Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน้าปก_merged

หน้าปก_merged

Published by Praewa Tairatpho, 2021-01-28 19:21:08

Description: หน้าปก_merged

Search

Read the Text Version

โครงงานภาษาไทย การศึกษาการใชค้ ำราชาศัพทแ์ ละคา่ นยิ มความเชื่อ จากภาพยนตร์เรอ่ื งตำนานสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ภาคท่ี ๖ อวสานหงสา คณะผจู้ ดั ทำ ๑. นางสาวเจนจิรา ชูเชิด เลขที่ ๑๒ ๒. นางสาวแพรวา ใตร้ าชโพธิ เลขที่ ๑๕ ๓. นางสาววรรณพร พรมจันทร์ เลขท่ี ๒o ๔.นางสาวศศกิ านต์ ทมุ รินทร์ เลขท่ี ๔0 ชั้น ม.๖/๒ ครผู ู้สอน นายธิรพงษ์ คงด้วง รายงานโครงงานฉบับนีเป็นส่วนหนง่ึ ของ วชิ า(ท33102)ภาษาไทยภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนทีปราษฎรพ์ ิทยา จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

การศกึ ษาการใชค้ ำราชาศัพทแ์ ละคา่ นิยมความเชอื่ จากภาพยนตร์เร่ือง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชภาคที่ ๖ อวสานหงสา จดั ทำโดย ๑. นางสาวเจนจิรา ชเู ชดิ เลขที่ ๑๒ ๒. นางสาวแพรวา ราชโพธิ เลขท่ี ๑๕ ๓. นางสาววรรณพร พรมจันทร์ เลขที่ ๒o ๔.นางสาวศศกิ านต์ ทมุ รนิ ทร์ เลขท่ี ๔o ครผู สู้ อน นายธิรพงษ์ คงด้วง รายงานโครงงานฉบบั นี้เปน็ สว่ นหน่ึงของวชิ า(ท33102)ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นทีปราษฎรพ์ ทิ ยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

ก คำนำ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยจัดขึ้นเพื่อเป็นแหล่งความรู้และความรู้เพิ่มเติมของวิชา ภาษาไทยซึ่งผจู้ ดั ทำได้รวบรวมความรเู้ ก่ยี วกับ คำราชาศัพท์ และค่านยิ มความเชือ่ จากภาพยนตร์เร่ืองตำนาน พระนเรศวรมหาราช ภาคที่ 6 อวสานหงสา ไว้ในรายงานเลม่ น้ี และรายงานเล่มนี้สามารถเป็นแหล่งเรียนรูแ้ ก่ ทุกคน คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาไม่มากก็น้อย หาก ผิดพลาดประการใดทางคณะผ้จู ัดทำจึงขออภัย ณ ที่นดี้ ้วย ขอขอบคุณคุณครูซึง่ เป็นผ้ใู ห้คาํ แนะนํา ในการรวบรวมเอกสาร หลกั ฐาน และข้อมลู ตา่ งๆ ในการจดั ทํารายงาน ฉบับนี้ให้สําเร็จลุล่วงด้วยดีและขอขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ ที่ได้กรุณาให้ความช่วยเหลือในการจัดเตรียม เอกสารและขอ้ แนะนําหลายประการจนทําใหร้ ายงานเลม่ นีม้ ีความสมบรู ณ์มากยง่ิ ข้ึน คณะผู้จัดทำ

ข กิตตกิ รรมประกาศ ในการทำโครงงานคณิตศาสตร์กลุ่มข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ คุณครูธิรพงษ์ คงด้วง ที่ได้ให้ความ อนุเคราะห์ คอยให้คำปรึกษาให้ความสะดวกในการทำโครงงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการทำ โครงงานภาษาไทย ขอบคุณเพื่อนในกลุ่มทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือตลอดจนคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ในการทำ โครงงาน ท้ายที่สุดขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อและคุณแม่ ที่เป็นผู้ให้กำลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีคา่ ย่ิง คณะผู้จดั ทําโครงงานภาษาไทยขอขอบพระคุณทุกท่านอย่างสูงที่ใหก้ ารสนับสนุนเอ้ือเฟ้ือและให้ความ อนุเคราะห์ชว่ ยเหลือ จนกระทั่งโครงงานภาษาไทยสําเร็จลุลว่ งไดด้ ้วยดี

ค สารบญั เรอ่ื ง หนา้ คำนำ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง จ บทที่ ๑ ..............................................................................................................................................1 ความเป็นมาและความสำคัญของการศึกษาคน้ ควา้ ..................................................................................... 1 วตั ถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า.............................................................................................................. 2 ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ ควา้ ..................................................................................................................... 2 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ.......................................................................................................................... 2 นยิ ามคำศัพทเ์ ฉพาะ.................................................................................................................................... 2 บทที่ ๒ ..............................................................................................................................................4 ความหมายคำราชาศัพท์............................................................................................................................. 5 ความเปน็ มาของคำราชาศัพท์ ..................................................................................................................... 5 ความสำคญั ของคำราชาศัพท์ ...................................................................................................................... 6 ประเภทของคำราชาศัพท์ ........................................................................................................................... 6 ความหมายของความเช่ือ............................................................................................................................ 9 ความสำคญั ของความเชอื่ .......................................................................................................................... 10 ความหมายของค่านยิ ม ............................................................................................................................. 11 ความสำคญั ของคา่ นิยม............................................................................................................................. 11 ความหมายของภาพยนตร์ ........................................................................................................................ 11 ความสำคญั ของภาพยนตร์........................................................................................................................ 11 ประเภทของภาพยนตร์ ............................................................................................................................. 12 ประโยชน์ของภาพยนตร์........................................................................................................................... 17

ง ประวัติสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ........................................................................................................... 18 ผลงานของพระนเรศวรมหาราช................................................................................................................ 19 บทท่ี ๓ ............................................................................................................................................21 แหล่งข้อมูล............................................................................................................................................... 21 เกณฑ์/ประเด็นในการวิเคราะห์ ................................................................................................................ 21 การรวบรวมขอ้ มูล..................................................................................................................................... 22 ระยะเวลาในการดำเนนิ การ...................................................................................................................... 22 บทที่ ๔ ............................................................................................................................................23 รวบรวมคำราชาศพั ท์ทพี่ บในภาพยนตร์ .................................................................................................. 23 แยกประเภทของคำราชาศัพท์ ................................................................................................................. 25 ค่านิยมและความเชอื่ ................................................................................................................................ 28 บทท่ี ๕ ............................................................................................................................................30 การสรปุ ขอ้ มูล........................................................................................................................................... 30 อภิปรายผล............................................................................................................................................... 30 บรรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………………..34

สารบัญตาราง จ เรื่อง ตารางที่ 1 ระยะเวลาในการดำเนนิ การ หน้า ตารางท่ี 2 รวบรวมคำราชาศพั ท์ 22 ตารางที่ 3 คำนามราชาศัพท์ 23 ตารางท่ี 4 คำสรรพนามราชาศัพท์ 25 ตารางท่ี 5 คำกรยิ าราชาศัพท์ 26 ตารางที่ 6 คำวิเศษณ์ราชาศพั ท์ 27 28

1 บทท่ี ๑ บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญของการศึกษาคน้ คว้า ในยคุ สมยั ปจั จบุ ันน้ีได้มีการเปลยี่ นแปลงการใชภ้ าษาในการสื่อสารไปอยา่ งมากมาย ซ่ึงเราจะเห็นข้อ แตกต่างไดช้ ัดเจนจากประวัติศาสตร์ทเ่ี ราศกึ ษา หนงั สือ หรือแมก้ ระทง่ั ส่ือตา่ ง ๆ เองกต็ าม แนน่ อนว่าเกิดจาก การรับอิทธิพลจากหลายๆด้านรวมกันโดยส่วนใหญ่จะมาจากการได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ ซึ่งนำมา ดัดแปลงให้เข้ากับภาษาไทยในปัจจุบัน แต่การใช้คำราชาศัพท์นั้นยังคงมีการรักษาไว้ในยุคสมัยนี้ เนื่องด้วย ประเทศไทยปกครองดว้ ยระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จงึ ทำให้มกี ารสบื ทอดการ ใช้คำราชาศัพท์มาจวบจนปัจจุบัน ซึ่งลักษณะของสังคมไทยเป็นสถานที่มีความผูกพันฉันพี่น้องนับถือกันด้วย วัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิ ลักษณะดังกล่าวจึงสะท้อนออกมาและถูกสืบทอดต่อกันมาในหลายยุคสมัย และ ปรากฏในภาษาไทย เช่น การใชภ้ าษาที่สุภาพกับผู้ทม่ี ีวยั สูงกวา่ การใชภ้ าษากันเองกับผทู้ ี่สนทิ สนมกนั หรือการ ใช้คำราชาศัพท์ กับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ เป็นต้น และในสังคมไทยสมัยก่อนเป็นสังคมที่ยกย่อง ผนู้ ำ ผทู้ ี่มบี ุญญาธิการผ้ทู ี่ประพฤตดิ ี และผู้ทีช่ ่วยเหลือให้ความสขุ แกร่ าษฎร ราชาศัพท์เป็นศัพท์พิเศษที่สะท้อนอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย คือการแสดงความเคารพเทิดทูนใน สถาบันพระมหากษัตริย์ในฐานะทรงเป็นประมุขของประเทศ ทรงทะนุบำรุงไพร่ฟ้าประชากรให้อยู่ร่มเย็นเป็น สุขด้วยพระปรีชาสามารถของบรรพกษัตริย์ทุกพระองค์ ประชาชนชาวไทยภายใตพ้ ระบรมโพธิสมภารล้วนอยู่ เย็นเปน็ สุขสบื มาช้านาน การพยายามสรรหาถ้อยคำสำหรับใช้กราบบังคมทลู พระมหากษัตรยิ ์เพ่ือยกย่องให้สูง กวา่ คนสามญั ไม่ใชเ่ ป็นคำท่ีแสดงถึงการแบ่งชนชั้นวรรณะ แต่เป็นคำที่แสดงถงึ ความลดหล่ันกนั ในเร่ืองชาติวุฒิ คุณวุฒิ และวัยวุฒิ ก็เพราะคนไทยมีความสุภาพอ่อนน้อมเป็นคุณสมบัติ คำราชาศัพท์จึงเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมที่บรรพบรุ ุษไทยไดส้ รา้ งสมไว้และสบื ทอดตอ่ มายังในสมยั ปจั จุบนั ความเชื่อและค่านิยมของคนไทยในปัจจุบันนี้ย่อมปฏิเสธไม่ได้ว่าส่วนใหญ่นั้นเป็นความเชื่อและ คา่ นยิ มทถ่ี ูกส่งตอ่ มาตง้ั แต่สมยั บรรพบุรษุ ซ่ึงได้มแี นวทางการคดิ และปฏบิ ัตสิ ืบทอดตอ่ กนั มาเป็นเวลาช้านานใน ประวตั ิศาสตรไ์ ทยเองในสมัยอยุทธยาน้ันก็นับเปน็ ยุคท่ปี รากฏความเชื่อและคา่ นิยมมากมายไม่ว่าจะเป็นความ เชื่อเรื่องผีสาง ความเชื่อเรื่องศาสนา หรือความเชื่อเรื่องวัฒนธรรม ซึ่งล้วนมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตในยุค ปจั จุบนั สมเด็จพระนเรศวรมหาราช หรือที่ประชาชนทั่วไปเรียกว่า พระองค์ดำ กษัตริย์ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพ จากพม่าในการเสียกรงุ ศรอี ยุธยาครั้งที1่ ซึ่งมีความสำคัญอยา่ งมากเก่ียวกบั ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทยซึ่งท่านทรง ทำให้ประเทศไทยอยู่เป็นปกติสุขปราศจากศึกสงคราม เป็นระยะเวลายาวนาน พระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ ทั้งสิ้นทั้งปวงของพระองค์ เป็นไปเพื่อประโยชน์ของบ้านเมืองและคนไทยทั้งมวล ตลอดพระชนม์ชีพของ พระองค์ จะอยใู่ นสนามรบและชนบทโดยตลอดมิได้นบั ว่าพระองค์ไดท้ รงสละพระองคเ์ พ่ือชาติสืบมา

2 คณะผู้จัดทำเล็งเห็นถึงความสำคัญของการใช้คำราชาศัพท์รวมไปถึงความเชื่อและค่านิยมที่มบี ทบาท กับประเทศไทยมาชา้ นาน จึงไดท้ ำการศึกษาการใช้คำราชาศัพท์และค่านิยมความเช่ือที่ปรากฏในภาพยนตร์อิง ประวัติศาสตร์ เร่ือง ตำนานสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชภาคที่ ๖ อวสานหงสา วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาคน้ ควา้ ๑. เพื่อศึกษารวบรวมคำราชาศัพท์จากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชภาคที่ ๖ อวสานหงสา ๒. เพื่อศึกษาประเภทของคำราชาศัพท์จากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชภาคที่ ๖ อวสานหงสา ๓. เพื่อศึกษาความเช่ือและค่านยิ มที่ปรากฏในภาพยนตร์เร่ือง ตำนานสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชภาค ท่ี ๖ อวสานหงสา ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ คณะผู้จัดทำได้ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่ใช้ในการทำโครงงานครั้งนี้ คือ ภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ จำนวน ๑ ภาคนั้นคือ ภาคอวสานหงสา ภาคที่ ๖ ซึ่งได้มาจากการรวบรวมข้อมูลจากการรับชม ภาพยนตร์ เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชผ่านทางเว็บไซต์ดูหนังออนไลน์ (เข้าฉายเมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘) ซง่ึ ภาพยนตรภ์ าคน้ไี ด้เข้าฉายทีโ่ รงหนงั ทว่ั ประเทศ และมกี ารบันทึกลงเว็บไซต์ออนไลน์ในเวลาตอ่ มา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ได้ศึกษาและรวบรวมคำราชาศัพทส์ ำหรบั พระมหากษตั ริยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์ ๒. ได้รูแ้ ละสามารถแยกแยะการใช้คำราชาศัพท์สำหรบั พระมหากษตั รยิ ์และพระบรมวงศานุวงศ์ ๓. ไดร้ คู้ วามเชือ่ และค่านิยมในภาพยนตร์เร่อื งตำนานสมเด็จพระนเรศวรมาราชภาคที่ ๖ อวสานหงสา นิยามคำศัพทเ์ ฉพาะ ๑.ราชาศัพท์ หมายถึง ศัพท์สำหรับระราชา ซึ่งสันนิษฐานว่าสมัยโบราณนั้นคงใช้สำหรับองค์ พระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ ดังหลักฐานที่ปรากฏอยู่ในตำราราชาศัพท์รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งมี บางแพนกล่าวว่า “ราชภาษาสำหรับกราบทูลเจ้าชีวิต สมมติว่าราชาศัพท์เป็นเยี่ยงอย่างมาแต่ก่อน อุตสาห์ดู สงั เกตไว้เป็นทุนอยู่” ๒.พระมหากษัตริย์ หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน ผู้เป็นพระประมุขของประเทศ มีหน้าที่ปกครอง ประชาชนพลเมืองในประเทศนั้นให้อยู่ดีมีสุขตามกฎหมาย ตามครรลองคลองธรรมจารีตประเพณีวัฒนธรรม ของชาตินนั้ ๆ เชน่ ประเทศไทยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ฯ ทรงเปน็ พระประมขุ ทรงปกครองแผ่นดนิ โดย ธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม ตามหลักทศพิธราชธรรม ทรงให้แนวพระราชดำริเศรษฐกิจ พอเพียง เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของปวงชนชาวไทย นำความเจริญรุ่งเรืองความผาสุกมาสู่พสกนิกร

3 ถว้ นหน้า ผ้ทู ี่รกั พระมหากษัตรยิ ์ จะเปน็ ผู้มีความภาคภูมใิ จทไี่ ดเ้ กิดมาใตร้ ่มพระบรมโพธสิ มภาร มคี วามเป็นอยู่ อย่างรม่ เย็นเปน็ สุข มีความรูร้ ักสามัคคกี ลมเกลียว รวมนำ้ ใจไทยทงั้ ชาตใิ หเ้ ป็นนำ้ หนง่ึ ใจเดยี ว ประพฤติตนเป็น คนดีถวายเป็นพระราชกุศล และถวายความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ส่วนผู้ที่ไม่รัก พระมหากษัตริย์ จะเป็นผทู้ ่ีไมจ่ งรักภักดี ไมเ่ คารพนับถอื ไมป่ กป้องสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ๓. พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถงึ ระประยูรญาตใิ หญ่น้อยท้ังหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ๔. พระนเรศวรมหาราช หมายถงึ ชอ่ื ของกษัตรยิ ์ไทยในสมัยกรงุ ศรีอยทุ ธยาซึง่ พระองค์มีความสำคญั กบั ประวตั ิศาสตร์ไทยเปน็ อย่างมาก ๕. ความเชอื่ หมายถงึ ส่ิงทเ่ี รารูส้ ึกหรอื คดิ ว่าเปน็ จริง อนั จะนำไปสู่คา่ นยิ ม ๖. ค่านยิ ม หมายถงึ ส่งิ ท่เี ราเช่อื วา่ สำคญั หรอื มีคณุ ค่าในชีวิต อนั จะนำไปสกู่ ารมจี รยิ ธรรมหรอื การ กระทำที่ดี

4 บทท่ี ๒ เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง จากการศึกษาการใช้คำราชาศัพท์ ความเชื่อและค่านิยมจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระ นเรศศวรเปน็ จำนวน ๑ ภาค คือภาคท่ี ๖ อวสานหงสา ผ้จู ดั ทำได้ศกึ ษาค้นคว้าเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง โดยนำเสนอตามรายละเอยี ดดังหวั ข้อต่อไปน้ี ๑.คำราชาศัพท์ ๑.๑ ความหมาย ๑.๒ ความเป็นมา ๑.๓ ความสำคญั ๑.๔ ประเภท ๑.๕ ประโยชน์ ๒.ความเช่อื ๒.๑ ความหมาย ๒.๒ ความสำคญั ๓. คา่ นิยม ๓.๑ ความหมาย ๓.๒ ความสำคญั ๓.ภาพยนตร์ ๓.๑ ความหมาย ๓.๒ ความสำคัญ ๓.๓ ประเภท ๓.๔ ประโยนชน์ ๔.สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๔.๑ ประวตั ิ ๔.๒ ผลงาน

5 ความหมายคำราชาศัพท์ คำสุภาพที่ใช้ให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคลต่างๆ คำราชาศัพท์เป็นการกำหนดคำและภาษาท่ี สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมอันดีงามของ ไทย แม้คำราชาศัพท์จะมีโอกาสใช้ในชีวิตน้อย แต่เป็นสิ่งที่แสดงถึง ความละเอียดอ่อนของภาษาไทยทม่ี ีคำหลายรูปหลายเสียงใน ความหมายเดยี วกัน และเป็น ลกั ษณะพิเศษของ ภาษาไทย โดยเฉพาะ ซึ่งใชก้ ับบุคคลกลมุ่ ต่างๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวและสมเดจ็ พระนางเจ้าพระบรมราชนิ นี าถ ๒. พระบรมวงศานวุ งศ์ ๓. พระภกิ ษุสงฆ์ สามเณร ๔. ขนุ นาง ขา้ ราชการ ๕. สุภาพชน บุคคลในกลุ่มที่ ๑ และ ๒ จะใช้ราชาศัพท์ชุดเดียวกัน เช่นเดียวกับบุคคลในกลุ่มที่ ๔ และ ๕ ก็ใช้คำ ราชาศัพท์ในชุดเดียวกันและเป็นคำราชาศัพท์ที่เราใช้อยู่เป็นประจำใน สังคมมนุษย์เราถือว่าการให้เกียรติแก่ บคุ คลที่เปน็ หัวหน้าชุมชน หรือผทู้ ี่ชุมชนเคารพนับถือนั้น เปน็ วฒั นธรรมอย่างหนึ่งของมนุษยชาติ ทุกชาติ ทุก ภาษา ต่างยกย่องให้เกียรติแก่ผู้เป็นประมุขของชุมชนด้วยกันทั้งสิ้น ดังนั้นแทบทุกชาติ ทุกภาษาจึงต่างก็มีคำ สุภาพสำหรับใช้กับประมุขหรือผู้ที่เขาเคารพนับถือ จะมากน้อยย่อมสุดแต่ขนบประเพณีของชาติ และจิตใจ ของประชาชนในชาติว่ามีความเคารพในผู้เปน็ ประมขุ เพียงใด เมืองไทยเราก็มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ของชาติ และพระประมุขของเรา แต่ละพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถ จึงทำให้ประชาชนส่วนใหญ่มีความ เคารพสักการะอย่างสงู สดุ และมคี วามจงรกภักดีอย่างแนบแน่นตลอดมานบั ตั้งแต่ โบราณกาลจนถึงปัจจบุ ัน ความเปน็ มาของคำราชาศัพท์ เยาวลักษณ์ ชาติสุขศิริเดช (๒๕๕๓ :๘) กล่าวว่า ไม่มีหลักฐานใดระบุได้ชัดเจนว่าคำราชาศัพท์เริ่มใช้ มาต้ังแต่สมัยใด ท่านผู้รู้ต่างพยายามสันนิษฐานจากพงศาวดาร ศิลาจารึกประวัติศาสตร์ และวรรณคดี ความเห็นกมที ้งั พ้องกนั และแตกต่างกนั ออกไป พอสรุปได้ว่าคำราชาศพั ท์เรม่ิ มกี ารใชโ้ ดยลำดับได้ ดังนี้ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ กษัตริย์องค์ที่ ๑ สมัยราชวงศ์สุโขทัย เริ่มมีการใช้เล็กน้อยในระยะตั้งแต่เริ่มตั้ง พระราชวงศ์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช สมัยราชวงศ์สุโขทัย พบคำราชาศัพทใ์ นศลิ าจารกึ สโุ ขทยั หลักท่ี ๑ จารึกพ่อ ขุนรามคำแหง คำว่า ทรง เช่น “คนในสมัยสุโขทัยนี้มักโอยทาน มักทรงศีล” (บรรทัดที่ ๙ ด้าน ๒) ศิลาจารึก สโุ ขทัยหลกั ที่ ๒ จารกึ วดี ศรีชมุ คำว่า เสดจ็ “พระศรรี ัตนมหาธาตุเจ้ากูลูกหน่ึงมีพรรณงามดังทอง...เสด็จมาแต่ กลางหาว” (บรรทัดที่ ๖๖ ด้าน ๒) คำว่า บังคม “คนทั้งหลายไหว้กันเต็มแผ่นดิน อุปมาดังเรียงท่อนอ้อยไว้ มาก....เขาจึงขึน้ บังคม” (บรรทัดที่ ๗๓ ด้าน ๒)

6 พญาลิไท (พระมหาธรรมราชาที่ ๑) กษัตริย์องค์ที่ ๕ สมัยราชวงศ์สุโขทัยพบคำราชาศัพท์จากศิลา จารึกสุโขทัย หลักที่ ๒ จารึกวัดศรีชุม เช่น “พระสหายสมเด็จทรงราชกุมาร เจ้าราชกุมารภิเษกกรรม (มหาภิเนษกรมณ์) หลักอน่ื ๆมคี ำว่า เสวยราชย์ ราชาภเิ ษก ราชมณเฑียร ทศพิธราชธรรม และพระบาท หลกั ท่ี ๗ (พระ) ราชทาน พระองค์ พระราชมาตลุ ราชกวี พระราชโองการ ตราพระราชบัญญัติ พระ เจ้าแผ่นดิน และราชศาสตร์ เป็นตน้ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (อู่ทอง) สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายพบคำราชาศัพท์ในการตรา พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา และพระราชกำหนด ก็เต็มไปด้วยคำราชาศัพท์ เนื่องจากทรงนิยมภาษา เขมรมาก ความสำคญั ของคำราชาศัพท์ ๑. เพื่อให้เราใช้ถ้อยคำในการพูดจาได้ไพเราะ และถูกต้องตามกาลเทศะและตามฐานะแห่งบุคคล เพราะราชาศัพท์มิได้หมายถึงคำพูดท่ีเกีย่ วกบั พระราชาเทา่ น้นั ยงั รวมถึงคำสุภาพทวั่ ไป ๒.ราชาศัพท์เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมของชาติ การใช้ราชาศัพท์ที่ถูกต้องเป็นการแสดงความ ประณีต นุ่มนวล น่าฟังของภาษาอย่างหนึ่ง ทั้งเป็นการช่วยส่งเสริมให้ดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมและ ขนบธรรมเนียม ประเพณีท่ีดงี ามของเรา ๓. การรู้ราชาศัพทช์ ว่ ยส่งเสรมิ บุคลิกภาพให้กบั ตนเอง ทำให้เขา้ วงสมาคมไดโ้ ดยไมเ่ คอะเขิน ไม่เป็น ทีเ่ ย้ยหยนั ของผูท้ ่พี บเห็น การตดิ ต่อกบั บคุ คลทว่ั ไป หากไมร่ จู้ กั คำสุภาพตามฐานะแลว้ กอ็ าจได้รับคำดูหมิ่น ว่า ไร้การศกึ ษา และในที่สดุ ก็ละท้งิ การสมาคมเสียส้นิ ๔. ราชาศัพทไ์ ม่เพียงใช้เก่ียวข้องกับพระมหากษัตริย์ หรอื สุภาพชนเทา่ นั้น ยงั ใช้กับพระบรมศาสดา ต่างๆของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขจึงจำเป็นต้องเรียนรู้ราชาศัพท์ (เสนีย์ วลิ าวรรณ,๒๕๓๖) ประเภทของคำราชาศัพท์ บญุ ลักษณ์ เอีย่ มสำอาง (๒๕๕๓, ๑๔) กลา่ ววา่ การแบ่งคำราชาศัพทโ์ ดยแบ่งบุคคลเปน็ หลัก สามารถ แบง่ ได้หลกั ๆสามประเภทดว้ ยกนั ๑. ศัพท์ทใ่ี ช้สำหรับพระมหากษตั ริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ ๒. ศพั ท์ทใี่ ชส้ ำหรับพระภิกษสุ งฆ์ ๓. ศพั ท์ที่ใชส้ ำหรับสภุ าพชน

7 ๑.ศัพท์ท่ีใช้สำหรับพระมหากษัตริยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์ ๑.๑ คำนามราชาศพั ท์ อาจเนน้ คำท่ีบัญญัติข้ึนโดยเฉพาะหรือบางคำอาจจำมาจากคำนามสามัญโยใช้คำอื่นประกอบข้างหน้า หรือข้างหลังให้แปลกพิเศษกว่าคำธรรมดาทั่วไป เช่นคำว่า พระบรมมหาราช พระบรมราช พระบรม พระราช พระ จะวางไวห้ นา้ คำนาม สว่ นคำวา่ ต้น หลวง จะวางไวห้ ลังคำนาม ๑.๒ คำสรรพนามราชาศพั ท์ เป็นคำราชาศัพท์ที่ใช้แทนชื่อซึ่งจำแนกใช้ตามขั้นหรือฐานะของบุคคลที่มีฐานันดรศักดิ์ต่างกัน ตาม ประเพณีนิยม ๑.๓ คำกรยิ าราชาศพั ท์ ๑.กริยาที่เปน็ ราชาศัพท์ในตัวเอง เป็นกริยาคำโดด ใช้เฉพาะพระมหากษัตรยิ ์หรอื พระราชวงศ์เท่านน้ั เช่น กริว้ หมายความวา่ โกรธ เคอื ง, ตรัส หมายความว่า พดู แจ้ง เป็นตน้ ๒. กริยาที่ประสมขึ้นเป็นคำราชาศัพท์ เช่น คำว่า เสด็จพระราชสมภพ หมายความว่า เกิด คำว่า ขอ พระราชทาน (ใช้กับพระราชา พระราชนิ ิ พระยุพราช) หมายความว่า ขอ ๓. กริยาราชาศัพท์ที่ใช้คำว่า เสด็จ นำหน้า คือคำที่เป็นกริยาสามัญหรือกริยาราชาศัพท์อยู่แล้ว ใช้ เสด็จนำหน้าเป็นราชาศพั ท์ ๔. กริยาราชาศัพท์ที่ใช้คำว่า ทรง นำหน้า คือ กริยาสามัญ คำนามสามัญ หรือคำนามราชาศัพท์ ใช้ ทรง นำเป็นกริยาราชาศัพท์ ๑.๔ คำวเิ ศษณร์ าชาศัพท์ คือการใช้คำรับ เมื่อมีคำเรียกขาน โต้ตอบหรือพูดจากัน โดยกำหนดใช้คำตามชั้นของบุคลล จึง จำเป็นต้องศกึ ษาและจดจำเป็นรายคำไป เชน่ พระพุทธเจา้ ข้า ใชก้ ับพระราชวงศช์ ้ันสูง ๑.๕ คำกราบบังคมทูล กราบทูล และทลู ตามระเบียบสำนักพระราชวัง การกราบบังคมทูล กราบทูล และทูลมีแบบแผนในการใช้คำขึ้นต้น คำ สรรพนาม และคำลงทา้ ยตามฐานันดรศักดิ์ ๑.๖ คำลักษณนามราชาศพั ท์ คำทบี่ อกลักษณะของสามานยนามท่ีบอกท้ายจำนวนนับ หรอื ใช้ประกอบขา้ งหน้าคำวิเศษณ์ท่ีชี้เฉพาะ เชน่ รถสองคัน นักเรยี นคนนี้ คำราชาศัพท์ทีเ่ ปน็ คำลักษณนามที่ใช้มากคอื คำว่า พระองค์ และ องค์ คำว่า พระองค์ เป็นคำที่ใช้กบั พระราชาหรือเจ้านายชั้นสูง คำว่า องค์ เป็นคำลักษณนามใช้กับเจ้านายชั้นรองลงมา และใช้กับส่วนของ ร่างกาย รวมทงั้ ของเสวย และสถานทีบ่ างแห่ง ๒.ศัพทท์ ่ีใช้สำหรับพระภกิ ษุสงฆ์

8 ไทยเรามีคำพูดที่ใช้กับพระภิกษุโดยเฉพาะอยู่ประเภทหนึ่งบางทีก็ เป็นคำที่พระภิกษุเป็นผู้ใช้เอง ซึ่ง คนไทยส่วนใหญ่จะรู้จักกันหมดแล้ว เช่น คำว่า อาตมาภาพ หรืออาตมา มีความหมายเท่ากับ ฉัน บางคำก็ทั้ง ท่านใช้เองและเราใช้กับท่าน เช่น คำว่า ฉัน หมายถึง กิน เป็นต้น การพูดกับพระภิกษุต้องมีสัมมาคารวะ สำรวม ไม่ใช้ถ้อยคำที่เป็นไปในทำนองพูดเล่นหรือพูดพล่อยๆ ซึ่งจะเป็นการขาดความเคารพไปสำหรับ พระภิกษุ เราจำเป็นต้องทราบราชทินนาม เรียกว่า พระภิกษุผู้ทรงสมณศักดิ์ ของพระภิกษุเรียงลำดับได้ดังนี้ เพอ่ื ที่จะไดใ้ ช้ไดอ้ ย่างถกู ต้อง ๑. สมเด็จพระสังฆราช ๒. สมเดจ็ พระราชาคณะ หรอื ชั้นสพุ รรณปฎั คือ พระภกิ ษุที่มรี าชทินนามนำหน้าดว้ ยคำว่า \"สมเด็จพระ\" ๓. พระราชาคณะช้ันรอง ๔. พระราชาคณะช้นั ธรรม พระราชาคณะชนั้ นม้ี กั มีคำวา่ \"ธรรม\" นำหน้า ๕. พระราชาคณะชัน้ เทพ พระราชาคณะชัน้ นม้ี ักมีคำวา่ \"เทพ\" นำหน้า ๖. พระราชาคณะชน้ั ราช พระราชาคณะชั้นนม้ี กั มคี ำวา่ \"ราช\" นำหน้า ๗. พระราชาคณะชนั้ สามัญ ๘. พระครูสัญญาบัติ , พระครูชั้นประทวน , พระครฐู านานุกรม ๙.พระเปรยี ญตงั้ แต่ ๓-๙ การใช้คำพดู กบั พระภิกษุทรงสมณศักดิ์ ทีผ่ ิดกันมากคือชน้ั สมเด็จพระราชาคณะเห็นจะเปน็ เพราะมีคำ วา่ \"สมเด็จ\" นำหนา้ จึงเข้าใจว่าต้องใชค้ ำราชาศัพท์ ซงึ่ ผดิ ความจริงแลว้ พระภิกษทุ รงสมณศักดิ์ที่ต้องใช้ราชา ศพั ท์มเี ฉพาะเพยี งสมเด็จพระสงั ฆราชเทา่ นั้น เว้นแต่พระภกิ ษุรปู นนั้ ๆ ทา่ นจะมีฐานนั ดรศักด์ทิ างพระราชวงศ์ อยแู่ ลว้ พระภิกษุที่เป็นพระราชวงศ์ ใช้ราชาศัพท์ตามลำดับชั้นแห่งพระราชวงศ์ สำหรับสมเด็จพระสังฆราช เจ้า(สมเด็จพระสังฆราชทีเ่ ป็นพระราชวงศ์) ใชด้ ังน้ี คำขึ้นตน้ ใช้วา่ ขอประทานกราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม) สรรพนามแทนผ้พู ูด ใชว้ ่า ข้าพระพทุ ธเจ้า สรรพนามแทนพระองคท์ า่ น ใช้ว่า ใตฝ้ ่าพระบาท คำลงทา้ ย ใช้วา่ ควรมคิ วรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม สมเด็จพระสังฆราช ซึ่งดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ใช้ราชาศัพท์เสมอพระเจ้าวรวงศ์เธอ (ที่มิได้ทรง กรม) เช่น คำขึ้นต้น ใช้ว่า กราบทลู (กลา่ วพระนามเต็ม) สรรพนามแทนผ้พู ดู ใช้วา่ เกล้ากระหม่อม (สำหรบั ชาย), เกลา้ กระหมอ่ มฉัน(สำหรับหญงิ ) คำลงทา้ ย ใชว้ า่ ควรมคิ วรแลว้ แตจ่ ะโปรด สรรพนามแทนพระองค์ทา่ น ใช้ว่า ฝ่าพระบาท ๓.คำราชาศัพท์ท่ีใช้สำหรบั สุภาพชน

9 ข้อควรคำนึงถึงในการใชค้ ำศัพท์สำหรับบคุ คลทัว่ ไป คือ ต้องใช้คำให้ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล ไม่ใช้คำหยาบ คำผวน คำคะนอง หรือคำอทุ านท่ีไมส่ ุภาพ เชน่ คำว่า รบั ประทาน หมายความว่า กิน ประโยชนข์ องคำราชาศพั ท์ ๑. ทำให้สามารถใชภ้ าษาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และเหมาะสมกบั ระดบั ชัน้ ของบคุ คลในสังคม ๒. ทำให้สามารถรับสารและส่งสาร คือ ฟัง พูด อ่าน และเขียนคำราชาศัพท์ได้เข้าใจและถูกต้องเหมาะสมแก่ กาลเทศะ ๓. เป็นเครื่องฝึกอบรมจิตใจผู้ใช้และผู้ศึกษา ให้เป็นบุคคลที่รู้จักใช้ภาษาได้อย่างประณีตงดงาม เหมาะสมกับ การลดหล่นั ชน้ั เชงิ ในสังคมไทย ๔. เกิดความภาคภูมใิ จในภาษาไทยท่มี ีคำราชาศัพท์ใช้ซึง่ ถือเป็นภูมิธรรมอนั สูงสง่ ของบรรพบุรุษของเราในด้าน วัฒนธรรมการใชภ้ าษา ๕. ทำให้สามารถศึกษาวรรณคดีไทยได้เข้าใจลึกซึ้ง เพราะวรรณคดีเป็นเครื่องสะท้อนถึงภาษาและวัฒนธรรม ของชนในชาติ ทำใหไ้ ด้เรยี นรูภ้ มู ิปญั ญาของบรรพบรุ ุษทีส่ ง่ั สมมานาน ๖. ชว่ ยธำรงรักษาวฒั นธรรมอนั ดงี ามของชาติไว้ เป็นการแสดงออกซึ่งความมวี ัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา ใน การใช้คำราชาศพั ท์สำหรับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ (คำราชาศพั ทน์ ่ารู้,๒๕๕๓:๑๓) ความหมายของความเช่อื ๑. การยอมรับข้อเสนอข้อใดข้อหนึ่งได้ว่าเป็นความจริง การยอมรับเช่นนี้โดยสารัตถะสำคัญแล้วเปน็ การรับเชิงพุทธิปัญญา แม้ว่าจะมีอารมณ์สะเทือนใจเข้ามาประกอบร่วมด้วย ความเชื่อจะก่อให้เกิดภาวะทาง จิตขึ้นในบุคคลซึ่งอาจจะเป็นพื้นฐาน สำหรับการกระทำโดยสมัครใจของบุคคลนั้นความเชื่อ อาจจะมีพื้นฐาน จากหลกั ฐานข้อเท็จจรงิ ทเี่ ช่ือไดห้ รือมีพื้นฐานจากความเดยี ดฉันทจ์ ากการนึกรู้เอาเอง หรอื จากลกั ษณะท่ีทำให้ เกิดความเข้าใจไขว้เขวก็ได้ เพราะฉะนั้น ความเชื่อจึงมิได้ข้ึนอยู่กับความจริงเชิงวัตถุวิสัยในเนื้อหาความเช่ือ แปลกวติ ถารกไ็ ด้ คนเราอาจจะกระทำการอยา่ งแข็งขันจริงจัง หรอื อย่างบา้ คลั่งด้วยความเชื่อที่ผิดได้เท่าๆ กับ ที่ทำด้วยความเชือ่ ทีถ่ ูกต้อง อย่างไรก็ดี การทำที่ใชส้ ติปญั ญาใดๆ ก็ตาม ย่อมต้องอาศัยความเชื่ออยู่ด้วยเสมอ แตส่ ตปิ ญั ญาเองนัน้ อาจใช้มาทดสอบความเชอ่ื และตรวจดูความสมบูรณ์ถกู ต้องพืน้ ฐานความเชื่อน้นั ได้ ๒. การยอมรับขอ้ เสนอข้อใดขอ้ หนึ่งว่า เป็นจริงโดยท่ียังมไิ ด้พิสูจนไ์ ด้โดยวิธีการของวิทยาศาสตรจ์ าก คำจำกัดความต่างๆ ขา้ งตน้ จงึ พอสรุปความหมายของความเชื่อไว้วา่ “ความเชอ่ื ” หมายถึง การยอมรับต่างๆ วา่ เปน็ จรงิ มอี ย่จู รงิ และมีอำนาจทจ่ี ะบันดาลใหเ้ กดิ ผลดหี รือผลรา้ ยตอ่ การดำรงชีวิตของมนุษย์ ถึงแม้วา่ ส่ิงน้ัน จะไม่สามารถพิสจู นไ์ ด้ว่าเปน็ ความจริงด้วยเหตผุ ล แตเ่ ป็นทยี่ อมรับกันในกลมุ่ ชนหรอื สงั คม (พจนานกุ รมศพั ทส์ งั คมวิทยา อังกฤษ – ไทย,๒๕๒๔:๔๒)

10 ความสำคญั ของความเชือ่ มณี พยอมยงค (๒๕๒๘ : ๗๑) ไดก้ ลาวถงึ ความสำคัญของความเชื่อไว้ดังนี้ ๑. ความเชื่อทำใหเกิดความมั่นใจ เชน คนไทยเชื่อในเรื่องของดวงสมพงศกัน ในกรณีที่คูบาวสาวรัก ใครชอบพอกัน มีความประสงคจะแต่งงานก็จะพากันไปหาหมอดู ทำนายใหว่าดวงสมพงศกันหรือไม่ ถ้าดวง สมพงศกจ็ ะมีผลใหอยู่รวมกันเปน็ สุขตลอดไป ๒. ความเชื่อทำใหเกิดพลัง เชน คนไทยเชื่อวาการรดน้ามนตจะสามารถปองกันอันตรายตาง ๆ ตลอดจนสามารถปดั เปา่ ภยั พบิ ัตติ าง ๆ ได้ ๓. ความเชื่อทำให้เกดิ การส้รางสรรค์ งานบางอย่างจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องดลใจให้เกิดการคิด ช่วยช้ี ทางใหงานสำเรจ็ ได้บางพวกกเ็ ชือ่ วาผตี าแฮก (ผีนา) ถาทำการเลีย้ งดจี ะชวยใหขาวกลาในนาเจรญิ งอกงามดี ให ผลผลิตเป็นนทวคี ูณ ดังนัน้ ชาวอสี านจงึ ใหทาํ การเลย้ี งตาแฮกกนั ทุกปี ๔. ความเชื่ออทําใหเกิดความสามัคคี เชน กรณีผีด้ำซึ่งนับถือกันอยูในภาคเหนือและภาคอีสาน น้ัน ถือวาเปนผีบรรพบุรุษ ถาหากคนในบานทะเลาะเบาะแว้งกัน ผีด้ำจะมาทําใหสมาชิกในครอบครัวนั้นมีอาการ ปวดหัวตัวร้อนเป็นไข ตองเซนสรวงจึงจะหาย เหตุการณเชนนี้กลุมทเชอก็จะพยายามี่จะไม่ทะเลาะเบาะแว งกัน อนั เปน สวนทท่ี าํ ใหครอบครัวมสี ามคั คีกลมเกลยี วกนั ๕. ความเช่อื ทําใหเกิดรูปธรรม เชน กรณีทีเ่ ช่อื วายักษมีจริงโดยอาศัยอยูในปาและจะออกมาจับคนไป กิน พวกทเี่ ชื่ออก็จะวาดภาพหรอื ปนรปู ยักษใหนาเกลียดนากลัว ถอื ตะบองยนื แยกเขี้ยวเชน่ ทีเ่ ห็นตามวัดสําคัญ ในกรงุ เทพมหานคร ๖. ความเชื่อเปนพื้นฐานใหเกิดปญญาเชน กรณีที่เชื่อวาการทําพิธีไหวครูนอกจากจะเปนการบูชา พระคุณบูรพาจารยแลว ยังเชื่อวาจะทําใหผู้เรียนหนังสือมีสติปญญาเฉียบแหลม รูได้ไว และมีปญญาความรู มาก อุปกรณที่นํามาไหวครูจึงมีดอกเข็ม หญ้าแพรกและดอกมะเขือ เปนสัญลักษณเพื่อบูชาครูในพิธีไหวครูด วย ๗. ความเช่อื ทาํ ใหนับถือศาสนาได้อยางม่ัน ศาสนาบางศาสนาสอนใหทกุ คนมีความเชอ่ื ในศาสนานั้นๆ ดังนั้น หลักการของศาสนาจึงตองมีพิธีกรรมไวสําหรับใหศาสนิกไดประกอบเชน การกราบไหว การสวดออน วอน ฯลฯ เพ่ือใหเกิดความมน่ั ใจไม่คลอนแคลนในศาสนาที่ตนนับถอื ๘. ความเช่ือทําใหเกิดฤทธ์ิทางใจ เชน กรณีการเจ็บปวยบางคนไม่สบายโดยหาสาเหตุไม่ได เพราะจิต ใตสํานึกยังอยูกับสงใดสิง่ หนึ่งอยูตลอดเวลา หากไดบนบานศาลกลาวแลว ทําใหกาํ ลังใจเขมแขง็ หายจากอาการ ไม่สบายตาง ๆ ไดโดยไม่ตองกินยา ก็ปรากฏใหเห็นและปรากฏเปนขาวอยูเสมอ หรือกรณีที่คนไขเชอวา ตัวเองตองหายจากโรคแน่ ๆ ทั้ง ๆ ที่หมอบอกวาไม่มีทางรักษาได อยูมาไม่นานพลังใจที่เขมแข็งยอมทําให บคุ คลนนหายจากโรคไดจริง

11 ความหมายของคา่ นยิ ม ก่อ สวัสดพ์ิ านชิ (๒๕๓๕) ได้กล่าวว่า ค่านิยม เป็นความคดิ พฤติกรรมและสิง่ อ่นื ทค่ี นในสังคมหน่ึงเห็น ว่า มีคุณค่า จึงยอมรับมาปฏิบัติและหวงแหนไว้ระยะหนึ่ง ค่านิยมมักเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยและความ คดิ เหน็ ของคนในสังคม พนัส หันนาคินทร์(๒๕๓๗) กล่าวถึงความหมายของค่านิยมไว้ว่า เป็นการยอมรับนับถือและพร้อมที่ จะปฏิบัตติ ามคณุ คา่ ท่ีคนหรือกล่มุ คนในสังคม มีตอ่ สิ่งต่างๆ อาจเป็นวัตถุ ความคดิ หรือการกระทำในด้านต่างๆ เชน่ เศรษฐกจิ สังคม ทัง้ นี้ ได้มกี ารประเมนิ คา่ จากทศั นะตา่ งๆ โดยรอบคอบแลว้ ความสำคญั ของค่านิยม คานยิ มสามารถช่วยใหก้ ารดำเนนิ ชวิ ิตระหวา่ งสมาชกิ ในสงั คมมีความสอดคล้องสมั พนั ธ์ต่อกันลดความ ขดแย้งและความตึงเครยี ดของสมาชกิ ในสังคมนยิ มเปน็ ส่งิ ที่มีการเปล่ยี นแปลงได้ ตามสภาพแวดลอ้ มและความ เหมาะสมในแต่ละยุคสมัย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้สังคมนั้นเกิดมีคานิยมใหม่ มาทดแทนท่ี ค่านิยมเดมิ เช่น การเปลย่ี นแปลงทางด้านการผลทางการเกษตรของไทย จากการผลิตแบบดง้ั เดิมมาสู่การผลิต แบบใหม่ที่มีการใช้เทคโนโลยีทันสมัยมาทำการผลิตเพื่อลดระยะเวลาและกำลงแรงงานจากแรงงานคนหรือ สัตว์ มีผลทำให้เกษตรกร ชาวไรชาวนามีค่านิยมในการนำเอาเคร่ืองจักรมาใชทางการเกษตรหรือแนวทางการ ทำเกษตรแบบพอเพียง ก็ทำให้ เกษตรกรเริ่มเปลี่ยนค่านิยมในการ ิใช้วิธีการธรรมชาตมิ าชว่ ยในการผลติ และ รู้จักประสมประสานความคิดทำให้เกิดคา่ นยิ มวิเคราะห์ วจิ ัยการทำเกษตรเพอยงั ชพี และอุตสาหกรรม ความหมายของภาพยนตร์ ภาพยนตร์ คือ เป็นกระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนําออกฉายในลักษณะที่แสดงให้เห็น ภาพเคลอ่ื นไหวภาพท่ีปรากฏบนฟลิ ์มภาพยนตร์หลงั จาก ผ่านกระบวนการถ่ายทำแลว้ เป็นเพียงภาพนิ่งจำนวน มาก ที่มอี ิริยาบถหรอื แสดงอาการการเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงไปทลี ะนอ้ ยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซง่ึ อาจเปน็ เรื่องราวหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขน้ึ จริง หรือเปน็ การแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิด ฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือ ฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและ เสียงได้ ดว้ ยเครือ่ งฉายภาพยนตรห์ รือเครอื่ งอยา่ งอืน่ ทํานองเดียวกนั (www.krupiyadanai.wordpress.com,๒๕๕๗) ความสำคญั ของภาพยนตร์ ภาพยนตร์ ถือว่าเป็นศิลปะความบันเทิงที่ดีเยีย่ มและมีบทบาทสำคัญในสังคม ช่วยทำให้มนุษย์เราได้ เรียนรู้สิ่งใหม่ๆในชีวิต บางครั้งก็ได้เห็นในสิ่งที่ไม่คิดว่าจะมีคนจินตนาการสร้างมันขึ้นมาได้ ภาพยนตร์ยังช่วย ให้คนเราใช้เวลาวา่ งในการพักผ่อน ไดท้ ำกจิ กรรมร่วมกับครอบครัวและคนที่เรารกั จบั มือกนั เข้าโรงภาพยนตร์ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ ภาพยนตร์บางเรื่องก็แฝงไปด้วยแง่คิดในการใช้ชีวิตที่ดี มีคุณค่า และยังชี้ให้เห็น

12 ผลลัพธข์ องการทำในส่ิงที่เลวรา้ ย ทกุ อย่างมีเหตุและมีผลในตัวบทภาพยนตร์ตลอด แถมภาพยนตร์ยังสามารถ สร้างค่านิยมใหม่ๆในสังคมด้วย ไม่ว่าจะเป็นเทรนด์แฟชั่น รับวัฒนธรรมที่ดีงามเข้ามาในชีวติ แม้บางครั้งจะมี การควบคุมการเผยแพร่ในบางฉากบางตอนที่ค่อนข้างล่อแหลมและเป็นสิ่งที่ไม่ดีงาม แต่ทั้งหมดเพื่อคุ้มครอง ผู้เยาว์ที่ยังต้องได้รับคำแนะนำจากผู้ใหญ่หรือผู้ปกครอง ถือว่าเป็นสิ่งที่เหมาะที่ควรแล้ว เป็นการแสดงความ รับผิดชอบต่อสงั คมของกองภาพยนตร์ ยังไงแล้วเราควรรับชมเพอ่ื หาความสุขใหต้ วั เอง การเลอื กภาพยนตร์ท่ีดี คอื เลอื กในเรือ่ งที่ดูแลว้ ตัวเองจะมคี วามสขุ ละท้งิ อคติ ทั้งหลาย จะทำใหเ้ รามีอรรถรสในการรบั ชมมากขนึ้ (www.flyboysthemovie.com. ,๒๕๕๙) ประเภทของภาพยนตร์ ภาพยนตร์ที่ฉายอยู่ทุกวันนี้มีหลากหลายประเภท ขึ้นอยู่กับว่าจะจำแนกตามลักษณะใด โดยสมาน งามสนิท (๒๕๔๘:๑๘๒-๒o๒) ได้แบ่งสามารถแบ่งเป็น หมวดหมู่ได้ ๒ ประเภท คือ การจำแนกประเภทตาม ลกั ษณะการนำเสนอและการจำแนกประเภทตามหน้าทหี่ ลักของการส่ือสาร ๑.) ประเภทของภาพยนตรจ์ ำแนกตามลกั ษณะการนำเสนอ ๑.๑ ภาพยนตร์ทม่ี ีเนอื้ หาเป็นจรงิ ภาพยนตร์ทกุ เรอื่ งจะมีภาษาและไวยากรณเ์ ปน็ ของตัวเองเช่นเดียวกบั ภาษาหนังสือในการแต่งหนังสือ หรือการสือ่ สารความหมายด้วยภาษาหนังสือน้นั ผู้แตง่ จะใชถ้ ้อยคำมาเรียงเข้าเป็นประโยคยาวบ้างสั้นบ้างตาม ความเหมาะสม ส่วนภาพยนตร์นั้น ผู้สร้างหรือผู้สื่อความหมายด้วยภาพยนตร์จะนำภาพแต่ละภาพที่เรียกว่า “เฟรม” (frame) มาเรยี งเข้าดว้ ยกัน พรอ้ มท้ังตบแตง่ ด้วยเสียงประกอบอนื่ ๆ ให้สวยงาม เพอ่ื ให้ผชู้ มเกิดความ ประทบั ใจ ภาพยนตรท์ ี่มเี น้ือหาจริงถูกผลิตขึ้น เพื่อประโยชน์ในการส่ือสาร หากจะแบง่ ประเภทย่อย ๆออกไป อีก สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น ๒ ประเภทใหญๆ่ คอื ๑. ภาพยนตร์ข่าว (newsreel) ภาพยนตร์ข่าวเป็นภาพยนตร์ที่บันทึกภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น จริงๆ เช่น ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว น้ำท่วม ไฟไหม้ป่าหรือไฟไหม้บ้านเรือน การประชุมทางการเมือง การ เคลื่อนไหวทางเศรษฐกจิ และสังคม ตลอดจนเหตุการณ์ทางวัฒนธรรมหรือประเพณีอันดีงามของแต่ละท้องถิ่น เชน่ งานบญุ บง้ั ไฟท่ีจังหวัดยโสธร งานเทยี นพรรษาท่จี ังหวดั อบุ ลราชธานี งานชกั พระทีจ่ ังหวดั นครศรีธรรมราช งานบุปผาชาติที่เชียงใหม่ เป็นต้น ภาพยนตร์ประเภทข่าวนี้จะเสนอเพียงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเท่านั้น ว่าอะไร เกิดขึ้นที่ไหน เมื่อใด เราในฐานะผู้รับสาร จะได้รับข่าวคราวความเป็นไปในทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคท่มี ี การสอ่ื สารเจรญิ กา้ วหนา้ เชน่ ทุกวันนีช้ ีวติ ประจำวันของเราจะขาดเสียจากขา่ วสารเสยี มไิ ด้ ๒. ภาพยนตร์สารคดี (documentary film) ภาพยนตร์ชนิดนี้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องราวท่ี นำเสนอมากข้ึนกว่าภาพยนตรข์ า่ ว โดยมีรายละเอียดมากข้นึ เช่น สารคดีภูเขาไฟระเบดิ จะมีรายละเอียดไปถึง โครงสร้างของโลกเป็นอย่างไร มีความร้อนอยู่อย่างไร มีการระเบิดอย่างไร ภาพยนตร์ประเภทนี้จะต้องแสดง รายละเอียดท่ีเรามองไมเ่ ห็นให้เราเหน็ ได้ด้วยการวาดภาพ ทั้งแนวตั้ง แนวนอน แนวขวาง เมื่อเราดูภาพยนตร์ ชนิดนี้แล้ว จะเข้าใจทันทีว่าภูเขาไฟระเบิดได้อย่างไร ซึ่งแตกต่างจากภาพยนตร์ข่าวที่รายงานเฉพาะตอนที่ ภเู ขาไฟระเบดิ เทา่ นั้น ในทำนองเดยี วกัน ภาพยนตร์สารคดีเก่ียวกบั งานบญุ บ้ังไฟต้องมีรายละเอียดตั้งแต่ความ

13 เชื่อของชาวเมืองยโสธร การเตรียมการ การเสียสละกำลงั กายกำลังใจ และกำลังทรพั ย์ เพื่อร่วมกันสร้างบัง้ ไฟ ชนิดต่างๆ นำเสนอทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง ตลอดจนอารมณ์ของผู้เกี่ยวข้องกับประเพณีนั้นๆ เมื่ อได้ชม ภาพยนตรเ์ รือ่ งนแ้ี ลว้ จะเข้าใจไดว้ ่างานบญุ บ้ังไฟมีความหมายต่อชาวยโสธรอย่างไร เปน็ ต้น ๓. ภาพยนตร์การศึกษา (education film) ภาพยนตร์การศึกษา มีลักษณะคล้ายกับภาพยนตร์สาร คดีทั่วๆไป แต่ออกแบบเฉพาะขึ้น เพื่อให้เหมาะกับกลุ่มที่ต้องใช้ภาพยนตร์นั้น ๆ ภาพยนตร์ ประเภทนี้มี บทบาทมาตั้งแต่สมัยนายโธมัส เอดิสัน ได้ผลิตภาพยนตร์ ๒ เรื่องชื่อว่า “แมลงหวี่” (The Hauseflies) และ เรือ่ ง “กบ” (The fog) แมว้ ่าภาพยนตร์เรือ่ งแรกๆ จะเป็นภาพยนตรเ์ งยี บ แต่ให้ผลดตี อ่ การศึกษาเพราะทำให้ ผเู้ รียนสนใจการเรยี นมากข้ึน เนือ่ งจากในกระบวนการเรยี นรู้นัน้ คนเราจะเรยี นรู้ได้ดีทีส่ ุด ถ้าการเรียนนั้นเกิด จากประสบการณ์ตรง เช่นด้วยกับในวิชาภูมศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และวิชาอื่นๆ ภาพยนตร์จึงเป็นสื่อที่ สามารถจำลองประสบการณ์ตรงมาไวใ้ นห้องเรียนได้อย่างน่าสนใจ ยอ่ มหมายความว่า ภาพยนตร์การศึกษาจึง สามารถย่อโลกมาไว้ในห้องเรียนได้ตามเวลาที่ต้องการ อีกทั้งภาพยนตร์ยังเป็น “ภาษาสากล”ทุกคนดูแล้วจะ เขา้ ใจได้จากภาพท่ีเห็นตรงกนั ๑.๒ ภาพยนตร์ท่ีมเี น้อื หามาจากการประพนั ธ์ ภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นตามความคิด จินตนาการ และความคาดหวัง ซึ่งเป็นสิ่งที่อาจเป็นไปได้ หรือ เป็นไปไม่ได้ แล้วแต่ผู้สร้างจะมีจินตนาการอย่างไร ภาพยนตร์ประเภทนี้เรียกว่า ภาพยนตร์แบบ ประพันธ์(fiction) สามารถจัดเข้าไว้ในกลุ่มของศิลปะ ซึ่งเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า GENRE ซึ่งมักจะหมายถึง งานศลิ ปะดา้ นหนังสือหรือภาพวาด แตว่ งการภาพยนตร์ไดน้ ำคำน้มี าใชจ้ ดั ประเภทภาพยนตร์ ซง่ึ ในปจั จุบนั เรา สามารถแบ่งได้ดังต่อไปนี ๑. ภาพยนตร์แบบบู๊แอ็กชั่น (Action) หมายถึง ภาพยนตร์แนวต่อสู้ ระทึกใจ เหมาะสำหรับคนชอบ ความแข็งแรงและศิลปะการต่อสู้ ในภาพยนตร์แนวนี้จะมีฉากยิง ระเบิด เผาสิ่งต่างๆ ที่เราอาจจะหาดูได้ยาก ฉะน้ันคนที่ชอบภาพยนตร์ประเภทนี้ มิใชเ่ พราะชอบความรุนแรง แต่หมายถึงคนท่ชี อบที่จะสัมผัสกับสิ่งที่หาดู ไม่ได้ในชีวิตประจำวันและชอบความตื่นเต้นอยู่ด้วย ปัจจุบันภาพยนตร์ประเภทนี้ มีออกมาฉายกันมากไม่เคย ขาดและได้รับการตอบกลับอย่างดี แต่ก็ต้องมีเนื้อหาสาระและมุมมองของการออกแบบฉากได้อย่างลงตัวและ สมจรงิ ดว้ ย อย่าง องค์บาก ทม่ี เี ร่ืองการตอ่ สู้เปน็ จุดสำคัญ ๒. ภาพยนตร์แนวผจญภัย (Adventure) หมายถึง ภาพยนตร์ผจญภัย เข้าป่าฝ่าดง เจอปัญหา อุปสรรคมากมาย และต้องมีการแกไ้ ขปัญหาสถานการณ์ ภาพยนตรป์ ระเภทน้ีเหมาะสมหรับผชู้ มที่ชนื่ ชอบการ ผจญภัย เชน่ เขา้ ไปในป่าที่ยงั ไมร่ ู้จกั ว่ามีอะไรบา้ งท่รี อการเข้าไปคน้ หาจากนักเดนิ ทาง ๓. ภาพยนตร์ภาพการ์ตูนเคลื่อนไหว (Animation) หมายถึง ภาพยนตร์การ์ตูน โดยใช้ภาพวาดท่ี เคลื่อนที่ได้ด้วยเทคนิคของแอนนิเมชั่น (animation) ซึ่งปัจจุบันกำลังเป็นที่นิยม เช่น finding nemo ก้าน กล้วย ยกั ษ์ ฯลฯ ๔. ภาพยนตร์ตลกขบขัน (Comedy) โดยแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ๑) ตลกแบบเยาะเย้ย ถากถาง ที่ เรียกว่า แซ็ทไทริก โคมิดี (satiric comedy) เป็นการล้อเลียนเยาะเย้ย หรือถากถางเหตุการณ์ หรือบุคคลใน

14 สังคม ที่มีเรื่องเดิมอยู่แล้ว เช่น ล้อเลียนผู้นำ หรือนักการเมือง หรือ ดารา เป็นต้นและ ๒) ตลกแบบไม่ต้อง อาศัยเค้าเรื่องเดิมที่เป็นจริงในสังคมเป็นกรอบ แต่เป็นการตลกขบขันที่ผู้สร้างภาพยนตร์คิดขึ้นมาเองทั้งหมด ภาพยนตร์ตลกแบบน้ีเรยี กวา่ ไซต์-แกก๊ โคมดิ ี (sight-gag comedy) ๔. ภาพยนตร์ประเภทลี้ลับ สืบสวนสอบสวน (Crime / Mystery / Thriller) เป็นภาพยนตร์ท่ีผู้สร้าง พยายามสร้างเงื่อนงำหรือปมต่างๆไว้ ผู้ชมจะต้องคิดติดตามชมอย่างใกล้ชิดว่าเรื่องจะออกมาในรูปใด เช่น ภาพยนตร์จากเรื่องเชอร์ลอก โฮม ตลอดจนภาพยนตร์อาฆกรรมต่อเนื่องต่างๆ ภาพยนตร์อาชญากรรม ฆาตกรรม หรอื แนวการแกไ้ ขตอ่ สกู้ บั คดีต่างๆ ของตำรวจ หรือเร่ืองทไ่ี มส่ ามารถหาข้อสรุปได้ เป็นตน้ ๖. ภาพยนตรช์ วี ิต (Drama) ภาพยนตร์ทท่ี ำให้รู้สึกซ้งึ เศรา้ เคล้านำ้ ตา ทำใหน้ ึกถึงชีวิตของคนจริงๆซ่ึง บางเรื่องอาจทำให้ผูช้ มเกิดภาวะกดดนั และเครียดไปกบั เนื้อเร่ืองทำให้รูส้ ึกเศร้ามาก แต่เม่ือผู้ชมชมภาพยนตร์ เสรจ็ จะทำใหภ้ าวะตงึ เครียดน้ันหายไป ๗. ภาพยนตร์ที่มเี น้ือหาเกีย่ วกับเพศ (Erotic) อาจไม่เหมาะกับผู้ที่ยังไม่สามารถควบคุมภาวะอารมณ์ ของตนเองได้ อาทิ เดก็ และวันรุ่น บางเรอ่ื งอามีเนอ้ื หาค่อนไปทางภาพยนตร์ชีวิต ๘. ภาพยนตร์ครอบครัว (Family) เป็นภาพยนตร์ที่ทุกคนในครอบครัวสามารถชมได้ ทุกเพศทุกวัย ส่วนใหญ่เป็นภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความผูกพันของคนในครอบครัว ส่วนใหญ่จะแฝงแง่คิดเอาในเน้ือ เร่อื ง และเดินเร่ืองแบบเรียบงา่ ย เนน้ ความรกั ของคนในครอบครวั ๙. ภาพยนตร์จินตนาการ (Fantasy) ไม่ว่าจะเป็นจินตนาการด้านเทพนิยาย ด้านวิทยาศาสตร์ หรือ ด้านอวกาศต่างดาว (Sci-Fi) ซึง่ เป็นเรอ่ื งราวท่ผี ูส้ ร้างจิตนาการไปในอนาคตหรือในอดีตวา่ โลกน้จี ะเป็นอย่างไร กไ็ ด้ เชน่ โลกเม่อื ล้านปี ท่แี ล้ว เรอื่ งในตำนาน ฯลฯ ผสู้ ร้างภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์อาจจนิ ตนาการไปโดยอาศัย ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ทฤษฎีใดทฤษฎีหน่ึงเป็นแนวคิด แล้วสร้างภาพยนตร์ขึ้นมาตามแนวคิดนั้น อาทิเช่น ภาพยนตร์เรอ่ื งสตารว์ อร์ อที ีเพอื่ นรัก นาเนยี ภาพยนตร์จนิ ตนาการนี้เราจะเหน็ ว่า ผ้สู รา้ งจนิ ตนาการจะสร้าง สิ่งแปลกใหม่ๆมาให้เราเห็น เช่น ยานพาหนะอาวุธ บ้านเรือน เสื้อผ้า หรืออาหารหน้าตาแปลกๆ ตลอดจนกา รดรำงชวี ิตในสงิ่ แวดล้อมที่ตา่ งออกไปจากชีวติ จริงเข้ามาใส่ไวใ้ นภาพยนตร์ ๑o. ภาพยนตร์ท่มี ีเน้ือหาเป็นเร่อื งของความรัก (Romance) สว่ นใหญจ่ ะเป็นเรื่องรักๆใคร่ๆที่เกิดขึ้น ในสิ่งแวดล้อม และยุคสมัยต่างๆ ที่ผู้สร้างจินตนาการขึ้นมา เช่น ความรักในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ เช่น เร่ือง A Farewell to Arms และ Waterloo Bridge หรือลัทธิทหารเปน็ ใหญใ่ นเยอรมนั (militarism)เชน่ เรือ่ ง Three Comrads เรื่องของความรักในลักษณะนี้จะอิงเรื่องจริงทั้งหมด เพียงแต่นำเอาเรื่องความรักประเด็น เดียวเท่านั้นมาเป็นแกนนำ โดยสร้างความรักให้ยิ่งใหญ่กว่าความเป็นจริง เพื่อให้ผู้ชมภาพยนตร์ได้ปล่อยให้ อารมณ์ ประสบการณ์ และความปรารถนาของตนล่องลอยไปตามกระแสแหง่ เรื่องราวนนั้ ๆ ๑๑. ภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาสาระเป็นมหากาพย์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับอภินิหารที่ท าให้ผู้ชมภาพยนตร์เกดิ ความประทับใจและมหัศจรรย์ใจ เช่น ทรอย (Troy) ที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ของอาณาจักรโรมันหรือฉากท่ี แสดงถึงความยิง่ ใหญ่ในภาพยนตร์เรื่องพระนเรศวร ภาพยนตร์ประเภทน้ีต้องใช้เทคนคิ การถ่ายทำพิเศษอย่าง มาก เพื่อให้เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ นน้ั ยงิ่ ใหญจ่ นเกินความจริง แต่ให้อารมณ์สูงสดุ แก่ผู้ชม ๑.๒ ภาพยนตร์ประเภทนา่ กลวั ทำใหผ้ ูช้ มเกิดอาการขนพองสยองเกลา้ เชน่ ภาพยนตร์ผี ไมว่ ่าจะ

15 เป็นผีดบิ ผดี ดู เลือด ผีปอบ ผกี ระสอื ฯลฯ ซง่ึ เป็นภาพยนตรท์ ีต่ วั ละครหลกั จะนา่ กลัวน่าเกลียด ทำให้ผู้ชม กลวั กนั ตลอดเร่ือง อาทิ บพุ ผาราตรี, ปอบ, ๕ แพรง่ , แก้บนผี, แม่นาคพระขโนง, ผีช่องแอร์ เปน็ ตน้ (http://sanookdee.th.gs/, ๗ สิงหาคม ๒๕๕๕; สมาน งามสนิท, ๒๕๔๘:๑๙o-๒o๒ ๒) ประเภทของภาพยนตรท์ จี่ ำแนกตามหน้าทห่ี ลกั ของการสื่อสาร ๒.๑ ภาพยนตรข์ า่ ว เหตกุ ารณ์และสถานการณท์ ่ีเกิดข้ึนท่วั ทุกมุมโลกนนั้ เป็นทีส่ นใจของผู้รบั สารจากสื่อทุกประเภท ไม่ว่า จะมีผลกระทบต่อผู้รับสารโดยตรงหรือไม่ก็ตาม ภาพยนตร์ที่บันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ดังกล่าวน้ี เมื่อเสนอต่อ มวลชนโดยชอ่ งทางทีเ่ หมาะสมในโลกของการส่ือสาร จึงเกิดคนกลุม่ หนึ่งตามภาษาของการส่ือสารเรยี กว่า “ผู้ ส่งสาร” คอยดูเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งเรียกว่า “สาร” แล้วบันทึกเหตุการณ์นั้นดว้ ยภาพยนตรท์ ี่เรียกว่า “สื่อ” แล้วรายงานเหตุการณ์นั้น ๆ ผ่าน “ช่องทาง” ทางวิทยุโทรทัศน์มายัง “ผู้รับสาร”ให้รับทราบข้อมูล สถานการณ์ต่างๆอย่างครบถ้วนถูกต้อง ผู้ส่งสารจึงจัดเป็นสื่อมวลชนประเภทหนึ่งที่มีหน้าที่ ปฏิบัติตาม หลักการที่นักสื่อสารมวลชนกำหนดไว้อัน ได้แก่ ๑) ให้ข่าวสารแก่มวลชน (to inform) ๒) ให้ความคิดและนำ มวลชน (to influence) ๓) ให้ความบันเทิงสนุกสนานแก่มวลชน (to amuse people)และ ๔) ให้บริการแก่ ผู้รับสารและชุมชน (to serve)เนื่องจากการรายงานข่าวสารของสื่อมวลชน ยังมีความสำคัญต่อสังคมทาง รฐั ศาสตร์อกี ด้วย นักรัฐศาสตรอ์ ยา่ ง ฮาโรลด์ ดี ลาสสเ์ วลล์ (Horold D. Lasswell) จงึ ไดเ้ สนอไว้ว่า หนา้ ท่ขี อง สื่อมวลชนควรมี ๓ ประการ คือ ประการแรก เฝ้าดูสภาพสิ่งแวดล้อมของสังคม (surveillance of the environment) คอื เสนอข่าวสาร ประการท่ีสอง ต้องประสานงานส่วนตา่ งๆ ของสังคม (correlation of the parts of society) ได้แก่การเสนอความคิดเห็นต่างๆ ในสังคมให้เป็นที่เข้าใจกันดีและประการสุดท้ายเป็นท่ี ถ่ายทอดวัฒนธรรม(transmission of culture) คือ การให้การศึกษา จึงจะถือว่ามีหน้าที่ตามหลักการสื่อสาร และหลกั รัฐศาสตร์อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ซ่ึงโดยธรรมชาติของมนุษย์นนั้ จะเสาะแสวงหาข่าวสารด้วยตัวเองใน ลักษณะที่ต้องไม่รู้สึกว่าตนถูกยัดเยียดให้อ่าน ให้ฟัง หรือให้ดู มนุษย์มีทางเลือกที่จะหลบข่าวสาร หากเขาไม่ ตอ้ งการทจี่ ะรบั รู้ มนุษย์เปน็ ผู้กำหนดความสนใจของตนเองจากแรงจูงใจท่ีเกิดข้ึนในกรณีต่างๆกนั จะเห็นได้ว่า ในชีวิตประจำวันเราจะปะทะกับข่าวสารตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็น การดูข่าว การฟังข่าว และการอ่านข่าวสาร เป็นกิจกรรมหลักทางสังคม ประโยชน์ของภาพยนตร์ขา่ วจึงช่วยให้ผูด้ ูข่าวจากภาพยนตร์ขา่ วได้เห็นเหตกุ ารณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากท่ัวโลก ได้เห็นทั้งภาพที่มีสีตามธรรมชาติและได้ยินเสียง สร้างความเชื่อถือได้มากกว่าส่ือ ชนดิ อืน่ ตลอดจนทำใหผ้ ูช้ มรเู้ ทา่ ทันโลกทันเหตุการณ์ มีข้อมูลสนับสนนุ ในวงสนทนาหรือในการประชมุ สัมมนา การปะทะสงั คมภายนอก และการตดั สินใจทางธุรกิจ (สมาน งามสนิท, ๒๕๔๘:๒o๕) นอกจากนี้ภาพยนตรข์ ่าว ยังให้ความเพลิดเพลิน ช่วงเวลาของการเสนอข่าวทางวิทยุโทรทัศนจ์ ะเป็นชว่ งเวลาที่ผู้ชมข่าวกำลังว่าง ปล่อย ตัวปล่อยใจให้สบายเพลิดเพลินไปกับข่าวสารที่ได้รับ นักจิตวิทยาเรียกว่า “การลดภาวะความตึงเครียด” (reduction of tension) ในสภาพสังคมที่นับวันจะสลับซับซ้อนขึ้นเช่นนี้ ภาพยนตร์ข่าวจะมีส่วนผูกพันกับ ปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มบุคคลรวมทั้งสังคมมากยิ่งขึ้น การที่คนเราจะอยู่ในสังคมที่สลับซับซ้อนเช่นนี้ได้อย่างมี

16 ความสุข จะต้องเป็นคนทันโลกทันเหตุการณ์ เพื่อนำมาปรับใช้และเตรียมพร้อมรับมือกับทุกสถานการณ์ที่จะ เกดิ ขึ้นในแตล่ ะวนั ๒.๒ ภาพยนตรเ์ พอ่ื การศกึ ษา ภาพยนตร์เสียงในฟิล์มเข้ามามีบทบาทในวงการศึกษา เพื่อให้ความรู้และสร้างความสนใจแก่ผู้เรียน มากข้นึ ภาพยนตร์การศกึ ษาครอบคลุมถึงภาพยนตร์ทุกชนดิ ไมว่ า่ จะเป็นภาพยนตร์ชนิดใดล้วนมีประโยชน์ต่อ การศึกษาทั้งสิ้น หากผู้ใช้รู้จักเลือกมาใช้ให้เหมาะกับชั้นเรียน และใช้อย่างถูกวิธี โดยอาจแบ่งภาพยนตร์ การศึกษาได้ดังนี้ ๑) ภาพยนตร์แสดงพืน้ ฐานของเรื่องทีเ่ รยี น (back ground film)เป็นภาพยนตร์ที่ใชส้ ำหรับ ประกอบการเรียนทั่วไป อาจใช้เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน หรือฉายซ้ำตอนเรียนจบวชิ านั้นๆ เพื่อสรุปบทเรียน เช่น ภาพยนตร์สารคดี ภาพยนตร์บันเทิงแนวประวัติศาสตร์ ภาพยนตร์ข่าว ภาพยนตร์โฆษณาฯลฯ ๒) ภาพยนตร์ ประกอบการสอนขนาดสั้น (short teaching film) เปน็ ภาพยนตรท์ ี่แสดงเฉพาะกิรยิ าอาการอันใดอันหน่ึง ซ่ึง การเรียนการสอนยังไม่ชัดเจนพอ เช่น การสอนเรื่องการทำงานของหัวใจ แสดงเฉพาะการทำงานของหัวใจ เท่าน้นั ส่วนท่ีเหลอื ครูผู้สอนจะเป็นผู้อธบิ ายเองเจมส์ บราวน์ (Jame Brown) ไดก้ ำหนดหน้าท่ีของภาพยนตร์ การศึกษาไว้ ๗ ประการ คือ ๑) การแสดงข้อเท็จจริง (factual films) โดยมีการเสนอแนวคิดอย่างละเอียด เพื่อให้เข้าใจวามหมายของเรื่องที่ศึกษาอย่างละเอียด ๒) รายงานข่าวด้วยภาพ (pictorial report film) เป็น ภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องเวลาและการแข่งขัน เช่น การบันทึกการแข่งขันกีฬา ฯลฯ ๓) แสดง เรื่องราวที่แต่งขึ้น (fictional dramafilm) แสดงความเชื่อในเรื่องวรรณคดี มีประโยชน์ในการพัฒนาทัศนคติ และความร้สู ึกในคณุ ค่าของสงิ่ ต่างๆได้เป็นอย่างดี ๔) เสนอละครชวี ติ จริง (true drama film) เสนอเหตุการณ์ จริงในชีวิตคนทั่วไป ๕) นำเที่ยว (travelogues) ให้ข้อคิดเกี่ยวกับสังคมภูมิศาสตร์ เป็นเรื่องธรรมชาติ สังคม ของแต่ละท้องที่ ๖) ฝึกอบรม (training film) ทำหน้าที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับวิธีการดำเนินการต่างๆ เกี่ยวกับ ทักษะการฝึกอบรมและ ๗) สารคดี (documentary film) ทำหน้าที่เป็นแหล่งข้อมูลที่มีความสำคัญทาง การศกึ ษาทมี่ เี นื้อหาสาระถกู ตอ้ งกบั สภาพที่เป็นจรงิ ๒.๓ ภาพยนตร์เพ่ือการแสดงความคิดเห็นและชกั จงู ใจ มนุษย์เป็นผู้กำหนดความต้องการของตัวเองจากความสนใจตามแรงจูงใจที่เกิดขึ้นในกรณีต่างๆทำให้ การใชส้ อ่ื สารมวลชนจึงมจี ุดมุ่งหมาย เพ่ือหวงั ผล (effect) จากส่ิงท่ผี ลติ ขึน้ มาแสดงความคิดเห็น ในการชักจูง ใจ โดยกำหนดวัตถุประสงค์ (purpose) และมีเป้าหมายที่แน่นอน (goal-oriented) เพราะภาพยนตร์ทำให้ เกิดการเรียนรูท้ ้งั ทางตรงและทางอ้อม โดยสามารถแบ่งได้ ประเภท คือ ๑) ภาพยนตร์โฆษณา เป็นภาพยนตร์ สั้น ๆยาวไม่เกิน ๑ นาที เรียกว่า “สปอต” มีลักษณะเป็นภาพยนตร์ที่โน้มน้าวใจชักชวนให้ผู้บริโภคยอมรับ สินค้าและบริการแล้วซือ้ สินคา้ และบริการน้ัน ๆโดยตรง ๒) ภาพยนตร์ประชาสัมพันธ์ สร้างขึ้นในรูปแบบของ ภาพยนตร์สารคดี ที่มีเนื้อหาสาระเป็นจริงที่ต้องการให้สาธารณชนทราบ เพื่อวัตถุประสงค์ที่จะให้สาธารณชน รู้จักและเข้าใจตน ตลอดจนรักษาความเข้าใจอันดีของประชาชนให้มีต่อองค์การตลอดไป และ ๒) ภาพยนตร์ โฆษณาชวนเชื่อ (propaganda film) มักมีเนื้อหาสาระในการประกาศชักชวนให้ผู้ชม สนับสนุนแนวคิดการ

17 กระทำลัทธิศาสนาและอุดมการณ์ทางการเมือง เพื่อการกระจาย (dissemination) และอธิบายชี้แจง (elucidation) ความคิด ลัทธิ และทฤษฎีการเมอื ง โดยทำหน้าที่กระจายแนวคิดและอธิบายให้เข้าใจเรื่องของ ลัทธิและความเช่ือ นอกจากนี้ยังเป็นการเผยแพร่ลัทธิทางการเมืองให้คนกลุ่มน้อยระดับหัวหน้าชนชั้น หรือ ระดับพรรคเข้าใจในลัทธิ แนวคิดทางการเมืองนั้นๆอย่างถ่องแท้ แจ่มใส จนสามารถนำไปเผยแพร่ต่อไปได้อกี ดว้ ย อาทิ การเสนอสุนทรพจน์การปราศรัย เป็นต้น ๒.๔ ภาพยนตรบ์ นั เทิง ภาพยนตร์บันเทิง หมายถึง ภาพยนตร์ที่สร้างเพื่อความบันเทิง คำว่า บันเทิง ตามความหมายของ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๒:๖๑๗) หมายถึง “เบิกบานใน รื่นเริงใจ ทำให้รู้สึกสนุก” ภาพยนตร์บันเทิงจึงมุ่งให้ความเบกิ บานใจ รื่นเริงใจ และให้ความรู้สึกสนุก ภาพยนตร์ชนิดนี้อาจสร้างขึ้นจาก เรื่องจริง แต่มีการ เพิ่มเติมเรื่องให้สนุกสนานมากขึ้น เพื่อมิให้ภาพยนตร์เรื่องนั้นกลายเป็นภาพยนตร์สารคดี บางครั้งภาพยนตร์บันเทิงอาจสร้างขึ้นจากสัจธรรมบางประการในสังคม โดยใส่ตัวละครเข้าไป เช่นภาพยนตร์ เรื่อง “ทองพูน โคกโพธิ์ ราษฎรเต็มขั้น” ซึ่งสะท้อนและล้อเลียนสังคมที่มีคนรวยและคนจน คนรวยมีอำนาจ ทางเศรษฐกจิ ยอ่ มมีอำนาจทกุ อยา่ ง สว่ นคนจนไม่มอี ำนาจทางเศรษฐกิจย่อมหมดทุกสิง่ ทุกอย่างแมแ้ ต่สิทธิและ ความเป็นธรรม เป็นต้น ภาพยนตร์บันเทิงมักเป็นภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นจากจินตนาการของผู้สร้าง ซึ่ งอยู่ใน รปู แบบ เยาะเยย้ ถากถางสงั คม ลอ้ เลยี นสงั คม เร่อื งรักๆใคร่ๆ การต์ ูน เรอ่ื งลกึ ลับมหัศจรรย์ประเภทคาวบอย บู๊ หรือจินตนาการด้านวิทยาศาสตร์ภาพยนตร์บันเทิงมักจะมีความยาวไม่เกิน ๒ ชั่วโมง สร้างด้วยระบบเสียง แสง สี ที่ตระการตา เพื่อมุ่งเน้นให้ความบันเทิง สนุกสนาน และผ่อนคลายอารมณ์ของผู้ดู บางเรื่องก็ต้องการ สร้างความเครียด และความกลัวให้แก่ผู้ชม เช่น เรื่องผี หรือให้เกิดอัศจรรย์ใจ เช่น เรื่อง อภินิหารต่างๆ อย่างไรก็ตาม ภาพยนตร์บันเทิงต้องการให้ผู้ชมเกิดอารมณ์ร่วม เพราะการเกิดอารมณ์ร่วมกับสิ่งที่เราได้เห็น นั้น เป็นการพักผ่อนและผ่อนคลายหรือเกิดความสนุกในอีกรูปแบบหนึ่ง แม้ว่าปัจจุบันนี้ภาพยนตร์จะแตก รูปแบบออกไปเป็นภาพทัศน์ และวิทยุโทรทัศน์ก็ตาม แต่รูปแบบแม่บท เทคนิคการถ่ายทำ และภาษาที่ ประกอบเข้ากันเป็นเรื่องราวยังคงรักษาแม่บทของภาพยนตร์เฉกเช่นเดิม (สมาน งามสนิท, ๒๕๔๘: ๒o๗- ๒๒๖) ประโยชนข์ องภาพยนตร์ ๑. ช่วยให้เกิดช่วงเวลาสร้างสรรค์สมองได้รับการผ่อนคลาย การชมภาพยนตร์ถือเป็นการใช้เวลาว่า เป็นกิจกรรมที่มีความสร้างสรรค์ทำให้เกิดประโยชน์ ช่วยให้ได้เรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ได้ในเวลาเดียวกัน เป็น การผ่อนคลายในชว่ งเวลานั้นได้เป็นอยา่ งดี หากกำลังเครียดการชมภาพยนตร์จะเป็นกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ และเหมาะกับการพักผอ่ นสมอง ๒. สุขภาพดีขึ้นเนื่องจากภาพยนตร์ช่วยลดความตึงเครียด เพราะประโยชน์ของการชมภาพยนตร์ เปรียบเสมือนการเรียนรู้ในห้องเรียน ห้องหนึ่ง ความรู้ที่ได้รับกลับมาคือความคิดสร้างสรรค์ ความบันเทิง

18 ความสนุกสนานเรอ่ื งราวท่ีถูกถ่ายทอดผ่านจอมานัน้ เปรยี บเหมือนคุณครูท่ีกำลงั สอนเราในขณะน้นั ชว่ ยให้เกิด ผ่อนคลายสามารถช่วยลดความตงึ เครยี ดได้เปน็ อยา่ งดี ๓. เป็นกิจกรรมช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ ถือเป็นกิจกรรมที่ดีที่สุดในการใช้เวลาร่วมกันของ ครอบครัว เพื่อน และคู่รัก การชมภาพยนตร์เป็นกิจกรรมที่เป็นที่นิยมมาก ๆ ในปัจจุบัน เป็นการกระชับ ความสัมพันธ์ระหว่างกันให้ดียิ่งขึ้นได้ เกิดการพูดคุยแลกเปลี่ยน ใกล้ชิด สนิทสนมและได้ใช้เวลาร่วมกันมาก ข้ึน ๔. เสรมิ สร้างความรู้และประสบการณ์ ไมว่ า่ จะเป็นการรบั ชมคนเดียว กับเพือ่ น หรอื ครอบครัวก็ตาม ส่งิ ที่เราได้เรียนรู้คอื การใชภ้ าษา ลักษณะวัฒนธรรมวิถชี ีวิต รวมถึงประวัติศาสตรเ์ หตกุ ารณ์ที่สำคัญต่าง ๆ ผ่าน การรับชมภาพยนตร์ ๕. ช่วยเสริมสร้างแรงบัลดาลใจ ภาพยนตร์บางเรื่องสร้างจากเรื่องราวเหตุการณ์จริง การถ่ายทอ ประสบการณ์ที่แสดงให้เห็นถึงความประสบผลสำเร็จ ผู้ชมส่วนมากจะเกดิ อรรถรสในการรับชม สามารถสร้าง แรงบัลดาลใจให้ผู้ชมได้เป็นอย่างดี การถ่ายทอดเรื่องราวที่ดี สิ่งที่ดี ก็มีคุณค่าแก่จิตใจส่งผลให้เรามีความสุข ตามไปดว้ ย ๖. คน้ พบตัวเอง ภาพยนตรบ์ างเรอ่ื ง ถา่ ยทอดเรื่องราวและเพ่ิมเน้ือหาการแสดงทีส่ อดแทรกสาระและ ขอ้ คิดดี ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ เรื่องการใชช้ ีวิต การเดนิ ทางท่องเที่ยว เรื่องความรัก รวมถงึ เร่อื งราวประสบการณ์จริง ทำให้เรารู้ว่าเราควรปฏิบัติตามเช่นไรและไม่ควรทำเช่นไร หรืออาจจะช่วยยให้เราค้นพบตัวเองได้ง่ายขึ้น (Mindworld,๒๕๖o) ประวัตสิ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ \"พระองค์ดำ\" เป็นพระราชโอรสใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระวิสุทธิกษัตรีย์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. ๒o๙๘ ที่พระราชวัง จันทน์ เมืองพิษณุโลก มีพระเชษฐภคินีคือพระสุพรรณกัลยา มีพระอนุชาคือสมเด็จพระเอกาทศรถ (องค์ขาว) เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๑๑๓ ครองราชสมบัติ ๑๕ ปี เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๑๔๘ สิริพระชนมพรรษา ๔๙ พรรษา พระนามของพระองค์ปรากฏในลายลักษณ์อักษรหลาย ฉบบั เช่น พระนเรศ วรราชาธิราช, พระนเรศ, องคด์ ำ จึงยังไมส่ ามารถสรุปไดว้ ่าพระนาม \"นเรศวร\" ได้มาจาก ทีใ่ ด สันนิษฐานเบื้องต้นวา่ เพย้ี นมาจาก สมเดจ็ พระนเรศ วรราชาธิราช มาเป็น สมเด็จพระนเรศวร ราชาธิราช ราชการสงครามในสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เปน็ เหตุการณท์ ี่ยง่ิ ใหญ่และสำคัญยิ่งของชาติไทย พระองค์ได้กู้ อิสรภาพของไทยจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งแรก และได้ทรงแผ่อำนาจของราชอาณาจักรไทย อย่างกว้าง ใหญ่ไพศาล นับตั้งแต่ประเทศพม่าตอนใต้ทั้งหมด นั่นคือ จากฝั่งมหาสมุทรอินเดียทางด้านตะวันตก ไปจนถึง ฝ่งั มหาสมุทรแปซิฟิกทางด้านตะวันออก ทางดา้ นทิศใตต้ ลอดไปถึงแหลมมลายู ทางด้านทศิ เหนือก็ถึงฝ่ังแม่น้ำ โขงโดยตลอด และยังรวมไปถึงรัฐไทใหญบ่ างรฐั

19 ผลงานของพระนเรศวรมหาราช เม่อื ปี พ.ศ. ๒๑๒๖ พระเจา้ องั วะเป็นกบฏ เนื่องจากไมพ่ อใจทางกรุงหงสาวดีอยหู่ ลายประการ จึงแข็ง เมอื งพร้อมกับเกลยี้ กล่อมเจา้ ไทยใหญ่อีกหลายเมืองให้แข็งเมืองด้วย พระเจ้าหงสาวดีนนั ทบเุ รงจึงยกทัพหลวง ไปปราบ ในการณ์น้ไี ดส้ ั่งใหเ้ จ้าเมืองแปรเจ้าเมืองตองอูและเจ้าเมืองเชียงใหม่ รวมทัง้ ทางกรงุ ศรีอยุธยาด้วย ให้ ยกทพั ไปช่วยทางไทย สมเด็จพระมหาธรรมราชาโปรดใหส้ มเด็จพระนเรศวรยกทัพไปแทน สมเด็จพระนเรศวร ยกทัพออกจากเมืองพิษณุโลก เมื่อวันแรม ๖ ค่ำ เดือน ๓ ปีมะแม พ.ศ. ๒๑๒๖ พระองค์ยกทัพไทยไปช้า ๆ เพื่อให้การปราบปรามเจ้าอังวะเสร็จสิ้นไปก่อน ทำให้พระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงแคลงใจว่า ทางไทยคงจะถูก พระเจ้าอังวะชักชวนให้เข้าด้วย จึงสั่งให้พระมหาอุปราชาคุมทัพรักษากรุงหงสาวดีไว้ถ้าทัพไทยยกมาถึงก็ให้ ต้อนรับและหาทางกำจัดเสีย และพระองค์ได้สั่งให้พระยามอญสองคน คือ พระยาเกียรติและพระยาราม ซึ่งมี สมัครพรรคพวกอยู่ที่เมืองแครงมาก และทำนองจะเป็นผู้คุ้นเคยกับสมเด็จพระนเรศวรมาแต่ก่อน ลงมาคอย ต้อนรับทัพไทยที่เมืองแครง อันเป็นชายแดนติดต่อกับไทย พระมหาอุปราชาได้ตรัสสั่งเป็นความลับว่า เม่ื อ สมเด็จพระนเรศวรยกกองทัพขึ้นไป ถ้าพระมหาอุปราชายกเข้าตีด้านหน้าเมื่อใด ให้พระยาเกียรติและพระยา รามคมุ กำลังเข้าตกี ระหนาบทางด้านหลัง ชว่ ยกนั กำจดั สมเด็จพระนเรศวรเสียใหจ้ งได้ พระยาเกียรตกิ ับพระยา รามเม่อื ไปถึงเมอื งแครงแลว้ ได้ขยายความลบั นแี้ ก่พระมหา เถรคนั ฉ่องผู้เปน็ อาจารยข์ องตน ทุกคนไมม่ ีใครเห็น ดีด้วยกับแผนการของพระเจ้ากรุงหงสาวดี เพราะมหาเถรคันฉ่องกับสมเด็จพระนเรศวรเคยรู้จักชอบพอกันมา ก่อน กองทัพไทยยกมาถึงเมืองแครง เมื่อวันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๖ ปีวอก พ.ศ. ๒๑๒๗ โดยใช้เวลาเดินทัพเกือบ สองเดือน กองทัพไทยตั้งทัพอยู่นอกเมือง เจ้าเมืองแครงพร้อมทั้งพระยาเกียรติกับพระยารามได้มาเฝ้าฯ สมเด็จพระนเรศวร จากน้นั สมเดจ็ พระนเรศวรได้เสดจ็ ไปเย่ียมพระมหาเถรคันฉ่องซ่ึงค้นุ เคยกันดีมา กอ่ น พระ มหาเถรคันฉ่องมีใจสงสารจึงกราบทูลถึงเรื่องการคิดร้ายของทางกรุงหงสาวดี แล้วให้พระยาเกียรติกับพระยา รามกราบทูลให้ทราบตามความเป็นจริง เมื่อพระองค์ได้ทราบความโดยตลอดแล้ว ก็ทรงมีพระราชดำริเห็นว่า การเป็นอริราชศัตรูกับกรุงหงสาวดีน้ัน ถึงกาลเวลาที่จะต้องเปิดเผยต่อไปแล้ว จึงได้มีรับสั่งให้เรียกประชุมแม่ ทัพนายกอง กรมการเมือง เจ้าเมืองแครงรวมทั้งพระยาเกียรติพระยารามและทหารมอญมาประชุมพร้อมกัน แล้วนิมนต์พระมหาเถรคันฉ่องและพระสงฆ์มาเป็นสักขีพยาน ทรงแจ้งเรื่องให้คนทั้งปวงที่มาชุมนุม ณ ที่น้ัน ทราบว่า พระเจ้าหงสาวดีคิดประทุษร้ายต่อพระองค์ จากนั้นพระองค์ได้ทรงหลั่งน้ำลงสู่แผ่นดินด้วยสุวรรณ ภิงคาร (พระน้ำเต้าทองคำ) ประกาศแก่เทพยดาฟ้าดินว่า \"ด้วยพระเจ้าหงสาวดี มิได้อยู่ในครองสุจริต มิตรภาพขัตติยราชประเพณี เสียสามัคคีรสธรรม ประพฤติพาลทุจริต คิดจะทำอันตรายแก่เรา ตั้งแต่นี้ไป กรุง ศรอี ยธุ ยาขาดไมตรกี ับกรงุ หงสาวดีมิไดเ้ ปน็ มิตรร่วมสุวรรณปฐพีเดียวกัน ดุจดังแตก่ ่อนสืบไป\" จากนั้นพระองค์ ไดต้ รสั ถามชาวเมืองแครงว่าจะเข้าข้างฝ่ายใด พวกมอญทงั้ ปวงต่างเข้ากบั ฝ่ายไทย สมเด็จพระนเรศวรจึงให้จับ เจา้ เมืองกรมการพมา่ แลว้ เอาเมืองแครงเป็นท่ตี ้ัง ประชุมทพั เมอื่ จดั กองทัพเสร็จก็ทรงยกทัพจากเมืองแครงไป ยังเมืองหงสาวดีเมื่อวันแรม ๓ ค่ำ เดือน ๖ ฝ่ายพระมหาอุปราชาที่อยูร่ กั ษาเมืองหงสาวดี เมื่อทราบว่าพระยา เกียรติพระยารามกลับไปเข้ากบั สมเด็จพระนเรศวร จึงได้แต่รักษาพระนครมั่นอยู่ สมเด็จพระนเรศวรเสด็จยก ทัพข้ามแม่น้ำสะโตงไปใกล้ถึงเมืองหงสาวดี ได้ทราบความว่า พระเจ้ากรุงหงสาวดีมีชัยชนะได้เมืองอังวะแล้ว กำลังจะยกทัพกลับคืนพระนคร พระองค์เห็นว่าสถานการณ์ครั้งนี้ไม่สมคะเน เห็นว่าจะตีเอาเมืองหงสาวดีใน

20 ครั้งนี้ยังไม่ได้ จึงให้กองทัพแยกย้ายกันเที่ยวบอกพวกครัวไทยที่พม่ากวาดต้อนไปแต่ก่อนให้อพยพ กลับ บ้านเมือง ได้ผู้คนมาประมาณหมื่นเศษให้ยกล่วงหนา้ ไปก่อน พระองค์ทรงคุมกองทัพยกตามมาข้างหลงั ยุทธ หัตถี นับตั้งแต่สมเด็จพระนเรศวรประกาศอิสรภาพเป็นต้นมา หงสาวดีได้เพียรส่งกองทัพเข้ามาหลายคร้ัง แต่ก็ถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยาตีแตกพ่ายไปทุกครั้ง เมื่อสมเด็จพระมหาธรรมราชา เสด็จสวรรคต เมื่อปี พ.ศ. ๒๑๓๓ พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๑๓๓ เมื่อพระชนมายุได้ ๓๕ พรรษา ทรงพระนามว่า สมเด็จพระนเรศวร หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๒ และโปรดเกล้า ฯ ให้พระเอกาทศ รถ พระอนุชา ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช แต่มีศักดิ์เสมอพระมหากษัตริย์อีกพระองค์หนึ่ง ตลอดรัชสมัยของ พระองค์ทรงกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากหงสาวดี และได้ทำสงครามกับอริราชศัตรูทั้งพม่าและเขมร จน ราชอาณาจกั รไทยเป็นปึกแผ่นม่นั คง ขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างใหญไ่ พศาลกว่าครั้งใดในอดีตท่ี ผ่านมา งานสงครามในรัชสมัยของพระองค์ ทั้งในดินแดนไทยและดินแดนข้าศึก ได้ชัยชนะทุกครั้ง ทรงมีพระ ปรีชาสามารถในการนำทัพ ทรงริเริ่มนำยุทธวิธีแบบใหม่มาใช้ในการทำสงคราม และเปลี่ยนแนวความคิดจาก การตั้งรบั มาเป็นการรุก และรเิ ริม่ การใชว้ ิธรี บนอกแบบารสงครามกับพม่าครง้ั สำคญั ที่ทำให้พม่าไม่กล้า ยกทัพ มารกุ รานไทยอีกเลย เป็นเวลาเกอื บสองร้อยปีคือ สงครามยทุ ธหัตถี เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๑๓๕ นนั่ คือเมื่อหงสาวดีนำ โดยพระมหาอปุ ราชามังสามเกียดยกทัพมาตกี รงุ ศรอี ยธุ ยา อกี ครงั้ สมเดจ็ พระนเรศวรกน็ ำทัพออกไปจนปะทะ กันที่หนองสาหร่าย จังหวัดสุพรรณบุรี บ้างก็ว่าจังหวัดกาญจนบุรี สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงกระทำยุทธหัตถี กับพระมหาอุปราชาจนกระทั่งสามารถเอาพระ แสงง้าวฟันพระมหาอุปราชาขาดสะพายแล่ง สิ้นพระชนม์อยู่ กับคอช้างนนั่ เอง (https://sites.google.com/site/62phanawan05,๒๕๕๖)

21 บทท่ี ๓ วิธีดำเนนิ การวิจัย การศึกษาเรื่อง การใช้คำราชาศัพท์ และค่านิยมความเชื่อจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระ นเรศวรภาคที่ ๖ อวสานหงสา มีวัตถุประสงค์เพื่อเรียนรู้วิธีการใช้คำราชาศัพท์อย่างถูกต้องต้องตามหลักการ รวมไปถงึ ไดร้ ู้และเข้าใจความเชื่อและคา่ นิยมของผคู้ นในสมยั อยุทธยาผ่านทางภาพยนตร์องิ ประวัตศิ าสตร์ โดย คณะผจู้ ัดทำมขี ัน้ ตอนการดำเนนิ วจิ ยั ดังน้ี ๑. เลือกหัวขอ้ ศกึ ษาท่ีคณะผูจ้ ัดทำมีความสนใจ ๒. ศกึ ษาเอกสาร ตำรา ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การใช้คำราชาศัพท์ ๓. ศกึ ษาเอกสารและตำราท่ีเกีย่ วขอ้ งกับค่านยิ มและความเชื่อ ๔. วางแผนขอบเขตของข้อมลู และขอบเขตของหัวข้อทีศ่ ึกษาคน้ คว้า ๕. รวบรวมข้อมูล คำราชาศัพท์จากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรภาคที่ ๖ จากการ รับชมทางเว็บไซตห์ นงั ออนไลน์ ๖. รบมรวมคา่ นิยมและความเช่อื ทป่ี รากฏในภาพยนตร์ ๗. ดำเนินการวเิ คราะหข์ ้อมูลตามหวั ขอ้ ทศ่ี ึกษาคน้ คว้า ๘. สรุปและอภิปรายผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ๙. จดั ทำรูปเล่มรายงานการศกึ ษาค้นคว้า ๑o. นำเสนอผลการศึกษาคน้ คว้า แหล่งขอ้ มูล แหลง่ ข้อมูลทใ่ี ช้ในการศกึ ษาค้นควา้ คร้งั น้ี ไดแ้ ก่ เว็บไซต์ดหู นงั ออนไลน์ เวบ็ MoNomax (ถกู ต้องตาม ลิขสิทธิ์)ซึ่งประกอบไปด้วยภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรภาคที่ ๖ การใช้คำราชาศัพท์ จาก GOOGLE หนังสือเรื่อง คำราชาศัพท์น่ารู้ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยได้รวบรวมคำราชาศัพท์และค่านิยมความเชื่อท่ี ปรากฏในภาพยนตร์ท้ังหมดมาเพ่ือศกึ ษา เกณฑ/์ ประเด็นในการวิเคราะห์ ๑. คำราชาศัพท์ที่นำมาศึกษาต้องเป็นคำราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์และพระบรมศานุวงศ์ เทา่ นัน้ ๒. ค่านิยมความเช่อื ทปี่ รากฏตอ้ งถูกตอ้ งตามวถิ ชี วี ติ คนไทยในสมัยอยธุ ยา ๓. ภาพยนตร์ทนี่ ำมาศึกษาตอ้ งถูกลขิ สทิ ธ์ิ มีการดำเนนิ การเพอ่ื รับชมที่ถกู ต้อง ๔. การศกึ ษาคา่ นยิ มและความเชอื่ ต้องอิงจากเหตกุ ารณจ์ ริงทเี่ กดิ ขน้ึ ในภาพยนตร์ ๕. การศกึ ษาคำราชาศพั ท์แตล่ ะคำ ตอ้ งมกี ารหาข้อมลู มาอยา่ งถูกต้อง ๖. ภาพยนตร์ตอ้ งให้ความรู้เรื่องคำราชาศพั ทผ์ ่านตัวละครได้อย่างเหมาะสม

22 ๗. ภาพยนตร์มีการใชค้ ำราชาศพั ทถ์ กู ตอ้ ง ๘. ไม่นำคำซำ้ มาวิเคราะห์ การรวบรวมข้อมูล ในการศกึ ษาค้นคว้าครั้งน้ี คณะผจู้ ัดทำไดร้ วบรวมข้อมลู ทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์จากเว็บไซต์ Monomax , Google และหนงั สือเรอ่ื ง คำราชาศพั ทน์ ่ารู้ ซง่ึ มขี น้ั ตอนการดำเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้ ๑.รับชมภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรภาคที่ ๖ ตอน อวสานหงสา ภาคผ่านทางเว็บไซต์ Monomax ๒. จดคำราชาศพั ท์ท่ีพบในภาพยนตร์เพอ่ื นำมาศึกษาให้ครบทุกคำ ๓. นับจำนวนคำทีพ่ บในภาพยนตร์ ๔. แยกประเภทคำราชาศัพท์เพื่อการศกึ ษาทีง่ ่ายมากยิ่งข้นึ ๕. หาความหมายและวธิ กี ารใช้คำราชาศัพท์ท่พี บ ๖. วเิ คราะหค์ า่ นิยมความเชือ่ ท่พี บ ๗. ศกึ ษาค่านยิ มและความเชือ่ ท่ีสอดคลอ้ งกับวถิ ชี วี ิต ๘. นำมาเรียบเรียงและสรุปขอ้ มูล ระยะเวลาในการดำเนนิ การ ในการศึกษาเรื่องการศึกษาการใช้คำราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์จาก ภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาคท่ี ๖ อวสานหงสา มรี ะยะเวลาในการดำเนินการซึ่งแบง่ ไดด้ งั น้ี ลำดบั ที่ ขน้ั ตอนการศึกษา ชว่ งเวลา ผู้รับผดิ ชอบ ๑ รวบรวมข้อมูลเอกสารและงานวิจัย วนั ท่ี ๒o-๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ คณะผู้จัดทำ ที่เกี่ยวขอ้ ๒ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้คำ วันท่ี ๒๕-๒๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ คณะผจู้ ดั ทำ ราชาศพั ท์ ๓ วิเคราะห์ขอ้ มูล วนั ท่ี ๒๗-๓o ธนั วาคมพ.ศ. ๒๕๖๓ คณะผู้จัดทำ ๔ สรปุ และอภิปรายข้อมูล วันที่ ๑o-๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผจู้ ดั ทำ ๕ ตรวจทานและแก้ไข้ข้อมูลจัดทำ วันที่ ๑๘-๒o มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผจู้ ัดทำ รูปเล่มรายงานการศึกษาคน้ คว้า ๖ นำเสนอผลการศกึ ษาคน้ คว้า วนั ท่ี ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผจู้ ัดทำ ๗ ส่งรายงานการศึกษาค้นคว้าฉบับ วันที่ ๒๖-๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผูจ้ ัดทำ สมบูณร์

23 บทที่ ๔ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การศึกษาค้นคว้าเรื่อง การใช้คำราชาศัพท์และค่านิยมความเชื่อจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ภาคที่ ๖ อวสานหงสา กำกับภาพยนตร์โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล คณะผู้จัดทำได้ แบ่งการวิเคราะห์ออกเปน็ ๓ ประเด็น ตามวตั ถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้า ไดแ้ ก่ เพอื่ ศกึ ษารวบรวมคำราชา ศพั ทจ์ ากภาพยนตร์ เพือ่ ศึกษาประเภทของการใช้คำราชาศพั ทจ์ ากภาพยนตร์ และเพอื่ ศึกษาค่านิยมความเช่ือ ทป่ี รากฏในภาพยนตร์ ซ่งึ มรี ายละเอยี ดการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังน้ี ๑. รวบรวมคำราชาศพั ทท์ ่พี บในภาพยนตร์ การวเิ คราะห์คำราชาศัพทท์ ่ีปรากฏในภาพยนตรน์ น้ั ประกอบไปด้วยคำราชาศัพท์ ๔ ประเภท คือ คำนามราชาศัพท์ คำกรยิ าราชาศพั ท์ คำสรรพนามราชาศัพท์ และคำวิเศษณร์ าชาศัพท์ โดยคณะผ้จู ดั ทำได้รวม คำราชาศพั ทท์ งั้ ๔ ประเภทเข้าดว้ ยกนั โดยไม่รวมคำซำ้ ปรากฏคำราชาศัพท์ ๕๒ คำ ดงั น้ี คำราชาศพั ท์ ความหมาย ๑.พระศก เสน้ ผม ๒.พระเมรุ เมรุ ๓.พระทัย ใจ ๔.ขา้ พระพทุ ธเจา้ ฉัน/ผม ๕.โปรดให้ ชอบให้ ๖.ทรงบิดพล้ิว หลกี เลยี่ งไมป่ ฏิบตั ติ าม ขอ้ ตกลง ๗.พระราชประสงค์ ต้องการ ๘.พระองค์ ใช้แทนพระมหากษตั รยิ ์ หรอื เจา้ นายช้นั สูง ๙.พระบดิ า พอ่ ๑o. พระอัยกา ปู่ ตา ๑๑. พระบัญชา ๑๒. กราบบังคมทลู คำสั่ง ๑๓. ถวาย ๑๔. เศียร บอก ๑๕. พระราชมารดา มอบของตา่ ง ๆ หัว ศีรษะ แม่

24 ๑๖. ทรงปรวิ ติ ก กงั วล ๑๗. พระราชทาน ให้ ๑๘. ถวายการอารักขา ปกป้อง คมุ้ ครอง ๑๙. พระราชฐาน ทอ่ี ยู่ ๒o. ทูลเชิญ กลา่ วเชื้อเชญิ ๒๑. ประทับ อยู่ นั่ง ๒๒. พระเกยี รติ ช่อื เสียง คำสรรเสริญ ๒๓. เสด็จ ไป ๒๔. พระราชสาสน์ จดหมาย ๒๕. พระบรมโพธิสมั ภาร บญุ บารมีของ พระมหากษัตรยิ ์ ๒๖. พระตำหนกั เรือน ๒๗. พระราชวงั วัง ๒๘. พระบาท เทา้ ๒๙. หอ้ งบรรทม หอ้ งนอน ๓o. ทอดพระเนตร มอง ดู ๓๑. มหาบพติ ร พระสงฆใ์ ชแ้ ทนตน ๓๒. พระกระยาหาร อาหาร ๓๓. หมอหลวง หมอ ๓๔. ปลงพระชนม์ ฆ่า ๓๕. ราชสมบตั ิ สมบตั ิของกษัตริย์ ๓๖. พระราชปนิธาน การต้ังความปรารถนา ๓๗. ผนวช บวช ๓๘. ราชกจิ กจิ ของพระราชา ๓๙. ราชโอรส ลกู ชาย ๔o. พระพักตร์ ดวงหนา้ ๔๑. ประชวร ปว่ ย ๔๒. ตรสั พดู ๔๓. พระพลานามยั สขุ ภาพแข็งแรง ๔๔. พระราชภารกิจ ภารกิจ ๔๕. ถวายงาน ปฎิบตั ริ ับใชง้ าน

25 ๔๖. เสด็จสูส่ วรรค์คาลยั เสดจ็ สสู่ รวงสวรรค์ ๔๗. ยคุ ลบาท เทา้ ทั้งคู่ ๔๘. พระชนั ษา อายุ ๔๙. เสวยราชย์ ครองราชสมบัติ ๕o. พระราชอำนาจ อำนาจ ๕๑. พระพทุ ธเจ้าข้า คำรบั ๕๒. เพคะ คำรบั ๕๓. ขอรบั คำรบั ๒. แยกประเภทของคำราชาศัพท์ การวิเคราะห์ประเภทของคำราชาศัพท์ผู้จัดทำได้ศึกษาจากหนังสือ คำราชาศัพท์น่ารู้ ของคุณเยาว ลักษณ์ ชาตสิ ุขสริ ิเดช และคุณบญุ ลกั ษณ์ เอย่ี มสำอาง ดงั น้ี ๒.๑ คำนามราชาศัพท์ คือ เน้นคำที่บัญญัติขึ้นใช้โดยเฉพาะหรือบางคำอาจจำมาจากคำนามสามัญ โดยใช้คำอื่นประกอบข้างหน้าหรือข้างหลังให้แปลกพิเศษกว่าคำธรรมดาทั่วไป ซี่งเป็นประเภทของคำราชา ศัพท์ที่พบมากที่สุดในภาพยนตร์เนื่องจากบทพูดและลักษณะท่าทางของตัวละคร โดยคำนามราช าศัพท์ ประกอบไปด้วย ๒๕ คำซ่ึงพบว่ามกี ารใชม้ ากท่สี ุดในภาพยนตร์ คำราชาศพั ท์ ความหมาย ประเภท ๑.พระศก เสน้ ผม คำนามราชาศัพท์ ๒.พระเมรุ เมรุ คำนามราชาศัพท์ ๓.พระทยั ใจ คำนามราชาศัพท์ ๔.พระบดิ า พอ่ คำนามราชาศัพท์ ๕. พระอยั กา ปู่ ตา คำนามราชาศัพท์ ๖. เศยี ร หวั ศรี ษะ คำนามราชาศัพท์ ๗.พระราชมารดา แม่ คำนามราชาศัพท์ ๘.พระราชฐาน ท่ีอยู่ คำนามราชาศัพท์ ๙.พระเกียรติ ชือ่ เสยี ง คำนามราชาศัพท์ คำสรรเสรญิ ๑o.พระราชสาสน์ จดหมาย คำนามราชศัพท์ ๑๑.พระบรมโพธสิ ัมภาร บญุ บารมีของ คำนามราชาศัพท์ กษตั ริย์

26 ๑๒.พระตำหนัก เรือน คำนามราชาศัพท์ ๑๓.พระราชวัง วัง คำนามราชาศัพท์ ๑๔.พระบาท เทา้ คำนามราชาศัพท์ ๑๕.ห้องบรรทม ห้องนอน คำนามราชาศัพท์ ๑๖.พระกระยาหาร อาหาร คำนามราชาศัพท์ ๑๗.หมอหลวง หมอ คำนามราชาศัพท์ ๑๘.ราชสมบัติ สมบตั ขิ องกษัตริย์ คำนามราชาศัพท์ ๑๙.ราชกิจ กจิ ของพระราชา คำนามราชาศัพท์ ๒o.ราชโอรส ลกู ชาย คำนามราชาศัพท์ ๒๑.พระพักตร์ ดวงหนา้ คำนามราชศัพท์ ๒๒.พระพลานามยั สขุ ภาพ คำนามราชาศัพท์ ๒๓.ยคุ ลบาท เทา้ ทั้งคู่ คำนามราชาศัพท์ ๒๔.พระชันษา อายุ คำนามราชาศัพท์ ๒๕.พระราชอำนาจ อำนาจ คำนามราชาศัพท์ โดยคำนามราชาศพั ทป์ ระกอบไปด้วย ๒๕ คำซง่ึ พบวา่ มกี ารใชม้ ากท่สี ดุ ในภาพยนตร์ ๒.๒ คำสรรพนามราชาศัพท์ เป็นศัพท์ที่ใช้แทนชื่อ ซึ่งจำแนกตามขั้นตอนหรือฐานะของบุคคลตาม ประเพณีนิยม โดยส่วนใหญ่นั้นคำสรรพนามราชาศัพท์ที่ปรากฏนั้นค่อนข้างมีการใช้น้อยนอกจากใช้กับ พระมหากษตั ริย์คำสว่ นใหญจ่ งึ เป็นคำสามัญธรรมดา โดยคำสรรพนามราชาศัพทท์ ี่ปรากฏด้วยกัน ๓ คำ คำราชาศัพท์ ความหมาย ประเภท คำสรรพนามราชา ๑.ขา้ พระพทุ ธเจา้ ฉนั /ผม ศพั ท์ คำสรรพนามราชา ๒.พระองค์ ทา่ น ศัพท์ คำสรรพนามราชา ๓.มหาบพติ ร พระสงฆ์ใช้แทนตน ศัพท์ ๒.๓ คำกริยาราชาศัพท์ เป็นคำที่แสดงอาการหรือการกระทำของบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยส่วน ใหญ่มักเป็นคำโดดหรือเป็นกริยาผสม เพื่อปรับให้เหมาะสมต่อการใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระบรม วงศานุวงศ์ คำกรยิ าราชาศัพท์ท่ีพบในภาพยนตรม์ ีดว้ ยกนั ๒๑ คำ ดงั นี้

27 คำราชาศัพท์ ความหมาย ประเภท ๑.โปรดใช้ ชอบให้ คำกริยาราชาศัพท์ ๒.ทรงบิดพล้วิ หลีกเลี่ยงไม่ปฎบิ ัตติ ามข้อตกลง คำกรยิ าราชาศัพท์ ๓.พระราชประสงค์ ต้องการ คำกรยิ าราชาศัพท์ ๔.พระบัญชา คำสั่ง คำกรยิ าราชาศัพท์ ๕.กราบบงั คมทูล บอก คำกรยิ าราชาศัพท์ ๖.ถวาย มอบของ คำกริยาราชาศัพท์ ๗.ทรงปรวิ ิตก กงั วล คำกริยาราชาศัพท์ ๘.พระราชทาน ให้ คำกริยาราชาศัพท์ ๙.ถวายการอารักขา ปกป้อง ค้มุ ครอง คำกริยาราชาศัพท์ ๑o.ทูลเชิญ กล่าวเชือ้ เชญิ คำกริยาราชาศัพท์ ๑๑.ประทับ น่ัง คำกริยาราชาศัพท์ ๑๒.เสด็จ ไป คำกรยิ าราชาศัพท์ ๑๓.ทอดพระเนตร มอง ดู คำกรยิ าราชาศัพท์ ๑๔.ปลงพระชนม์ ฆ่า คำกริยาราชาศัพท์ ๑๕.พระราชปนิธาน การตง้ั ความปรารถนา คำกรยิ าราชาศัพท์ ๑๖.ผนวช บวช คำกริยาราชาศัพท์ ๑๗.ประชวร ปว่ ย คำกรยิ าราชาศัพท์ ๑๘.ตรัส พดู คำกรยิ าราชาศัพท์ ๑๙.พระราชภารกิจ ภารกจิ คำกรยิ าราชาศัพท์ ๒o.ถวายงาน ปฏิบัตริ บั ใช้งาน คำกริยาราชาศัพท์ ๒๑.เสวยราชย์ ครองราชสมบัติ คำกรยิ าราชาศัพท์ ๒.๔ คำวิเศษณ์ราชาศัพท์ คือการใช้คำรับ เมื่อมีการเรียกขาน โต้ตอบ หรือพูดจากัน ซึ่งปรากฏใน ภาพยนตรเ์ ป็นจำนวน ๓ คำ คำราชาศพั ท์ ความหมาย ประเภท ๑.พระพุทธเจ้าขา้ คำรับ คำวิเศษณร์ าชาศพั ท์ ๒.เพคะ คำรบั (หญิง) คำวเิ ศษณร์ าชาศัพท์ ๓.ขอรับ คำรับ (ชาย) คำวเิ ศษณร์ าชาศัพท์

28 ๓.ค่านยิ มและความเชอื่ เกณฑ์การวิเคราะห์ของค่านิยมและความเชื่อนี้ คณะผู้จัดทำได้ใช้เกณฑ์การวิเคระห์ของ “ค่านิยม ความเช่ือ แนวทางการดำเนินชีวติ ” ของคุณ มนัสวี วดั บญุ เลย้ี ง โดยมหี ัวขอ้ การวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ ๓.๑ ค่านิยมและความเชอ่ื ด้านการรบ จากการวิเคราะห์พบว่า ในภาพยนตร์เรอ่ื งตำนานสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชคือประวัติศาสตร์ไทยใน สมัยอยุธยา ซึ่งในยุคสมัยของสมเด็จพระนเรศวรนัน้ เป็นยุคแห่งการทำสงครามกอบกู้เอกราชเนื่องจากสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงใช้ชีวิตในแดนข้าศึก มโี อกาสรำ่ เรยี นศาสตร์หลากหลายของทางฝ่ังพม่าและมอญมาก จึงได้นำศาสตร์เหล่านั้นมาปรับปรุง ร่วมกับกลยุทธสำคัญคือ ตำราพิชัยสงคราม ซึ่งมีแหล่งกำเนิดมาตั้งแต่รัช สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทำให้ตำราพิชัยสงครามกลายเป็นส่วนหนึ่งของค่านิยมที่กษัตริย์นักรบในสมัย อยุธยาปฏิบัตสิ บื มา และความเชื่อของตำราพิชัยสงครามนั้นได้แก่การมีความศรัทธาว่าหากปฏบิ ัติตามกฎของ ตำราน้ี จะรบชนะตอ่ อภริ าชศัตรทู ั้งหลาย ค่านิยมและความเชื่อเรื่องการรบอีกอย่างที่ปรากฏในภาพยนตร์คือการ ทำยุทธหัตถีซึ่งหมายถึง การ ต่อสู้ด้วยอาวุธบนหลังช้าง เป็นการรบอย่างกษัตริย์สมัยโบราณ ถือเป็นคติมาแต่ดึกดำบรรพ์ว่า ยุทธหัตถีหรือ การชนชา้ งเปน็ ยอดยทุ ธวิธขี องนักรบ เพราะเปน็ การต่อส้อู ยา่ งตัวต่อตัว แพ้ชนะกนั ดว้ ยความคลอ่ งแคล่วแกล้ว กล้า กับการชำนิชำนาญในการขับขี่ช้างชน โดยมิต้องอาศัยรี้พลหรือกลอุบายแต่อย่างใด เพราะโดยปกติ ใน การทำสงครามโอกาสท่ีจอมทัพทั้งสองฝ่ายจะเข้าใกล้ชดิ จนถึงชนช้างกันมนี ้อยมาก ดังนั้น กษัตริย์พระองค์ใด กระทำยทุ ธหตั ถีชนะก็จะได้รบั การยกย่องว่า มพี ระเกยี รตยิ ศสงู สุด และแมแ้ ตผ่ ูแ้ พ้ก็ไดร้ ับการยกย่องสรรเสริญ ว่าเปน็ นกั รบแท้ ๓.๒ ความเชือ่ ด้านผีสางและไสยศาสตร์ ความเชื่อทางด้านเร่ืองผหี รือวิญญาณของไทยแมใ้ นปจั จุบันยังคงมีการเช่อื ถืออยู่ แต่ในสมัยอยุธยานั้น ความเชื่อทางด้านเรื่องผีไทยนับถือผีตั้งแต่ก่อนนับถือพระพุทธศาสนา ผีสามารถแบ่งได้เป็นผีฟ้าอยู่บน สวรรค์ เป็นที่นับถือในหมู่ชาวไทยบริเวณลุ่มแม่น้ำโขง ผีเมืองเป็นผีที่ปกปักรักษาเมือง เป็นที่นับถือของคน ไทยทุกภูมิภาค ผีบรรพบุรุษของชนเผ่าต่างๆ ผีบ้านเป็นบรรพบุรุษของหมู่บ้าน และผีเรือนเป็นผีที่สิงอยู่ใน บ้านเรอื น นอกจากน้ยี งั มีผชี นดิ อ่ืนๆอีก ความเชื่อทางด้านไสยศาสตร์ เป็นความเชื่อส่วนบุคคล ที่เกิดขึ้น และดำรงอยู่จริง เช่นการเสกทำ นำ้ มนต์ใหค้ ลอดง่าย โกนผมไฟ ทำขวญั สร้างบา้ นใหม่ ขึน้ บา้ นใหม่ ทำขวัญ สวดบา้ น ตราสังข์ ทำโลงศพ เอา ศพลงจากเรือน ทำประตูป่า ทำบันไดผี นำศพขึ้น เผา การเสกน้ำมนต์สะเดาะเคราะห์ และประเพณีไทย หลายๆอยา่ งล้วนแต่แทรกด้วยไสยศาสตร์ท้ังสนิ้ ๓.๓ ความเชื่อทางดา้ นโหราศาสตร์ โหราศาสตร์ เป็นวิชาที่ใช้ทายกาลล่วงหน้าหรือดกู ารล่วงหน้า ใช้สำหรับพยากรณ์ผลกรรมของมนษุ ย์ โดยอาศัยดวงดาวเปน็ เครื่องพยากรณ์ ในสังคมไทยโหราจารยก์ ็มีบทบาทต่อวิถีชีวิตทัง้ กบั ชนช้ันสูงในราชสำนัก และไพร่ฟ้าสามัญชน กษัตริย์จะมีการแต่งตั้ง “โหร” ผู้มีความสารถประจำราชสำนัก เป็นผู้ให้คำแนะนำ ทำ ปฏทิ ิน หาฤกษ์ยาม ทั้งเมอ่ื การสงคราม หรือจดั พธิ ีกรรมต่างๆการจะประกอบศึกคราใดกต็ ้องดูดาวประจำเมือง

29 ตน และดาวประจำเมืองศัตรูให้รู้แจ้ง โดยมีตัวอย่างบันทึกต่างๆ เกี่ยวกับโหราศาสตร์ เช่นก่อนที่สมเด็จพระ นเรศวรทรงประกาศ “อิสรภาพ” ยุคนั้น พม่าบังคับหลาย ๆ อย่าง รวมทั้งการใหอ้ ยุธยาใช้จุลศักราช จากเดิม ใช้มหาศักราช กล่าวกันว่ามีผลต่อระบบโหราศาสตร์ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อน ด้วยในภาพยนตร์นั้นเกี่วกับ การรบจึงทำให้ปรากฏความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์ที่สะท้อนถึงความเชื่อของคนไทยในยุคสมัยอยุธยาเป็น จำนวนมาก ๓.๔ ความเชือ่ ทางดา้ นพระพุทธศาสนา พุทธศาสนาเข้ามาในสังคมไทยก่อนสมัยสุโขทัยแล้ว ประวัติศาสตร์พูดถึงความเชื่อพิธีกรรม และการ ปฏิบตั ศิ าสนาทผ่ี สมผสานระหวา่ งพุทธศาสนา ความเช่อื แบบพราหมณ์และความเช่ือเร่ืองผีพระพุทธศาสนาใน สมัยอยุธยาได้รับอิทธิพลของพราหมณ์เข้ามามาก พิธีกรรมต่าง ๆ ได้ปะปนพิธีของพราหมณ์ เน้นความขลัง ความศักดิ์สิทธิ์ และอิทธิปาฏิหาริย์ มีเรื่องไสยศาสตร์เข้ามาปะปนอยู่มาก ประชาชนมุ่งเรื่องการบุญการกุศล สร้างวัดวาอาราม สร้างปูชนียวัตถุ บำรุงศาสนาเป็นส่วนมาก ในสมัยอยุธยาต้องประสบกับภาวะสงครามกับ พมา่ จนเกดิ ภาวะวกิ ฤตทางศาสนาหลายครั้ง แต่ในภาพยนตร์เองก็ปรากฏความเชอ่ื ในดา้ นศาสนาซึ่งนำโดยตัว ละครหลักอย่าง สมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่เคยตั้งปณิธานว่าจะกลับมาบวชหลังจากที่ออกรบกับตองอู เรียบร้อยแลว้

30 บทท่ี ๕ สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าเร่ือง การศึกษาการใช้คำราชาศัพทแ์ ละค่านิยมความเชือ่ จากภาพยนตรเ์ รื่องตำนาน สมเด็จพระนเรศวรมหราช ภาคที่ ๖ อวสานหงสา มีวัตุประสงค์ในการศึกษาค้นควา้ เพื่อศึกษาและรวบรวมการ ใช้คำราชาศพั ท์และศกึ ษาคา่ นยิ มความเช่ือจากภาพยนตรเ์ ร่ืองตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาคท่ี ๖ อว สาหงสา โดยแหล่งข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระ นเรศวรมหราช ภาคที่ ๖ อวสานหงสา ซง่ึ ไดก้ ำหนดวิธีศึกษา ตามขน้ั ตอนดงั น้ี การรวบรวมและศึกษาคำราชา ศพั ท์จากภาพยนตร์ การศึกษาประเภทของคำราชาศัพท์ การวเิ คราะหค์ ่านิยมและความเชอื่ การสรปุ ข้อมลู คณะผู้จดั ทำได้สรปุ ผลการวิจยั ตามวัตถุประสงคใ์ นการศึกษาคน้ คว้า ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ ๑. ผลการศึกษาการรวบรวมคำราชาศัพท์จากภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชภาคที่ ๖ อวสานหงสา คณะผูจ้ ดั ทำพบวา่ มีการใชค้ ำราชาศัพท์ (ไม่นับคำซำ้ ) เปน็ จำนวน ๕๒ คำ ๒. ผลการศกึ ษาการแยกประเภทของคำราชาศัพท์ท่ปี รากฏในภาพยนตร์ คณะผู้จัดทำพบว่า มีการใช้ คำราชาศัพทท์ ง้ั หมด ๔ ประเภท ได้แก่ คำนามราชาศพั ท์จำนวน ๒๕ คำ คำกรยิ าราชาศัพท์จำนวน ๒๑ คำ คำ สรรพนามราชาศพั ท์จำนวน ๓ คำ และคำวเิ ศษณร์ าชาศพั ท์จำนวน ๓ คำ ๓. ผลการศึกษาค่านิยมและความเชื่อจากภาพยนตร์ คณะผู้จัดทำพบว่า ประกอบไปด้วยความเช่ือ และค่านิยม ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านศาสนา ด้านไสยศาสตร์ ด้านการรบ และด้านโหราศาสตร์ ซึ่งแต่ละด้านล้วนมี อิทธิพลต่อคนในยุคสมัยนั้น รวมไปถึงมีการสืบทอดมาจวบจนปัจจุบันถึงแม้จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลเวลาและสภาพแวดล้อม แตห่ วั ใจหลักของคา่ นิยมและความเชอื่ เหลา่ นั้นยงั คงปรากฏอยู่ อภิปรายผล ในการศึกษาค้นคว้าการศึกษาคำราชาศัพท์และค่านิยมความเชื่อจากภายนตร์ตำนานสมเด็จพระ นเรศวร ทำให้เราได้ทราบคำราชาศัพท์มากยิ่งขึ้น และได้ศึกษาค่านิยมและความเช่ือในสมัยอยุธยา ซ่ึงเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของคณะผ้จู ดั ทำท่วี างไว้ การศกึ ษาโครงงานน้ีทำใหผ้ ู้จัดทำได้มีความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกับคำราชาศัพท์มากยงิ่ ขึ้น โดยเฉพาะ ความหมายและการนำไปใชใ้ หถ้ กู ต้อง ส่วนในด้านค่านิยมความเชือ่ เองก็ทำให้ผจู้ ัดได้รู้ถึงวถิ ชี วี ิตของชาวไทยใน สมัยนัน้ เป็นการเพิ่มพนู ความรูท้ างดา้ นประวัติศาสต์และวัฒนธรรม โดยการศึกษาทง้ั หมดนี้ผู้จดั ทำจะมีการ ปรับไปใชก้ บั ชวี ิตประจำวันเพื่อความพฒั นาสบื ไป

31 ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาค้นควา้ คร้งั ตอ่ ไป ๑. ควรศึกษาการใชค้ ำราชาศัพทแ์ ละคา่ นิยมใหค้ รบทง้ั หมดดว้ ยกัน ๖ ภาค ๒. ควรศกึ ษาภาพยนตร์อิงประวตั ิศาสตร์เรือ่ งอน่ื ๆเพิม่ มากข้ึน ๓. ควรศึกษาเปรียบเทียบการใช้คำราชาศัพท์และค่านิยมความเชื่อที่เปลี่ยนแปลงไปจากสมัยอยุธยา มาจนถงึ ปจั จบุ ัน

32 บรรรณานกุ รม เยาวลกั ษณ์ ชาติสขุ ศิรเิ ดช. (๒๕๕๓).คำราชาศพั ทน์ ่ารู้. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://so02.tci- thaijo.org/index.php/cultural_approach/article/view/15661. สืบคน้ เม่อื ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓ สิริพร ธรรมปรีชา.เรียนร้คู ำราชาศพั ท์. (๒๕๖๐). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/siriporn9040/prawati-swn-taw. สบื ค้นเมื่อ ๒๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๓ ครูปยิ ะดนัย. (๒๕๖๒). ความรพู้ ้ืนฐานเกีย่ วกบั ภาพยนตร์. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก https://krupiyadanai.wordpress.com/computer4/. สืบค้นเมื่อ ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๓ มฟู วีบ่ ลอ็ ค. (๒๕๕๘). ประเภทของภาพยนตร์.[ออนไลน์] .เขา้ ถึงไดจ้ าก http://moviebboss.blogspot.com/p/blog-page_2.html/. สืบคน้ เมอื่ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๓ ประวาตี. (๒๕๕๕). ประวัติสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/lanhin2224/prawati-smdec-phra-nreswr-mharach- phraxngkh-da. สบื คน้ เม่อื ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๓ พรี ะ พนาสภุ น. (๒๕๕๙). คา่ นยิ มและความเชือ่ . [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.peerapanasupon.com/?p=891 สบื ค้นเมอ่ื ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ครูสุนทร. วถิ ีชวี ติ ขอคนไทย. (๒๕๕๘). [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก http://kroosuntorn.com/workmo5/501/05Thebestthailand/index.php/36-57/. สบื คน้ เมือ่ ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๓

33 เมืองนภา ศรีสุขวะดี. วิจารณ์อวสานหงสา บทจบชีวิตที่แสนพิรี้พิไร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.sanook.com/movie/49577/. สืบคน้ เมื่อ ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook