Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รักแท้สุญญตา

รักแท้สุญญตา

Published by อุบล นิตุธร, 2019-12-23 21:38:25

Description: พระมหาอุบล ญาณเมธี

Search

Read the Text Version

รักแท้สุญญตา พระมหาอบุ ล ญาณเมธี คุณคดิ วา่ ...“รกั แท”้ คืออะไร ? อะไรคอื จดุ หมายที่แท้จรงิ ของ...“รัก” เมื่อไหรจ่ ะรู้จกั กบั “รักแท”้ ซกั ที จะเทยี่ วหา “รกั แท”้ ไปทาไม

รักแท้สุญญตา พระมหาอบุ ล ญาณเมธี พิมพค์ รง้ั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๕ จานวนพมิ พ์ เลม่ รูปแบบหนงั สือ พระมหาอบุ ล ญาณเมธี ออกแบบปก บอส คนเมอื งแสน พสิ จู นอ์ ักษร พมิ พ์ท่ี

จากใจผู้ประพนั ธ์ ความรัก ใครต่อใครมองเห็นว่าเป็นท่ีส่ิงสวยงาม เป็นสิ่งท่ีมีค่าสาหรับชีวิต เป็นยารักษาจิต เป็นยารักษาใจ หรือแม้แต่การเข้าไปครอบครองหมายปองมาเป็นของตน จนบางคนเสียสละเพ่ือรักษารักให้คงอยู่ได้แม้ตัวจะไม่ สมหวงั กต็ าม แต่จะมีซักก่ีคนท่ีจะมองรักว่า เป็นของไม่น่ายินดี เป็นที่เกิดของความทุกข์ หามีสุขเพราะสิ่งเป็นท่ีรักไม่ แต่ด้วยความบริสุทธิ์ใจในรักท่ีมีต่อคนทั้งโลก ไม่อยากให้ ใครอยู่ภายใต้ความโศกความเสียใจ อันจะเป็นภัยแก่ ส่งิ เปน็ ท่ีรกั เพราะเหตุท่ีได้ประจักษ์แล้วน้ี จึงเกิดมีหนังสือ เลม่ น้ีข้นึ มา และหวังว่าจะทาใหใ้ ครหลายคนที่ยังสับสนกับ ความรกั และอยากพบกับ “รกั แท้ที่ยง่ั ยืน” ด้วยบุญญานุภาพอันจะพึงมีจากการท่ีผู้สนใจ ใคร่ศึกษาได้ติตรองในพระสัทธรรมคาสอนของพระชินวร สัมมาสัมพทุ ธเจ้าท่ีขา้ พเจา้ ได้นามากล่าวไว้ในหนังสือเล่มน้ี จงเป็นธรรมวิถีช้ีทางสว่างแก่ผู้ได้อ่านให้สมปรารถนา ในความต้องการดังทไ่ี ดต้ ัง้ ปณธิ านไว้ดีแล้วทุกประการ ฯ พระมหาอบุ ล ญาณเมธี

สารบัญ รกั แท้สุญญตา ๑ ๔  อารัมภบท ๕  นิยามของคาว่า “รัก” ๗ ๑๓  รกั ในทัศนะของพระพุทธศาสนา ๑๗  “รกั ” เกิดจากอะไร ๑๙  ประเภทของ “รกั ” ๒๑  อะไรคือจุดหมายทแี่ ท้จริงของคาว่า “รกั ” ๒๓  รกั โดยไม่มขี ้อผกู มดั (พอใจ) ๒๕  รกั เสนห่ า หรอื รักแรกพบ (ชอบใจ) ๒๖ ๒๗  รกั มิตรภาพ (รกั ทัว่ ไป) ๓๐  รกั จมปกั (หลง) ๓๒  รกั แท้แตไ่ มส่ มหวงั (เสยี สละ)  “รกั แท้” คอื อะไร  เม่อื ไหร่จะรจู้ ักกับ “รักแท้” ซกั ที  จะเทย่ี วหา “รกั แท้” ไปทาไม

รกั แทส้ ญุ ญตา กลอนสี่ รักใดในหล้า พสธุ าบ่ปาน เหนือกวา่ วิมาน นั้นฤาจะมี รกั แต่ชัว่ ดี รักพอ่ รกั แม่ มีแตจ่ ะวาย ร่างกายอนิ ทรยี ์ มินานกห็ น่าย เปรียบได้สุญญตาฯ รักแฟนรักกัน รักแทอ้ ะไร กลอนหก รกั ใดในหลา้ วา่ แท้ รักพอ่ รกั แมใ่ ช่ไหม รักบุตรสุดซงึ้ ตรึงใจ สดุ ทา้ ยมวิ ายจากกัน ช่วั ครู่อยูป่ ักรกั ม่ัน รักเรียนอา่ นเขยี นเพยี รรู้ กพ็ ลนั ผนั เปลี่ยนเวียนไป รักอยูค่ ู่เรามินาน เชา้ เย็นเหน็ บอ่ ยพลอยหนา่ ย เปรียบไดด้ ังเชน่ สุญญตาฯ รักแฟนแน่นแฟน้ บ่เวน้ รักแทแ้ น่หรือคืออะไร กลอนแปด รกั ใดใดในหลา้ ทีว่ า่ แท้ รักคุณพอ่ คุณแมแ่ น่ใชไ่ หม หรอื รักบตุ รสุดซ้งึ และตรึงใจ แตส่ ุดท้ายมวิ ายจะจากกนั หรือรักเรียนอา่ นเขียนเพื่อเพยี รรู้ เพียงช่วั ครู่อยู่ปักว่ารกั มั่น รกั คงอยู่คู่เรามิเนาวน์ าน กต็ ้องพลันผนั เปลี่ยนเวียนจากไป หรอื รกั แฟนแน่นแฟน้ กบ็ เ่ วน้ ทกุ เช้าเยน็ เหน็ บอ่ ยกพ็ ลอยหนา่ ย รักว่าแท้แนห่ รอื คืออะไร คงเปรยี บได้ดังเชน่ สญุ ญตาฯ พระมหาอุบล ญาณเมธี

รักแทส้ ญุ ญตา อารมั ภบท สรรพสัตว์ท้ังหลายในโลกนี้ ไม่ว่าจะเป็นคนหรือ สิ่งมีชีวิตประเภทอ่ืน เมื่อลืมตาดูโลก มีลมหายใจ ต่างก็ ได้รับความปรารถนาดีจากคนรอบข้าง ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ พี่น้อง ญาติสายโลหิต มิตรสหาย จนกระท่ังเติบใหญ่ ได้ศึกษาเล่าเรียน มีงานทา และมีครอบครัว ก็ได้รับทั้ง ความปรารถนาดี และความปรารถนาร้าย ซ่ึงสิ่งเหล่านี้ ทกุ คนไมส่ ามารถหลีกเล่ยี งได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ทุกคนก็สามารถปรับตัว และกาหนดแนวทางในการอยูก่ บั สงิ่ เหลา่ นั้นได้ บางคร้ังเราอาจจะสงสัยว่า ทาไม? บางคนแค่ เพียงเราได้เห็นคร้ังเดียวเท่านั้น เราก็รู้สึกเกิดความรัก ความผูกพัน ประมาณว่าไดร้ กั กันมาเป็นเวลานานแสนนาน แต่สาหรับบางคน เพียงแค่เราได้เห็นคร้ังแรก เท่าน้ัน เราก็รู้สึกเกิดความรู้สึกไม่พอใจ โดยไม่มีเหตุผล ประหน่ึงว่า เหมือนมีคนมาก่อไฟให้ลุกโพรงข้ึนในใจของ เราเป็นพนั ๆ กอง

ซ่ึงเหตุผลทั้งสอง พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ใน สาเกตชาดก ที่ยกเร่ืองราวในอดีตกาลมาเป็นอุทาหรณ์ ดังความตอนหนึ่งว่า สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคเจ้ากาลัง เสด็จรับบิณฑบาตในเมืองสาเกต มีพราหมณ์แก่คนหน่ึง เมื่อได้เห็นพระองค์ก็เกิดความโสมนัสยินดี ประหน่ึงว่า ลูกของตน ก้มลงกราบพระบาทพระผู้มีพระภาคเจ้า และ นิมนต์ให้เสด็จไปเย่ียมบ้าน อีกทั้งบอกแก่ภรรยาและลูกๆ ของตนว่า ให้กราบพี่ชายของเจ้าเสีย พราหมณ์สองผัวเมีย ดีใจมาก ได้พากันถวายมหาทานแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พร้อมหมู่ภิกษุสงฆ์ และพระพุทธองค์ได้ตรัสชราสูตรแก่ ชนทั้งหลายเหล่านั้น เม่ืออวสานสิ้นสุดลงแห่งสูตรน้ัน พราหมณ์ได้ตรัสถามพระผู้มีพระภาคเจ้า มีใจความสาคัญ ว่า “ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า เพราะเหตุอะไรหนอ เม่ือบุคคลบางคนในโลกนี้ พอเห็นกันเข้าก็เฉยๆ หัวใจ ก็เฉย บางคนพอเหน็ กนั เขา้ จติ กเ็ ล่อื มใส” พ ร ะ พุ ท ธ อ ง ค์ ไ ด้ ต รั ส แ ส ด ง เ ห ตุ แ ห่ ง ค ว า ม รั ก จงึ ตรสั พระคาถาว่า “ความรักนั้นย่อมเกิดข้ึนด้วยเหตุสองประการ คือ ดว้ ยการอยู่ร่วมกันในกาลก่อนประการ ๑ ด้วยความ เกื้อกูลต่อกันในปัจจุบันประการ ๑ เหมือนดอกอุบล เมื่อเกิดในน้า ย่อมเกิดได้ เพราะอาศัยเหตุ ๒ ประการ คอื นา้ และเปือกตม ฉะน้นั ”

เนื้อความในพระคาถาข้างต้น ขอยกมาเพียง เพื่อใหไ้ ด้รทู้ ่มี าของความปรารถนาดีและปรารถนาร้ายท่ีได้ กล่าวไว้แล้วในข้างต้น ส่วนเนื้อความพิสดารจะอธิบายใน หัวข้อ “ความรกั ” เกิดจากอะไร ซง่ึ จะไดก้ ล่าวต่อไป เพราะฉะนั้น ในชีวิตสรรพสัตว์ท้ังหลายในโลกน้ี ย่อมมีความปรารถนาในสิ่งอันเป็นท่ีรักท่ีพอใจ อาจจะ สมหวังหรือไม่สมหวังกับความปรารถนานั้นก็เป็นได้ แต่มี สิ่งสาคัญประการหน่ึง ซ่ึงทาให้ชีวิตของสรรพสัตว์เหล่าน้ัน มีคุณค่า มีคว ามหมายมากมายสุดท่ีจะพรรณนา เป็นเหมือนยารักษาโรคทางใจ ท่ีมีท้ังคุณประโยชน์และ โทษมหาศาล สงิ่ สาคญั ทว่ี ่านน้ั คอื “รัก” ยารกั ษาโรคทางใจ  คดิ ถงึ วันละ ๒ ครง้ั ๔ เวลา เท่ากบั ก่อน-หลัง (เช้า กลางวัน เยน็ )และก่อนนอน  ห่วงใย ๘๐ – ๑๐๐ bpm ต่อนาที เท่ากับ การเต้นของชีพจรหวั ใจ  ใสใ่ จ ๑๒ – ๒๕ ครั้งตอ่ นาที เทา่ กบั การหายใจเขา้ ออก  ดูแลทกุ วินาทีตลอด ๒๔ ช่วั โมง เท่ากับ ๑ วนั ของการรักษาโรคทางใจ

นยิ ามของคาว่า “รกั ” “รกั ” เป็นคากลาง ๆ ยังไมม่ ผี ้ใู ดให้คาจากัดความ ของคาวา่ รกั ได้สมบรู ณ์วา่ รกั คืออะไร ? พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน ได้ให้นิยาม ของคาว่า “รัก” ไว้ว่า “มีใจผูกพันด้วยความห่วงใย เช่น พอ่ แมร่ กั ลูก รักชาติ รักชื่อเสียง,มีใจผูกพันด้วยความเสน่หา, มีใจผกู พันฉนั ชสู้ าว เชน่ ชายรกั หญิง, ชอบ เช่น รกั สงบ.” จากนิยามของคาว่า “รัก” ข้างต้นนี้ จะเห็นได้ว่า มีจุดมุ่งหมายในอารมณ์อันเป็นที่รัก หรือในทาง พระพุทธศาสนาเรียกว่า ปิยารมณ์ เป็นสาคัญ อันเป็น นิยามความหมายในทางโลกวสิ ัยเท่าน้ัน หาใช่รักที่ยังยืนไม่ ดังทีเ่ คยไดป้ ระพันธ์กลอนบทหน่ึงไว้ว่า รักใดในหลา้ พสุธาบป่ าน เหนอื กว่าวิมาน น้ันฤาจะมี รักพ่อรกั แม่ รกั แต่ชั่วดี รา่ งกายอินทรยี ์ มีแตจ่ ะวาย รักแฟนรักกัน มินานก็หนา่ ย รกั แทอ้ ะไร เปรยี บได้สญุ ญตา ฯ จากบทกลอนข้างต้นจะเห็นได้ว่า รักเป็นแค่ นามธรรม หาใช่รูปธรรมที่แท้จริงไม่ เป็นความรู้สึกนึก คิด ซึ่งส่งผลตอ่ ชวี ติ และจิตใจในทางบวกและลบไดเ้ สมอ

รักในทัศนะของพระพทุ ธศาสนา บางครั้งเรายงั สงสัยอยู่ว่า รักคืออะไร? ในทางโลก วิสัยก็ยังไม่สามารถบอกได้ชัด แต่ในทางพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้ในพระสุตตันตปิฎก ปิยวรรค ซึ่งเป็นหมวดหมู่เกี่ยวกับส่ิงเป็นที่รักไว้ว่า มีความหมาย หลายนัย โดยสรปุ มี ๔ ประการ คือ ๑. ส่ิงเป็นท่ีรัก หมายถึง ปิยารมณ์ (อารมณ์เป็น ท่ีรัก) ได้แก่ กามคุณ ๕ (รูป เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ) ๒. สิ่งเป็นที่รัก หมายถึง กาม (ความใคร่, ความอยาก, ความปรารถนา, สิ่งที่น่าปรารถนาน่าใคร่) ไดแ้ ก่ วัตถุกาม (กามคุณ ๕) และกิเลสกาม (กิเลสเป็นเหตุ ใคร่) เชน่ ฉันทะความพอใจ ราคะความกาหนดั ๓. สง่ิ เปน็ ที่รัก หมายถึง ตัณหา ๓ (ความทะยาน อยาก เช่น อยากมี, อยากเป็น, ไม่อยากมีอยากเป็น) ๔. สิ่งเป็นท่ีรัก หมายถึง คุณงามความดี และ บุญกุศลที่เคยส่ังสมไว้ ได้แก่ ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ และ ปัญญา), สัมมาทัสสนะ (ความเห็นชอบ) และโลกกุตตร- ธรรม ๙ (มรรค ๔, ผล ๔, นพิ พาน ๑)

ซึ่งเราจะเห็นว่า จากความหมายของสิ่งเป็นท่ีรัก ๔ ประการข้างต้น เม่ือบุคคลใดหลงใหลฝักใฝ่ยินดีใน ความหมาย ๓ ประการแรก บุคคลน้ันก็จะพบกับความ ทกุ ข์ อันเกดิ จากความโศกและภัยตา่ งๆ ซ่ึงพระพุทธองค์ไม่ ทรงสรรเสรญิ ดงั ปรากฏในพระคาถาบทหน่งึ ว่า “ความโศกเกิดจากสง่ิ เปน็ ที่รัก ภยั ก็เกดิ จากสิ่งเปน็ ท่ีรกั ผพู้ น้ จากสิ่งเปน็ ทร่ี ักไดเ้ ด็ดขาด ย่อมไม่มคี วามโศกและภยั จากทไ่ี หนเลย” ส่วนความหมายในประการท้าย พระพุทธองค์ ทรงสรรเสริฐให้บุคคลประกอบคุณงามความดี เพ่ือให้เกิด บุญกุศล ซ่ึงจะส่งผลดลบันดาลให้บุคคลน้ันในโลกหน้า เหมือนญาติต้อนรับญาติผู้เป็นท่ีรักที่กลับมาบ้าน ฉะน้ัน ดงั ปรากฏชัดในพระคาถาบทหนง่ึ วา่ “ญาติ มติ ร และผูม้ ใี จดที ัง้ หลาย เหน็ คนท่จี ากบ้านไปนาน กลับจากทไี่ กล มาถึงโดยสวสั ดภิ าพ ย่อมยนิ ดีวา่ มาแลว้ เช่นเดียวกันน้ัน บุญทัง้ หลาย ยอ่ มตอ้ นรับคนทท่ี าบุญไว้ ซ่งึ จากโลกนี้ไปสโู่ ลกหนา้ เหมือนญาติต้อนรับญาติผู้เป็นท่ีรักกลับมาบ้าน ฉะนน้ั ”

“รัก” เกิดจากอะไร นอกจากทอ่ี ธิบายมาแล้วในหัวข้อก่อนหน้าน้ี ยังมี เรื่องท่ีเกี่ยวกับความรักในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปรากฏ ในโฆสกเศรษฐี ธรรมบทภาคท่ี ๒ ความวา่ สมัยหนึ่ง ในแคว้นอัลลกัปปะเกิดอหิวาตกโรค มีชายผู้หนึ่งชื่อว่า โกตุหลิกะ ได้ปรึกษากับภรรยาของตน ช่ือว่า กาลี ซ่ึงมีบุตรอ่อนว่า พวกเราอย่าอยู่ที่นี่เลย จึงได้ จัดเตรยี มเสบียงอาหารเพอ่ื เดนิ ทางไปสเู่ มืองโกสมั พี ต่อมาเสบียงอาหารที่เตรียมมาหมดสิ้น กอรปกับ การเดินทางก็ลาบาก นายโกตุหลิกะจึงบอกกับนางกาลีว่า “เธอจงทิ้งลูกเสียเถิด หากเรามีชีวิตอยู่ค่อยมีลูกอีกก็ได้” นางกล่าววา่ “เราท้ิงลูกมิได้ดอก ลูกเป็นเหมือนดวงใจของ ฉัน” สองสามีภรรยาจึงอุ้มลูกผลัดเปลี่ยนกันไป จนกระท่ัง ภรรยาเผลอ สามีก็วางลูกไวใ้ ตพ้ ุ่มไมใ้ หญ่ ภรรยารู้เข้าจึงวิ่ง กลับไปทนั ที แต่เมอื่ ไปถึงลูกน้นั ก็ไดต้ ายเสียแล้วนางร้องไห้ คร่าครวญคิดถึงลูก สามีจงึ ปลอบนางและเดนิ ทางตอ่ เมื่อถึงเมืองโกสัมพี นายโคบาลผู้เลี้ยงโคได้ทาพิธี มงคลแกโ่ คของเขา โดยได้นิมนต์พระปัจเจกพุทธเจ้ามาฉัน ภตั ตาหาร ซ่ึงสองสามภี รรยาคิดว่า เมื่อเขาทาบุญแล้ว เขา ก็คงจะให้ทานบ้าง เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้าฉันและ อนุโมทนาเสร็จแล้ว นายโคบายก็ทานข้าวมธุปายาส และ ใหข้ ้าวมธุปายาสแกส่ นุ ขั เพศเมยี ตวั หนึง่ ซ่ึงนอนอยู่ใต้ตงั่

นายโกตุหลกิ ะเห็นดังนน้ั แล้ว จงึ นึกในใจว่า “สุนัข น้มี ีวาสนาดี ได้กินขา้ วมธปุ ายาสเอร็ดอร่อย และอยู่ในบ้าน อย่างสุขสบาย แต่เรากลับหิวกระหาย ยังไม่ได้กินเหมือน สุนัขตัวน้ีเลย” เมื่อนายโคบาลทานเสร็จแล้ว ก็ได้จัดข้าว มธุปายาสใหแ้ ก่สองสามีภรรยาเป็นจานวนมาก เพราะเห็น ว่ากาลังหิวโหย นางกาลีทานพอประมาณ จึงแบ่งให้สามี ทานมาก เพราะเห็นว่าหิวมาหลายวันแล้ว นายโกตุหลิกะ ทานมากเกนิ ประมาณ อาหารไม่ย่อยจึงส้ินใจตายในคืนน้ัน ดว้ ยจิตทีจ่ ดจ่อต่อสนุ ัขน้นั จึงไปปฏิสนธใิ นทอ้ งของสนุ ขั นางกาลีเผาศพสามีแล้ว จึงรับจ้างทางานท่ีบ้าน นายโคบาลน้ันพอได้ข้าวสารและกับข้าว ในแต่ละวันนาง จะหุงข้าวถวายพระปัจจเจกพุทธเจ้าและอุทิศให้สามีนาง เปน็ ประจา เ มื่ อ สุ นั ข นั้ น อ อ ก ลู ก ม า เ ป็ น สุ นั ข ตั ว ผู้ ตั ว เ ดี ย ว นายโคบาลรักมันมาก จึงให้มันกินนมของแม่มันและยังได้ ให้นมโคแก่มันอีก เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้ามาฉันภัตตาหาร ที่บ้านก็จะให้ข้าวแก่สุนัขน้ันปั้นหน่ึง มันโตเร็วมากและรัก พระปัจเจกพุทธเจ้ามากด้วย มันจะตามนายโคบาลไปหา พระปัจเจกพทุ ธเจา้ ทุกวนั และจะนอนหมอบใกล้ ๆ กระดิก ห า ง ฟั ง น า ย โ คบ า ล คุย กับ พร ะปั จ เ จ กพุ ทธ เ จ้ า ร า ว กับ ว่ า รู้ภาษามนษุ ย์

อยมู่ าวนั หน่ึง นายโคบาลไมว่ ่าง จึงใหม้ นั ไปนิมนต์ พระปัจเจกพุทธเจ้า เม่ือมันไปถึงบรรณศาลาที่ท่านอยู่ มันก็เห่า พระปัจเจกพุทธเจ้ารู้ว่านายโคบาลคงให้มันมา นิมนต์จึงห่มผ้าและเดินตามมันไป พระปัจเจกพุทธเจ้า อยากจะทดลองว่านายโคบาลให้มันมานิมนต์จริงหรือไม่ จึงเดินแยกไปทางอ่ืน มันก็ว่ิงไปขวางหน้าเห่าไม่ให้ไปทาง น้นั เมือ่ ท่านเดินต่อมนั ก็คาบจีวรดึงกลับมา ท่านก็เดินตาม มนั ไป จนถงึ บา้ นนายโคบาย กาลตอ่ มา พระปัจเจกพุทธเจ้าบอกแก่นายโคบาล ว่า จีวรเกา่ แล้วต้องทาจีวรใหม่ แตไ่ ม่สามารถทารูปเดียวได้ ต้องไปทาที่ภูเขาคันธมาทน์ วันต่อมา นายโคบายได้ถวาย ผ้าเพอื่ ทาจวี รพับหนงึ่ เม่อื เสรจ็ กิจแลว้ ทา่ นกล็ านายโคบาล เหาะไปยังภูเขาคันธมาทน์ สุนัขแลดูท่านแล้วก็เห่าหอน เมื่อรับสายตา สุนัขน้ันก็ขาดใจตาย และไปบังเกิดเป็น เทพบตุ รทสี่ วรรค์ช้ันดาวดึงส์ เม่ือสิ้นบุญจากเทพบุตรน้ันก็ ไปเกิดในท้องหญิงโสเภณีในเมอื งโกสัมพี สว่ นภรรยาของนายโกตุหลิกะ เม่ือสามีของตนสิ้น ไปก็หุงข้าวถวายแก่พระปัจเจกพุทธเจ้าเป็นประจา จนกระท่ังสิ้นอายุขัยได้ไปเกิดเป็นลูกสาวเศรษฐีในชนบท เมืองโกสัมพี

ธรรมดาว่า หญิงโสเภณีย่อมชอบใจในบุตรี หาชอบใจในบุตรไม่ เม่ือนางคลอดบุตรออกมาจึงให้คนเอา ไปทิ้งท่ีกองขยะ ด้วยอานิสงส์แห่งการเห่าหอนและความ รักที่มีต่อพระปัจเจกพุทธเจ้าในกาลก่อน จึงทาให้เด็กน้ัน ไม่ได้รับอันตรายจากสัตว์หรือสิ่งท่ีเป็นอันตรายทั้งปวง จนมหี ญงิ คนหนง่ึ เหน็ เดก็ นัน้ ก็จงึ เก็บไปเลี้ยงไว้ วันต่อมา เศรษฐีในเมืองโกสัมพีเกิดฝันขึ้นมาว่า เด็กที่คลอดเมื่อคืนท่ีผ่านมา จะเป็นผู้ครองสมบัติของตน จึงสั่งให้คนใช้ไปดูภรรยาของตนว่าคลอดบุตรในวันนี้ หรือไม่ ปรากฏว่าไม่ได้คลอดบุตรในวันนี้ จึงส่ังให้คนใช้ ติดตามดูว่า เด็กคนใดคลอดเม่ือคืนท่ีผ่านมา จนพบเด็ก และขอซือ้ จากหญงิ ท่ีเก็บเดก็ นนั้ มาเล้ยี ง อยู่มาวันหนึ่ง เศรษฐีจึงเกิดความคิดข้ึนมาว่า ถ้าภรรยาของเราคลอดลูกเป็นผู้หญิง เราจะให้แต่งงานกับ เด็กน้ี แต่ถ้าภรรยาคลอดออกมาเป็นผู้ชาย เราจะฆ่าเด็กนี้ เสีย เพราะเกรงว่าจะมาแย่งชิงสมบัติของลูกเรา จึงเล้ียง เด็กนั้นไว้ก่อน ซึ่งต่อมาเด็กนั้นได้ช่ือว่า “โฆสกะ” จนกระทั่งภรรยาของเศรษฐีน้ันคลอดออกมาเป็นผู้ชาย เศรษฐีจึงสั่งให้คนใช้นาเด็กน้ันไปฆ่าเสียถึง ๖ ครั้ง แต่ด้วย บุญญาบารมีที่ไดส้ ัง่ สมมาแตอ่ ดตี เขาก็รอดมาได้ทุกคร้งั

ครง้ั ที่ ๑ ใหค้ นใช้เอาไปท้งิ ไวป้ ากคอกโค แต่โคก็ ไม่เหยียบ ครั้งที่ ๒ ให้คนใช้เอาไปท้ิงไว้ทางเกวียน โคก็ไม่ เหยยี บเช่นเคย ครั้งที่ ๓ ให้คนใช้เอาไปทิ้งท่ปี ่าชา้ ผี กา แร้งก็ไม่ สามารถทาอนั ตรายแกเ่ ดก็ นัน้ ได้ ครั้งที่ ๔ ใหค้ นใชเ้ อาไปท้งิ ท่ีหน้าผาเป็นที่ท้ิงโจร เด็กนั้นก็ตกลงไปแขวนอยู่บนยอดไผ่ คนจักรสานไปตัดไม้ ไผ่เห็นเข้ากเ็ ก็บมาเลีย้ ง เดก็ นัน้ กไ็ มต่ าย ครั้งท่ี ๕ ส่งโฆสกะไปหาช่างป้ันหม้อ และให้ ช่างป้ันหม้อฆ่ายัดเตาเผาเสีย แต่บุตรของเศรษฐีกลับรับ อาสาไปแทน โฆสกะจึงรอดตายอีกครัง้ ครั้งท่ี ๖ เขียนจดหมายให้โฆสกะไปส่งให้บ้าน ส่วย เพ่ือให้ผู้รักษาผลประโยชน์บ้านส่วยน้ันฆ่าท้ิงเสีย โดยเดินทางคร่ึงวันก็ไปถึงบ้านเพ่ือนของเศรษฐีในชนบท เศรษฐีนน้ั ก็ต้อนรับโฆสกะเปน็ อย่างดี เศรษฐีในชนบทนั้นมีบุตรสาวคนหนึ่ง เมื่อสาวใช้ ไปบอกแกน่ างวา่ บุตรของเศรษฐีในเมืองโฆสกะเดินทางมา พักช่ัวครู่ท่ีบ้าน เม่ือนางได้ยินเพียงแค่ช่ือก็เกิดความรัก แม้ยังไม่เห็นหน้าของเขา เพราะนางเคยเป็นภรรยาของ โฆสกะในสมัยที่เป็นนายโกตุหลิกะ พระพุทธองค์ได้ตรัส พระคาถาบทหนึง่ วา่

ปพุ เฺ พว สนฺนิวาเสน ปจฺจุปปฺ นนฺ หเิ ตน วา เอวนตฺ ชายเต เปม อปุ ล ว ยโถทเก ฯ ความรักย่อมเกิดขึ้นด้วยเพราะเหตุ ๒ ประการ คอื ด้วยการอยู่ร่วมกันในชาติก่อน ๑ ด้วยการเก้ือกูลกัน ในชาติปัจจุบัน ๑ เหมือนดอกบัวอาศัยน้าและเปือกตม จึงเกดิ ข้ึน ฉะน้นั ฯ ครงั้ ที่ ๖ นีเ่ องที่ทาให้โฆสกะได้แต่งงานกับลูกสาว เศรษฐใี นชนบทเมืองโกสัมพี และเมอื่ เศรษฐใี นเมืองโกสัมพี ท่ีเคยสั่งฆ่าตนถึง ๖ ครั้งได้ส้ินชีวิต เขาก็ได้สมบัติทั้งหมด จนผู้คนยกย่องและเรยี กเขาวา่ “โฆสกเศรษฐี” จากเรื่องโฆสกเศรษฐีท่ียกขึ้นมาอธิบายให้ฟังนี้ เป็นบ ทสรุป ของ ความ รักใ นทาง พระพุ ทธศ าสนา ท่ีอง ค์ สมเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ ซ่ึงความพิศดารของ ความรักท้ังสองประเภทจะอธิบายให้กระจ่างชัดในหัวข้อ ต่อไป พุทธวจนะ วา่ ดว้ ยรกั นตถฺ ิ อตตฺ สม เปม ความรกั อน่ื เสมอดว้ ยตนไม่มี นตฺถิ ปตุ ฺตสม เปม ความรักเสมอด้วยบุตรไม่มี

ประเภทของ “รกั ” พ ร ะ ผู้ มี พ ร ะ ภ า ค เ จ้ า ต รั ส เ ห ตุ แ ห่ ง ค ว า ม รั ก ว่ า เกิดขนึ้ เพราะเหตุ ๒ ประการซ่ึงมนี กั ปราชญ์ผู้รู้ได้ประพันธ์ เป็นบทกลอนเพ่อื ใหจ้ าไดง้ า่ ยข้ึนวา่ เหตุแหง่ รักท่านช้วี า่ มีสอง หน่งึ เคยครองปองรักสมคั รสมาน โดยบพุ เพนยิ มมานมนาน พอได้พานพบพกั ตร์รักปักใจ สองปจั จบุ นั หมั่นเกื้อเอ้อื เฟือ้ พร้อม รกั ก็ยอ่ มเกิดมาอย่าสงสยั เปรยี บอบุ ลตน้ กอละออใบ ยอ่ มอาศยั ตมน้างอกงามเอย ฯ จะเห็นว่า จากบทประพันธ์ข้างต้น ประเภทของ ความรักในทางพระพุทธศาสนา พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ ตรัสไว้ตามท่ีได้กล่าวมาแล้วในเรื่องโฆสกเศรษฐีข้างต้นนั้น มี ๒ ประการ คอื ๑. ความรักเกิดจากการอยู่ร่วมกันในอดีตหรือ ชาติก่อน เรารู้จักกนั ในคาวา่ “ปุพเพสันนิวาส” ซ่ึงเห็นได้ ชัดจากเร่ืองโฆสกเศรษฐี ตอนท่ีโฆสกเศรษฐีเป็นนายโกตุ หลิกะกับภรรยาท่ีชือ่ กาลี ที่มีความรกั ต่อกันจนตายจากกัน แล้วไปเกิดเป็นโฆสกเศรษฐีกับภรรยาที่เพียงแค่นางได้ยิน ชื่อกเ็ กดิ ความรักดงั ไดก้ ลา่ วไว้แลว้

๒. ความรักเกิดจากการเกื้อกูลกันในปัจจุบัน ซ่ึงเราจะเห็นได้ชัดจากเร่ืองโฆสกเศรษฐี ตอนท่ีโฆสก เศรษฐีมาเกิดเปน็ สนุ ัขในบ้านของนายโคบาลและเกิดความ รักในพระปัจเจกพุทธเจ้า เพราะท่านให้ข้าวปั้นหนึ่งแก่มัน เป็นประจา จนสุดท้ายเม่ือพระปัจเจกพุทธเจ้าได้เหาะไปสู่ ภูเขาคันธมาทน์ มันก็เห่าหอนจนใจขาดตายและไปบังเกิด เปน็ เทพบตุ รในสวรรค์ชัน้ ดาวดึงส์น่ันเอง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้แบ่ง ประเภทของความรักไวเ้ ป็น ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑. รักทไี่ ม่องิ อารมณใ์ คร่ เช่น ความรักระหว่างเพ่ือน ความรักระหว่าง พี่น้อง พ่อแม่ลูก ญาติสนิท ธรรมชาติของความรัก ประเภทน้ีจะม่ันคง ยืนยาว และเป็นความรักท่ีต่างจากรัก ของคู่รกั หรอื สามภี รรยา • ความรักระหว่างพ่อแม่ลูก อยู่บนรากฐานของ ความผูกพันทางใจและสายเลือด ท่ีก่อรากข้ึนต้ังแต่ลูกยัง เป็นก้อนเลือดในครรภ์ ส่วนลูกก็ต้องการความเอาใจใส่ ดูแล ผูกพัน มาแต่อ้อนแต่ออก ในความสัมพันธ์ระหว่าง พ่อแม่ลูกน้ี เป็นไปได้ว่าบางคร้ังพ่อแม่อาจรู้สึกผิดหวังใน ตัวลูก และก็มบี างคร้ังที่ลูกแสดงอาการท้าทาย ต่อต้านพ่อ แม่ แต่กระนั้นความรักระหว่างกันก็ยังคงอยู่เสมอ แม้ว่า ความสมั พันธ์อาจเปลี่ยนไปตามกาลเวลา

• ความรักระหว่างพ่ีน้อง เป็นความรักที่เกิดจาก ความผูกพันเช่นเดียวกัน แต่บางคร้ัง ก็มีการอิจฉาหรือ แข่งขันกันเกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะมักจะเกิดรุนแรงในช่วงวัย เด็กและวัยรุ่น ซึ่งสามารถทาให้ความรู้สึกดังกล่าวบรรเทา เบาบางลงด้วย การกระชับความสนิทสนม การสร้างความ อบอุน่ และการมสี ว่ นร่วมในครอบครัว • ความรักระหว่างเพ่ือน ในวัยรุ่นความรัก ระหว่างเพื่อนดูจะเป็นความรักที่ย่ิงใหญ่ เพราะวัยรุ่น ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อน เป็นวัยที่ใฝ่ฝัน อยากมี เพื่อนแทท้ ี่คาดหวังไว้ว่าจะเป็นเพ่ือนแท้กันตลอดไป เพ่ือน คือผู้ที่สามารถแลกเปล่ียนความรู้สึกนึกคิดต่อกันได้โดยไม่ มีเงื่อนไข ไม่หัวเราะเยาะ หรือมีปฏิกิริยาทางลบต่อ ความคดิ ของเรา แต่บางครั้งความรักระหว่างเพื่อนต่างเพศ ก็อาจจะงอกงามเปน็ ความรกั แบบคู่รักได้ ๒. รักฉนั ท์คูร่ กั /รกั ด้วยใจพศิ วาสปารถนา ความรักฉนั ท์ครู่ กั หรือรักด้วยใจพิศวาสปรารถนา ที่เรียกว่า Romantic Love เป็นความรักท่ีผสมผสาน ระหว่างอารมณร์ ักใคร่และความดึงดูดทาง ด้านสรีระ หรือ ความเย้ายวนทางร่างกาย ความรักแบบนี้จะทาให้คนรู้สึก อ่อนไหว เปราะบาง และบางคร้ังก็สับสน สามารถสร้าง ความรสู้ กึ ตืน่ เต้น แตบ่ างครั้งก็เจบ็ ปวดรวดร้าว

สว่ นในความคิดของผู้ประพันธ์ท่ีมีต่อประเภทของ ความรัก ข้าพเจ้าได้แบ่งความรักออกเป็น ๖ ประเภท โดยยึดหลักตามเหตุและผล ซ่ึงเป็นแนวทางตาม พระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่ ๑. รกั โดยไมม่ ขี อ้ ผกู มัด (พอใจ) ๒. รักเสนห่ า หรือรักแรกพบ (ชอบใจ) ๓. รกั มติ รภาพ (รักทวั่ ไป) ๔. รักจมปัก (หลง) ๕. รักแท้แต่ไม่สมหวัง (เสียสละ) ๖. รกั บนพื้นฐานความเปน็ จริง (รักแท)้ จากความรัก ๖ ประเภทนี้ ข้าพเจ้าจะอธิบาย รายละเอียดของแต่ละประเภทให้หัวข้อต่อ ๆ ไป ในที่นี้จะ อธิบายเฉพาะว่า ส่วนใดเป็นเหตุ และส่วนใดเปน็ ผลเท่านัน้ ส่วนที่เป็นเหตุ ข้าพเจ้าคิดว่า น่าจะเป็นประเภท ท่ี ๑, ๒ และ ๓ เพราะข้าพเจ้ามองว่า รักที่เกิดจากความ พอใจ, รักที่เกิดจากการชอบและรักทั่วไป จะมีเส้นก้ัน บางๆ กั้นอยู่ โดยที่เราไม่สามารถแบ่งเส้นบางๆ ท่ีว่าน้ัน ออกมาได้ และในส่วนท่ีเป็นผล ก็น่าจะเป็นประเภทที่ ๔, ๕ และ ๖ เพราะข้าพเจ้าเชื่อว่า ถ้ารักเกินไปก็กลายเป็น หลง, รักแน่แต่ไม่สมหวังก็กลายเป็นเสียสละ และรักที่อยู่ บนพื้นฐานของความเป็นจริงก็กลายเป็นรักแท้ ซึ่งก็มี มลู เหตมุ าจากความรกั ประเภทท่ี ๑, ๒ และ ๓ ท้ังนน้ั

อะไรคือจุดหมายทแี่ ท้จริงของคาวา่ “รกั ” แท้ที่จริงแล้ว ทุกคนต่างก็ปรารถนาท่ีจะมีรัก เป็นเพียงความปรารถนาเพ่ือตอบสนองความต้องการของ ตนเท่านัน้ ซงึ่ เราทุกคนคดิ วา่ เป็นจดุ หมายที่แท้จริงของคา วา่ รกั แต่ในความเป็นจริง ความปรารถนาน้ัน ทุกคน ต่างก็มีจุดหมายในทางกามารมณ์หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง “ความใคร่” โดยเฉพาะในสังคมปัจจุบัน ชายหญิงจะคบ หาดูใจกันถึงขั้นอยู่กินฉันท์สามีภรรยา ก่อให้เกิดเป็น ครอบครัวท่ีสมบูรณ์เหมือนอย่างในอดีตน้ันก็หาได้ยาก เน่ืองจากเราไม่ได้มองเห็นความรักเป็นอย่างเดียวกัน หรือ ที่เรียกว่า “มองรักต่างมุม” แล้วเราจะพบจุดหมายท่ี แท้จรงิ ของคาว่ารกั ไดอ้ ยา่ งไร ดังท่ีได้กล่าวไว้แล้วในอารัมภบทน้ันว่า ในชีวิต สรรพสตั ว์ท้งั หลายในโลกน้ี ย่อมมีความปรารถนาในส่ิงอัน เป็นที่รักท่ีพอใจ อาจจะสมหวังหรือไม่สมหวังกับความ ปรารถนานั้นก็เป็นได้ แต่มีสิ่งสาคัญประการหน่ึง ซึ่งทาให้ ชีวิตของสรรพสัตว์เหล่านั้นมีคุณค่า มีความหมายมากมาย สุดที่จะพรรณนา เป็นเหมือนยารักษาโรคทางใจ ท่ีมีท้ัง คุณประโยชน์และโทษมหาศาล สิ่งสาคัญท่ีว่าน้ันคือ “ความรกั ”

ที่กล่าวมานี้ช้ีให้เราเห็นว่า ความรักนั้นมีจุดหมาย ท่ีแท้จริงอยู่ท่ีการเอาใจใส่ดูแลรักษา หรือลดทิฏฐิมานะ ของตน หรือปรับทัศนคติให้เหมาะสมเข้ากับบุคคลอ่ืน เพอื่ ให้บคุ คลไดร้ บั ความปรารถนาที่ดี หรือมีความสุขกับส่ิง ทเ่ี ราได้กระทาหรือมอบใหเ้ ขา ซึ่งอาจจะไม่ใช่เฉพาะกับคน ที่เรารักฉันท์ชู้สาวอย่างเดียว แต่นั่นหมายถึงทุกคนใน สังคม ไม่วา่ จะเป็นพ่อแม่ พี่น้อง ญาติมิตร เพื่อนพ้อง ฯลฯ เราก็จะต้องส่งมอบความปรารถนาดี หรือที่เราเรียกว่า ความรักน้ันให้ด้วย น่ีแหล่ะจึงจะได้ช่ือว่า เป็นจุดหมายที่ แทจ้ รงิ ของคาวา่ รัก จุดหมายของรัก คอื พรหมวหิ าร ๔ จดุ หมายท่แี ทจ้ ริงของรัก...มิใช่เพียงกามารมณ์ การปรารถนาใหค้ นอน่ื มีความสุข (เมตตา)๑ การปรารถนาใหค้ นอืน่ ไม่มคี วามทุกข์ (กรณุ า)๑ หรอื พลอยยนิ ดี เมื่อเขาประสบกับสุข (มทุ ิตา) ๑ แม้แต่มซิ า้ เติม เมื่อเขาประสบทกุ ข์ (อุเบกขา) ๑ สง่ิ เหล่านีแ้ หละ่ เป็นจุดหมายที่แทจ้ รงิ ของคาว่า “รกั ”

รกั โดยไม่มีข้อผูกมัด (พอใจ) เมื่อกล่าวถึงความรัก จุดเริ่มต้นของการมีรักย่อม เกิดจากความพอใจ หรือในทางพระพุทธศาสนาเรียกว่า อิฏฐารมณ์ (อารมณอ์ นั นา่ พอใจหรอื พึงพอใจ) เป็นความ รักที่เกิดขึ้นได้ง่าย เพราะปรุงแต่งด้วยกามารมณ์ หรือมี ความใคร่เป็นมูลเหตุในการเกิดขึ้น ความรักประเภทน้ี เราเห็นบ่อยในสังคมปัจจุบัน เนือ่ งจากเปน็ ความรกั ทไี่ ม่มีข้อผูกมัด จึงจัดว่าเป็นความรัก ที่ไม่ย่ังยืน เหมือนจอกแหนในลาคลอง เม่ือโดนกระแสน้า ท่ีเช่ียวกราด หรือโดนลมแรง ย่อมไหลไปตามน้า ฉันใด รักโดยไม่มีข้อผูกมัด อาศัยเหตุคือความพอใจก็ย่อมเป็น ฉันน้ัน แต่หาใช่ว่า รักโดยไม่มีข้อผูกมัดน้ี จะไม่พัฒนาไปสู่ ความรกั ทยี่ ่งั ยืนไม่ เมื่ออาศัยเหตุปัจจัยอื่นย่อมพัฒนาไปได้ เหมอื นจอกแหน อาศัยน้าและดินท่ีสมบูรณ์ ก็สามารถหยั่ง รากใหล้ งสดู่ นิ ได้ ฉันนน้ั เหตุที่ข้าพเจ้าเรียกความรักที่ไม่มีข้อผูกมัดน้ีว่า ความพอใจ เพราะรักนี้เกิดข้ึนได้ง่ายดังท่ีได้กล่าวมาแล้ว ซ่ึงอาศัยความพอใจเป็นหลัก หาได้อาศัยเหตุปัจจัยอย่าง อ่นื ไม่ ดังวลีท่วี า่ “เพียงแคพ่ ึงพอใจ กร็ กั ไดท้ ันที”

ด้วยเหตุผลท่ีได้กล่าวมาแล้วในข้างต้นน้ี เพื่อให้ เขา้ ใจรักประเภทน้ีมากขึน้ จงึ ประพันธ์เป็นบทกลอนดังน้ี “รักแท้ท่ีว่าใช่ พงึ พอใจเท่านน้ั หรือ ผ้คู นต่างเลอ่ื งลอื ว่ารกั คอื ส่งิ ยงั่ ยนื รักนมี้ ่นั คงได้ ตอ้ งอาศัยปจั จยั อืน่ ใส่ใจทกุ วนั คืน รักย่ังยนื ทุกคืนวันฯ ” อีกประการหนึ่ง รักโดยไม่มีข้อผูกมัดนี้ ในแนวคิด ของขา้ พเจา้ เหน็ ว่า เป็นที่มาของรักประเภทอื่น เพราะเป็น พ้นื ฐานของรกั ด้วยเหตุผลที่ว่า“รักย่อมอาศัยความพอใจ เป็นเหตุ เพ่ือก่อให้เกิดขึ้น เหมือนต้นไม้ ย่อมเจริญงอก งามหรอื ตง้ั มั่นอยู่ไดต้ ้องอาศยั ราก ฉนั นัน้ ” เพราะฉะนั้น เราจะต้องทาเข้าใจให้ดีกับความรัก ประเภทน้ี เพ่ือให้ประสบพบกับความรักที่ยั่งยืน ไม่ใช่รักท่ี ขมข่ืนกลืนกินไม่ได้ อันเป็นเหตุให้ตกอยู่ภายใต้กฎของ ความงมงาย จนสดุ ท้ายกระทาส่ิงชั่วร้ายโดยไม่มีสติ ชีวิตนี้ เราเป็นผู้กาหนดชะตาของเราเอง ไม่มีเทวาอารักษ์ อินทร์ พรหม ยม ยักษท์ ี่ไหนกาหนดชะตาชวี ิตเราได้ เพราะฉะนั้น ควรทาความเขา้ ใจในรกั ท่แี ท้จริง เหมือนคนสวนปลูกผลไม้ ไว้ หวังให้ได้ผลดี ก็จาเป็นที่จะต้องดูแลรักษาใส่ใจอยู่เป็น ประจา ฉันใด รักโดยไม่มีข้อผูกมัดก็จะต้องอาศัยดินคือ จิตใจทีด่ ี อาศยั นา้ คือความใส่ใจท่ีบริสุทธิ์ และอาศัยปุ๋ยท่ีดี คือความเขา้ ใจ ต้นไมค้ ือรัก ย่อมงอกงามได้ ฉนั น้ัน

รักเสน่หา หรอื รักแรกพบ (ชอบใจ) รักเสน่หา หรือรักแรกพบ เราอาจจะยังไม่คุ้นกับ คานี้ แต่แท้ท่ีจริง เรารู้จักกันดีในคาว่า “บุพเพสันนิวาส” ดังที่เคยได้กล่าวไว้แล้วในเรื่อง “โฆสกเศรษฐี” จัดเป็น ความรกั ทม่ี มี ูลเหตุมาจากความพอใจดงั ที่ได้กล่าวไว้แล้วใน หัวข้อก่อนหน้าน้ี และได้พัฒนาจากความพอใจมาสู่ ความชอบใจหรือความเสน่หา ดังวลีท่ีว่า “พอเห็นหน้าก็ พาใหร้ กั พอได้รู้จักก็พาให้คิดถึง” ซง่ึ พระพุทธองค์ได้ตรัส ไว้ในสาเกตชาดกที่ยกเหตุเกิดแห่งรักมาพรรณนาดังได้ กล่าวมาแล้วน้ัน รักประเภทนี้ ถ้าเราสังเกตให้ดี เราจะเห็นว่า เป็นรักท่ีไม่อิงอาศัยกามารมณ์ หรือมีข้อผูกมัดเหมือน ความรักประเภทก่อนหน้านี้ ที่บอกว่า ไม่อิงอาศัย กามารมณ์ เพราะเป็นความรักที่อาศัยมูลเหตุเดิมจาก ในอดีต ในทนี่ ห้ี มายถงึ ภพกอ่ น เช่น เคยเปน็ คนรักกัน หรือ เคยอยู่เป็นครอบครัวกันมา เมื่อมาสู่ภพน้ี แค่ได้เห็นหน้า หรอื แคเ่ จรจาพาทีเพียงแค่มีประมาณนิดหน่อย ก็พลอยให้ ใจยินดี หรอื มีความชอบใจเกดิ ข้นึ นน่ั แหละ่ คอื รักแรกพบ

บางคนอาจตั้งคาถามในใจมาเป็นเวลานานว่า “แล้วคนท่ีเขาอยู่ด้วยกันมาเป็นเวลานานพอสมควร จนมีลูกคนสองคนแล้ว หย่าร้างหรือเลิกรากันไป อย่างนี้ ท่านจัดว่า เป็นรักแรกพบหรือรักเสนห่ าหรอื ไม่ ?” แท้ท่ีจริง ความรักท่ีกล่าวมา ท่านจัดว่า เป็นรัก เสน่หาหรือรักแรกพบเหมือนกัน แต่เป็นเพราะความคิด หรือทัศนคติของคนท้ังสองอาจจะไม่เสมอกัน หรือไม่ ตรงกัน อันมีเหตุมาจากความแตกต่างของฐานะทางสังคม หน้าท่ีการงาน หรือแม้แต่การที่ไม่ใส่ใจในรัก ซ่ึงถือว่าเป็น ปัจจัยสาคัญท่ีทาให้คนท้ังสองเลิกรา เพราะคนทั้งสองอาจ ไปให้ความสาคัญกับปัจจัยอื่นมากจนเกินไป จนลืมใส่ใจ หรือปรบั ความเขา้ ใจให้เสมอกัน เพราะฉะนั้น เม่ือเราประสบหรือพบรักกับใคร ดังมีลักษณะอาการดังที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น จาเป็นจะต้อง ใส่ใจในรักนั้นให้ดี เพราะข้าพเจ้าเชื่อว่า รักประเภทนี้ จะพัฒนาไปสู่รักแท้ที่ยั่งยืนได้ ซ่ึงต้องอาศัยความใส่ใจและ เขา้ ใจในรักเป็นหลัก เหมือนอาหาร จะอร่อยหรือไม่อร่อย ไม่ได้อย่ทู ่คี นทา แต่อยทู่ ่คี นทาน ว่าจะให้ความสาคัญกับ อาหารน่ันหรือไม่ ฉันใด รักเสน่หาหรือรักแรกพบ ย่อมเจริญหรือพัฒนาไปสู่รักแท้ท่ียังยืนได้ เพราะอาศัย ความใส่ใจและเขา้ ใจในรักของคนทั้งสอง หาใช่คนอื่นไม่ ฉนั น้ัน

รกั มติ รภาพ (รักทั่วไป) ฟังแค่ชื่อก็คงบอกได้ว่า เป็นรักท่ีไม่มีข้อผูกมัด เป็นรักทีไ่ ม่องิ กามารมณ์ เพราะฉะนัน้ เม่ือมองกว้างๆ แล้ว รักประเภทน้ี จึงหมายรวมถึงรักท่ีมีต่อพ่อแม่ พ่ีน้อง ญาติ มิตรสหาย หรือแม้แต่คนที่เรารักหรือคู่รัก ซึ่งถือว่าเป็น ความรกั ทีย่ ง่ิ ใหญ่ หาสงิ่ ใดเปรียบเปรยได้ รักประเภทน้ี เม่ือแบ่งตามบทบาทหน้าท่ีและ ภาระงานท่ีบุคคลพึงรับผิดชอบ สามารถแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คอื ๑. ความรักระหว่างพอ่ แม่กบั ลูก ถือว่าเป็นความ รักท่ีไม่อิงการารมณ์ รักด้วยความบริสุทธ์ิใจ ซ่ึงความรัก ของพ่อแม่ที่มีต่อลูกย่ิงใหญ่เกินกว่าที่จะหาสิ่งใดเปรียบ ดังนักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้รู้ท้ังหลายได้ประพันธ์บทกลอน เปรียบเปรยความรักของพ่อและแม่ไว้ว่า “จะเอาโลกมา แทนปากกา แล้วเอานภามาแทนกระดาษ เอาน้าหมด มหาสมุทรแทนหมึกวาด ประกาศพระคุณไมพ่ อ” ส่วนลูกก็พึงตอบแทนพระคุณของท่านที่ได้ทามา ตั้งแต่เกิดจนเติบใหญ่ จึงจะได้ช่ือว่า “กตัญญูกตเวทิตา” ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสพุทธพจน์บทหน่ึงไว้ว่า “นิมิตฺต สาธุรูปาน กตญฺญูกตเวทิตา ความกตัญญู กตเวทติ า เปน็ เคร่ืองหมายของคนดี”

แม้ว่าบางคร้ัง ลูกอาจกระทาผิดพลาดพลั้งไป แต่พ่อแม่ทุกคนก็พร้อมท่ีจะอภัยให้ลูกเสมอ นี่แหล่ะเป็น ความรักทย่ี ิง่ ใหญ่ เป็นรกั แหง่ มติ รภาพท่แี ทจ้ ริง ๒. ความรักระหว่างพี่น้อง เป็นรักที่มีท้ังความ จริงใจและไม่จริงใจ เพราะบางคร้ังความรักน้ันเจือปนไม่ ด้วยความอิจฉาริษยา เน่ืองจากถูกความโลภครอบงา จนลืมนึกไปวา่ นนั่ คอื พน่ี อ้ งของตน แท้ท่ีจริง รักประเภทน้ี มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้าง ความสามัคคีและเก้ือกูลหรือช่วยเหลือกันของพ่ีน้องใน วงศาคณาญาติเดียวกัน อันจะก่อให้เกิดรักแห่งมิตรภาพท่ี แท้จริง คือ ความปรารถนาที่ดีต่อกัน อันจะทาให้สังคม เครือญาติอยรู่ ว่ มได้อย่างสงบสขุ ๓. ความรักระหว่างเพื่อน เป็นความรักท่ี ใกล้เคียงกับความรักระหว่างพ่ีน้อง แต่โอกาสท่ีจะ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันนั้นอาจจะมีประมาณน้อยกว่า ดังวลี ท่ีว่า “เพื่อนกินหาง่าย เพ่ือนตายหายาก” ซึ่งความรัก ประเภทน้ี จึงเป็นรักท่ีเพ่ือนตายมีให้แก่กันเท่านั้น ส่วนเพ่ือนกนิ คงไม่ต้องพรรณนา เพราะหาส่วนที่จะเก้ือกูล กนั นนั้ หาไดไ้ ม่ เป็นเพอื่ กนั ได้เพราะผลประโยชนท์ ง้ั นัน้ ส่วนความรักระหว่างคู่รักคงไม่ต้องพูดถึง เพราะ ถา้ เป็นความรกั ท่ปี ราศจากความหวาดระแวงซ่ึงกันและกัน ก็จดั เปน็ รักมติ รภาพเหมอื นกนั

รักจมปกั (หลง) มคี นอกี ไมน่ อ้ ย ยงั เข้าใจความรักแบบผิดๆ เพราะ ยงั ยึดติดหรือผูกมัดกับความรักน้ันว่า“แม้ว่าเราจะต้องอยู่ ด้วยกันอย่างยากลาบาก ก็ไม่มีใครหน้าไหนมาพราก ความรักไปจากเราท้ังสองได้” นี่ถือว่าเป็นความรักที่ งมงาย จมปักอยู่ หรือในทางพระพุทธศาสนาเรียกว่า “หลง” รกั ประเภทนี้ อาจพัฒนาความจากความรักเสน่หา หรือรักแรกพบก็เป็นได้ เพราะอาศัยความรักที่เกิดจาก ความชอบใจเหมือนกัน แต่ที่แตกต่างคือ การยึดมั่นถือ หรือท่ีเราเรียกว่า “การเป็นเจ้าเข้าเจ้าของ” ซ่ึงตกอยู่ ภายใต้อิทธิพลของความรัก จนไม่สามารถแยกแยะดีหรือ ชั่วออกจากกันได้ ซึ่งสุดท้าย เมอ่ื ไม่ได้ตามความปรารถนา ที่ตนมี ก็มุ่งกระทาอัตวินิบาตกรรมหรือการฆ่าตัวตาย ซ่ึงถือว่าเปน็ การกระทาทีไ่ ร้ซึ่งปญั ญา คือ ความรู้เห็นท่ีเป็น จริง สิ่งสุดท้ายที่จะได้รับก็ไม่พ้นคุก และต้องทนทุกข์ใน นรกอเวจีท่ีมีอยใู่ นจติ ใจ เมื่อมองดูสภาพแวดล้อมในสังคมปัจจุบันแล้ว ความรักประเภทนี้มีเห็นกันบ่อยมาก จึงขอเตือนสติและ ฝากข้อคดิ ด้วยบทประพันธน์ ี้วา่

รกั ใดในแผน่ ฟ้า ผืนดนิ รกั ดงั่ ดวงชวี ิน แน่แท้ รักคนส่ิงทรัพย์สิน ฤาบ่ รักจริง รักแตห่ ลงคงแพ้ แน่แท้สญุ ญตาฯ รกั แท้แตไ่ ม่สมหวัง (เสยี สละ) เมือ่ บุคคลสองคน พบรักกัน ไม่ว่าจะมีข้อผูกมัดใน อดีตหรือท่ีเรียกว่า “คลุมถุงชน” หรือเกิดจากความรัก เสน่หา หรือรักแรกพบก็ตาม เมื่อความคิดของตนท้ังสอง แตกต่างกัน หรือด้วยเหตุผลประการอ่ืนก็ตาม ย่อมถอย ห่างจากกัน หรอื ในความคิดของข้าพเจา้ คอื ความเสยี สละ รักประเภทน้ี ก็เห็นได้บ่อยครั้งในสังคมปัจจุบัน โดยเฉพาะในแวดวงดารา เม่ืออยู่ร่วมกันไม่ได้ ก็เสียสละ หรือเลิกรากันไป นี่แหล่ะถึงเรียกว่า รักแท้ เพราะรักบน พน้ื ฐานของความเป็นจริง แต่เม่ือเวลาเปล่ียนไป ใจของคน ก็ย่อมเปลี่ยนแปลง รักย่อมเหี่ยวแห้งไป เหมือนดอกไม้ เมื่อแรกแย้มย่อมดูสวยงาม แต่เมื่อเวลาเปลี่ยนไป ดอกไม้ย่อมเหย่ี วแหง้ ไปเปน็ ธรรมดา เพราะฉะน้ัน รักประเภทนี้ จึงมีคติทางธรรม นามาเป็นขอ้ คิด เพอื่ เตอื นจิตใจของคนว่า \"เสียสละทรัพย์ เพ่อื รกั ษาอวยั วะ เสยี สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต เสียสละ ชวี ิตเพ่ือรกั ษาธรรม\"

“รักแท้” คืออะไร “...รักแท้ รักท่ีอะไร ตับไตไส้พุง หรือรัก กางเกงที่นุ่ง ว่าดูสวยดี รักที่นามสกุล รักย่ีห้อรถยนต์ รกั เพราะว่าไมจ่ น มสี ตางค์ให้จ่าย...” คงไม่ต้องบอกเลยว่า เพลงที่ได้ยินคือเพลงอะไร ? ใช่แล้ว เพลง “รักแท้...ยังไง” ของน้าชา ชีรณัฐ ยูสานนท์ แห่งค่ายจีเอม็ เอม็ แกรมม่ี พอไดย้ นิ เพลงนี้แล้ว มันทาให้ฉันคิดข้ึนมาทันทีว่า เพลงน้ีมีเน้ือหาสาระที่บ่งบอกถึงสัจจะธรรม หรือความ เป็นจริง ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่า เป็นสิ่งที่น่าค้นหา เพราะใน เนื้อหาเพลงถามถึงความเป็นจริงของความรักว่ามันคือ อะไร ตบั ไตไ้ สพงุ หรอ หรอื วา่ เครอ่ื งใช้ไม้สอย หรือว่าฐานะ ทางสงั คม ฯลฯ นี่ล่ะเป็นที่มาของการค้นคว้าหาความจริงที่ว่า รกั แท้คืออะไร ? ย่ิงในสังคมปจั จุบัน กระแสโลกตะวนั ตกกาลังกลืน กินวัฒนธรรมเก่าๆ ที่สืบทอดกันมาหลายช่ัวอายุคน ซ่ึงเป็นเวลายาวนาน หาท่ีจะประมาณได้ ทาให้ผู้คนใน สังคมต่างเร่งรีบกับการทามาหาเลี้ยงชีพจนลืมใส่ใจสิ่ง สาคญั ประมาณหน่งึ นน่ั คอื “ความรกั ”

จริงอยู่ว่า คนในสมัยก่อน ไม่มีโอกาสที่จะรักหรือ ชอบใครได้โดยอิสระ เพราะเรื่องชนช้ันวรรณะ หรือฐานะ ทางสังคมของคนในอดีตยังเป็นลักษณะ “คลุมถุงชน” อยู่ การท่ีคนจนหรือคนที่มีฐานะค่อยข้างขัดสน จะได้คน ร่ารวยหรือคนท่ีมีฐานะดีย่อมเป็นไปได้ยาก ดังมีวลีที่ว่า “ดอกฟ้ากับหมาวัด” เหตุผลหน่ึงมาจากพ่อแม่ของคน เหล่าน้ันจะเป็นผู้จัดการให้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการเลือก คู่ครอง การเรยี กร้องคา่ สนิ สอดทองหมั้น หรือถ้าเป็นเพื่อน กัน ก็จะมีการหม้ันหมายหรือทาข้อตกลงกันไว้ต้ังแต่ลูก ของท้ังสองยังไมเ่ กดิ แต่นไ่ี มใ่ ชส่ าระสาคญั ของเรือ่ งน้ี สาระสาคัญมีอยู่ว่า “ในอดีต คนที่เป็นคู่ครองกัน ไม่ได้รักกันก่อน เพราะถูกคลุมถุงชนจากพ่อแม่ท้ังสอง ฝ่าย แตท่ าไมถึงอยูร่ ่วมกนั ได้จนตายจากกนั ไป” คาตอบมีอยู่ว่า คงเป็นเพราะ คนในอดีตเมื่อได้ เป็นคู่ครองกนั แรกๆ กอ็ าจจะยังไม่รักกนั หรืออาจถึงข้ัน ทะเลาะเบาะแว้งกันบ่อย แต่เมื่ออยู่ด้วยกันนานๆ ไปก็ เกิดความเหน็ อกเหน็ ใจกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เอาใจใส่ ซง่ึ กนั และกัน จนเกิดเป็นความรักที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้ ในเหตุแห่งรักประการที่สอง คือ รักเกิดจากการเกื้อกูลกัน ในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นรักท่ีย่ังยืน เพราะอยู่บนพื้นฐานของ ความเป็นจรงิ

เพราะฉะน้ัน เมื่อมองดูสังคมในอดีต ชีวิต ครอบครัวของคนในสมัยน้ัน จึงสงบสุข ไม่มีเร่ืองหย่าร้าง เหมือนในปัจจุบัน หนักหน่อยก็แค่ไม่คุยกันวันสองวัน แต่สุดท้ายก็คืนดีกัน เพราะนึกถึงความทุกข์ยากลาบากที่ ได้ฟันฝ่ามาด้วยกัน และไม่กล้าที่จะหย่าร้างกัน เน่ืองจาก กลัวเป็นหม้าย เพราะคนสมัยก่อนไม่นิยมคนท่ีมีสามีหรือ ภรรยามาก่อน แต่ก็มีเพียงส่วนน้อยท่ีจะกระทานอกจากท่ี กลา่ วมา ดังน้ัน จงึ สรุปได้ว่า รักแท้ คือ รักท่ีอยู่บนพ้ืนฐาน ของความเป็นจริง ซึ่งในทางโลกวิสัย หมายถึง รักจริงที่ไม่ อิงกามารมณ์ หรอื พูดงา่ ยๆ วา่ “รักทีค่ วามดี ใช่รักท่ีตัวตน และฐานะ” ส่วนในทางพระพุทธศาสนาก็มีความหมาย เช่นกันทางโลกวิสัย แปลกแต่มุ่งเน้นไปที่คุณงามความดี เปน็ สาคญั แต่ในทัศนะของข้าพเจ้าแล้ว เห็นว่า รักแท้มีแค่ นามธรรมเท่าน้ันแหล่ะ ทีเราเห็นว่า รักๆ กันอยู่ปัจจุบัน นี้ มนั เป็นความรักเจือปนด้วยความใคร่ ย่ิงสังคมยุคใหม่ ที่ได้รับวัฒนธรรมมาจากตะวันตก ยิ่งทาให้มองรักกัน เพียงผิวเผินกันเท่านั้น เห็นความรักเป็นรูปเป็นร่าง ต่างปรารถนามาเป็นเจ้าเข้าเจ้าของกันท้ังนั้นดังเห็นกัน บ่อยๆ เพราะฉะนัน้ จงทาความเข้าใจกับรักแทใ้ หด้ ี...

เม่ือไหร่จะร้จู ักกับ “รักแท้” ซกั ที คนบางคนปรารถนาความรัก หรือใฝ่แสวงหา ความรัก เพ่ือสนองความต้องการของตน น่ันก็คือ การ ครอบครอง หรือความเป็นเจ้าของ ซึ่งทางพระพุทธศาสนา เรียกความตอ้ งการน้วี ่า “กามารมณ์” แต่หลายคน มองความรักว่าเป็นส่ิงสวยงาม น่ายกยอ่ งเชิดชู หรอื ที่เรียกวา่ “บชู ารกั ” ตอ่ ให้ฝกตกหนัก จนน้าท่วม หรือต่อให้ดินแห้งแตกกระแหงจนไม่เหลือน้า ซักหยด ขอให้มีคนรักอยู่เคียงข้างเท่าน้ัน ก็ถือว่าเป็นสิ่งท่ี สาคัญแลว้ สาหรับบางคน มองความรักว่าเป็นแค่เศษเสี้ยว ของกามหรือความใคร่ ใช้ชีวิตไปกับความรักน้ันโดยไม่ได้ ใส่ใจ หรือที่เรียกว่า “เลิกเม่ือไหร่ คบใหม่ทันที” อะไร ประมาณนี้ จนเกิดปัญหาสังคมตามมาเยอะแยะมากมาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาโสเภณี ปัญหาครอบครัว ปัญหาการ หย่ารา้ ง สารพดั แต่ก็ยงั มีคนอีกมาก ที่จะเลอื กรักแบบน้ี ในความเป็นจริงแล้ว มีคนอีกหลายคนที่ยังไม่ เข้าใจว่า รักคืออะไร? ทาไมต้องมีรัก? หรือแม้แต่บางทีก็ กล่าวว่า “รักแท้แค่ข้ามคืน” ซึ่งแท้ท่ีจริงแล้ว หาใช่ เช่นนั้นไม่

เม่ือไม่เข้าใจความรัก ก็มักจะบ่นพรึมพราอยู่เสมอ ว่า เม่ือไหร่จะรู้จักกับ “รักแท้” ซักที ? คงไม่ต้องไปถาม ใครท่ีไหนดอก คงต้องถามตัวเองนั่นแหล่ะว่า จริงใจกับ ความรกั เหล่านน้ั หรือไม่ ? ถ้าจริงใจแล้ว ใส่ใจในรักน้ันบ้างหรือเปล่า ? โดยเฉพาะรักท่ีเกิดข้ึนจากคนที่อยู่ใกล้ เช่น พ่อแม่ พี่น้อง ญาติมิตร ถ้าท่านตอบว่า ไม่เคย ก็แปลว่า ท่านละเลยกับ การพบรกั แท้ เพราะฉะนั้น ท่านต้องมองดูคนท่ีอยู่ใกล้และ เอาใจใส่กับความรักของคนเหล่านั้น ท่านก็จะรู้เองว่า รักแท้อยู่ที่ไหน และจะได้ไม่ต้องตะโกนถามใครต่อใคร หรือบ่นพรึมพราในใจว่า “เม่ือไหร่จะรู้จักกับ “รักแท้” ซักท”ี ดังวลที ่วี ่า เม่อื ใดทใี่ จยงั ใฝ่หา “รกั แท้” โดยไมแ่ ครค์ นทอ่ี ยใู่ กล้ แล้วเราจะพบ “รกั แท้” ได้อย่างไร เพียงมองดคู นท่ีอยูใ่ กล้ และเอาใสใ่ จใหด้ ี กจ็ ะเจอ...ฯ

จะเทีย่ วหา “รักแท้” ไปทาไม เมอื่ ไดร้ จู้ กั วา่ รกั คืออะไร ? เกิดจากอะไร ? แต่ละ ประเภทเป็นไฉนแลว้ ท่านยังจะตามหารกั แทอ้ ยูอ่ กี หรือ... มันอาจเป็นคาถามท่ีใครหลายคนไม่อยากรู้ คาตอบ และรู้ท้ังรู้ว่า รักแท้จะเป็นอย่างไร แต่ทุกคนก็จะ ทาตามใจสวนกระแสความเปน็ จริงอยู่วนั ยังคา่ น่ีอาจเป็นเพราะทุกคนยังติดอยู่ในอิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์อันน่าใคร่ และทุกคนต่างหวังในภพหน้าชาติหน้า ซึง่ สง่ิ เหลา่ น้ี หาใช่ความแท้ท่ีย่ังยืนไม่ จริงอยู่ว่า รักแท้ คือ รักท่ีอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง แต่ทุกส่ิงเมื่อละจาก สภาวะหนึ่งไปสู่อีกสภาวะหน่ึง ย่อมไม่เป็นท่ีพอใจ หรือไม่ ต้องการให้เกิดข้ึน แต่เม่ือประสบกับส่ิงเหล่านั้น เราก็เกิด ความทกุ ขใ์ จ และใฝแ่ สวงหารักใหมอ่ ยรู่ ่าไป เพราะฉะน้ัน เมื่อเรารู้แล้วว่า รักแท้เป็นแค่ นามธรรม คืออาจจะมีอยู่จริง แต่มันนิ่งอยู่ในใจ ไม่ได้ มีรูปร่างหน้าตา หรือสามารถจับต้องได้ด้วยอินทรีย์ อย่างอน่ื ยกเว้นจติ หรือใจของเราเอง การท่ีเรารักใครชอบใคร ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ พ่ี นอ้ ง ญาติมิตร ครู่ กั หรือใครต่อใครในโลกนี้ นั่นเป็นแค่เรา รักที่เขาเป็น รักท่ีเขาให้ รักที่เป็นแค่นามธรรม เมื่อเราละ สังขารหรือบุคคลเหล่านี้ไม่มีร่างกายอินทรีย์อยู่แล้ว เราก็ ยังรักเขาอยู่คือรักในความดขี องเขาเหลาน้ัน

ท้ายท่ีสุด เม่อื ใจของเราบริสุทธิ์ รับรู้รักที่บริสุทธ์ิ ถึงแมจ้ ะเปน็ แคน่ ามธรรม แต่ถา้ เราใสใ่ จและเข้าใจรักใน ช่วงเวลาน้ันให้ดี รักก็ย่อมบริสุทธิ์ดุจเดียวกันได้ มันก็ เหมือนกับยารักษาโรค มีทั้งคุณและโทษแก่ผู้บริโภค เม่ือไม่มีโรคแล้ว ถามว่า เราจาเป็นต้องกินยาน้ันอยู่หรือ เปล่า ? ใช่แล้ว เราไม่จาเป็นต้องกินยานั้น แต่ต้องเก็บ ยานั้นไว้ใช้ในรักษาคนอ่ืนหรือรักษาโรคที่อาจเกิดข้ึนมา อีกก็ได้ เหมอื นกบั ความรักทเี่ ราพจิ ารณาแล้ว ฉันนน้ั ไม่มีคาพูดใดท่ีจะสรุปว่า เราจะเท่ียวหา “รักแท้” ไปทาไม เพราะมันยากยิ่งท่ีจะอธิบายให้กระจ่างชัดได้ น อ ก จ า ก บ ท ป ร ะ พั น ธ์ ท่ี ข้ า พ เ จ้ า ไ ด้ ป ร ะ พั น ธ์ ไ ว้ ด้ ว ย กาพย์ยานี ๑๑ บทนีว้ า่ รักใดในล้าฟา้ เขยี ว รกั สมกลมเกลยี ว รักเดียวรกั ย่ิงจริงใจ รกั พ่อรักแมย่ ิ่งใหญ่ รักสดุ หวั ใจ รักในคณุ งามความดี รกั นอ้ งเพอื่ นพอ้ งรกั พี่ ญาติมิตรไมตรี รักท่จี กั พรรณนา รกั แทม้ วั แต่คน้ หา เสียเปลา่ เวลา รกั กว่าจะมาเปน็ จรงิ รกั หรือคอื ทุกขส์ ขุ ยง่ิ รักบ่มีจริง รักนง่ิ เปน็ สญุ ญตา

ประวตั ิผปู้ ระพนั ธ์ ช่ือ-ฉายา/นามสกลุ พระมหาอบุ ล ญาณเมธี (นติ ธุ ร) อาย/ุ พรรษา ๒๔ พรรษา ๔ วัน เดือน ปเี กิด ๖ กนั ยายน ๒๕๓๑ ท่อี ย่ปู ัจจบุ นั วดั กาญจนสงิ หาสนว์ รวิหาร แขวงคลองชักพระ เขตตลงิ่ ชนั กรงุ เทพมหานคร ๑๐๑๗๐ โทรศัพท์ ๐๘๗-๓๕๘๔๗๕๗ E-mail [email protected] การศกึ ษา - นกั ธรรมชั้นเอก - เปรยี ญธรรม ๓ ประโยค - อนุปรญิ ญาศลิ ปศาสตร์ (การพัฒนาชุมชน) วทิ ยาลัยชุมชนกรุงเทพมหานคร ปจั จุบนั กาลังศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี - ศาสนศาสตรบัณฑิต (รฐั ศาสตร์การปกครอง) มมร.สธ. - รัฐประศาสนศาตรบัณฑิต (การบรหิ ารทอ้ งถนิ่ ) มสธ. - ศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต (การสอนภาษาไทย) ม.รามคาแหง การทางาน - นายทะเบียน ร.ร.วัดกาญจนสงิ หาสนว์ ทิ ยา - หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คล ร.ร.วดั กาญจนสงิ หาสนว์ ิทยา - พระวทิ ยากร ฝ่ายฝกึ อบรม ค่ายใตร้ ่มพุทธธรรม สานกั งานส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม และความมัน่ คงแห่ง สถาบนั ชาติ พระศาสนา พระมหากษตั ริย์

“รัก” เป็นเหมือนยารกั ษาโรคทางใจ ท่ีมีทง้ั คณุ ประโยชน์และโทษมหาศาล รกั เป็นแค่นามธรรม หาใชร่ ปู ธรรมทแี่ ท้จริงไม่ เปน็ ความรสู้ กึ นึกคดิ ซึ่งส่งผลตอ่ ชีวิตและจติ ใจ ในทางบวกและลบได้เสมอ จดุ หมายที่แท้จรงิ ของรกั ...มิใช่เพียงกามารมณ์ แล้วอะไรละ่ ...เปน็ จดุ หมายที่แทจ้ รงิ ของคาวา่ “รกั ” “รักยอ่ มอาศยั ความพอใจเป็นเหตุ เพื่อกอ่ ให้เกดิ ขน้ึ เหมือนต้นไม้ ยอ่ มเจริญงอกงามหรือตง้ั ม่ันอยไู่ ด้ ตอ้ งอาศัยราก ฉนั นนั้ ” เม่อื ใจของเราบรสิ ทุ ธ์ิ รับรูร้ ักทบ่ี ริสทุ ธ์ิ ถึงแม้จะเป็นแค่นามธรรม แตถ่ ้าเราใส่ใจ และเขา้ ใจรกั ในชว่ งเวลานน้ั ให้ดี รักก็ยอ่ มบริสุทธิ์ดุจเดยี วกันได้ พระมหาอบุ ล ญาณมธี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook