ่เปมิดาโกอถกงึาปสใรหะ้เมกาดิ ณการ1ม1สี 6่ว,น3ร3ว่6มคน ในก2า2รตรวจสอบการใชจ้ ่ายงบประมาณร้อรายยลงะาน2ค5ณุ .9ธ8รรหมรแือลมะาคกวาถมงึ โปปรระ่งมใสาขณอง1ห1น6ว่ ,ย3ง3า6นภคานครฐั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 9.2 ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายนอก (EIT) คะแนนเฉลยี่ เท่ากับ 82.07 คะแนน การประเมินผลตามแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก พบว่า ข้อค�ำถามที่มีผล การประเมินน้อยที่สุดคือ “การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนาการด�ำเนินงานหรือการให้บริการให้ดีขึ้น” มีคะแนน 75.95 คะแนน และ “การปรับปรุงการด�ำเนินงาน/ การให้บริการให้มีความโปร่งใสมากยิ่งข้ึน” มีคะแนน 76.58 คะแนน สะท้อนให้เห็นว่า ผู้รับบริการภาครัฐยังคง เห็นว่าหน่วยงานภาครัฐไม่เปิดโอกาสหรือรับฟังข้อเสนอแนะของผู้รับบริการ ประชาชน หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือน�ำไปสู่การปรับปรุงพัฒนาการด�ำเนินงานให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนเท่าใดนัก กล่าวคือ มีผู้รับบริการจากภาครัฐท่ีรายงานว่าหน่วยงานไม่เปิดโอกาสหรือรับฟังความคิดเห็นของประชาชนร้อยละ 24.05 หรือมากถึงประมาณ 205,357 คน รวมไปถึงประเด็นการปรับปรุงการด�ำเนินงานให้มีความโปร่งใสมากข้ึนน้ัน ประชาชนกย็ ังไมเ่ หน็ การเปลี่ยนแปลงท่ีชัดเจนเชน่ เดียวกนั กลา่ วคือ มผี ูร้ ับบรกิ ารจากภาครฐั ทีร่ ายงานวา่ หน่วยงาน ไม่มกี ารพฒั นาการด�ำเนินงานให้เกิดความโปรง่ ใสมากย่งิ ขนึ้ รอ้ ยละ 23.42 หรอื มากถงึ ประมาณ 199,978 คน 26 รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ท้ังนี้ เม่ือวิเคราะห์ในข้อค�ำถามการรับรู้เกี่ยวกับการรับสินบน ซ่ึงถือเป็นการทุจริตทางตรงน้ัน พบวา่ คะแนนจากทง้ั แบบ IIT และแบบ EIT มีผลคะแนนทีไ่ มแ่ ตกต่างกนั มาก ซึ่งแม้ว่าจะมผี ลคะแนนในระดบั สงู กล่าวคือเกิดการรับรู้เกี่ยวกับการเรียกรับสินบนของเจ้าหน้าท่ีของรัฐในสัดส่วนท่ีไม่มากนัก คือร้อยละ 1.35 ของบุคลากรภาครฐั และร้อยละ 3.78 ของผู้รบั บรกิ ารหรือผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียกบั หนว่ ยงานภาครฐั แตเ่ มอ่ื เปรยี บเทยี บ กับสัดส่วนของจ�ำนวนผู้ตอบแบบส�ำรวจทั้งหมด พบว่า มีการรับรู้ในพฤติกรรมการทุจริตทางตรงคิดเป็นจ�ำนวนมาก ถงึ ประมาณ 38,322 คน ซึ่งอาจกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ ประเทศอย่างมหาศาลได้ นอกจากนี้ ในอีกแง่มมุ หนึ่ง ก็อาจแสดงให้เห็นว่า การทุจริตทางตรงในรูปแบบการเรียกรับสินบน อาจไม่ได้มีให้เห็นหรือรับรู้ได้อย่างชัดเจน ดังเชน่ ในอดตี แตอ่ าจมีการเปลี่ยนแปลงรปู แบบการเรียกรับสนิ บนทซี่ บั ซ้อนและยากต่อการรบั รไู้ ด้มากยิง่ ขน้ึ 9.3 การเปิดเผยขอ้ มลู (OIT) คะแนนเฉลีย่ เทา่ กบั 44.70 คะแนน การประเมินผลตามแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะทางเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน พบว่า การเปดิ เผยขอ้ มลู ภาครฐั ทม่ี ผี ลการประเมนิ นอ้ ยทส่ี ดุ คอื “e-Service” มคี ะแนน 18.33 คะแนน หรอื อกี นยั หนงึ่ คือมีหน่วยงานที่มีการพัฒนาระบบ e-Service ให้บริการเพียงประมาณ 1,522 หน่วยงานเท่านั้น สะท้อน ให้เห็นว่า ระบบการให้บริการภาครัฐยังคงต้องมีการพัฒนาให้เท่าทันต่อสถานการณ์และความเปล่ียนแปลง ด้านเทคโนโลยี ซึ่งถือเป็นการยกระดับการให้บริการของภาครัฐให้ตอบสนองต่อประชาชนผู้รับบริการ อันจะน�ำ ไปสู่การให้บริการภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ และลดความเสี่ยงท่ีจะเกิด การทจุ รติ คอร์รัปชนั ได้มากยิง่ ขนึ้ นอกจากนี้ หน่วยงานภาครัฐยังต้องเร่งปรับปรุงพัฒนาเพ่ือให้เกิดความโปร่งใสยิ่งข้ึน ได้แก่ การก�ำหนดหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล การด�ำเนินการเพื่อจัดการความเส่ียงการทุจริต การน�ำผลการประเมิน ITA ไปสูก่ ารวเิ คราะหเ์ พือ่ จดั ท�ำมาตรการส่งเสรมิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน และมีการด�ำเนินการเพ่ือยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานให้สูงขึ้นตามที่ได้มีการก�ำหนด มาตรการภายในไว้ รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 27 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

การอภิปรายและขอ้ เสนอแนะ ต่อผลการประเมินคุณธรรม และความโปรง่ ใส ในการด�ำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การอภิปรายผลการประเมิน ITA และการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาหน่วยงานที่เข้าร่วม การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จะมุ่งเน้นการอภิปรายผลเพื่อค้นหาสาเหตุท่ีส่งผลให้หน่วยงานยังไม่สามารถด�ำเนินการประเมินผลได้ตามเป้าหมาย ที่ก�ำหนดไว้ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมถึง มุ่งวิเคราะห์และให้ข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์ในการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐท่วั ประเทศให้สามารถบรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ได้ทันภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดำ� เนินการ อภิปรายใน 2 ประเดน็ หลัก ดังนี้ ประเดน็ ท่ี 1 อภปิ รายผลการประเมนิ ITA ท้งั ในมิติกระบวนการประเมิน (mean) และเปา้ หมาย (end) เพ่ือค้นหาสาเหตุท่ีส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐในภาพรวมระดับประเทศยังไม่สามาบรรลุเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ใน แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติฯ การวิเคราะหแ์ นวปฏิบตั ขิ องกลมุ่ หนว่ ยงานทผ่ี ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามเป้าหมาย ที่ก�ำหนดกับกลุ่มท่ียังไม่ผ่าน รวมถึงการให้ข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์เพื่อยกระดับผลการประเมินให้บรรลุตามเป้าหมาย ทกี่ ำ� หนดไวภ้ ายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ท้ังในระดบั นโยบายและระดับปฏิบตั ิ 28 รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ประเด็นท่ี 1 อภิปรายผลการประเมิน ITA ทั้งในมิตกิ ระบวนการประเมิน (mean) และเปา้ หมาย (end) เพ่ือค้นหาสาเหตทุ ่ีสง่ ผลใหห้ น่วยงานภาครฐั ในภาพรวมระดบั ประเทศยังไม่สามาบรรลเุ ป้าหมายที่กาหนดไวใ้ น แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ การวิเคราะห์แนวปฏิบัติของกลุ่มหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม เ ป้าหมายทป่ีกราะหเดน็นดทก่ี ับ2กอลภุ่มปิ ทร่ียาังยไผมล่ผก่าานรปรรวะมเถมึงินกาITรAใหภ้ขา้อพเสรวนมอรแะนดะบั เปชริงะกเลทยศุทรธา์เยพตื่อวั ยชกีว้ ัดระแดละับปผรละกเาดรน็ ปกราะรเปมรินะใเหมนิ้ บโดรยรเลปุต็นากมาเปรอา้ หภมิปารยาทยถีก่ ึงาสหานเดหไตวุทภ้ ี่สา่งยผในลใปหงี ้แบตป่ลระตมัวาชณ้ีวัดพไ.ดศ้ค. ะ2แ5น65นตท�่ำ้ังกในว่ารเะกดณบั ฑน์หโยรบือาไยดแ้คละะแรนะนดทบั ่ีตป่�ำฏมิบาัตกิว่าเกิดจาก สาเหตุใปดระพเรดอ้ ็นมทท่ี ั้ง2ใหอข้ภ้อิปเสรานยอผแลนกะาเชรปงิ ปรฏะเบิ มตั ินิตอ่ITกAารภเพาพิ่มรควะมแรนะนดดับงั ปกลระ่าวเทใหศม้ราากยขตึ้นัวช้ีวัดและประเด็นการประเมิน โดยเป็นการอภิปรายถึงสาเหตุท่ีส่งผลให้แต่ละตัวชี้วัดได้คะแนนต่ากว่าเกณฑ์หรือได้คะแนนท่ีต่ามากว่าเกิด จาก1สา. เหอตภใุ ดิปพรร้อามยทง้ั ผใหลข้ อ้ กเสานรอแปนะรเชะเิงมปฏินบิ ตั ิตIT่อกAารเแพลมิ่ คะะใแหนน้ขด้อังกเลสา่ วนใหอ้มแากนข้ึนะเพื่อการบรรลุ เป้าหมายตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้าน 1. อ ภิปกรายรผทลจุ กราิตรปแรละเะมปินระITพAฤแตลิมะใิชหอ้ข้บอเสนอแนะเพ่ือการบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บท ภ ายใต้ยุทเมธื่อศพาิจสาตรณร์ชาผาลตกิ ปารรปะรเะดเน็มินกาIรTAตอ่ ปตร้าะนจ�ำกปาีงรบทปจุ รระิตมาแณละพป.ศระ.2พ56ฤ3ตมิ ในิชภอาบพรวมระดับประเทศ จ�ำแนก ตามตัวเชม้ีว่ือัดพจิจะาเหรณ็นไาดผ้อลยก่าางรชปัดรเจะนเมวิ่าน ตITัวAชี้วปัดรทะ่ีฉจุดารปั้งีงใบหป้ผลระกมาราปณระพเม.ศิน.2I5T6A3ใในนภภาาพพรรววมมขรอะงดปับระปเรทะศเทยังศไมจ่สาาแมนากรถ ตกหสบกขาาา้าลอรมรรรมกัมปเลาตเูลปกรรเุ ัวสปิดถะณชาา้เเบผฑมี้วธหรัยนิาดก์มรรขทจาาลณร้อยะ่กีุเปปมตเ�ำะหรา้หาูลผะห็มนนส่าเแมไดนามดผาธนิทด้ยอนาทาังตรยแงีก่จณา่มาเาะมวงบ่ะหเ็บชแหทผนัผดไน็่าภซดนเนไาจตดแยทดน์ขจ้มใงัาวอตา่บจง่กาง้ยะเทวหคุทเภตห็บา่นธัวาค็นไศ่วยชซะไายใ้ีดตวแสตงัด้จน์ขตา้ยาทอนรนุทก์ชงี่ใฉอธคนหาุดยศ่าตตนรู่ใาคิฯวั่วนั้งสะชยใรตแไ้วีหงดะรนัด้าผดน้ช์ นทนลับาน้ั ใี่อตก9นตยเิฯาต่�ำกแู่ใร วันิดไลปหชดจระร้ีวร้นาะตะัดือกัน้ดัวเทไหชับมมเ่ีว้ีนิกนต9่ไดัว่ิด่าดทแยIจ้มTหลงี่าAี1กาะรก0นาตือหใรภนวัใไนเนมาชปภ่วค่แไ้วี ิาดยดรดัผพงเัฐ้มทนผาสรีกภ่ีนยวว่1าูมขภนม0รทิ้อาใเขปหใค่ีมอน7ญิรดูลงแัฐเตป่ยผผสังารนย่วมมะภขนกีหเ้อมูใทาลหมิทรศักญเูล่ี ยปเ7ต่ยกังดิ าังไณเมมมผฑ่ีย์ 100 80 60 40 20 0 ตัวชว้ี ัด 1 ตวั ชว้ี ดั 2 ตัวชีว้ ัด 3 ตวั ชี้วดั 4 ตวั ชี้วัด 5 ตัวชีว้ ดั 6 ตวั ชีว้ ัด 7 ตัวช้ีวัด 8 ตวั ช้วี ดั 9 ตัวชีว้ ดั 10 แผแนผภนูมภิทูมี่ ทิ7่ี 7คะคแะนแนนนITAITจA�ำจแานแกนตกาตมาตมัวตชวัีว้ ชดั ้ีวัด 24 รายงานคุณธรรมและความโปรง่ ใสของหนว่ ยงานภาครัฐ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 l ผบู้ รหิ ารของหนว่ ยงานภาครฐั หลายแหง่ ไมไ่ ดต้ รวจสอบและอนมุ ตั ขิ อ้ มลู ดว้ ยตนเอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นี้ ทกุ หน่วยงานไดด้ ำ� เนนิ การตามขน้ั ตอนการตอบแบบ OIT อย่างครบถว้ น โดยแอดมินของทุกหน่วยงานมีการตอบแบบ OIT ว่ามีหรือไม่มีการเปิดเผยข้อมูลใดบ้างทางเว็บไซต์ จากน้ัน ไดม้ กี ารกดอนมุ ตั กิ ารสง่ ขอ้ มลู คำ� ตอบแบบ OIT รายขอ้ โดยผ้บู รหิ ารของทุกหนว่ ยงาน อย่างไรกต็ าม จากการตรวจสอบ การให้คะแนนและจากผลการประเมินในตัวช้ีวัดที่ 9 และตัวชี้วัดท่ี 10 พบว่า แม้ข้อมูลคำ� ตอบของแบบ OIT ทท่ี กุ หนว่ ยงานสง่ มาจะไดร้ บั การอนมุ ตั โิ ดยผบู้ รหิ ารแลว้ กต็ าม แตข่ อ้ มลู คำ� ตอบจำ� นวนมากไม่ได้มีการเปิดเผยข้อมูล ให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์การประเมินทก่ี ำ� หนด หรอื ตอบวา่ ไมไ่ ดม้ กี ารเปดิ เผยขอ้ มลู ทางเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงาน ซงึ่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ การประเมนิ ITA ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 น้ี หนว่ ยงานหลายแหง่ ได้เร่งด�ำเนนิ การ ให้ครบตามขั้นตอนการประเมินที่ก�ำหนด แต่ไม่ได้มีการด�ำเนินการเปิดเผยข้อมูลหรือไม่ด�ำเนินการป้องกันการทุจริต ตามหลักเกณฑ์การประเมนิ ที่กำ� หนด โดยเฉพาะกลมุ่ หน่วยงานทีไ่ ดค้ ะแนนตง้ั แตร่ ะดบั C ลงมาจนถงึ ระดับ F รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 29 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

หน่วยงานหลายแห่งได้เร่งดาเนินการให้ครบตามข้ันตอนการประเมินที่กาหนด แต่ไม่ได้มีการดาเนินการ เปิดเผยข้อมูลหรือไม่ดาเนินการป้องกันการทุจริตตามหลักเกณฑ์การประเมินที่กาหนด โดยเฉพาะกลุ่ม หนว่ ยงานท่ไี ดค้ ะแนนต้งั แตร่ ะดับ C ลงมาจนถงึ ระดบั F • พlบ ปพญั บหปากญั าหรเาปกดิ าเรผเยปขดิ อ้ เมผูลยสขาอ้ธมารลู ณสะาใธนากรลณ่มุ ะหในนว่ กยลงมุ่านหทนี่ไว่ดย้คงะาแนนทนไ่ีตด่า้คกวะา่แรนะนดตบั ่�ำCกวา่ ระดบั C เมื่อ พิจเมารื่อณพิจาาเจราณะาลเจึกาละงลมึกาลทงี่คม่าาคทะี่คแ่าคนะนแเนฉลนี่ยเฉใลน่ียตใัวนชตี้วัวัดชที้วัดี่ 9ท่ี 9แลแะลตะัวตชัวี้วชัดี้วัดทที่ 1่ี 010ขขอองหงหนน่ว่วยยงงาานนภภาาคครรัฐัฐ ทั่วประเทศ 88,,330033แแหหง่ ง่ จจ�ำาแแนนกกตตาามมรระะดดับับผผลลกการาปรประรเะมเมนิ ิน(R(aRtaintigngScSocroer)eพ) บพวบา่ วม่าีหมนีห่วนย่วงยานงาภนาภคารคฐั ทรัฐ่ีมทีระ่ีมดีรับะดผับล ผกาลรกปาระปเรมะินเม(Rินat(iRnagtinScgoSrceo) rตeงั้)แตต้ังร่ แะตด่รบั ะดCับลCงมลางจมนาถจงึ นระถดึงบัระFดับจำ� Fนจวนาน5ว,น7759,7แ7ห9ง่ แมหคี ่งะแมนีคนะใแนนตนวั ใชนว้ี ตดั ัวทชี่ ี้ว9ัดแทล่ี ะ9 แตลวั ชะวี้ตดัวทช่ี้ว1ัด0ท่ีต1�่ำ0กวต่า ก5ว0่า ค5ะ0แคนะนแโนดนยเโฉดพยาเะฉใพนากะลใุ่มนหกนล่วุมยหงนาน่วยทงี่ไดาน้ระทดี่ไับด้รCะดมับีค่าCคมะแีคน่าคนะในแตนัวนชใ้ีวนัดตทัวี่ ช1ี้ว0ัดลทดี่ 1ล0ง ลอยด่าลงงมอีนยัย่าสงม�ำคีนัญัยเสมาื่อคเัญทียเมบื่อกเับทคียะบแกนับนคในะแตนัวชนี้วใัดนทตี่ัว9ชซ้ีว่ึงัดคท่าี่ ค9ะซแน่ึงคน่าทค้ังะ2แนตนัวชที้วั้งัด2ดังตกัวลชา่ ีว้ จัดะดลังดกลง่าเวรจ่อื ะยลๆดตลางมเร่ืะอดยับๆ ตผลามกราะรปดรับะผเลมกินาจรนปถรึงะหเนม่วนิ ยจงนาถนงึ ทห่มี นีผว่ ลยกงาารนปทร่ีมะีผเมลนิ กาITรAปรตะ�่ำเสมดุ นิ คITอื Aไมต่มา่ ีคส่าดุ คคะแอื นไนมเ่มลีคยา่ คะแนนเลย 100.00 คะแนนเฉล่ียตัวชีว้ ดั ท่ี 9 และ 10 จาแนกตาม Rating Score 90.00 ค่าคะแนน 80.00 70.00 60.00 AA A B C D E F 50.00 56 1,039 1,429 1,854 2,474 952 499 40.00 หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน หนว่ ยงาน หนว่ ยงาน หน่วยงาน 30.00 95.62 87.71 75.91 61.69 39.03 21.51 9.49 20.00 99.40 94.23 69.66 33.94 12.68 3.68 1.03 10.00 0.00 ตวั ชีว้ ัดที่ 9 ตวั ชวี้ ดั ที่ 10 แผแนผภนูมภิทมู ่ี 8ทิ ่ี ค8ะคแะนแนนเฉนลเฉี่ยลตีย่วั ชตวี้ัวดัชทว้ี ัด่ี 9ทแี่ 9ละแล1ะ0 1จ0ำ� แจนากแตนากมตRามatiRnagtiSncgoSrecore รายงานคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสของหนว่ ยงานภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 25 l คา่ คะแนน OIT สง่ ผลตอ่ ระดบั ผลการประเมนิ ของแตล่ ะหนว่ ยงานอยา่ งมนี ยั สำ� คญั เมอื่ พจิ ารณาผลการประเมนิ ในแตล่ ะตัวชี้วัดจะเหน็ ได้ว่า ค่าคะแนนเฉลีย่ ในตวั ช้ีวดั ที่ 1 - 8 มคี ่าคะแนน ใกล้เคียงกัน โดยมีคะแนนเฉล่ียไม่ต�่ำกว่า 80 คะแนน แต่ค่าคะแนนในตัวชี้วัดที่ 9 - 10 จากกราฟจะเห็นได้ว่า ค่าคะแนนตกลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ดังที่ปรากฏตามแผนภูมิท่ี 8 ข้างต้น ซ่ึงเป็นสาเหตุหลักที่ส่งผลให้คะแนนเฉลี่ย ของหน่วยงานในภาพรวมระดับประเทศยังคงไม่สามารถบรรลุตามเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ในแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาต ิ 30 รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

หากเจาะลึกลงมาที่รายละเอียดค่าคะแนนในตัวชี้วัดที่ 9 - 10 ตามแบบ OIT เพื่อค้นหารูปแบบ การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะของหน่วยงานในแต่ละระดับผลการประเมิน (Rating Score) พบว่า หน่วยงาน ในแต่ละระดับผลการประเมินมีรูปแบบการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน โดยพบสาเหตุ ท่ีสง่ ผลตอ่ คา่ คะแนน OIT ของหน่วยงานในแตล่ ะ Rating Score ดงั นี้ 1) ระดบั AA - B : หนว่ ยงานภาครฐั ท่ีมีผลการประเมนิ ระดบั AA - B (75.00 - 100 คะแนน) ได้มีการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะทางเว็บไซต์ของหน่วยงานตามแบบ OIT ในรายตัวชี้วัดและข้อค�ำถามการประเมิน โดยสาเหตุที่ท�ำให้แต่ละหน่วยงานได้คะแนนลดหลั่นกันลงมาคือ ความครบถ้วนและถูกต้องขององค์ประกอบ ด้านขอ้ มลู ตามท่กี �ำหนดไวใ้ นหลักเกณฑ์การประเมนิ ตามแบบ OIT 2) ระดับ C : หน่วยงานภาครัฐส่วนใหญ่ท่ีมีผลการประเมินระดับ C (65.00 - 74.99 คะแนน) จะมีค่าคะแนนในตัวชี้วัดที่ 9 สูงกว่า 50 คะแนนข้ึนไป แต่จะได้คะแนนในตัวช้ีวัดที่ 10 ต่�ำกว่า 50 คะแนน โดยสาเหตุหลกั ของการทีห่ นว่ ยงานได้คะแนนในตัวชวี้ ดั ที่ 10 ต่ำ� เกดิ จากหน่วยงานไม่ได้ด�ำเนนิ การตามตวั ชีว้ ดั ที่ 10.2 มาตรการภายในเพ่ือปอ้ งกนั การทจุ ริต ซึง่ ประกอบด้วยขอ้ ค�ำถาม 2 ข้อ คือ ขอ้ o42 มาตรการสง่ เสริมคุณธรรม และความโปรง่ ใสภายในหนว่ ยงาน และข้อ o43 การดำ� เนนิ การตามมาตรการส่งเสริมคณุ ธรรมและความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน หากหนว่ ยงานใดไม่ได้คะแนนใน 2 ขอ้ คำ� ถามดงั กล่าว จะส่งผลให้ไม่ได้ 50 คะแนน จากคะแนน เตม็ ของตัวชวี้ ัดที่ 10 จำ� นวน 100 คะแนน 3) ระดับ D : หน่วยงานภาครัฐส่วนใหญ่ท่ีมีผลการประเมินระดับ D (55.00 - 64.99 คะแนน) จะมีคา่ คะแนนในตัวชี้วัดที่ 9 และตวั ชีว้ ัดท่ี 10 ต�่ำกวา่ 50 คะแนนลงมา ซ่งึ สะทอ้ นให้เหน็ วา่ นอกจากหน่วยงาน จะไม่ได้ด�ำเนินการตามตัวช้ีวัดท่ี 10 การป้องกันการทุจริตแล้ว ยังไม่ได้มีการเปิดเผยข้อมูลพื้นฐานหรือข้อมูล สาธารณะอื่นๆ ทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือเปิดเผยข้อมูลไม่ถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด ในตัวชี้วัดท่ี 9 หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงคือ ไม่ได้ด�ำเนินการหรือด�ำเนินการไม่ครบตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดท้ังใน ตวั ชีว้ ัดท่ี 9 และตวั ชวี้ ัดที่ 10 4) ระดับ E และ F : หน่วยงานภาครฐั สว่ นใหญ่ทมี่ ีผลการประเมินระดบั E (55.00 - 54.99 คะแนน) และระดบั F (0 - 54.99 คะแนน) จะไมม่ คี ่าคะแนนในตวั ชี้วดั ท่ี 9 และตัวช้ีวดั ท่ี 10 หรือมนี อ้ ยมากไม่เกิน 10 คะแนน สาเหตเุ กดิ จากหนว่ ยงานไม่ได้มกี ารตอบแบบ OIT หรือไม่ได้ด�ำเนินการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะใหถ้ ูกตอ้ ง ครบถว้ นตามหลกั เกณฑท์ ่กี �ำหนด เชน่ ไมไ่ ด้มีการใส่คำ� ตอบลงในแบบ OIT หรือตอบแบบ OIT โดยใชเ้ ว็บไซตอ์ ื่น ท่ไี ม่ใช่เวบ็ ไซต์ของหนว่ ยงาน อาทิ https://drive.google.com หรือน�ำเวบ็ บอร์ดมาใช้ในการตอบแบบ OIT หรือ คำ� ตอบท่ีใสม่ าในแบบ OIT ไม่ปรากฏข้อมูลทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ขอ้ ค�ำถาม เป็นตน้ l ปญั หาหลกั เกดิ จากการเปิดเผยข้อมลู ไมเ่ ป็นไปตามหลักเกณฑท์ ก่ี �ำหนด เมื่อวิเคราะห์หาสาเหตุท่ีส่งผลให้หน่วยงานไม่ได้คะแนนการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะตามแบบ OIT โดยวิเคราะห์ในรายละเอียดของผลการประเมินจากกลุ่มตัวอย่างของหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมิน มุ่งเน้น พิจารณากลุ่มหน่วยงานท่ีมีข้อกังวลสงสัยหรือขอทักท้วงผลการประเมินจ�ำนวนรวมทั้งส้ิน 74 หน่วยงาน จ�ำแนก เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางจ�ำนวน 20 หน่วยงาน หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคจ�ำนวน 7 หน่วยงาน และหน่วยงานราชการส่วนท้องถ่ินจ�ำนวน 47 หน่วยงาน มีข้อค้นพบปัญหาในการตอบแบบ OIT ซึ่งบางแห่ง อาจมีประเดน็ ปญั หาท่พี บมากวา่ 1 ประเดน็ ปัญหา ดงั นี้ รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 31 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ท่ี ประเด็นปญั หาทพ่ี บ จ�ำนวน (แหง่ ) ร้อยละ หนว่ ยงานด�ำเนินการเปดิ เผยขอ้ มลู ไมค่ รบถว้ นและไม่สอดคลอ้ ง 65 53.28% 1 ตามองคป์ ระกอบดา้ นขอ้ มูลในแต่ละขอ้ ค�ำถามท่ีก�ำหนดไวใ้ น 24 19.67% หลักเกณฑ์การประเมนิ 26 21.31% 5 4.10% 2 หน่วยงานไม่ได้มีการเปดิ เผยขอ้ มลู บนเว็บไซต์หลักของหนว่ ยงาน 2 1.64% 3 URL ไม่ไดแ้ สดงการเช่อื มโยงหรอื แสดงใหเ้ ห็นการเขา้ ถงึ ขอ้ มูล ดงั กล่าวผ่านหนา้ เว็บไซตห์ ลกั ของหนว่ ยงาน 4 URL มคี วามขดั ข้องและไมส่ ามารถเข้าถึงขอ้ มลู ได้ 5 กรณอี ื่นๆ เช่น ไมส่ ง่ URL หรอื ไม่มีข้อมลู ใน URL หมายเหตุ : ในแต่ละหน่วยงานอาจจะพบประเด็นจากการตรวจสอบมากกวา่ 1 ประเดน็ จากผลการตรวจสอบข้อมูลดังกล่าว สามารถวิเคราะห์สาเหตุท่ีส่งผลให้หน่วยงานไม่ได้คะแนนการเปิดเผย ขอ้ มูลสาธารณะตามแบบ OIT จ�ำแนกออกเป็น 5 สาเหตสุ �ำคญั ดงั น้ี 1) หน่วยงานเปิดเผยข้อมูลไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด โดยถือว่าเป็นสาเหตุท่ีส�ำคัญมากที่สุด ซ่ึงจากประเด็นข้อค้นพบที่ว่า “หน่วยงานด�ำเนินการเปิดเผยข้อมูลไม่ครบถ้วนและไม่สอดคล้องตามองค์ประกอบ ด้านข้อมูลในแต่ละข้อค�ำถามท่ีก�ำหนด” มีสูงถึงร้อยละ 53.28 โดยปัญหาเกิดจากหน่วยงานยังขาดการบริหารจัดการ การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ รวมถึงขาดการตรวจสอบกลั่นกรองข้อมูลโดยผู้บริหาร ของหนว่ ยงานกอ่ นตอบแบบ OIT ซ่ึงถอื เปน็ ขั้นตอนส�ำคญั ท่ีก�ำหนดไว้ในกระบวนการประเมิน 2) หนว่ ยงานเปดิ เผยขอ้ มลู ทไ่ี มไ่ ดอ้ ยบู่ นเวบ็ ไซตห์ นว่ ยงาน จากประเดน็ ปญั หาขา้ งตน้ พบวา่ การเปดิ เผย ข้อมูลของหน่วยงานไม่ได้เปิดเผยหรือสามารถเชื่อมโยงได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงานร้อยละ 19.67 และ รอ้ ยละ 21.31 ตามลำ� ดบั รวมเปน็ จำ� นวนกวา่ รอ้ ยละ 40.98 โดยเกิดจากสาเหตุหลัก 2 ประการคือ หน่วยงาน มีความเขา้ ใจผิดในหลักเกณฑก์ ารประเมิน หรือเว็บไซตข์ องหน่วยงานมขี นาดพ้ืนทไ่ี ม่เพียงพอตอ่ การเปิดเผยข้อมลู และให้บริการสาธารณะผา่ นทางระบบสารสนเทศ 3) หน่วยงานมีปัญหาด้านเทคนิคในการเปิดเผยข้อมูล จากปญั หาขา้ งตน้ พบวา่ ข้อมูลเว็บไซต์ท่ีหน่วยงาน ได้ตอบลงในแบบ OIT น้ัน ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้หรือมีความขัดข้องในการเข้าถึงข้อมูลเป็นจ�ำนวนร้อยละ 4.10 โดยปัญหาเกิดจากการขาดทรพั ยากรในด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ อาทิ บุคลากร หรอื งบประมาณ ในการบริหาร จัดการระบบสารสนเทศของตนเอง และอีกสาเหตหุ นึง่ เกดิ จากปัญหาการดแู ลและบรหิ ารจัดการระบบสารสนเทศ ของบรษิ ัทที่รบั ผดิ ชอบเว็บไซต์ของหน่วยงาน (เว็บไซต์ล่ม) 4) หนว่ ยงานขาดความรบั ผิดชอบในกระบวนการประเมนิ จากประเด็นท่ีพบวา่ หนว่ ยงานไมส่ ่งข้อมูล หรือไม่มีขอ้ มลู ร้อยละ 1.64 ซ่ึงมักเกิดจากการที่หน่วยงานไม่มกี ารมอบหมายงานอย่างชดั เจน หรอื ขาดผรู้ บั ผดิ ชอบ ในกระบวนการประเมนิ ส่งผลใหด้ ำ� เนนิ การไดไ้ ม่ถกู ต้องตามขนั้ ตอนและไมไ่ ด้คะแนนในขอ้ นั้น 32 รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

l รปู แบบของการไมเ่ ปดิ เผยขอ้ มลู ตามหลกั เกณฑท์ ก่ี ำ� หนด เมื่อพิจารณาผลการประเมินตามตวั ช้ีวดั ที่ 9 และตัวชี้วดั ท่ี 10 รายข้อคำ� ถามเพื่อคน้ หาสาเหตทุ ่ีสง่ ผล ให้แตล่ ะหน่วยงานไม่ไดค้ ะแนนโดยจ�ำแนกหน่วยงานออกเปน็ 2 กลมุ่ คอื กลุ่มหน่วยงานทมี่ ีผลการประเมนิ ITA คะแนนเฉลี่ยรวมตั้งแต่ 85 คะแนนข้ึนไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ กบั กลมุ่ หน่วยงานทม่ี คี ะแนนเฉล่ยี ตำ่� กวา่ 85 คะแนน ในภาพรวมนอกเหนือจากกรณีที่หน่วยงานไม่ได้ใส่ค�ำตอบลงในระบบ ITAS หรือไม่พบข้อมูล ในเว็บไซต์ หรือไม่ได้มีการด�ำเนินการในประเด็นข้อค�ำถามต่างๆ แล้ว หรือองค์ประกอบของข้อมูลไม่ครบตามท่ี ก�ำหนดน้ัน พบสาเหตุหรือปัญหา และรูปแบบการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีกำ� หนด ซ่ึงส่งผลให้ แต่ละหนว่ ยงานไม่ได้คะแนน OIT ในแตล่ ะขอ้ คำ� ถาม ดงั นี้ ขอ้ ประเด็นการประเมิน กล่มุ หนว่ ยงาน กลุม่ หน่วยงาน สาเหต/ุ ปญั หา ไม่ผ่าน 85 ท่ผี ่าน 85 o1 โครงสรา้ ง 75.10 96.44 สาเหตุเกิดจากหน่วยงานมกั มีการนำ� o2 ข้อมลู ผู้บริหาร กฎหมายจัดตงั้ หน่วยงานมาใชใ้ น การเผยแพรแ่ ละตอบ OIT โดยไม่ได้ o3 อำ� นาจหนา้ ท่ี แสดงแผนผงั โครงสรา้ งการแบ่งส่วน o4 แผนยุทธศาสตรห์ รือแผน ราชการ พัฒนาหน่วยงาน 28.39 63.29 สาเหตเุ กดิ จากไมม่ กี ารระบุขอ้ มลู o5 ข้อมูลการตดิ ต่อ ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ ผูบ้ ริหารของ หนว่ ยงานใหค้ รบตามองคป์ ระกอบ ดา้ นข้อมลู ทก่ี �ำหนดในแบบ OIT ซึ่งเป็นรายละเอยี ดท่ีเพิ่มเตมิ ข้นึ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 75.89 96.89 สาเหตุพบว่าหน่วยงานบางแห่งนำ� กฎหมายทไี่ มเ่ กี่ยวข้องมาตอบ หรือ บางแห่งไมไ่ ด้ระบอุ ำ� นาจหนา้ ท่ตี าม กฎหมายจัดต้งั ของหนว่ ยงาน 66.72 97.72 หน่วยงานบางแหง่ น�ำแผนประจำ� ปี มาใช้ในการตอบ หรอื แผนยุทธศาสตร์ ทเ่ี ผยแพรม่ ีขอ้ มูลเพียงวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ แต่ไม่ระบรุ ายละเอียด ของแผนยทุ ธศาสตร์ 51.21 88.86 ข้อมูลการติดต่อไมค่ รบถ้วนทั้ง 5 ประเภท ไดแ้ ก่ ท่อี ยู่ หมายเลข โทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร อเี มล์ และ แผนที่ และมบี างหน่วยงานท่ี ไม่สง่ link ค�ำตอบใหถ้ กู ต้อง บางหนว่ ยงานส่งหน้าแรกของเว็บไซต์ ในการตอบแบบ OIT ซ่งึ มขี ้อมูล ไมค่ รบตามองคป์ ระกอบท่ีก�ำหนด รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 33 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ขอ้ ประเด็นการประเมิน กลุม่ หน่วยงาน กลุม่ หนว่ ยงาน สาเหตุ/ปญั หา ไม่ผ่าน 85 ที่ผา่ น 85 o6 กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง o7 ข่าวประชาสมั พันธ์ 79.58 98.26 หนว่ ยงานท่ีไม่ไดค้ ะแนนสว่ นใหญ่ ไม่ตอบขอ้ คำ� ถามดังกล่าว 91.90 99.73 - o8 Q&A 71.00 85.48 หนว่ ยงานนำ� หนา้ เว็บไซต์ “ค�ำถาม- o9 Social Network 53.51 คำ� ตอบ Q&A” ท่ีบุคคลภายนอก ไมส่ ามารถสอบถามขอ้ มลู ได้ หรอื ไม่ o10 แผนด�ำเนินงานประจำ� ปี 62.18 สามารถสอ่ื สารสองทางไดม้ าใช้ตอบ o11 รายงานการก�ำกบั ตดิ ตาม 25.19 85.11 หน่วยงานใชเ้ ว็บไซตข์ อง Social การด�ำเนินงานประจ�ำปี Network ในการตอบแบบ OIT รอบ 6 เดือน หรือไมป่ รากฏช่องทางการเชือ่ มโยง ไปยัง Social Network จากเวบ็ ไซต์ o12 รายงานผลการด�ำเนินงาน 49.33 ของหนว่ ยงาน ประจ�ำปี 54.88 96.80 ไม่มกี ารดำ� เนนิ งานหรอื ไม่ตอบแบบ o13 คู่มอื หรือมาตรฐาน OIT การปฏบิ ัติงาน 80.82 ไม่มกี ารจดั ท�ำรายงานการก�ำกบั o14 ค่มู อื หรอื มาตรฐาน 68.45 ติดตามทม่ี ีเนื้อหาหรอื แสดง การให้บริการ รายละเอยี ดความกา้ วหนา้ โดยมกั มี การนำ� แผนการดำ� เนินงาน o15 ข้อมลู เชิงสถติ กิ ารให้บริการ 37.31 ในขอ้ o10 มาใช้ตอบซำ้� ในขอ้ น้ี o16 รายงานผลการสำ� รวจ 41.33 94.79 น�ำรายงานก่อนปี 2562 มาใช้ ความพงึ พอใจการใหบ้ ริการ ในการตอบ หรอื ไมม่ ีการตอบแบบ OIT 93.88 บางหนว่ ยงานเกิดความสบั สน โดยน�ำคู่มอื การใหบ้ ริการในข้อ o14 มาใช้ตอบขอ้ o13 และหลายหน่วย งานไมแ่ สดงคมู่ อื การปฏิบัติงาน 94.52 บางหนว่ ยงานเกดิ ความสับสน โดยนำ� คู่มอื การปฏบิ ัติงานของ เจา้ หน้าที่ในข้อ o13 มาใช้ในการ ตอบขอ้ o14 88.49 ไม่มกี ารดำ� เนนิ งานหรอื ไมม่ กี ารตอบ แบบ OIT 89.59 ไมม่ กี ารดำ� เนนิ งานหรือไมม่ กี ารตอบ แบบ OIT 34 รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ข้อ ประเด็นการประเมนิ กลุม่ หน่วยงาน กลมุ่ หนว่ ยงาน สาเหต/ุ ปญั หา ไม่ผ่าน 85 ทผ่ี ่าน 85 o17 E-Service 13.01 53.33 ไมม่ ี e-Service หน่วยงานหลายแห่ง มกั ใชก้ ารดาวน์โหลดแบบฟอร์ม pdf ทใ่ี ห้ประชาชนดาวน์โหลดแลว้ น�ำมายนื่ ณ ที่ทำ� การของหน่วยงานมาใชใ้ น การตอบข้อ o17 รวมถึงมีการนำ� ระบบแจ้งร้องเรียนมาใชต้ อบในข้อ การให้บริการผ่านระบบ e-Service o18 แผนการใช้จ่ายงบประมาณ 45.39 91.32 มีการน�ำงบการเงนิ มาใช้ตอบ ประจ�ำปี แต่ไมม่ รี ายละเอยี ดแผนการใชจ้ า่ ยงบ ประมาณ ซึ่งแสดงรายละเอยี ดของ โครงการกิจกรรมทีจ่ ะเบกิ จา่ ย เปน็ ตน้ o19 รายงานการกำ� กบั ติดตาม 42.65 93.06 องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน การใชจ้ า่ ยงบประมาณประจ�ำปี ไมด่ ำ� เนินการจดั ท�ำรายงานการกำ� กับ รอบ 6 เดือน ติดตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณ รอบ 6 เดือน โดยอ้างถึงคำ� ส่งั มท. ทีใ่ หร้ ายงานอย่างน้อยปีละหน่งึ คร้ัง o20 รายงานผลการใชจ้ ่าย 48.83 94.16 ไม่เผยแพรข่ อ้ มลู ทางเว็บไซต์หรือ งบประมาณประจำ� ปี ไมม่ ีการตอบแบบ OIT o21 แผนการจดั ซอ้ื จดั จ้างหรือ 57.66 94.98 กรณีหนว่ ยงานที่มงี บประมาณ แผนการจัดหาพัสดุ ไมถ่ ึง 500,000 ไมต่ อ้ งจัดท�ำแผน การจัดซ้อื จัดจ้าง แต่ไม่ได้มีการแจ้ง คณะที่ปรึกษาการประเมนิ และ มหี ลายหนว่ ยงานท่ีไมเ่ ผยแพรข่ ้อมลู ทางเว็บไซต์หรือไม่มกี ารตอบแบบ OIT ทั้งนี้ o22 ประกาศตา่ ง ๆ เกยี่ วกับการจัดซอ้ื 82.05 98.72 ไมเ่ ผยแพรข่ อ้ มลู ทางเว็บไซต์หรอื จดั จ้างหรือการจัดหาพสั ดุ ไมม่ ีการตอบแบบ OIT o23 สรปุ ผลการจัดซ้อื จดั จ้างหรอื 43.19 88.86 ด�ำเนนิ การไม่ครบทกุ เดอื นต้ังแตเ่ รมิ่ การจัดหาพสั ดุรายเดือน ปงี บประมาณ จนถงึ เดอื นมีนาคม o24 รายงานผลการจัดซอื้ จัดจ้าง 30.94 85.48 ไม่มเี ผยแพร่ข้อมลู ทางเว็บไซตห์ รอื หรือการจัดหาพัสดุประจำ� ปี ไมม่ กี ารตอบแบบ OIT o25 นโยบายการบรหิ ารทรัพยากร 45.24 93.79 ไมม่ ีเผยแพร่ข้อมลู ทางเว็บไซตห์ รอื บุคคล ไมม่ กี ารตอบแบบ OIT รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 35 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ขอ้ ประเดน็ การประเมิน กลุ่มหน่วยงาน กลมุ่ หน่วยงาน สาเหต/ุ ปญั หา ไมผ่ ่าน 85 ที่ผา่ น 85 o26 การด�ำเนนิ การตามนโยบาย 36.06 88.68 ไมม่ ีเผยแพรข่ ้อมลู ทางเว็บไซตห์ รอื การบริหารทรัพยากรบคุ คล ไม่มกี ารตอบแบบ OIT o27 หลกั เกณฑ์การบรหิ ารและ 15.23 58.45 แสดงหลักเกณฑก์ ารบรหิ ารและ พัฒนาทรัพยากรบคุ คล พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลไม่ครบตาม องคป์ ระกอบทก่ี ำ� หนด o28 รายงานผลการบริหารและ 33.21 91.05 ไม่มีเผยแพรข่ ้อมลู ทางเวบ็ ไซตห์ รอื พฒั นาทรัพยากรบคุ คลประจ�ำปี ไม่มกี ารตอบแบบ OIT o29 แนวปฏิบตั กิ ารจดั การเร่อื งรอ้ ง 45.20 92.79 หลายหน่วยงานนำ� แนวทาง เรียนการทุจรติ และประพฤติมิ การจัดการเร่อื งรอ้ งเรยี นท่วั ไปมาใช้ ชอบ ในการตอบแบบ OIT o30 ช่องทางแจ้งเรื่องรอ้ งเรยี นการ 37.97 74.70 กรณีหนว่ ยงานที่ตอบขอ้ ค�ำถามนีแ้ ต่ ทจุ รติ และประพฤติมิชอบ ไม่ได้คะแนน สว่ นใหญเ่ กิดจาก สาเหตุทีห่ น่วยงานใชช้ ่องทางการ แสดงความคดิ เหน็ หรือช่องทาง การร้องเรยี นทวั่ ไปมาใช้ในการตอบ OIT โดยทไ่ี มม่ ชี ่องทางส�ำหรบั ร้อง เรยี นการทุจรติ โดยเฉพาะ o31 ข้อมูลเชิงสถติ เิ รอ่ื งร้องเรยี น 33.84 87.85 กรณที หี่ น่วยงานไมม่ ีสถติ เร่ืองร้อง การทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ เรยี นการทุจริตและประพฤติมชิ อบ ประจำ� ปี จะต้องระบุวา่ ไม่มเี ร่อื งร้องเรียน และหลายหน่วยงานไม่ได้มีการจัด ท�ำสถิติ o32 ช่องทางการรับฟงั ความคิดเหน็ 77.00 93.70 ไมม่ กี ลอ่ งขอ้ ความรับฟังความคิด เห็นทางเวบ็ ไซต์ แตร่ ะบุวธิ กี ารแสดง ความคดิ เห็น ณ ท่ที ำ� การของ หนว่ ยงานหรือวิธกี ารอ่นื ๆ o33 การเปดิ โอกาสให้เกิดการมี 36.86 83.93 มกี ารอา้ งถงึ สถานการณ์ COVID-19 สว่ นร่วม แต่ไม่ระบคุ �ำสง่ั หรอื กฎหมายที่หา้ ม ไมใ่ ห้หนว่ ยงานจัดกจิ กรรมหรือเปดิ โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม o34 เจตจำ� นงสุจริตของผบู้ ริหาร 61.08 97.72 ใชข้ ้อมลู เจตจำ� นงสุจรติ ของผบู้ ริหาร ท่หี มดวาระแลว้ มาใช้ในการตอบ OIT หรอื ไมม่ กี ารเผยแพร่ขอ้ มูลทาง เว็บไซต์หรอื ไม่มีการตอบแบบ OIT 36 รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ขอ้ ประเดน็ การประเมนิ กลุ่มหนว่ ยงาน กล่มุ หนว่ ยงาน สาเหตุ/ปัญหา ไม่ผา่ น 85 ทผี่ า่ น 85 o35 การมีสว่ นรว่ มของผ้บู ริหาร 25.90 79.91 รายงานผลท่ผี บู้ ริหารไปรว่ มงานของ หนว่ ยงานอ่นื แตไ่ มไ่ ดเ้ ป็นการ ดำ� เนินการเอง o36 การประเมนิ ความเสยี่ งการ 28.18 90.32 ใช้ขอ้ มลู ของปีงบประมาณทผ่ี า่ นมา ทุจริตประจำ� ปี หรอื ไม่มีการเผยแพรข่ อ้ มลู ทาง เว็บไซตห์ รือไมม่ ีการตอบแบบ OIT o37 การดำ� เนินการเพ่ือจัดการ 19.53 80.27 แสดงผลการด�ำเนนิ งานทไ่ี ม่ ความเสี่ยงการทุจรติ สอดคลอ้ งกับการวิเคราะห์ ความเสี่ยงในข้อ o36 หรือไม่มี การดำ� เนินการ o38 การเสริมสร้างวัฒนธรรม 23.63 77.26 แสดงกจิ กรรมที่ไมส่ อดคลอ้ งกบั การ องค์กร เสริมสร้างทัศนคตคิ า่ นิยมในการ ปฏิบัติงานอย่างซอ่ื สตั ย์สุจริต เช่น การท�ำบญุ ตกั บาตร การส่งเสรมิ วัฒนธรรมไทย เปน็ ตน้ o39 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การ 63.57 99.09 นำ� URL ของเว็บไซต์ ทจุ รติ e-plan.nacc.go.th มาใชใ้ นการ ตอบข้อ o39 ซงึ่ คณะทป่ี รึกษาและ ประชาชนไม่สามารถเขา้ ถงึ ได้ o40 รายงานการก�ำกับตดิ ตามการ 36.97 94.43 นำ� URL ของเวบ็ ไซต์ ด�ำเนินการปอ้ งกนั การทุจริต e-plan.nacc.go.th มาใชใ้ นการ ประจำ� ปี รอบ 6 เดอื น ตอบขอ้ o40 ซ่ึงคณะท่ีปรกึ ษาและ ประชาชนไม่สามารถเขา้ ถึงได้ o41 รายงานผลการดำ� เนินการ 36.92 94.61 นำ� URL ของเว็บไซต์ ปอ้ งกนั การทจุ ริตประจ�ำปี e-plan.nacc.go.th มาใชใ้ นการ ตอบขอ้ o41 ซ่ึงคณะทีป่ รึกษาและ ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงได้ o42 มาตรการส่งเสรมิ คณุ ธรรมและ 20.28 98.36 ไมม่ กี ารวิเคราะห์ผลการประเมิน ความโปรง่ ใสภายในหน่วยงาน ITA 2562 และไม่มกี ารกำ� หนด มาตรการ o43 การด�ำเนนิ การตามมาตรการ 13.42 86.48 การด�ำเนินการไมส่ อดคล้องกับ ส่งเสริมคณุ ธรรมและความ มาตรการท่กี �ำหนดไวใ้ น o42 หรอื โปร่งใสภายในหน่วยงาน ไม่มีการด�ำเนินการเลย รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 37 Integrity and Transparency Assessment Report 2020

ดข อังปงกITกรรAระาะบกดบวฏัง•ควนปl ใน่าตกน รคกอ้าแาตคะรางกผพแมร่าอ้ พฏนงุ่นคัฒงเฒันะใมภนนนแกงูน่นุ้มาแานเคกาิทนรผคุณนาี่เน้รณนุปกธ1ยกิดภราธ0กรารเรูมรผมรรเะดิทปยมแยดังีข่ลิดแกับน1้อะลเรก0ั้ผนคมะะายวูลคดรดาขกสวเบัมังปา้อาลนโมกดิธมปยั้นโาเาูุลรทผปรร่งสยณรธกเใง่ขปาส์กละใธอ้ใสดิาตยนามรใเาุทใรนผูลยมนณธใสยกแแน์กาะขตบรแธาตะ่ลบอ้ตาราดะรมล่ยมปOณับะลูกแีงIปคะTสรบบงีแุณะาปบนบลดธรธ้ัปนะัาบะรกรOมรมรคะาณาIีมนรมTุณณปัยแาะธ้ณอสนลแแรงาะั้นลลกรคแคะะันมัญลใมวกกแนะทาีนาาลแใม้ังรนรัยงะใทโป่แกสนคปุจงา�ำอ้แวกรร่รคงงาติย่าง่ักญกมรกอใานสัยรยทโรปกะใ่าก้ังเนดรงปรใาเะับภน่ง็นรรดผใา่งแทจสบัดลพงุดจุ ผใว่ก่กรเนรลนารวาติรภิ่มกมรปอาตาเรรรปยพ้นะะปา็่นขรดเรมงวอจับะเินมงุดรเปมง่เรรนิดะ่ิมว่เIตทTน้นศA จงึ ครวะรดเับรมิ่ปจราะกเทกศารจจึงดัคทวรำ� เมรา่ิมตจรากกการาสรจง่ เัดสทรามิ มคาณุตรธกรารรมสแ่งลเสะรคิมวคาุณมโธปรรรง่มใแสลภะาคยวใานมหโปนรว่ ่งยใงสาภนาย(ใขนอ้ หนo่ว4ย2ง)านเพ(ขอื่ ้อคน้ oห42า)ประเดน็ ท่ีเปเพ็นื่อขค้อ้นบหกาพประ่อเงดห็นรทือี่เปจ็นุดขอ้อ่อบนกทพี่ตร่้องหเรร่งือแจกุด้ไอข่อนจทาี่ตก้อนง้ันเรจ่งึงแก�ำ้ไขหนจาดกมนา้ันตจรึงการหแนลดะมใาชต้กรการารเปแลิดะเผใชย้กขา้อรเมปูลิดแเผลยะบริการ สาธขาอ้ รมณูละแตละาบมรแกิบาบรสOาธITารเณปะน็ ตเคามรแอ่ื บงมบอื OในITกเาปร็นพเฒัครน่อื างแมลือะในยกการระพดัฒบั นหานแว่ลยะงยากนรตะดอ่ บัไปหน่วยงานต่อไป สัดสว่ นคะแนนแบบตรวจการเปิดเผยข้อมลู สาธารณะ (OIT) รายตวั ชว้ี ดั ย่อย 10.2 มาตรการภายใน 9.1 ข้อมูลพ้ืนฐาน เพอ่ื ปอ้ งกันการทจุ ริต 4 คะแนน 9.2 การบรหิ ารงาน 10 คะแนน 4 คะแนน 9.3 การบรหิ ารเงิน งบประมาณ 4 คะแนน 10.1 การดาเนนิ การ 9.4 การบริหารและ เพ่อื ปอ้ งกันการทจุ รติ พฒั นาทรพั ยากรบุคคล 10 คะแนน 4 คะแนน 9.5 การสง่ เสรมิ ความโปร่งใส 4 คะแนน แแผผนนภภูมูมิททิ ่ีี่ 190สสดั ดั สส่วว่ นนคคะะแแนนนนแแบบบบตตรรววจจกการาเรปเปิดเดิ ผเยผขย้อขม้อูลมสูลาสธาารธณาระณ(แะบ(บแบOบIT)OรITาย)ตรัวาชยี้วตัดัวยชอ่ ีว้ ยดั ย่อย 9.1 ข้อมลู พ้ืนฐานตัวตชวั ช้ีวว้ีดั ัดยยอ่ อ่ ยย คคะะแแน0น.น4นต4ต่อข่อ้อข้อ จาจนำว9�นนวขนอ้ ขอ้ คะแคนะนแรนา4นยรตาัวยชวี้ตัดวั ชี้วดั 0.05.044 8 9 44 9.19ข.2อ้ มกาูลรพบืน้ รหิฐาานรงาน 0.05.750 7 8 44 9.29ก.3ารกบารบหิ ราิหรางราเนงนิ งบประมาณ 110...01082..0505070 4 4 99..43919กก0..45าา.1รรกกบบกาารรรราบสริหิหป่งราาเิหอ้รรสางแเรงกรมิลนิแันคะลงกวพบะาาฒัพรปมทัฒโรนปจุะนารรมทาง่ติ าทใรสณรพั ัพยยาากกรรบบคุ ุคคคลล 5 7 4 4 9.51ก0า.2รสม่งาเตสรรกมิ าครภวาามยใโนปเรพ่ง่ือใสป้องกนั การทจุ รติ 8 4 10 4 10.1 การปอ้ งกนั การทุจริต รวม 5.00.080 2 5 10 4 1.25 43 8 40 10 10ร.า2ยงมานาตคุณรกธรารรมภแาลยะคในวาเมพโป่ือรปง่ ้อใสงขกอนังหกนาว่ รยทงาุจนรภติ าครฐั ปีงบประมาณ 5พ.ศ0.02563 2 1303 รวม 43 40 38 รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 Integrity and Transparency Assessment Report 2020


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook