Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือแนวทางการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

คู่มือแนวทางการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

Published by Charanya Sriprai, 2021-01-28 08:29:56

Description: คู่มือแนวทางการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

Search

Read the Text Version

47 3. ตัวอยา่ งมาตรการป้องกนั การรับสนิ บน 3.1 การจัดทาแนวทางปฏิบัติที่ดีเพ่ือป้องกันการรับสินบน อะไรทาได้ อะไรทาไม่ได้ (Do & Don, t) การให้หรือรับของขวัญ ทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อื่นใด การรับเลี้ยง รับรอง ค่าอานวยความสะดวก การใหบ้ ริการประชาชน การขอรบั บริจาค การขอรบั เงนิ สนับสนนุ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นต้น ● ในการไปปฏิบัติหน้าท่ี เช่น การตรวจรับ การตรวจสถานที่เพ่ือพิจารณาอนุมัติ/อนุญาตต่างๆ การสอบสวนตามข้อร้องเรียน ห้ามรับเลี้ยง หรือให้มีการจัดเล้ียงรับรอง เล้ียงต้อนรับ กรณีมีความจาเป็นที่ ไมส่ ามารถหลกี เลย่ี งได้ ให้ยึดหลักความเหมาะสม ● ในการไปปฏิบัติหน้าที่ เช่น การตรวจรับ การตรวจสถานที่เพื่อพิจารณาอนุมัติ/อนุญาตต่างๆ การตรวจสถานท่ีเพื่อพิจารณาอนุมัติ/อนุญาตต่างๆ การสอบสวนตามข้อร้องเรียน ห้ามรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ใหป้ ฏเิ สธการรับทุกรณี ● ห้ามให้ผ้ปู ระกอบการส่งรถมารับ หรือชื้อต๋ัวโดยสารเครื่องบิน รถ เพ่ืออานวยความสะดวก ในการเดินทางไปราชการเพ่อื ตรวจสถานที่ในการขอรบั ใบอนุญาตต่างๆ ● การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความสัมพันธ์อันดี เน่ืองใน โอกาสตามขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม หรือมารยาทท่ีถือปฏิบัติกันในสังคม และของท่ีให้มีมูลค่า ไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท สามารถให้และรบั ได้ โดยให้รายงานผบู้ งั คบั บญั ชาโดยเรว็ ● ห้ามรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใด จากบุคคลท่ีไม่ใช่ญาติหรือจากการให้ ในลักษณะที่ ไม่เป็นการท่ัวไป หากแต่มีความจาเป็นต้องรับไว้เพื่อรักษาความสัมพันธ์อันดี รักษาไมตรีและมิตรภาพ และเป็นการให้ม่ีมีมูลค่า หรือราคาเกินกว่า ๓,๐๐๐ บาทของการให้ในแต่ละครั้ง ในแต่ละโอกาส ต่อคนต่อครั้ง เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นจะต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาสูงสุดของตน หรือผู้มีอานาจแต่งต้ังถอดถอน หรือตอ่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. แลว้ แต่ละกรณี ● หา้ มรับเงนิ แมจ้ านวนเลก็ น้อยที่จ่ายใหแ้ กเ่ จา้ หน้าที่ของรัฐอย่างไม่เป็นทางการ และเป็นการ ใหเ้ พียงเพอื่ ให้ม่ันใจว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐจะดาเนินตามกระบวนการ หรือเป็นการกระตุ้นให้ดาเนินการรวดเร็วขึ้น โดยกระบวนการน้ันไม่ตอ้ งอาศยั ดลุ ยพินิจพงึ จะไดต้ ามกฎหมายอยแู่ ล้ว เชน่ การขอใบอนุญาต และการได้รับ บรกิ ารสาธารณะ เป็นตน้ การรับคา่ อานวยความสะดวกมีความเส่ียงสูงท่ีจะกลายเปน็ การรบั สินบน ● มาตรการอ่ืนๆ เช่น การจัดทาประกาศในการจัดช้ือจัดจ้าง/สัญญาจ้าง ให้กาหนดเป็น ลายลักษณ์อักษรเป็นเง่ือนไขว่า หากพบว่าผู้เสนอราคา/คู่สัญญา/คนกลาง/มีการฝ่าฝืนในการกระทาการ ทจุ ริตในการจ่ายสนิ บนถอื ว่าเป็นความผดิ อาญาทั้งผใู้ ห้และผู้รบั 3.2 การรับรองตนเอง หน่วยงานอาจจัดเป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดข้อปฏิบัติต่างๆ ในการ ปฏบิ ตั งิ านท่จี ะไม่เขา้ ไปเกี่ยวข้องกับการรบั หรอื ใหส้ นิ บนไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม เป็นตน้ 3.3 จัดทาข้อความหรือแสดงสญั ลักษณ์ท่ีแสดงถงึ การประกาศตนไม่รับของขวัญ สินน้าใจทุกรูปแบบ ณ จุดทใ่ี หบ้ รกิ าร และประชาสมั พันธ์ส่อื สารผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ ทีเ่ หมาะสม 3.4 การบันทึกภาพ/เสียง การจัดเก็บหลักฐานเพ่ือสามารถตรวจสอบ หรือมีระบบสืบค้นย้อนกลับ (Traceability) กบั ผมู้ าขอรบั บรกิ ารไดอ้ ย่างรวดเร็ว คู่มอื แนวทางการประเมนิ ความเสย่ี งการทจุ ริตสาหรบั ภาครฐั และภาคธุรกจิ เอกชน

48 สว่ นท่ี 5 แนวทางการประเมินความเส่ียงการทจุ รติ ของภาคเอกชน การป้องกันและแก้ปัญหาการทุจริต ปราศจากสินบนนั้น จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจาก ท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ในสว่ นที่ 3 ได้จดั ทาแนวทางการประเมินความเส่ียงการทุจริต ของภาครัฐแล้ว และในส่วนท่ี 5 เป็นแนวทางการประเมินความเส่ียงการทุจริตสาหรับภาคธุรกิจเอกชน เฉพาะในการตดิ ตอ่ การขอรับบริการจากภาครฐั ซง่ึ ภาคเอกชนมีโอกาสเป็นผู้ให้สินบน อันเป็นการเพ่ิมต้นทุน และนอกจากน้ัน ยังมีความผิดตาม พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม และตามประมวลกฎหมายอาญา ซ่ึงมีโทษทั้งปรับและจาคุก ต้ังแต่ 5 ปี ถึง 20 ปี หรือจาคุกตลอดชีวิต อีกท้ังเป็นการเพ่ิมภูมิคุ้มกัน การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีเพ่ือการดาเนินธุรกิจ อย่างยั่งยืน การให้สินบนดังกล่าวจะต้องเป็นการให้เพื่อจูงใจให้กระทาอันมิชอบด้วยหน้าที่ รวมถึงการให้สินบน ผา่ นตวั กลาง โดยมีเจตนาเพ่ือมอบให้กับเจ้าหน้าที่รัฐ แม้ว่าผู้ให้จะไม่ได้ให้สินบนแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยตรง ก็ตาม โดยมีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่ีเกี่ยวกับความรับผิดสาหรับบุคคลที่ให้สินบนเจ้าหน้าท่ีของรัฐ มาตรา ๑๗๖ ผู้ใดให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้ ทรพั ยส์ นิ หรือประโยชน์อนื่ ใดแก่เจ้าพนักงานของรฐั เจา้ หน้าท่ขี องรัฐต่างประเทศ หรือเจ้าหน้าที่ขององค์การ ระหว่างประเทศ เพ่ือจูงใจให้กระทาการ ไม่กระทาการหรือประวิงการกระทาอันมิชอบด้วยหน้าท่ี ต้องระวางโทษ จาคกุ ไม่เกินห้าปี หรอื ปรบั ไมเ่ กินหนึ่งแสนบาทหรอื ทง้ั จาทั้งปรับ ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นบุคคลท่ีมีความเก่ียวข้องกับนิติบุคคลใดและกระทา ไปเพ่ือประโยชน์ของนิติบุคคลน้ัน โดยนิติบุคคลดังกล่าวไม่มีมาตรการควบคุมภายในท่ีเหมาะสมเพ่ือป้องกัน มิให้มีการกระทาความผิดนั้น นิติบุคคลน้ันมีความผิดตามมาตราน้ี และต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หน่ึงเท่า แต่ไมเ่ กินสองเท่าของคา่ เสยี หายทีเ่ กดิ ขน้ึ หรอื ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ นิติบุคคลตามวรรคสอง ให้หมายความถึงนิติบุคคลท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและนิติบุคคล ทต่ี ัง้ ข้นึ ตามกฎหมายตา่ งประเทศท่ีประกอบธุรกจิ ในประเทศไทย บุคคลที่มีความเก่ียวข้องกับนิติบุคคลตามวรรคสอง ให้หมายความถึงผู้แทนของนิติบุคคล ลูกจ้างตัวแทน บริษัทในเครือ หรือบุคคลใดซึ่งกระทาการเพ่ือหรือในนามของนิติบุคคลน้ัน ไม่ว่าจะมีหน้าที่ และอานาจในการนน้ั หรอื ไมก่ ็ตาม สาหรับแนวทางการประเมินความเส่ียงการทุจริตตามคู่มือดังกล่าวนี้ มุ่งเน้นเฉพาะกรณีความ เสี่ยงภาคธุรกิจเอกชนที่มีการทุจริตกับภาครัฐเท่านั้น ไม่ได้รวมถึงการทุจริตภายในของบริษัทเอกชน เช่น การตกแตง่ บญั ชี การยักยอกเงนิ ค่มู ือแนวทางการประเมินความเสยี่ งการทุจริตสาหรบั ภาครฐั และภาคธุรกิจเอกชน

49 สาเหตุหลกั ของการทจุ ริตของภาคธุรกิจเอกชนกับภาครัฐ 1. เพ่ือซ้ือความเร็ว 2. เพอ่ื ซ้ืองาน/ธุรกิจ 3. เพ่อื ให้ไดร้ บั การยกเวน้ ทางกฎหมาย รูปแบตา่ งๆ ของการทจุ รติ เงินสด ของขวัญ การเลย้ี งรับรอง เงนิ ทอน ค่าอานวยความสะดวก เงนิ บรจิ าค การเปน็ ผู้สนบั สนนุ เปน็ ต้น 1. ขน้ั ตอนการประเมนิ ความเสี่ยงการทุจริต สาหรบั ภาคธรุ กิจเอกชน แบง่ ออกเปน็ ๓ ขั้นตอน ดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี 1 การระบุความเส่ียงและสถานะความเส่ยี ง ข้นั ตอนที่ ๒ การจัดทามาตรการป้องกันความเสยี่ ง ขัน้ ตอนท่ี ๓ การติดตามประเมินผลมาตรการป้องกันความเส่ียง ขนั้ ตอนท่ี 1 การระบุความเสี่ยงและสถานะความเส่ียง ทาการค้นหาความเส่ียงจากกระบวนงานที่มีความเส่ียงทุจริตภาคเอกชนต้องค้นหาความ เส่ียง ของธุรกิจท่ีเอกชนดาเนินการทุกประเภทของธุรกิจท้ังหมดว่าเก่ียวข้องกับหน่วยงานภาครัฐกระบวนการใด โดยระบุโอกาสหรือความเส่ียงท่ีอาจนาไปสู่การทุจริตหรือการจ่ายสินบนในแต่ละกระบวนการดาเนินธุรกิจ (Business Proces) ของธุรกิจต่างๆ ต้ังแต่ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า อธิบายว่าสาเหตุท่ีมีโอกาสจ่ายสินบน เพ่ืออะไร เช่น ซือ้ ความสะดวก เพ่ือให้รวดเร็วซ้ืองาน/ธุรกิจ หรือเพ่ือให้ได้รับยกเว้นทางกฎหมายการจ่ายใน รูปแบบใด เช่นซ้อื ความสะดวก เพ่ือให้รวดเร็วซ้ืองาน/ธุรกิจ หรือเพื่อให้ได้รับยกเว้นทางกฎหมายการจ่ายใน รปู แบบใด เชน่ เงนิ ของขวัญ เล้ยี งรับรอง ฯลฯ และนามาประเมินสถานะความเสี่ยงว่าอย่ใู นดบั ใด ⚫ สถานะสเี ขยี ว : ความเสย่ี งระดับต่า ⚫ สถานะสีเหลอื ง : ความเสี่ยงระดับปานกลาง ⚫ สถานะสสี ม้ : ความเสี่ยงระดบั สูง ⚫ สถานะสีแดง : ความเสย่ี งระดับสูงมาก คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสย่ี งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

50 ตารางที่ 1 การระบคุ วามเสีย่ งและสถานะความเส่ียง ท่ี ประเภทธรุ กจิ หนว่ ยงานรัฐ/ โอกาส/ความเส่ยี ง สถานะความเสย่ี งการทจุ ริต กระบวนงาน รูปแบบพฤติการณ์ความ เขียว เหลือง ส้ม แดง ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง เสีย่ งการทุจริต อธิบายว่าสาเหตุที่มีโอกาสจ่าย สินบน เพ่ืออะไร เช่น ซ้ือความ สะดวก เพ่ือให้รวดเร็วซื้องาน/ ธุรกิจ หรือเพ่ือให้ได้รับยกเว้น ทางกฎหมายการจา่ ยในรูปแบบ ใด เช่น ซ้ือความสะดวก เพ่ือให้ รวดเร็วซื้องาน/ธุรกิจ หรือ เพอื่ ให้ได้รับยกเวน้ ทางกฎหมาย การจ่ายในรูปแบบใด เช่น เงิน ของขวัญ เลยี้ งรับรอง ฯลฯ ข้ันตอนท่ี ๒ การจดั ทามาตรการปอ้ งกนั นาข้อมูลจากการประเมินสถานะความเส่ียงจากตารางที่ ๑ ที่มีความเส่ียงสูงโดยเฉพาะสีส้ม และ สีแดง เพื่อจัดทามาตรการป้องกันการจ่ายสินบน หรือมาตรการป้องกันการทุจริตให้สอดคล้องกับผลการ วเิ คราะห์หรือการประเมนิ และตรวจสอบว่ามาตรการหรอื แนวทางการป้องกันความเสี่ยงที่บังคับใช้ในปัจจุบัน มีหรือไม่ กรณีมีมาตรการหรือแนวทางให้ระบุรายละเอียด (Key Controls in place) และพิจารณาจัดทา มาตรการเพ่ิมเติม (Further Actions to be Taken) ซึ่งควรประเมินประสิทธิภาพของมาตรการที่มีอยู่ใน ปจั จบุ ันวา่ ดี พอใช้ หรอื อ่อนกรณีมาตรการทม่ี ีอยใู่ นปัจจุบันไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ หรือยังไม่มีมาตรการ ต้องกาหนดมาตรการเพ่ิมเติม และทาการขับเคลื่อน กากับ ติดตาม บังคับใช้ และ ประเมินผล โดยการประเมิน ประสทิ ธภิ าพ ของมาตรการปอ้ งกนั หรือมาตรการควบคมุ ความเส่ยี ง แนวทางพิจารณา ดงั นี้ ✓ ดี : การควบคุมมคี วามเข้มแขง็ และดาเนนิ ไปไดอ้ ย่างเหมาะสม ซงึ่ ช่วยใหเ้ กิดความมนั่ ใจ ได้ในระดบั ทีส่ มเหตสุ มผลว่าจะสามารถลดความเสี่ยงการทุจรติ ได้ ✓ พอใช้ : การควบคมุ ยงั ขาดประสิทธภิ าพ ถึงแมว้ ่าจะไมท่ าให้เกดิ ผลเสยี หายจากความเส่ียง อยา่ งมีนยั สาคญั แตก่ ค็ วรมีการปรับปรุงเพือ่ ใหม้ ่นั ใจวา่ จะสามารถลดความเสย่ี งการทจุ ริตได้ ✓ ออ่ น : การควบคุมไม่ได้มาตรฐานที่ยอมรับได้เนื่องจากมีความหละหลวมและไม่มีประสิทธิผล การควบคุมไม่ทาใหม้ นั่ ใจอย่างสมเหตุสมผลวา่ จะสามารถลดความเสย่ี งการทจุ ริตได้ คู่มือแนวทางการประเมินความเสยี่ งการทุจรติ สาหรบั ภาครัฐ และภาคธุรกิจเอกชน

51 ตารางท่ี ๒ การจัดทามาตรการปอ้ งกนั ความเสยี่ ง ท่ี ประเภทธรุ กจิ หนว่ ยงานรฐั / โอกาส/ความเสีย่ ง มาตรการป้องกนั ความเสย่ี ง กระบวนงาน รปู แบบพฤติการณ์ความเส่ียง การทจุ ริต ท่เี กี่ยวข้อง การทุจริต อธิบายว่าสาเหตุท่ีมีโอกาสจ่าย สินบน เพ่ืออะไร เช่น ซ้ือความ สะดวก เพ่ือให้รวดเร็วซ้ืองาน/ ธุรกิจ หรือเพ่ือให้ได้รับยกเว้น ทางกฎหมายการจ่ายในรูปแบบใด เชน่ ซื้อความสะดวก เพื่อให้รวดเร็ว ซ้ืองาน/ธุรกิจ หรือเพ่ือให้ได้รับ ยกเว้นทางกฎหมายการจ่ายใน รูปแบบใด เช่น เงิน ของขวัญ เลี้ยงรับรอง ฯลฯ ขัน้ ตอนท่ี ๓ การรายงานการตดิ ตามประเมินผล เป็นการติดตาม ประเมินว่าหลังจากมีการใช้มาตรการป้องกันความเสี่ยงการทุจริตไปแล้วตาม มาตรการในตารางที่ ๒ ว่าอยู่ในสถานะความเสีย่ งระดับใดหลังจากท่มี ีการบงั คบั ใช้มาตรการดงั กลา่ วไปแลว้ เพอื่ พิจารณาทากจิ กรรมเพิ่มเตมิ กรณีอยู่ในข่ายที่ยงั แกไ้ ขไม่ได้ หรอื มาตรการใช้ไม่ไดผ้ ล ✓ สถานะสเี ขยี ว : ไมเ่ กดิ กรณีที่อยใู่ นข่ายความเส่ียง ยังไมต่ ้องทากจิ กรรมเพิ่ม ✓ สถานะสเี หลือง : เกดิ กรณีทอ่ี ยใู่ นขา่ ยความเสี่ยง แต่แกไ้ ขไดท้ นั ทว่ งที ตามมาตรการ/นโยบาย/ โครงการ/กิจกรรมทเ่ี ตรียมไว้ แผนใชไ้ ดผ้ ล ความเส่ยี งการทจุ รติ ลดลง ✓ สถานะสแี ดง : เกดิ กรณีท่ีอยูใ่ นข่ายยังแก้ไขไม่ได้ ควรมมี าตรการ/นโยบาย/โครงการ/กิจกรรม เพิม่ ข้ึนแผนใชไ้ ม่ไดผ้ ล ความเส่ียงการทจุ รติ ไมล่ ดลง ตารางที่ ๓ ตารางการติดตาม ประเมนิ ผล หนว่ ยงานรัฐ/กระบวนงาน สถานะความเส่ียง เขยี ว เหลอื ง แดง ที่ ทเ่ี ก่ียวข้อง/โอกาส/ความ มาตรการป้องกันความเสย่ี ง เสี่ยงรปู แบบพฤตกิ ารณ์ การทจุ รติ ความเสี่ยงการทจุ รติ คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสย่ี งการทุจรติ สาหรับภาครัฐ และภาคธุรกิจเอกชน

52 สาเหตุหลกั ของการจา่ ยสนิ บน ตอ้ งการสะดวก ตอ้ งการแกผ้ ดิ ตอ้ งการไดง้ าน/ รวดเร็ว ใหเ้ ป็ นถกู ธรุ กจิ 2. ตวั อยา่ ง การพฒั นา/ปรบั ปรงุ นโยบายกระบวนการทางธุรกจิ Further Action to be Taken ANTI – bribery & corruption policy 1. จัดอบรมพนกั งานเพ่ือทดสอบความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั Dode of Conduct และ Anti – Updating the Policy Corruption Policy ประจาทุกปี ๒. มีการทาแผนย่ืนขอเอกสารเพ่ือควบคุมข้ันตอน ● ระเบยี บ/แนวปฏิบตั ขิ องพนักงาน การขอแบ่งโฉนด ระยะเวลาขอค่าธรรมเนียม ในการดาเนนิ งานกบั หน่วยงานรฐั ฯ และเอกสารที่ต้องใช้ เพื่อให้มีเวลาเพียงพอและ พรอ้ มในการย่ืน ● การให้หรอื การรับของขวัญ ของกานลั 3. จัดให้มี Documentation ในการทาธุรกรรม / การเลี้ยงรับรอง กับภาครัฐฯ เชน่ การบันทึกภาพ – เสียงฯลฯ 4. สบั เปล่ียนเจา้ หน้าท่ใี นการไปตดิ ตอ่ กับหนว่ ยงาน ● การบริจาคเพอ่ื การกุศล ราชการ เพื่อป้องกันการรู้จักและสร้างความ ● การให้เงนิ สนบั สนุน สนิทสนม ● การใหค้ วามช่วยเหลือทางการเมอื ง 5. กาหนดใหผ้ บู้ ริหารในแตล่ ะหน่วยงานทบทวน ● ความขดั แย้งทางผลประโยชน์ ขั้นตอนปฏิบตั งิ านทุกๆ 1 ปี และสอ่ื สารให้พนักงาน ● ค่าอานวยความสะดวก รบั ทราบ ● การใชต้ ัวแทน ตัวกลางทางธุรกิจ 6. IA สมุ่ ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน 7. จัดใหม้ ีกระบวนการทชี่ ัดเจนในการย่ืนเร่ืองไป ยังองค์กรท่ีเก่ียวข้องกับการปราบปรามคอร์รัปชัน ในกรณีท่ีบริษทั ถกู เจา้ หนา้ ท่รี ัฐฯ ประวิงเวลาเพ่ือ หวงั เรียกรับสินบน คูม่ อื แนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรับภาครัฐ และภาคธุรกจิ เอกชน

53 ตัวอยา่ ง มาตรการป้องกนั ความเสยี่ งการทจุ ริตเพมิ่ เตมิ ควรปรับปรุง จดั ให้มคี มู่ ือจรยิ ธรรมธรุ กิจและนโยบำย จัดอบรมเพื่อทดสอบควำมเขำ้ ใจเก่ยี วกับจริยธรรม ธุรกิจและนโยบำยตอ่ ตำ้ นกำรทจุ รติ เป็นประจำทุกปี ตอ่ ต้ำนกำรทจุ ริต กำหนดใหผ้ บู้ ริหำรในแตล่ ะหน่วยงำนทบทวน กาหนดให้ผ้บู รหิ ารในแตล่ ะหน่วยงานทบทวน ขั้นตอนปฏิบัตงิ ำนทุกๆ ๑ ปี และส่ือสำรให้พนกั งำน ควรปรบั ปรุง ขน้ั ตอนปฏบิ ัตงิ านทุกๆ 3 ปี และสอ่ื สาร ทรำบ ให้พนักงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งรับทราบ จดั ให้มี Documentation ในกำรทำธรุ กรรมกับ จัดใหม้ กี ารเกบ็ รกั ษาหลกั ฐาน การจา่ ยเงินท่ี ภำครัฐ เชน่ กำรบนั ทกึ ภำพ – เสียง ฯลฯ ปานกลาง แสดงมูลค่าของขวญั ของกานัล หรอื สับเปลย่ี นเจ้ำหน้ำที่ไปตดิ ต่อกับรำชกำรเพื่อปอ้ งกัน ประโยชนอ์ น่ื ใด เพอ่ื ตรวจสอบไดใ้ นภายหลงั กำรร้จู ักและสร้ำงควำมสนทิ สนม กาหนดอานาจอนมุ ตั ิจา่ ยหรือใหข้ องขวัญ ทาแผนเตรียมเอกสารใหค้ รบถว้ น ในการย่นื ขออนมุ ัติ อนุญาตในการขอรบั บริการกบั หนว่ ยงาน นา่ พอใจ ตามตาแหน่งและงบประมาณ Internal Audit สุ่มตรวจสอบเอกสำรหลักฐำน จัดให้มกี ระบวนกำรท่ีชดั เจนในกำรย่นื เรอ่ื ง ไปยังองคก์ รทเ่ี ก่ยี วข้องกับกำรปรำบปรำมทจุ รติ ในกรณีท่บี รษิ ัทถกู เจำ้ หนำ้ ท่รี ัฐฯ ประวงิ เวลำ เพือ่ หวังเรียกรับสินบน คมู่ อื แนวทางการประเมินความเสย่ี งการทุจริตสาหรับภาครัฐ และภาคธุรกิจเอกชน

54 รปู แบบต่างๆ ของสินบน จงใจให้ (Willing to offer) ถกู ข่มขู่ – รีดไถ (Being extorted) Bribery ● เงินสด ● ของขวัญ/การเลยี้ งรบั รอง ● เงนิ ทอน (Kickbacks) ● ค่าอานวยความสะดวก ● การเป็นผ้สู นบั สนุน ● เงนิ บริจาค/การกศุ ล ● สินนา้ ใจ (Illegal Gratuities) ● การใช้ตัวแทน/คนกลาง ● การช่วยเหลือทางการเมือง 3. ตัวอย่าง แนวทางปฏิบัติต่อหน่วยงานราชการ การป้องกันความเส่ียงการทุจริต การให้หรือ รบั สินบนของภาคธุรกจิ เอกชน บริษัท...... มุ่งมั่นที่จะดาเนินธุรกิจด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต มีคุณธรรม โดยยึดมั่นและให้ ความสาคัญในการดาเนินธุรกิจ และรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ตามหลักจรรยาบรรณ ทางวิชาชีพ หลักจริยธรรมและคุณธรรมท่ีดี หลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของท้ัง ภาครัฐและภาคเอกชน และข้อพึงปฏิบัติในการทางานของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัดในทุกกิจกรรมที่มีส่วน เก่ียวข้องกับการดาเนินธุรกิจ ปฏิเสธ และต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึง การปลูกจิตสานึกให้บุคลากรยึดม่ันในจรรยาบรรณ จริยธรรมและคุณธรรมในการให้บริการอยู่เสมอ จึงเห็น ควรกาหนด “นโยบายและแนวทางการป้องกันการทุจริต” เพอ่ื เปน็ แนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนในการดาเนิน ธุรกิจ และพัฒนาสู่องค์กรแห่งความย่ังยืน รวมถึงเป็นการป้องกันกับทุกกิจกรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนเพ่ือให้เกิดความมน่ั ใจวา่ การตัดสินใจและการดาเนินการทางธุรกิจ ที่อาจมีความเส่ียงด้านการทุจริต ได้รับการพจิ ารณาและปฏบิ ัตอิ ยา่ งรอบคอบ ดงั นี้ คูม่ อื แนวทางการประเมินความเสย่ี งการทุจรติ สาหรบั ภาครัฐ และภาคธุรกิจเอกชน

55 3.1 นโยบายต่อต้านการทจุ รติ บริษัทฯ กาหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ บริษัทในกลุ่ม รวมถึงลูกจ้าง ตัวแทน บริษัท ในเครือ หรือบุคคลใดซึ่งกระทาการเพ่ือหรือในนามของบริษัทฯ ไม่ว่าจะมีอานาจหน้าท่ีใน การนั้นหรือไม่ก็ตาม ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต และโปร่งใส และไม่กระทาการใดๆ เพ่ือแสวงหา ผลประโยชน์เพื่อตนเองและบุคคลท่ีเก่ียวโยงกัน รวมถึงต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และตามนโยบายต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเคร่งครัด ไม่เรียกร้อง หรือดาเนินการ หรือสนับสนุน หรือยอมรับการให้สินบน หรือการคอร์รัปชันทุกรูปแบบและทุกกิจกรรมท่ีอยู่ภายใต้การดูแล เพื่อประโยชน์ต่อตนเองและบุคคล ที่เก่ียวข้อง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม รวมถึงการควบคุม การบริจาคเพ่ือการกุศล การให้ของขวัญ ทางธุรกิจ และการสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ต้องมีความโปร่งใส ไม่มีเจตนาเพื่อโน้มน้าวให้เจ้าหน้าท่ีภาครัฐ หรือภาคเอกชนดาเนินการที่ไม่เหมาะสม โดยครอบคลุมถึงธุรกิจในทุกประเภทและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พรอ้ มท้งั ให้การสนับสนนุ หรอื ส่งเสริมลูกค้า คู่ค้า ผู้รับจ้าง หรือผู้รับจ้างช่วง ผู้มีส่วนได้เสียหรือผู้เกี่ยวข้องอ่ืน ท่ีดาเนินธุรกิจกับบริษัทฯ ให้มีแนวทางปฏิบัติเช่นเดียวกันกับบริษัทฯ เพื่อให้การดาเนินการด้านการต่อต้าน การทุจรติ บรรลตุ ามนโยบายทก่ี าหนด ท้ังนี้ กาหนดให้มีการประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริตในกระบวนการปฏิบัติงานที่อาจ ก่อให้เกดิ การทุจริต และกาหนดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการทุจริต อย่างสม่าเสมอ เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงของธุรกิจ ระเบยี บ ข้อบังคบั และขอ้ กาหนดของกฎหมาย 3.2 แนวทางปฏิบัติตอ่ หนว่ ยงานราชการ 1. ปฏิบตั ิตามกฎหมายและระเบยี บปฏิบตั ิทเี่ กย่ี วขอ้ งอย่างเคร่งครัด 2. การทาธุรกรรมกับรัฐ เมื่อติดต่อกับเจ้าหน้าที่ ต้องมีการดาเนินการอย่างถูกต้อง ตรงไป ตรงมาไมก่ ระทาการใดๆ ท่ีอาจจูงใจใหเ้ จา้ หนา้ ที่ดาเนินการหรือละเวน้ ดาเนนิ การ 3. การทาความรู้จักหรือการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันตามวาระโอกาส เทศกาล หรือตามประเพณปี ฏบิ ัติ หากอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสมสามารถกระทาได้ 4. การให้การสนับสนุนกิจกรรมของราชการ การบริจาคทรัพย์สิน สามารถทาได้โดยผ่าน กระบวนการขออนุมัตทิ ีถ่ กู ต้องโปร่งใส และภายในวงเงนิ ทเี่ หมาะสม 3.3 แนวทางปฏิบตั ิในการรบั หรอื ให้ของขวัญ ทรัพยส์ ิน หรือผลประโยชน์อ่ืนใดที่อาจสรา้ งแรงจูงใจใน การตัดสนิ ใจอย่างใดอยา่ งหน่งึ 1. ค่าของขวัญ หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการดาเนินกิจกรรมของบริษัทเพ่ือสร้างความสัมพันธ์ อันดีหรือบางโอกาส ถือเป็นการแสดงออกของมารยาททางสังคม ซึ่งค่าของขวัญอาจอยู่ในหลากหลาย รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น เงิน สินค้า บริการ บัตรกานัล เป็นต้น ซ่ึงค่าใช้จ่ายดังกล่าวอาจถือเป็นสินบนหากเป็น การให้เพ่ือจูงใจเจ้าหน้าทขี่ องรัฐใหก้ ระทาการอันมชิ อบด้วยหน้าท่ี คมู่ อื แนวทางการประเมินความเสยี่ งการทจุ รติ สาหรับภาครฐั และภาคธรุ กจิ เอกชน

56 2. ไม่พึงรับหรือให้การเล้ียงรับรอง ของขวัญ/ของท่ีระลึก และค่าใช้จ่ายอ่ืนใด ที่เกินความ จาเป็นและไม่เหมาะสมกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ หรือบุคคลที่ทาธุรกิจกับบริษัทฯ ทั้งน้ีการรับและให้ดังกล่าวท่ี เป็นไปตามธรรมเนียมปฏิบัติ ตามประเพณี วัฒนธรรม หรือมารยาททางสังคม ถือเป็นเร่ืองที่ยอมรับได้ แต่ต้องสมเหตุสมผล มีความเหมาะสม เป็นไปตามนโยบาย ระเบียบ และธรรมเนียมปฏิบัติตามประเพณี ในแต่ละโอกาส โดยเกบ็ รกั ษาหลกั ฐานการใชจ้ ่ายเงนิ มกี ารบันทกึ คา่ ใช้จ่ายตามที่ได้ใช้จ่ายจริง และมีใบเสร็จ หรอื หลักฐานรับรอง เพือ่ ตรวจสอบได้ในภายหลัง 3. ไม่เรียกรับหรือให้เงิน ทรัพย์สิน ส่ิงของ หรือประโยชน์อื่นใด กับผู้เก่ียวข้องทางธุรกิจ ที่อาจทาให้เกิดอิทธิพลในการตัดสินใจอย่างหนึ่งอย่างใดโดยไม่เป็นธรรม หรือมีเจตนาเพ่ือชักนาให้กระทา หรอื ละเว้นการกระทาท่ีไมถ่ กู ต้อง หรอื เพอื่ แลกเปลย่ี นกับสทิ ธพิ เิ ศษทไ่ี ม่พึงได้ 3.4 แนวทางปฏบิ ตั ใิ นเร่อื งการเลยี้ งรับรอง 1. คา่ รับรอง หมายถึง ค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินกิจกรรมของบริษัทเพื่อสร้างความสมั พนั ธอ์ ันดี หรอื บางโอกาส ถอื เป็นการแสดงออกของมารยาททางสงั คม ซ่งึ ค่ารับรองอาจรวมถึง ค่าที่พัก ค่าโดยสาร สาหรบั การเยี่ยมชมสถานทป่ี ระกอบการ หรือการศึกษาดูงาน ค่าอาหารและเครอื่ งด่ืม ซึง่ คา่ ใช้จา่ ยดงั กลา่ ว อาจถือเปน็ สินบนหากเปน็ การใหเ้ พอ่ื จูงใจเจ้าหน้าที่ของรฐั ให้กระทาการอันมชิ อบดว้ ยหนา้ ท่ี 2. ห้ามมิให้มีการเลี้ยงรับรองต่อหน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐในแต่ละโอกาส มูลค่าเกินตามที่กฎหมายกาหนด และค่าใช้จ่ายดังกล่าวต้องไม่ได้เป็นการจ่ายเพ่ือจูงใจให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ กระทาการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือการตัดสินใจใดๆ เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจของบริษัท ทั้งน้ี ต้องมีการ บันทึกคา่ ใชจ้ า่ ยตามทีไ่ ด้ใช้จ่ายจริงและมใี บเสรจ็ หรอื หลักฐานรบั รอง 3. ค่าใช้จ่ายในการเล้ียงรับรองโดยมารยาททางธุรกิจ ควรถูกใช้อย่างเหมาะสม และเป็น ค่าใช้จ่ายตามจริง ท้ังน้ี ให้รายงาน และ/หรือดาเนินการขออนุมัติต่อผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ของแต่ละ สายงาน 4. การเบิกค่าใช้จ่ายสาหรับการเล้ยี งรับรองจะต้องไมร่ วมถึงค่าใชจ้ ่ายของบุคคลในครอบครัว ของพนกั งาน 3.5 แนวทางปฏบิ ตั ิในเรอ่ื งคา่ อานวยความสะดวก 1. ค่าอานวยความสะดวก หมายถึง ค่าใช้จ่ายจานวนเล็กน้อยท่ีจ่ายแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ อยา่ งไม่เป็นทางการ และเป็นการใหเ้ พยี งเพ่อื ใหม้ นั่ ใจว่าเจ้าหน้าทข่ี องรัฐจะดาเนินการตามกระบวนการ หรือ เป็นการกระตุ้นให้ดาเนินการรวดเร็วขึ้น โดยกระบวนการน้ันไม่ต้องอาศัยดุลพินิจของเจ้าหน้าที่รัฐ และเป็น การกระทาอันชอบด้วยหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่รัฐผู้น้ัน รวมท้ังเป็นสิทธิที่บริษัทฯ พึงจะได้ตามกฎหมายอยู่แล้ว เชน่ การขอใบอนญุ าต การขอหนังสอื รับรอง และการได้รบั การบริการสาธารณะ เปน็ ตน้ คู่มือแนวทางการประเมินความเสย่ี งการทจุ ริตสาหรบั ภาครฐั และภาคธุรกิจเอกชน

57 2. บริษัทฯ ไม่มีนโยบายจ่ายเงินค่าอานวยความสะดวก อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินค่า อานวยความสะดวกสามารถกระทาได้ในกรณที ่ีพนักงานตกอย่ใู นสถานการณ์ทเี่ ปน็ ภัยคุกคามต่อรา่ งกายหรือ เชอื่ ว่าชีวติ ของตนเองกาลงั ตกอยู่ในอนั ตราย โดยเมื่อทาการจ่ายเงินดงั กล่าว จะต้องจดั ทาเอกสารเป็นลายลักษณ์ อักษร และสง่ ใหผ้ ูบ้ ังคบั บัญชาสอบทาน ทงั้ น้ี วตั ถุประสงค์และลกั ษณะของการจ่ายเงินดังกลา่ วจะต้องไดร้ บั การบันทึกข้อมูลไว้อย่างถูกต้อง 3.6 แนวทางปฏบิ ัติในการบริจาคเพอ่ื การกศุ ลและการให้เงนิ สนบั สนุน 1. บริษัทฯ สนับสนุนการบริจาคเพื่อการกุศล และการให้เงินสนับสนุนในการพัฒนาชุมชน และสังคม เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างเศรษฐกิจ และความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสังคม โดยการบริจาค เพื่อการกุศล และการให้เงินสนับสนุนต่อองค์กรการกุศลหรือหน่วยงานอื่นๆ มีข้ันตอนพิจารณา และอนุมัติ โดยคณะกรรมการบรษิ ัท หรือผ้ทู ่ีมอี านาจของบริษัท ซ่ึงจะต้องจัดทาใบบันทึกคาขอระบุช่ือผู้รับบริจาค/ผู้รับ การสนับสนุน และวัตถุประสงค์ของการบริจาค/สนับสนุนพร้อมแนบเอกสารประกอบท้ังหมดเสนอให้ผู้มี อานาจอนุมัติของบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติตามระดับอานาจอนุมัติของบริษัท โดยมีกระบวนการตรวจสอบ การติดตาม รวมท้ังมีหลักฐานหรือหนังสือตอบรับจากหน่วยงานท่ีได้รับเงินบริจาคหรือเงินสนับสนุน เพ่ือให้ การใช้เงินเป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ 2. การเป็นผู้ให้การสนับสนุนเป็นวิธีการประชาสัมพันธ์ธุรกิจของบริษัทวิธีหนึ่ง ซ่ึงแตกต่าง จากการบริจาคเพ่ือการกุศล โดยอาจกระทาได้ในหลายรูปแบบ เช่น การสนับสนุนกิจกรรมทางวัฒนธรรม ศลิ ปะ การศกึ ษา เป็นต้น 3. พนักงานต้องมีความระมัดระวังเพ่ือให้มั่นใจว่าการบริจาคเพื่อการกุศลและการเป็นผู้ให้ การสนบั สนนุ จะไมถ่ กู นาไปใชเ้ ป็นวธิ กี ารหลกี เลี่ยงในการใหส้ นิ บน ตลอดจนต้องดาเนินการอย่างโปร่งใสและ เป็นไปตามกฎหมายท่ใี ช้บังคับ คูม่ ือแนวทางการประเมินความเสยี่ งการทุจรติ สาหรับภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

58 ภาคผนวก แบบ Checklists ความเสีย่ งการทจุ ริตสาหรับหนว่ ยงานภาครัฐ หนว่ ยงานท่านมคี วามเสี่ยงการทจุ รติ แบบนีห้ รือไม่ ท่ี ตวั อย่างรูปแบบความเสยี่ งการทจุ ริต เขียว เหลอื ง สม้ แดง 1. ความเสี่ยงการทจุ ริตท่เี กีย่ วข้องกับการพจิ ารณาอนมุ ัติ อนญุ าต 1.1 เรียกรับผลประโยชน์จากผู้ขออนุญาต โดยเฉพาะการขออนุญาตก่อสร้างอาคาร/ คอนโด บ้านจัดสรร/โรงงาน 1.2 ผลประโยชนท์ ับซ้อน รบั จ้างเขียนแบบแปลน และตรวจเอง (ถึงแม้ราชการจะให้มี แบบมาตรฐาน อานวยความสะดวกใหก้ ับประชาชนก็ตาม แต่การขออนุญาตต้องมี ผงั ประกอบ จงึ ตอ้ งว่าจ้างผตู้ รวจหรอื ผอู้ นุมัติ อนญุ าต จะไดผ้ า่ นง่าย) 1.3 เจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐสมยอม หรือมสี ่วนรเู้ ห็นกับบุคคลหรือนิติบุคคลในการดาเนินการ ก่อสรา้ ง ดดั แปลง รือ้ ถอน หรอื เคล่ือนย้ายอาคารโดยมิชอบด้วยกฎหมาย 1.4 เจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั สมยอม หรือมีสว่ นรเู้ หน็ กับบุคคลหรือนิติบุคคลในการใช้อาคารท่ี ไม่ตรงกบั ใบรบั รองใบอนญุ าตหรือทย่ี ่ืนแจ้งต่อเจา้ พนกั งานทอ้ งถ่ิน 1.5 การประเมนิ ภาษที ีต่ า่ กว่าความเปน็ จริง 1.6 เรยี กรบั สินบนโดยใชต้ วั กลาง เกบ็ ค่าใชจ้ ่ายรายเดือน (ค่าคุ้มครอง) จากผู้ประกอบการ 1.7 พนักงาน เจ้าหน้าท่ีหรือลูกจ้างเหมาของหน่วยงานเป็นตัวแทนการย่ืนคาขอจด ทะเบียนในการขออนุมัติ อนุญาต โดยเรียกรับผลประโยชน์หรือเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมเพื่อสิทธิพิเศษ 1.8 การดาเนินการย่ืนคาขออนุญาต ไม่มีกรอบระยะเวลากาหนดที่ชัดเจนอาจ กอ่ ใหเ้ กดิ การเรียกรบั สนิ บนเพือ่ ความรวดเรว็ ในการพิจารณาอนมุ ัติ อนญุ าต 1.9 การเปิดตรวจสินค้าของเจ้าหนา้ ทีแ่ ตล่ ะคน ใช้ดุลพินิจไมเ่ ปน็ มาตรฐานเดยี วกัน 1.10 การใช้ดุลพินิจในการตรวจสอบความครบถ้วนของเอกสารไม่เป็นมาตรฐาน เดยี วกัน 1.11 การตรวจเอกสารไม่ครบถว้ นตามที่ระบไุ ว้ในคาขอ แตม่ กี ารรบั เร่อื งไว้ 1.12 การเกบ็ เรอ่ื งไวไ้ ม่แจง้ ผปู้ ระกอบการ เพ่ือเรยี กรับผลประโยชน์ 1.13 การพิจารณาตรวจสอบและเสนอความเห็นของการอนุมัติ อนุญาต ไม่ดาเนินการ ตามลาดบั คาขอ 1.14 ในข้ันตอนการพิจารณาตรวจสอบตามปกติจะมีการใช้เวลาในการพิจารณา ตรวจสอบ ๑ วัน แต่ในบางกรณีอาจมีความจาเป็นจะต้องทาการพิจารณาเกิน ๑ วนั ทาการ เชน่ กรณีมีความจาเป็นต้องมีการนัดหมายกับผู้ขอรับใบอนุญาตเพ่ือ ลงพื้นทที่ าการตรวจสอบสถานประกอบการ ก่อนพิจารณาออกใบอนุญาต มีความ เส่ียงท่ีเจ้าหน้าท่ีอาจอาศัยช่องว่างหรือแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ อาจเรียกรับ ในขัน้ ตอนของการพิจารณา 1.15 การดาเนนิ การออกคารอ้ งมีการลดั ควิ ใหก้ บั ลกู ค้ากลุม่ ธรุ กิจ 1.16 รับสินบนจากลูกคา้ เพอ่ื ให้ตรวจผา่ นมาตรฐาน คูม่ ือแนวทางการประเมินความเสย่ี งการทจุ ริตสาหรบั ภาครฐั และภาคธรุ กจิ เอกชน

59 ที่ ตวั อยา่ งรปู แบบความเส่ยี งการทจุ ริต เขียว เหลือง สม้ แดง 1.17 การตรวจสอบสถานท่ีตั้งท่ีขออนุญาตประกอบกิจการอาจมีการเอื้อประโยชน์ ให้กับผู้ขออนุญาตบางรายในกรณีท่ีต้ังสถานประกอบการ ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ โดยการจดั ทารายงานไมเ่ ปน็ ไปตามข้อเทจ็ จริง 1.18 การสุ่มตรวจสอบสถานท่ีตั้งสถานบริการ/สถานประกอบการท่ีขออนุญาต อาจมี การเออ้ื ประโยชน์ให้กบั ผูข้ ออนุญาตบางรายที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ 1.19 การพิจารณาอนุมัติ อนุญาต อาจมีคณะกรรมการบางท่านเอ้ือประโยชน์หรือมี ผลประโยชน์ทับซ้อนให้กับผู้ขออนุญาตบางราย ท่ีคุณสมบัติไม่ถูกต้องครบถ้วน ตามหลกั เกณฑ์ 1.20 เจ้าหน้าที่ของรฐั ทาการการปลอมแปลงเอกสารการเบิกจ่าย เช่น ปลอมลายมือช่ือ แก้ไขแบบสารวจ แก้ไขใบสาคัญรับเงิน มีการใช้หลักฐานเท็จ ใช้บัตรประชาชน ของบคุ คลทเ่ี สียชวี ติ หรือบัตรประชาชนหมดอายุ เป็นต้น 1.21 เจ้าหน้าที่เรียกรับผลประโยชน์ในระหว่างการตรวจสอบพิกัดและของก่อนตรวจ ปลอ่ ยสินคา้ 1.22 การตรวจสอบสถานประกอบการ โรงมหรสพ เก่ียวกับระบบความปลอดภัย อาจมกี ารใช้ดุลพินจิ ที่ไม่เปน็ ไปตามแบบแปลนทีเ่ คยได้รบั อนุญาต 1.23 เรียกรับ/เสนอผลประโยชน์ กรณเี อกสารไม่ครบหรอื ต้องการความรวดเร็ว 1.24 เจ้าหน้าท่ีผู้รับคาขอเป็นผู้ย่ืนคาขอแทนหรือเป็นผู้จัดเตรียมเอกสารสาหรับย่ืน คาขอใหผ้ ูป้ ระกอบการ 1.25 เจ้าพนกั งานทด่ี ินประเมินราคาทีด่ นิ อันเปน็ เท็จเพือ่ ใหร้ าคาสูงกวา่ ความเปน็ จรงิ 2. ความเสี่ยงการทจุ รติ ในความโปรง่ ใสของการใช้อานาจและตาแหนง่ หน้าที่ 2.1 การเขา้ ตรวจ หรือเยี่ยมสถานทข่ี องผ้ปู ระกอบการ เช่น โรงงาน ร้านค้าฯลฯ โดยมี เจตนา นาไปส่กู ารจ่ายเงนิ พเิ ศษรายเดือน 2.2 การเปลยี่ นแปลงข้อกล่าวหา (ฐานความผิด) จากหนกั เปน็ เบา หรือจากเบาเปน็ หนกั 2.3 การบิดผนั ข้อเท็จจริงในสานวนการสอบสวนคดอี าญา 2.4 เจ้าพนักงานเรียกรับเงินกับผู้ประกอบการร้านขายโทรศัพท์เก่ียวกับลิขสิทธ์ิ โดยเหมาจ่าย เปน็ รายเดอื น 2.5 เรียกรับเงินจากผูต้ ้องหาเพ่อื แลกกบั การปล่อยตัว 2.6 เจ้าหนา้ ทร่ี ่วมกันเรียกเกบ็ เงินรายเดอื นจากผ้ปู ระกอบการรา้ นคาราโอเกะ 2.7 การทาบัตรสนเท่ห์ว่ามีเร่ืองร้องเรียนผู้ประกอบการเพ่ือทาการตรวจค้น กรณี ผูป้ ระกอบการร้านค้าน้นั ๆ ท่ีไม่จ่ายเงินพเิ ศษรายเดือน 2.8 การใช้ตวั กลางในการรบั เงินพิเศษ หรอื เกบ็ เงนิ รายเดือนกับผปู้ ระกอบการต่างๆ 2.9 การใช้ดุลพินิจในการอนุมัติ หรือยกเว้นระเบียบฯ ท่ีเอ้ือประโยชน์มีผลประโยชน์ ทบั ซ้อน 2.10 การออกระเบยี บ กฎหมาย ข้อสง่ั การตา่ งๆ ท่ีเอ้อื ประโยชน์ มผี ลประโยชน์ ทับซ้อน 2.11 การให้ทุนสนับสนุนการศึกษา วิจัยต่างๆ ให้กับพรรคพวก มีระบบเส้นสาย ระบบ อุปถัมภ์ คู่มอื แนวทางการประเมินความเสยี่ งการทจุ รติ สาหรบั ภาครฐั และภาคธุรกจิ เอกชน

60 ท่ี ตวั อย่างรูปแบบความเสยี่ งการทจุ ริต เขียว เหลอื ง สม้ แดง 2.12 การแต่งตั้งคณะกรรมการ อนุกรรมการต่างๆ ให้กับพรรคพวก มีระบบเส้นสาย ระบบอุปถัมภ์ 2.13 ความไม่โปร่งใสในการบริหารงานบุคคล เช่น การชื้อ ขายตาแหน่ง การประเมิน ความดคี วามชอบ การแตง่ ตง้ั โยกยา้ ย การดาเนนิ การวนิ ัย เป็นต้น 2.14 การเรียกรับเงิน ผลประโยชน์ เพ่ือรับพนักงานเข้าทางาน/การเรียกเงินค่าแรกเข้า (แปะ๊ เจ๊ียะ) เพอ่ื แลกกับการเขา้ เรียนในโรงเรียน 2.15 ใช้อานาจในการแจกจ่าย จัดสรรงบประมาณลงพื้นที่ หรือจัดทาโครงการท่ีมี ผลประโยชนท์ ับซอ้ น หรอื มีการแลกรับผลประโยชนใ์ นภายหลงั 2.16 การประเมนิ ราคาไมต่ รงกับสภาพทรัพยส์ นิ ทนี่ ามาจานา 2.17 การเปล่ียนทรัพย์สินท่ีลูกค้านามาจานา 2.18 การยกั ยอกทรัพย์สินทไี่ ด้จากการตรวจคน้ จบั กุม ไมร่ ะบุในบัญชขี องกลาง 2.19 การลดปรมิ าณของกลางเพ่ือลดโทษ เพื่อเรยี กรบั ผลประโยชน์ 2.20 การกรรโชก (รดี ไถ) เรียกเอาทรพั ยจ์ ากผ้กู ระทาความผิด 2.22 การเขา้ ตรวจคน้ ปกปิด ซ่อนเรน้ ไมม่ ีหมายคน้ 2.23 การทาร้ายร่างกายเพ่ือใหร้ ับสารภาพ 2.24 รู้เห็นกับผู้ท่ีมาทาการประมูลของหลุดจานา มีการให้ข้อมูลการจาหน่ายของหลุด จานาล่วงหน้ากับพรรคพวกของตนเองการแอบอ้างช่ือบุคคลอ่ืน หรือช่ือลูกค้า ยักยอกทรพั ย์สนิ จานาออกไป 2.25 เจ้าหน้าท่ีของรัฐ รู้เห็นในการปลอมแปลงและใช้เอกสารปลอม เช่น การปลอม ระวางแผนที่ มีการปกปิดและใหถ้ อ้ ยคารับรองอันเป็นเทจ็ เกยี่ วกบั สภาพทีด่ นิ 2.26 ผู้บังคับใช้กฎหมาย นาตวั บทกฎหมายไปแสวงหาประโยชน์โดยมชิ อบ 2.27 รับค่าฝากเงินพเิ ศษค่าผ่าตัด มิฉะนั้นต้องรอเปน็ เดือน 2.28 ยักยอกทรัพย์จานา โดยอ้างว่าถ้ายอดจานาเกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ทางสถาน ธนานบุ าลจะตอ้ งจัดหาบุคคลอื่นมาเปน็ ผู้รบั จานาแทน 2.29 พนักงานนาทองคาที่ประชาชนจานาออกมาไปจานาต่อ โดยอ้างว่าเป็นของญาติ/ เพื่อน (ผู้จัดการออกต๋ัวจานาตามสาเนาหลักฐานของผู้เคยมาจานากับสถาน ธนานบุ าล) ไมน่ าทรัพย์ไว้ท่ีห้องสตรองรูม โดยลงรายละเอยี ดวา่ ถกู ไถถ่ อนออกไปแล้ว 2.30 จัดทาสัญญากู้ยืมเงินโดยลูกค้าไม่ประสงค์ขอสินเช่ือ โดยอ้างว่าเป็นค่าประกัน เงินกู้ 2.31 เจ้าหน้าท่ีเก็บบัตรเอทีเอ็มและรหัส และนาเอารายช่ือบุคคลอื่นมาทาสัญญาจ้าง แลว้ เบิกค่าจ้างโดยไม่ไดท้ างานจริง 2.32 จัดทาบัตรประชาชนให้บุคคลโดยมิชอบโดยบุคคลดังกล่าวไม่มีช่ือและรายการ บุคคลในทะเบยี นราษฎรเพ่ือสวมบัตรวา่ บุคคลท่ีมาขอทาบัตรประชาชนเป็นผู้มีช่ือ และรายการบุคคลในทะเบียนราษฎร 2.33 นายช่างรังวัดทาการปลอมแลงลายมือชื่อ กานัน (ปกครองท้องที่) ในเอกสารรับรอง การช้แี นวเขต และแก้ไขเนือ้ ท่ี นส. ๕ คู่มอื แนวทางการประเมินความเสย่ี งการทุจริตสาหรับภาครัฐ และภาคธุรกจิ เอกชน

61 ท่ี ตัวอยา่ งรปู แบบความเส่ียงการทจุ ริต เขยี ว เหลอื ง สม้ แดง 2.34 ออกไปรบั เงนิ ค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินกับผู้ประกอบการ ออกใบเสร็จให้วันต่อมา ขอใบเสร็จคืนอ้างว่าคิดผิดและไม่นาใบเสร็จกลับให้ผู้ประกอบการ แต่ทาการ ยักยอกเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน โดยทาการยกเลิกใบเสร็จที่มีการฉีกใช้งาน แลว้ นามาเยบ็ ติดกับแผ่นสาเนา 2.35 การจัดเก็บรายได้ท่ีต้องออกใบเสร็จรับเงิน เขียนต้นฉบับกับสาเนาไม่ตรงกัน ท้งั ชื่อผชู้ าระ/วันท่ี/จานวนเงนิ 2.36 เจ้าหน้าทร่ี บั ชาระค่าโทรศัพท์ ไมน่ าเงินสง่ เบยี ดบงั ไปใชส้ ว่ นตวั 2.37 ปลอมแปลงเอกสารทางราชการ การเบิกเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่า เรียนบุตร และนาเงนิ เขา้ บญั ชตี นเอง 2.38 เจ้าหน้าท่ีรบั รองเอกสารอันเป็นเท็จ รับรองสิทธิตามมาตรการเพ่ิมรายได้ให้แก่ผู้มี รายไดน้ อ้ ยระดบั ตาบล 2.39 พนักงานเทลเลอร์ปลอมลายมือช่ือลูกค้าในใบถอนเงินประเภทบัญชีเผื่อเลือกและ ขณะเดียวกันก็ได้ทารายการฝากเงินชดใช้เพื่อให้ยอดเงินในบัญชีถูกต้องโดยไม่มี เงินสดฝากเข้าบัญชีจริงเพื่อให้ลูกค้าไม่เห็นความผิดปกติ และเมื่อส้ินวันก็จะทา การถอนเงินออกจากบัญชี 2.40 เจ้าหน้าท่ีธนาคารลักลอบใช้รหัสพนักงานและรหัสรองผู้จัดการทาการเปล่ียนแปลง สถานะบัญชีไม่เคลื่อนไหว ให้เป็นบัญชีที่เคล่ือนไหว ทาการสมัคร Online โดยใช้ รหัสพนักงานทาการอนุมตั กิ ารสมัครแลว้ โอนเงินทาง Online เขา้ บญั ชีตนเอง 2.41 เจ้าหน้าทีส่ ินเช่ือธนาคารพิจารณาสินเช่ือให้กับผู้กู้ โดยกระทาผิดวัตถุประสงค์ของ กรรมการธนาคาร 2.42 พนักงาน ขสมก. นาตวั๋ รถโดยสารเก่าที่เคยจาหน่ายมาแลว้ มาจาหน่ายใหม่ 2.43 รับชาระค่าบริการโทรศัพท์แล้วภายในวันนั้นได้ทาการยกเลิกใบเสร็จรับเงิน แล้วนาเงินไปใชป้ ระโยชน์สว่ นตน 2.44 ปลอมแปลงเอกสารและใช้เอกสารปลอมเพ่ือเบิก/ถอนเงินสดออกจากบัญชีเงิน ฝากของลกู ค้า 2.45 เจ้าหน้าที่ธนาคารนาเงินไปใช้ประโยชน์ส่วนตนรวม ๒๑๕ ครั้ง เช่น นาเงินออก จากบญั ชีทีพ่ ักไว้ของธนาคารกรณีลูกคา้ โอนมาจากตา่ งสาขา 2.46 เจ้าหน้าท่ีธนาคารมีหน้าท่ีเก่ียวกับ ระบบ Online ต่อมาได้ย้ายมาปฏิบัติงานต่าง สาขาในระหว่างธนาคารยังไม่ยกเลิกสิทธิในการเข้าระบบ Online เจ้าหน้าท่ีแอบ ใช้ User ID และ Password เข้าระบบและดาเนินการถอนเงินจากบัญชีลูกค้าเข้า บญั ชีตนเอง 2.47 เจ้าหน้าท่ีการเงินเพิ่มเติมตัวเลขและตัวอักษรในเช็คสูงกว่าจานวนเงินท่ีขออนุมัติ จา่ ย 2.48 แกไ้ ขเปลย่ี นแปลงต้นขวั้ เช็คและนาเชค็ ไปถอนเงนิ จากธนาคารในนามของตนเอง 2.49 ช่วยเหลือปกปิดทรัพย์สินของผู้ทาธุรกรรมทางการเงินโดยหลีกเลี่ยงการรายงาน การทาธรุ กรรมต่อ สานกั งาน ป.ป.ง. คู่มือแนวทางการประเมินความเสย่ี งการทจุ ริตสาหรบั ภาครฐั และภาคธุรกิจเอกชน

62 ที่ ตัวอยา่ งรูปแบบความเส่ียงการทุจริต เขยี ว เหลอื ง สม้ แดง 2.50 จัดทาโครงการขุดสร้างบ่อขยะในท่ีว่างเปล่า แต่กลับใช้ชื่อว่าโครงการปรับปรุง บอ่ ขยะ ทาใหป้ ริมาณดนิ จากการขุดนาไปขายทอดตลาดนอ้ ยกวา่ ความเป็นจรงิ 2.51 กิจการท่ีกฎหมายกาหนดว่าผู้รับใบอนุญาตเท่าน้ันที่จะประกอบกิจการได้ แต่ไม่ สามารถบังคับใช้กฎหมายไดจ้ รงิ จึงเปน็ ช่องทางให้เจ้าหน้าที่หาประโยชน์ 2.52 พนักงานสอบสวนปลอมบันทึกจับกุม บันทึกประจาวัน ปลอมลายมือชื่อ ลดจานวนของกลาง (ยาเสพตดิ ) 2.53 เรียกรบั จากคนขบั รถซ่ึงมนี า้ หนักเกินกฎหมายเพ่อื แลกกบั การไมด่ าเนินคดี 2.54 ปลอมลายมือช่ือเจา้ ของบัญชีในใบถอนเงิน 2.55 เปลี่ยนแปลงเลขบัญชีของพระภิกษุที่มีสิทธิได้รับเงินนิตยภัตเป็นเลขบัญชีของ ตนเอง 2.56 สง่ั จ่ายเงินตามเช็คสูงกวา่ จานวนทีไ่ ดร้ บั อนมุ ัตติ ามฎีกา 2.57 ตรวจค้นคลังสินค้าของบริษัทโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เรียกให้ผู้ประกอบการเสีย ค่าปรับ ทง้ั ทก่ี ารกระทาดังกลา่ วไม่ปรากฎการกระทาความผิดอย่างชัดเจน 2.58 รับเงินสดจากลูกหน้ีเงินยืมงบประมาณแล้วไม่นาส่ง ไม่นาฝาก และไม่มีเงินสดให้ ตรวจนับ 2.59 จ้างแรงงานไม่ตรงกับความเป็นจริง โดยเบิกค่าแรงงานไม่เป็นไปตามการจ้างจริง และปลอมลายมอื ชือ่ การเบกิ คา่ จ้างแรงงาน 2.60 เจ้าหน้าที่สนับสนุนการกระทาความผิด นาโฉนดที่ดิน (ฉบับของที่ดิน) ตามโครงการ ออกสารวจออกโฉนดทด่ี นิ ซ่ึงอยู่ระหว่างค้างดาเนินการและค้างแจกไปดาเนินการ แก้ไข เปล่ียนแปลง หรือกรอกข้อความอันเป็นเท็จ เพ่ือให้ท่ีดินมีราคาสูงขึ้นและ โฉนดท่ีดนิ ไปหลอกลวงผู้รบั จานอง 2.61 เจ้าหน้าท่ีมีการยกเลิกใบเสร็จรับเงินในระบบทาให้การรายงานการรับเงิน ประจาวันน้อยกว่าท่ีรับไว้จริง/รับเงินและออกใบเสร็จการรับเงินแล้วแต่ไม่นาเงินสด เชค็ นาฝากธนาคารในวันนนั้ แตน่ าฝากในภายหลงั และอาจนาเงินไปใช้สว่ นตวั ก่อน 2.62 นาไม้ทยี่ ึดได้ออกไปจาหนา่ ย 2.63 มีการเรียกรับผลประโยชน์จากการตรวจสอบอาคารที่ได้รับอนุญาต แต่มีการนา อาคารไปใช้ประโยชน์อย่างอ่ืน เช่น จากอาคารท่ีอยู่อาศัยที่ใช้เป็นโรงแรมหรือ รสี อร์ต เป็นต้น 3. ความเส่ยี งการทุจริตในความโปร่งใสของการใชจ้ ่ายงบประมาณและการบริหาร จดั การภาครฐั 3.1 ผู้ใช้น้ามันรถยนต์ราชการนาน้ามันไปใช้ส่วนตัว เช่น การดูดน้ามันไปใช้ส่วนตัว ระหว่างทาง หรือเติมน้ามันไม่ครบตามใบส่ังจ่าย ส่วนน้ามันท่ีเหลือนาใส่ถังหรือ ทอนเปน็ เงนิ สด โดยเจา้ หนา้ ทรี่ ว่ มมือกับผปู้ ระกอบการ 3.2 เบิกเงินราชการตามสิทธเิ ป็นเท็จ เช่น ค่าล่วงเวลา ค่าเช่าบ้าน คา่ เบ้ียเลย้ี ง ค่าพาหนะ ค่าทีพ่ ัก 3.3 ยกั ยอกเงนิ หลวง ปลอมแปลงเอกสารในการเบกิ จา่ ย คู่มอื แนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทุจริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธุรกิจเอกชน

63 ท่ี ตัวอย่างรปู แบบความเสย่ี งการทุจริต เขยี ว เหลือง สม้ แดง 3.4 การสบื ราคาทีก่ าหนดวา่ ตอ้ ง ๓ รายขึ้นไป อาจไม่มีการสบื ราคาจากผู้ประกอบการจริง 3.5 ในการกาหนด TOR การจดั ช้ือ จดั จ้าง การจา้ งที่ปรกึ ษา การออกแบบโครงสร้างมี การกาหนดขอบเขตงาน หรอื เนื้องาน ท่ีเกินความจาเป็น (Over Design) เพ่ือให้มี การประมาณการราคาในส่วนนี้โดยมผี ลประโยชน์ทบั ซ้อน 3.6 คณะกรรมการกากับการจ้างที่ปรึกษา/คณะกรรมการตรวจรับงาน มีการตรวจรับ ในแต่ละงวดงานหลายคร้ังเกินความจริง เพื่อประโยชน์ในการเบิกค่าเบี้ยประชุม หรอื มีการถ่วงเวลาในการเรยี กรับ ทง้ั ทไี่ ม่มีประเด็นท่เี ปน็ สาระสาคัญ 3.7 คณะกรรมการ หรืออนุกรรมการต่างๆ ของหน่วยงานมีการประชุมที่เกินความ จาเป็นเพ่ือประโยชนใ์ นการเบกิ คา่ เบี้ยประชุม 3.8 การจัดโครงการต่างๆ ของหน่วยงานท่ีแอบแฝง หรือที่เกินความจาเป็น ทาให้การ ใช้จ่ายงบประมาณทไ่ี ม่คมุ้ ค่า โปร่งใส 3.9 มีการใช้ดุลพินิจในเบิกจ่ายค่าวิทยากรบุคคลภายนอก ที่สูงโดยมีผลประโยชน์ แอบแฝง หรือจานวนวิทยากรเกนิ ความจาเปน็ 3.10 การกาหนดราคากลางไมใ่ ช้ค่า K มาปรบั 3.11 ผรู้ ับจา้ งขออนุมัตใิ ช้วัสดุ แต่ไม่ได้นาวัสดุทข่ี ออนุมัติมาใช้ 3.12 ผรู้ ับจา้ งปล่อยปละละเลยให้ผ้รู ับจา้ งเหมาช่วง 3.13 มกี ารล็อคสเปควสั ดุท่ที าใหไ้ ม่เกดิ การแข่งขัน 3.14 การตรวจการจ้างไม่ตรงตามรูปแบบราชการโดยมีการรับเงินหรือผลประโยชน์จาก ผู้รับจา้ ง 3.15 คณะกรรมการไมไ่ ด้ออกไปดูสถานที่ก่อสร้าง แต่จะมีการเจรจากับผู้รับจ้าง โดยใช้ ข้อมูลตามที่ผ้รู บั จา้ งแจง้ แล้วจึงไปทาการตรวจรบั งานก่อสรา้ ง 3.16 มกี ารให้สินบน/ของขวัญ/สนิ น้าใจ/การเลี้ยงรบั รอง ซง่ึ จะนาไปสูก่ ารเอื้อประโยชน์ ให้กับคูส่ ญั ญา 3.17 มีการประสานกบั บริษัท หรือผ้ทู จ่ี ะมาเปน็ คู่สญั ญาตง้ั แต่เรม่ิ ตน้ เพือ่ กาหนดกาหนด คุณลักษณะ (TOR) ซึ่งไม่มีการกาหนดขึ้นอย่างแท้จริงแต่เป็นการนาร่าง TOR ดังกลา่ วมาใหค้ ณะกรรมการเป็นผู้กาหนด การแต่งต้ังคณะกรรมการกาหนด TOR เป็นเพยี งการดาเนนิ การตามรูปแบบของทางราชการ เพ่อื เอ้อื ประโยชนใ์ หก้ ับเอกชน 3.18 ประมาณการค่าจ้างที่ปรึกษาเกินความเป็นจริงเพื่อให้ได้วงเงินงบประมาณจ้างสูง เช่น จานวนท่ีปรึกษามากเกินความเป็นจริง/วุฒิการศึกษาสูงเกินความเป็นจริง/ ระยะเวลาดาเนินการ เปน็ ตน้ 3.19 การใช้ดุลพนิ ิจในการเลือกวธิ ีการจัดซ้ือจัดจ้างและผู้รบั จ้างโดยวิธพี เิ ศษ 3.20 ขุดคลองทับซ้อนโครงการท่ีเคยจัดทาไว้แล้ว กรรมการจัดจ้างไม่ตรวจสอบ รายละเอียด 3.21 จัดชื้อจัดจา้ งวัสดอุ ปุ กรณ์ท่ีไม่จาเปน็ และซือ้ จา้ งในราคาสูง 3.22 เบิกค่าใช้จา่ ยในการจดั ประชมุ แต่ไม่มีการดาเนนิ การจริง 3.23 เบกิ ค่าเชา่ รถ คา่ เลย้ี งรบั รอง ค่าของขวญั แต่ไมม่ กี ารจา่ ยจรงิ ค่มู อื แนวทางการประเมินความเสย่ี งการทุจรติ สาหรับภาครฐั และภาคธรุ กิจเอกชน

64 ท่ี ตวั อยา่ งรปู แบบความเส่ยี งการทุจริต เขยี ว เหลือง สม้ แดง 3.24 ชา่ งผู้ควบคมุ งานจดั ทารายงานเท็จต่อคณะกรรมการตรวจการจา้ ง 3.25 เจ้าหนา้ ท่ีนาสาเนาบตั ร ทะเบียนบ้านทีใ่ ชป้ ระกอบเอกสารการเบกิ จา่ ยในโครงการ อนื่ มาประกอบการเบิกจา่ ยเงินอดุ หนุน 3.26 ทุจริตคา่ จ้างเบยี้ เลย้ี งลกู จ้าง 3.27 การกาหนด TOR/คุณลักษณะของสินค้าหรือบริการท่ีมีลักษณะของสินค้าหรือ บริการทมี่ ลี กั ษณะของสนิ ค้าหรอื บรกิ ารบรษิ ทั ใดบรษิ ัทหน่ึง 3.28 เรยี กรบั การรับรองคุณภาพวัสดทุ ไี่ ม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ๓.๒๙ อาศัยช่องว่างของราคากลางท่ียังไม่มีการกาหนดชัดเจนหรือยังไม่เป็นปัจจุบัน ปรับแตง่ ราคากลางใหส้ งู กวา่ ความเป็นจรงิ ๓.๓๐ จัดทาโครงการ/จัดช้ือ จัดจ้างที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ไม่จาเป็น เอ้ือประโยชน์ ใหก้ ับพวกพ้อง ๓.๓๑ การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะพัสดุหรือที่เรียกว่า “ล็อกสเป๊ค” เพ่ือเอ้ือต่อผู้ขาย บางราย เชน่ ระบยุ ่หี ้อ การระบุคุณสมบัติผูเ้ สนอราคา ทเี่ อื้อตอ่ ผ้เู สนอราคาเชน่ - ต้องมเี คร่ืองจักรเปน็ ของตนเอง - ต้องมแี หล่งวัสดุท่ีใชใ้ นการก่อสร้าง เชน่ หนิ ลูกรังในเขตจังหวัดที่จะเข้าเสนอราคา - ตอ้ งมีหนังสือรับรองจากธนาคารว่าจะสนับสนุนเงนิ ในการกอ่ สร้างไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ...ของวงเงิน - ต้องเคยมีประสบการณง์ านท่เี หมอื นกนั ในวงเงนิ ไม่ตา่ กวา่ ... บาท ความหมายสถานะความเส่ียงการทุจริต สถานะสีเขียว ความเสีย่ งระดบั ต่า สถานะสีเหลอื ง ความเสย่ี งระดับปานกลาง สถานะสสี ม้ ความเสี่ยงระดับสงู สถานะสแี ดง ความเส่ยี งระดับสงู มาก ค่มู อื แนวทางการประเมินความเสย่ี งการทุจรติ สาหรบั ภาครฐั และภาคธรุ กิจเอกชน

65 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

66 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

67 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

68 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

69 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

70 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

71 ส่วนราชการเจ้าของเร่ือง ปช วันที่มีมติ ๑๒/๑๒/๒๕๖๒ เร่ือง ข้อเสนอแนะเพอื่ ยกระดบั คะแนนดัชนกี ารรับร้กู ารทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ระยะท่ี ๒ คณะรัฐมนตรมี มี ติ ๑. รับทราบข้อเสนอแนะเพื่อยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ระยะท่ี ๒ ตามท่ีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) เสนอ สรปุ ได้ ดงั นี้ ๑.๑ ข้อเสนอต่อสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สานักงาน ป.ป.ท.) ได้แก่ ให้สานักงาน ป.ป.ท. เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคล่ือนการยกระดับค่าคะแนน CPI และให้สานักงาน ป.ป.ท. ประสานกับหนว่ ยงานภาคเอกชนหรือมูลนิธทิ มี่ ีความพร้อมเพอ่ื เป็นตัวแทนของ ประเทศไทยในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์กรเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ภาคส่วนต่างๆ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของการยกระดับค่าคะแนน CPI ๑.๒ ขอ้ เสนอต่อรฐั บาล เชน่ รฐั บาลควรมอบหมายหน่วยงานหลักและหน่วยงานรองเพ่ือรับผิดชอบ การยกระดับค่าคะแนน CPI ในทุกแหล่งข้อมูล รัฐบาลต้องนาแผนปฏิรูปประเทศ ๑๑ ด้าน ไปขับเคล่ือนให้ เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม รวมท้ังรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องจัดให้มีกลไกการคุ้มครองพยานและ ผู้แจ้งเบาะแสเกยี่ วกบั การทจุ รติ (Whistleblower) เปน็ ต้น ๒. ให้สานักงาน ป.ป.ท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับความเห็นของหน่วยงานต่างๆ เช่น (๑) ประเด็นการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันในประเด็นต่างๆ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงยุติธรรม สานักงาน ก.พ.ร. และสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เห็นว่าสานักงาน ป.ป.ท. ควร เปน็ หนว่ ยงานในการขบั เคลือ่ นการยกระดับคะแนน CPI ร่วมกบั สานกั งาน ป.ป.ช. และควรกาหนดหน่วยงาน หลักทรี่ ับผิดชอบแผนปฏริ ูปประเทศทัง้ ๑๑ ด้าน เพ่ือดาเนินการร่วมกับสานักงาน ป.ป.ช. และ (๒) ประเด็น การสนับสนุนงบประมาณและการจัดตั้งหน่วยงานเพิ่มเติม สานักงบประมาณเห็นว่าสานักงาน ป .ป.ท. ควรพิจารณาปรับปรุงบทบาท ภารกิจ โครงสร้างของหน่วยงานท่ีมีอยู่เดิมเป็นลาดับแรกก่อน เพ่ือไม่ให้เกิด การซ้าซ้อนของภารกิจและก่อให้เกิดภาระงบประมาณรายจ่ายเกินความจาเป็น เป็นต้น ไปพิจารณา ดาเนินการต่อไปด้วย ท่ีมา จากเว็บไซต์ สานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี คู่มือแนวทางการประเมินความเสยี่ งการทุจรติ สาหรบั ภาครฐั และภาคธุรกิจเอกชน

72 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

73 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

74 คู่มือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริตสาหรบั ภาครัฐ และภาคธรุ กิจเอกชน

75 คณะผู้จัดทา 1. พ.ต.ท. วันนพ สมจินตนากลุ เลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ท. (ทปี่ รกึ ษา) 2. นายภมู วิ ศิ าล เกษมศุข รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ท. (ท่ปี รึกษา) 3. นายพุฒพิ งษ์ เลิศสถติ ย์ รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ท. (ทปี่ รึกษา) 4. นางฉววี รรณ นิลวงศ์ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน พนักงานราชการทว่ั ไป (กลมุ่ งานเชี่ยวชาญเฉพาะ) 5. นางสาวมนสั นันท์ จรัลจรูญพงษ์ นักสืบสวนสอบสวนชานาญการพเิ ศษ 6. วา่ ที่ร้อยโท เจนรบ พละเดช นกั สบื สวนสอบสวนชานาญการ 7. นางสาวญาณัชชา นนทจนั ทร์ นกั สืบสวนสอบสวนชานาญการ 8. นางสาวทพิ ากร คาเกดิ นักวชิ าการยตุ ธิ รรมชานาญการ 9. นายนิตพิ ล ภูหงส์ นกั วชิ าการยตุ ธิ รรมชานาญการ 10. นางสาวประภาพรรณ ธนสู นธิ์ นกั วิชาการยุตธิ รรมชานาญการ 11. นางสาวธัญญน์ ภสั เลิศปติ ิธญั ศิริ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ ๑๒. นางสาววรรณฉวี ช้ืนจะบก นกั สบื สวนสอบสวนชานาญการ 1๓. นางสาวธนั ยธร ผดงุ ทรง นักวเิ ทศสมั พันธป์ ฏบิ ัติการ 1๔. นางสาวพัชรภรณ์ มีแพง นกั สืบสวนสอบสวนปฏิบตั ิการ 1๕. นางสาววลัยพร พ่วงเจริญ นกั วิชาการยตุ ธิ รรมปฏิบตั ิการ 1๖. นางสาวนวพร ป้ันจนั ทร์ นักวิชาการยตุ ธิ รรมปฏบิ ตั กิ าร คู่มอื แนวทางการประเมินความเสย่ี งการทจุ รติ สาหรบั ภาครัฐ และภาคธุรกจิ เอกชน

76 ที่ปรกึ ษา (ผทู้ รงคุณวุฒิ) 1. ศ.พล.ต.ต.หญงิ ดร.พชั รา สินลอยมา คณบดี คณะนติ วิ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนนายรอ้ ยตารวจ 2. รศ.ดร. ศุภวฒั นากร วงศธ์ นวสุ คณบดวี ทิ ยาลยั การปกครองทอ้ งถนิ่ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3. พล.ต. อรชัย บุญสขุ จิตเสรี ผชู้ ่วย จเร กอ.รมน. 4. นางสาวสชุ าฎา วรินทร์เวช ศนู ยป์ ฏิบตั ิการต่อตา้ นการทุจรติ กระทรวงสาธารณสุข 5. ดร.ทวีศกั ดิ์ รักย่ิง ภาคเอกชน 6. รศ.ดร.ณฐนนท์ ตราชู ภาคเอกชน คมู่ ือแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ รติ สาหรับภาครฐั และภาคธุรกิจเอกชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook