Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลังงานนิวเคลียร์เพื่ออนาคต

พลังงานนิวเคลียร์เพื่ออนาคต

Published by 945sce00458, 2020-04-30 02:55:14

Description: พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษย์สามารถสร้างหรือผลิต ขึ้นมาเองได้ พลังงานนิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ปฏิกิริยาฟิวชัน ซึ่งเกิดขึ้นบน ดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ ส่วนพลังงานนิวเคลียร์ที่มนุษย์สามารถผลิตขึ้นมา ได้แก่ เครื่องปฏิกรณ์ ปรมาณู เครื่องเร่งอนุภาค สารไอโซโทป และระเบิดปรมาณู พลังงานนิวเคลียร์สามารถปลดปล่อย ออกมาในรูปของอนุภาคและรังสี ทุกวันนี้เราใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางรังสีโดยที่เราไม่รู้ตัว รังสี คือพลังงาน ที่แผ่ออกมาจากต้นกำเนิดเหมือนกับหลอดไฟเปล่งแสงไฟ โดยรังสีแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และอนุภาคนั่นเอง รังสีในชีวิตประจำวันมีต้นกำเนิดรังสีมาจาก 2 แหล่ง คือ แหล่งกำเนิดรังสีจากธรรมชาติ และแหล่งกำเนิดรังสีจากที่มนุษย์สร้างขึ้น ส่วนปริมาณรังสีที่มนุษย์ ได้รับมีหน่วยวัดเป็น ซีเวิร์ต Sievert (Sv) ทั้งนี้เรายังมีการใช้ประโยชน์ของรังสีทางด้านการแพทย์ ด้านการเกษตร และด้านอุตสาหกรรมอีกด้วย สำหรับเชื้อเพลิงที่สำคัญของโลกเรานั้น เชื่อเถอะว่า เหลือให้ใช้อีกไม่มากแล้ว เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และยูเรเนียม เราจึงต้องหาเชื้อ

Search

Read the Text Version

“พลังงานนิวเคลยี รเ์ พอ่ื อนาคต” (Nuclear Energy for The Future Exhibition) 1. รังสีในชีวิตประจาวนั รู้หรอื ไม่ ทุกวันนี้เราใช้ชวี ติ อย่ทู ่ามกลางรงั สโี ดยท่ีเราไม่ร้ตู วั มีทง้ั รงั สตี ามธรรมชาตแิ ละรังสีท่ีมนษุ ย์ สร้างข้ึน International Commission on Radiological Protection (ICRP) เปน็ องคก์ ารสากลในการ ป้องกนั อนั ตรายจากรงั สี ไดร้ วบรวมผลกระทบจากรังสตี อ่ รา่ งกายไวด้ ังนี้ ผลกระทบจากรังสีตอ่ รา่ งกาย ปริมาณรงั ส(ี มิลลซิ ีเวริ ต์ ) อาการ 2.2 เป็นระดบั รังสีปกตใิ นธรรมชาติ ทม่ี นุษยแ์ ต่ละคนไดร้ ับใน 1 ปี 5 เกณฑส์ ูงสุดทอ่ี นุญาตให้สาธารณชนได้รบั ใน 1 ปี 50 เกณฑ์สงู สดุ ท่อี นญุ าตให้ผปู้ ฏิบตั งิ านทางรงั สไี ดร้ บั ใน 1 ปี 250 ไม่ปรากฏอาการผิดปกติใดๆ ท้งั ระยะส้นั และระยะยาว 500 เมด็ เลอื ดขาวลดลงเลก็ นอ้ ย 1,000 มอี าการคลืน่ เหยี น และอ่อนเพลยี เม็ดเลอื ดขาวลดลง 3,000 ออ่ นเพลยี อาเจียน ท้องเสีย เมด็ เลือดขาวลดลง ผมรว่ ง เบ่ืออาหาร ตัวซีด คอแห้ง มีไข้ อายุส้ัน อาจเสยี ชีวติ ภายใน 3-6 สปั ดาห์ 6,000 อ่อนเพลยี อาเจียน ท้องรว่ งภายใน 1-2 ชว่ั โมง เมด็ เลอื ดลดลงอย่าง รวดเร็ว ผมรว่ ง มีไข้ อักเสบบริเวณปาก และลาคออยา่ งรุนแรง มี เลอื ดออก มโี อกาสเสยี ชีวติ ถึง 50% ภายใน 2-6 สัปดาห์ 10,000 มีอาการเหมอื นขา้ งต้น ผวิ หนังพองบวม ผมรว่ ง เสยี ชีวิตภายใน 2-3 สัปดาห์

มิลลซิ ีเวิรต์ (Millisievert: mSv) เป็นหน่วยวดั ปรมิ าณรังสีท่ีร่างกายได้รบั ยกตัวอย่าง เช่น โดยปกติใน 1 ปี แต่ละคนจะไดร้ บั รงั สีจากธรรมชาติประมาณ 2.23 มิลลิซเี วริ ์ต ดงั น้ี ที่มา มิลลซิ ีเวริ ์ต รังสีคอสมิค 0.3 พืน้ ดิน 0.4 บา้ นเรอื น 1.2 อาหารและเครอื่ งด่มื 0.2 เอกซเ์ รยท์ างการแพทย์ 0.1 ฝนุ่ กมั มันตรังสี 0.01 เครอ่ื งใช้ในบา้ น 0.01 ขึน้ เครอ่ื งบนิ 0.01 2.23 รวม หน่วยวดั รังสี ปรมิ าณรงั สีทไ่ี ด้รับ (radiation dose) มีหนว่ ยวัดเปน็ อะไร? ปริมาณรงั สีทีม่ นษุ ยไ์ ด้รับ มีหนว่ ยวดั เปน็ ซเี วิร์ต Sievert ( Sv ) 2. รจู้ กั กับรังสี รังสี คอื อะไร รงั สี คือ พลังงานท่แี ผ่ออกมาจากตน้ กาเนดิ ในรูปของคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ได้แก่ คลืน่ วิทยุ ไมโครเวฟ แสงสว่าง หรอื ในลกั ษณะอนภุ าคทม่ี ีความเร็วสูง เช่น แอลฟา บีตา และนวิ ตรอน เป็นตน้

อนุภาคทมี่ ีความเรว็ สงู รังสแี อลฟา เป็นอนภุ าคมีประจุถกู ปลดปลอ่ ยออกมาจากอะตอมของธาตหุ นกั บางชนิด เช่น ยูเรเนียม ทอเรียม และเรเดยี ม รังสบี ีตา มีคุณสมบัติเช่นเดียวกบั อิเลก็ ตรอน สามารถผา่ นเขา้ ไปในวัตถุไดม้ ากกว่ารงั สแี อลฟา รงั สีแกมมา เป็นคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ เชน่ เดียวกบั รังสีเอกซ์ แสง และคลืน่ วิทยุ แต่มพี ลังงานสงู กวา่ รังสี นวิ ตรอน เปน็ อนภุ าคไมม่ ปี ระจุ มอี านาจทะลุทะลวงสูง สามารถผา่ นวัตถุไดด้ ี 3. รังสีอยทู่ ่ไี หน ต้นกาเนดิ รังสีมาจาก 2 แหล่ง ไดแ้ ก่ o แหล่งกาเนิดรังสจี ากธรรมชาติ เชน่ รังสคี อสมกิ จากนอกโลก รังสีจากดิน หนิ น้า อากาศ อาหาร เป็น ต้น o แหล่งกาเนิดรงั สีจากทีม่ นุษยส์ รา้ งขนึ้ เชน่ เคร่ืองเอกซเรย์ เตาไมโครเวฟ เปน็ ตน้ การใชป้ ระโยชน์ของรังสี ดา้ นการแพทย์ การใชป้ ระโยชน์ของรังสที างการแพทย์ ใช้ในการตรวจวินิจฉยั หรอื รกั ษาโรค เช่น การเอกซเรย์กระดูก การ เอกซเรย์ปอด และการรกั ษาโรคมะเรง็ เปน็ ตน้ ด้านการเกษตร การใช้ประโยชนข์ องรงั สีดา้ นเกษตร ใช้ในการพัฒนาและปรบั ปรุงพนั ธ์ุพชื เช่น การใชร้ ังสีในการปรบั ปรุงพนั ธุ์ ข้าว เพือ่ ให้ข้าวมีความแข็งแรงต้านทานโรค และทนต่อภาวะแห้งแลง้ การทาหมันแมลงผลไม้ การทาการฉาย รงั สอี าหาร เพ่อื ลดปรมิ าณจุลนิ ทรีย์ และทาลายไขพ่ ยาธิในเน้ือสัตว์ เปน็ ต้น ดา้ นอตุ สาหกรรม การใชป้ ระโยชนข์ องรงั สีดา้ นอุตสาหกรรม ใช้ในการตรวจสอบและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ เช่น การฉายรังสีอญั มณี ทาให้เปลี่ยนสีและเปน็ การเพิม่ มูลค่า การขัดความหนาของกระดาษ การตรวจสอบรอยรัว่ ของท่อน้ามนั เป็นต้น การป้องกนั อันตรายจากรังสี

หลักสามประการในการป้องกันอนั ตรายจากรังสี (ตามหลักของ ALARA : As low as reasonably achievable ) 1. เวลา (Time) การปฏิบัติงานทางด้านรังสีต้องใชเ้ วลานอ้ ยที่สุด เพือ่ ป้องกนั มิใหร้ า่ งกายได้รบั รงั สีเกิน มาตรฐานทีก่ าหนดไว้สาหรบั บคุ คล 2. ระยะทาง (Distance) ความเขม้ ของรงั สจี ะเปลี่ยนแปลงลดลงไปตามระยะทางจากสารต้นกาเนดิ รังสี สาหรบั ต้นกาเนดิ รังสีท่เี ป็นจุดเล็กๆ ความเขม้ จะลดลงเปน็ สัดสว่ นกลับกับระยะทางยกกาลังสอง 3. เครือ่ งกาบัง (Shield) ความเขม้ ของรงั สีเม่ือผา่ นเคร่อื งกาบงั จะลดลง แต่จะมากหรือนอ้ ย ข้ึนอยกู่ ับ พลังงานของรงั สี คณุ สมบตั ิ ความหนาแนน่ และความหนาของวัตถทุ ีใ่ ช้ การปอ้ งกนั อนั ตรายจากรงั สี - รังสแี อลฟา สามารถก้ันได้ดว้ ยแผน่ กระดาษแขง็ - รังสบี ีตา สามารถกน้ั ได้ดว้ ยแผ่นอลูมิเนยี ม - รงั สแี กมมา สามารถกน้ั ไดด้ ว้ ยตะกัว่ และคอนกรีต - รงั สนี วิ ตรอน สามารถกั้นไดด้ ้วยคอนกรตี น้า ข้ีผ้งึ ปรมิ าณรังสีทร่ี ่างกายได้รับ o กล้วย รับประทานกลว้ ย 1 ผล ได้รบั ปรมิ าณรงั สี 0.0001 มิลลิซีเวริ ์ต (mSv) o ค่าเฉล่ยี ในอาหาร โดยเฉล่ียใน 1 ปี มนษุ ย์เราจะบริโภคอาหารและน้าดมื่ ท่มี ีกมั มนั ตภาพรงั สีเจือปน รวมแล้วประมาณ 0.3 มิลลซิ ีเวิร์ต (mSv) (สารกัมมนั ตรังสีในอาหารสว่ นใหญม่ าจากธาตโุ พแทสเซียม- 40 ซ่งึ พบได้ในพืชและสตั ว์ทุกชนดิ ) o หนิ แกรนติ บ้านท่ปี ูพน้ื ดว้ ยหินแกรนิต จะทาให้ผู้อย่อู าศยั ไดร้ บั รงั สปี ระมาณ 1 มลิ ลซิ เี วิรต์ ต่อปี ปรมิ าณรังสบี รเิ วณหน้าอาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา (Us capitol building) ซงึ่ เป็นหินแกรนติ (มธี าตุ ยเู รเนยี มเป็นองคป์ ระกอบ) เท่ากบั 1 มลิ ลซิ ีเวิรต์ ต่อปี o ดวงอาทติ ย์ ในอวกาศมีรงั สีคอสมกิ อยู่ท่วั ไป โดยมีต้นกาเนดิ สว่ นใหญม่ าจากนอกระบบสรุ ยิ ะ และ บางสว่ นมาจากดวงอาทิตย์โดยมนุษย์ไดร้ ับรงั สีคอสมิก เฉลยี่ ปีละประมาณ 0.38 มลิ ลิซีเวิร์ต o เครื่องบนิ ปกตคิ นเราจะไดร้ ับรงั สคี อสมกิ เฉลี่ย 0.3 มิลลิซีเวริ ต์ (mSv) แต่เราจะได้รับรังสีมากขึน้ เม่ือ อยู่ในท่ีสูง ดงั นนั้ การเดินทางโดยเคร่อื งบินจะทาใหไ้ ด้รบั รังสีคอสมกิ เพิม่ ขึ้นจากปกติ เชน่ ถ้าเดินทาง จากเมอื งซดิ นยี ไ์ ปยงั เมืองลอสแอนเจลิสโดยเครอ่ื งบิน จะไดร้ ับรังสอี ย่ทู ่ี 0.16 มิลลซิ ีเวริ ต์

o การ X-ray ทางการแพทย์ เราใช้ประโยชนจ์ ากรังสีเอกซ์ (X-ray) ชว่ ยในการวินจิ ฉัยโรค โดยปริมาณ การได้รับรังสีจากการเอกซเรย์ชอ่ งทอ้ ง (ตอ่ ครงั้ ) ทาให้ไดร้ ับรงั สปี ระมาณ 0.6 มิลลซิ ีเวริ ต์ (mSv) o บุหร่ี ผ้ทู ่สี ูบบหุ รที่ ุกวัน วนั ละ 1 ซอง (20 มวน) เป็นเวลา 1 ปี จะได้รบั รังสเี ฉล่ยี 0.36 มลิ ลซิ เี วริ ต์ o รา่ งกายมนษุ ย์ มนษุ ยเ์ รามีการแผร่ ังสีอยูต่ ลอดเวลา เนอ่ื งจากรา่ งกายมธี าตุโพแทสเซียม 40 ซงึ่ มีสาร รงั สีเปน็ องค์ประกอบ เราจะได้รบั รงั สจี ากตัวเองประมาณ 0.40 มลิ ลิซีเวิรต์ ต่อปี o ดนิ มธี าตุกัมมนั ตภาพรงั สเี ปน็ องค์ประกอบ โดยธาตุกมั มันตรังสีสว่ นใหญ่ในดนิ ไดแ้ ก่ ธาตุยเู รเนียม - 238 ยูเรเนยี ม-235 ทอเรียม-232 เรเดียม-226 และโพแทสเซยี ม-40 เปน็ ต้น โดยเราจะดรี บั รงั สจี าก พื้นดิน เฉล่ียอยูท่ ี่ประมาณ 0.5 มิลลิซเี วริ ์ตต่อปี (ทง้ั นีข้ ึน้ กบั สภาพพนื้ ทท่ี างภูมิศาสตร์ดว้ ย) o ลวดเชื่อมทังสเตน ผสมดว้ ยธาตุทอเรยี มเป็นทน่ี ิยมใชส้ าหรบั การเช่ือมในอตุ สาหกรรมต่างๆ ซงึ่ ทอเรยี มจดั เปน็ สารกมั มนั ตรงั สี โดยปริมาณรงั สีทั้งปีทผ่ี ้ปู ฏบิ ตั ิงานเชือ่ มจะไดร้ บั มีค่าเฉล่ียสงู สุด ประมาณ 0.16 มิลลซิ เี วิรต์ เทา่ น้ัน 4. ความรู้เกีย่ วกบั เชอ้ื เพลิงท่ีสาคัญของโลก - ถ่านหิน เป็นเชอ้ื เพลงิ ทีม่ ีราคาถูก และมีปริมาณเชื้อเพลิงสารองประมาณ 891 พันล้านตนั สามารถใช้ได้อีก 110 ปี - นา้ มัน มีปริมาณเชอื้ เพลงิ สารองประมาณ 1,700 พนั ลา้ นบาร์เรล สามารถใชไ้ ด้อกี 52 ปี - ก๊าซธรรมชาติ มีราคาผันผวน และมปี รมิ าณเช้ือเพลงิ สารอง 187.1 ลา้ นลา้ นลูกบาศกเ์ มตร สามารถใช้ไดอ้ ีก 54.1 ปี - ยูเรเนียม มปี ริมาณเช้ือเพลงิ สารองประมาณ 5.9 ล้านตนั สามารถใชไ้ ดอ้ กี 90 ปี ถา้ มกี ารสกัดเชื้อเพลงิ นามาใช้ใหม่ สามารถใช้งานไดอ้ กี 300 ปี - เชอ้ื เพลิงในประเทศไทย ปริมาณสารองปิโตรเลียมทีพ่ สิ ูจน์แล้วของประเทศไทย ประกอบด้วยน้ามนั ดบิ 257.04 ลา้ นบารเ์ รล ก๊าซธรรมชาติเหลว 203.91 ลา้ นบาร์เรล และกา๊ ซ ธรรมชาติ 8.41 ลา้ นลา้ นลูกบาศก์ฟตุ ซง่ึ หากไม่มกี ารสารองเพื่อพิสูจน์หาปริมาณสารองเพ่มิ เติมได้ ในขณะทีก่ ารผลิตอยูท่ ่ีอตั ราปัจจุบัน ปริมาณกา๊ ซ ธรรมชาตจิ ะสามารถใชไ้ ดอ้ กี ประมาณ 6 ปเี ท่าน้ัน

5. เคร่อื งเล่นปริมาณรังสเี ปรยี บเทยี บกบั กลว้ ย 1 ผล - น้องนวิ เคลียร์ อธิบายปริมาณรงั สเี ปรียบเทียบกบั กล้วย 1 ผล ยกตวั อยา่ ง รบั ประทานกล้วย 1 ผล ไดร้ บั ปรมิ าณรงั สี 0.0001 มิลลิซีเวิรต์ (mSv) 4. การผลิตไฟฟ้าและการทางานของโรงไฟฟา้ (ยกตวั อยา่ ง อธบิ ายโรงไฟฟ้าชีวมวล) - ประเภทของการผลิตพลงั งานไฟฟา้ มอี ยู่ 4 ประเภท ได้แก่ 1. โรงไฟฟ้าชวี มวล คือโรงไฟฟ้าทใ่ี ช้เศษวัสดุต่างๆทเี่ ปน็ ชวี มวล เปน็ เช้ือเพลิงในการผลติ ไฟฟา้ หรอื ผลติ ไอน้า ซึง่ อาจเปน็ วัสดุชนดิ เดยี วกันหรอื หลายชนิดรวมกนั เช่น โรงน้าตาลใช้กากอ้อยท่ีไดจ้ าก การหบี อ้อยเป็นเช้อื เพลงิ ในการผลติ ไฟฟ้า โรงสขี นาดใหญ่ทใี่ ช้แกลบเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟา้ การใช้ กา๊ ซชวี ภาพ (Biogas) จากการหมกั น้าเสยี (ที่ได้มาจากกระบวนการผลติ ทางอตุ สาหกรรม) หรอื มูลสัตว(์ จาก ฟารม์ เลยี้ งสัตว)์ มาผลิตกระแสไฟฟา้ โดยมีหลักการทางานในทานองเดียวกบั โรงไฟฟา้ พลังงานความร้อนท่วั ไป ข้นั ตอนการผลิตไฟฟ้าจะเรม่ิ ด้วยการสบู นา้ ดิบจากแหล่งน้าธรรมชาติ ซ่ึงผา่ นการกรองแล้วเขา้ สูเ่ ครื่องผลติ ไอ น้า ขณะทีช่ ีวมวลตา่ งๆถกู ลาเลียงเข้าสูเ่ ครอื่ งบดเพื่อบดใหล้ ะเอยี ด กอ่ นสง่ ไปเข้าเตาเผาเพื่อใหเ้ กดิ ความร้อนใน

ระดบั สงู ความรอ้ นท่ีไดจ้ ะช่วยใหน้ า้ ในเครือ่ งผลิตไอนา้ กลายสภาพเป็นไอ ไอนา้ แรงดนั สูงน้ี ทาหน้าท่ีหมุน กังหนั ของเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟา้ อีกที ทาใหเ้ กดิ กระแสไฟฟ้าขนึ้ ไอนา้ ที่ใช้ในการหมนุ กังหนั เครือ่ งกาเนดิ ไฟฟา้ จะ ผ่านกระบวนการควบแน่นให้กลับมาเป็นน้าและนามาใชห้ มนุ เวยี นหลายคร้ัง จนสดุ ท้ายจงึ ถูกปรับคุณภาพให้ อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐานซง่ึ ไมเ่ ป็นพษิ ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มแล้วปล่อยลงสบู่ ่อพักน้าขนาดใหญ่ เพื่อใหร้ ะเหยหายไปเอง ตามธรรมชาติ 2. โรงไฟฟา้ ถา่ นหนิ 3. โรงไฟฟ้ากา๊ ซธรรมชาติ 4. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 7. เครื่องเล่นกาเนดิ ไฟฟา้ - ไฟฟา้ เกดิ จากการเคล่ือนท่ขี องขดลวดตัดกับสนามแม่เหลก็ ทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้า เหนยี่ วนาขนึ้ ในขดลวดนน้ั ๆ 8. แบบจาลองของมัดเชอื้ เพลงิ - เชอื้ เพลิงที่ใช้ในโรงไฟฟ้าพลังงานนวิ เคลยี ร์ จะใชย้ ูเรเนยี ม-235 ทีม่ ีความเขม้ ข้น 3-5% โดย ทาใหอ้ ยู่ในรปู ของออกไซด์ แล้วอัดให้เป็นเม็ดเล็กๆ บรรจุในแทง่ โลหะผสมเซอรโ์ คเนียมซึ่งจะถูกนามารวมกัน เปน็ มดั เชื้อเพลงิ (แท่งเชอื้ เพลงิ ) ก่อนจะถกู นาไปใส่ในเตาปฏิกรณ์

10. ความปลอดภัยของโรงไฟฟา้ พลงั งานนิวเคลยี ร์ มาตรฐานความปลอดภยั ของโรงไฟฟ้าพลงั งานนวิ เคลียร์ เป็นไปตามมาตรฐานของทบวงการพลงั งาน ปรมาณูระหวา่ งประเทศ (IAEA) โดยคานึงถึงความปลอดภัยต่อสาธารณชนและสง่ิ แวดล้อมเป็นสาคัญ อาทิ ส่วนปิดกั้นรังสี ตัง้ แต่เม็ด ชั้น 5 ซงึ่ อาคารจนถึงอาคารปฏิกรณ์ชั้นนอก ปฏกิ รณ์ช้ันในอาคาร ถงั ปฏิกรณ์ ทอ่ หมุ้ เมด็ เชอ้ื เพลิง เชอ้ื เพลงิ ปฏกิ รณ์ชัน้ นอกมคี วามหนาถงึ 1.5-2 เมตรหรือมากกวา่ รังสีจะไม่สามารถรั่วออกสู่ หรือ กรณีทม่ี อี บุ ตั ิเหตเุ กดิ ขนึ้ ทาใหก้ ารเดนิ เครื่องโรงไฟฟา้ ในภาวะปกตสิ ิ่งแวดล้อมภายนอกได้ ชั้นที่ 1 - เมด็ เชื้อเพลงิ นิวเคลียร์ (Fuel Pellet) ออกแบบให้มีขนาดเล็ก สามารถทนต่อความรอ้ นไดส้ งู ประมาณ 2,800 องศาเซลเซียส ช้ันที่ 2 - ท่อหมุ้ เม็ดเชอ้ื เพลิงนิวเคลียร์ (Fuel Clad) เป็นทอ่ ทาด้วยโลหะเซอร์คัลลอย (zircalloy) มีคณุ สมบัติในการทนความรอ้ นได้สูง ชั้นท่ี 3 - ถงั ปฏิกรณน์ ิวเคลียร์ (Reactor Vessel) ถังโลหะ ทาด้วยเหล็กกล้าหนาไม่ต่ากวา่ 20 เซนติเมตร ชนั้ ท่ี 4 - แผ่นเหล็กกรุผนงั ดา้ นในอาคาร (Steel Liner) ทาด้วยเหลก็ กล้า หนา 4 – 6 เซนตเิ มตร เพอ่ื ปอ้ งกนั การร่วั ไหลของก๊าซออกจาก อาคาร คลมุ ปฏกิ รณ์นวิ เคลยี ร์ ชน้ั ที่ 5 - อาคารคลมุ ปฏิกรณน์ วิ เคลยี ร์ (Reactor Containment) อาคารคอนกรตี ขนาดใหญเ่ ป็นทรงกระบอกหลังคาโค้งรปู โดม มคี วามหนาไม่ตา่ กวา่ 1.5 เมตร 11. ห้องฉายภาพยนตร์ 3 มิติ - มาร้จู กั โรงงานไฟฟ้าพลังงานนวิ เคลียร์กันเถอะ ผนังด้านในของหอ้ งฉายภาพยนตร์ จดั แสดง เนื้อหาของการจดั การเช้ือเพลงิ ใชแ้ ลว้ ของโรงไฟฟา้ พลังงานนิวเคลียร์ การจดั การกากกัมมันตรังสี

- โรงไฟฟา้ พลังงานนิวเคลียร์เป็นเทคโนโลยีการผลิตพลังงานไฟฟ้าเพียงชนดิ เดียว ทีม่ ีการดูแล กากของเสียทเี่ กิดขึ้นจากการผลิตไฟฟ้าอย่างเต็มรปู แบบ และมกี ารรวมตน้ ทุนในการจดั การไวก้ บั ตน้ ทุนการ ผลติ - ปริมาณกากกมั มันตรังสี และขยะทีเ่ กิดขึ้นจากการดาเนนิ การของโรงไฟฟา้ พลงั งานนิวเคลียร์ มีปรมิ าณน้อยมากเมอ่ื เทียบกบั การผลิตไฟฟ้าด้วยเช้อื เพลงิ ชนิดอน่ื เช่น เถ้า และกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ท่ี เกิดจากการเผาไหม้เช้อื เพลงิ เพือ่ ผลติ ไฟฟ้า การจดั การเช้ือเพลงิ ทใ่ี ชแ้ ลว้ (Spent fuel management) - โรงไฟฟา้ พลังงานนิวเคลียรโ์ ดยทัว่ ไป จะมกี ารเปล่ยี นเชอื้ เพลงิ ทกุ ๆ 12-36 เดือน มดั เช้ือเพลงิ ใชแ้ ลว้ ท่นี าออกมาจากเตาปฏกิ รณ์จะมีการแผร่ ังสแี ละความร้อนในระดับสูงมาก ซงึ่ จะถูกเก็บไว้ใตน้ า้ ภายในบ่อ เก็บเชื้อเพลงิ ใชแ้ ล้วในโรงไฟฟา้ เพื่อระบายความรอ้ น และปลอ่ ยให้ระดับรังสีลดลง น้าในบ่อจะทาหนา้ ที่ทัง้ ป้องกันรงั สแี ละระบายความร้อนจากมดั เช้ือเพลิงใชแ้ ล้ว โดยระบบควบคุมอุณหภูมนิ ้าภายในบ่อ - เชอ้ื เพลิงใช้แลว้ จะถูกเกบ็ ไว้ในบ่ออย่รู ะยะหนึ่ง(ประมาณ 3-5 ป)ี กอ่ นท่ีเราจะสามารถย้าย เช้ือเพลิงดังกล่าวมาบรรจไุ ว้ในถังเกบ็ เชอ้ื เพลงิ ใช้แล้วแบบแห้งที่ถกู ออกแบบมาเป็นพเิ ศษภายนอกอาคารได้ โดยเชื้อเพลิงใช้แลว้ ท่ีเกบ็ ไวน้ านจะสามารถจดั การไดง้ า่ ยขึ้น เนอ่ื งจากปริมาณรงั สแี ละความรอ้ นทลี่ ดลงตาม เวลา - หลังจากน้ันเราสามารถนาเชอื้ เพลงิ ใชแ้ ล้วไปจดั เก็บถาวรใตด้ นิ หรือนาไปผ่านกระบวนการ แปรสภาพ (Reprocessing) เพ่อื นายเู รเนียมทเี่ หลือกลับมาใชใ้ หมไ่ ด้ ทง้ั น้ีขน้ึ อย่กู ับนโยบายการจดั การ เชอื้ เพลงิ ใช้แล้วของแตล่ ะประเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook