Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

DM

Published by NATTHANSA YINGYONGMETEE, 2018-08-16 23:57:32

Description: DM

Search

Read the Text Version

การพยาบาลผู้ปว่ ยเบาหวานและ ภาวะแทรกซอ้ น อ.ณฏั ฐ์ธัญศา ยิ่งยงเมธี

วัตถปุ ระสงค เมื่อเรียนจบนกั ศึกษาสามารถ1. อธิบายความหมาย สาเหตแุ ละกลไกการเกดิ ความผดิ ปกติ ชนดิ อาการและอาการแสดง การวินจิ ฉัย การรักษาโรคเบาหวานไดถ กู ตอง2. อธบิ ายภาวะแทรกซอนทีเ่ กิดในโรคเบาหวานและการพยาบาลได3. อธิบายกระบวนการพยาบาลไปใชในการดูแลผูป ว ยเบาหวานท่ีเกดิ ภาวะแทรกซอนได4. อธิบายการนาํ การแพทยทางเลอื กมาใชในการดูแลผปู วยเบาหวานได

ทาํ ไมตอ งรจู กั โรคเบาหวาน

สถิติการเกดิ โรคเบาหวานสถติ ิเบาหวานทวั่ โลกป 2558 มผี ูเ ปนเบาหวาน 415 ลา นคน ทํานายวา ป 2588 จะมีผเู ปนเบาหวาน642 ลานคน 1 ใน 11 คนเปน เบาหวานโดยไมรูตัว และทุก 6 วินาที มีคนตายจากเบาหวาน (สมาคมโรคเบาหวานแหง ประเทศไทย, 2558)ประเทศไทยป 2557 มผี เู สียชีวิตจากโรคเบาหวานท้ังหมด 11,389 ราย หรอื เฉลย่ี วันละ 32 คนคิดเปน อตั ราตายดวยโรคเบาหวาน 17.53 ตอแสนประชากร(ศรเี พ็ญ สวัสดิมงคล, 2559)

Definition ภาวะท่ีมีระดับนาํ้ ตาลในเลอื ดสูง โดยมีสาเหตุจากความบกพรองในการหลัง่ ฮอรโมนอินซูลินหรือ การออกฤทธ์ขิ องฮอรโมนดงั กลา ว หรือทง้ั สองอยา ง มผี ลทาํ ให เกิดภาวะแทรกซอนตอทง้ั หลอดเลอื ดขนาดเลก็ และขนาดใหญ

เกณฑก ารวินจิ ฉยั โรคเบาหวาน1. ระดับนํ้าตาลสะสม (HbA1c การตรวจไมตองอดอาหาร) มีคา ต้ังแต6.5% (เริ่มใชเกณฑน ้ตี ้ังแตป ค .ศ. 2010)2. ระดับกลูโคสในพลาสมาหลังอดอาหาร 8 ช่ัวโมง (Fasting plasmaglucose: FPG) มีคา ตั้งแต 126 mg/dl3. ผูทมี่ อี าการของภาวะนาํ้ ตาลสงู ในเลอื ด (เชน ปส สาวะบอย ดืม่ นา้ํ มากนา้ํ หนักลด) ระดบั กลูโคสในเลอื ดแบบสุม (random plasma glucose) มีคาตั้งแต 200 mg/dl4. ระดับกลโู คสในพลาสมา 2 ชว่ั โมง หลงั ใหกินน้ําตาลกลโู คส 75 กรัม(Oral Glucose tolerance test :OGTT) มีคา ต้ังแต 200 mg/dl **ควรตรวจซาํ้ หากตรวจไดค าท่ีนา สงสัย

ความสาํ คัญของการตรวจ HbA1c ระดบั นา้ํ ตาลสะสม (HbA1c หรือ A1C) เปน ตัวทาํ นายการเกดิโรคแทรกซอนของเบาหวาน ท่มี ีความสาํ คัญยิ่งกวาระดับน้ําตาลในเลอื ด ความถี่ในการตรวจ HbA1c ผูป วยควรไดรับการตรวจอยางนอยปล ะ 2 ครั้ง สําหรับผปู วยทค่ี วบคุมระดับนํ้าตาลในเลอื ดไดดีและควรตรวจทกุ 3-4 เดือนสําหรับผปู วยทค่ี วบคุมระดบั นํ้าตาลไดไ มดีหรือมีการเปลี่ยนแปลงวธิ ีรกั ษา

ภาวะกอนเปน เบาหวาน (pre-diabetes)หมายถึง ผูทม่ี รี ะดบั กลูโคสในพลาสมาสงู กวาปกตแิ ตยังไมถ งึ เกณฑก ารเปน โรคเบาหวาน ไดแ ก1. มี HbA1c ระหวาง 5.7-6.4 %2. มีระดบั กลูโคสในพลาสมาหลงั อดอาหาร 8 ชวั่ โมง (FPG) ระหวาง 100-125 mg/dl เรียก Impaired fasting glucose, IFG (คา ปกติ 70 – 99 mg/dl)3. มีระดับกลูโคสในพลาสมา 2 ชัว่ โมง หลังใหกินนํา้ ตาลกลูโคส 75 กรมั (OGTT) มีคาระหวาง 140-199 mg/dl ** ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม และวดั FPG ซํ้า**

เปา หมายการควบคมุ ระดบั น้ําตาลในเลือดของโรคเบาหวาน1. ระดับน้ําตาลสะสม (A1C) < 7.0%2. ระดับกลโู คสในพลาสมาหลังอดอาหาร 8 ชวั่ โมง (FPG) มีคา 70-130 mg/dl3. ระดับกลูโคสในพลาสมาหลังอาหาร (1-2 ชั่วโมงนับจากเร่ิมรบั ประทานอาหาร) < 180 mg/dl** อาจปรับเปล่ียนไดต ามลักษณะจาํ เพาะของผูปว ยแตละราย โดยอาจควบคุมอยางเขมงวดมากข้ึนหรือนอยลงไดต ามความเหมาะสม

เปา หมายการรักษาโรคเบาหวาน คือการควบคุมไมใ หผ ูป วยมีอาการของโรค และลดความเส่ียงตอการเกิดโรคแทรกซอนในระยะยาวของโรคเบาหวาน ซง่ึ หมายถึงการปองกนั ไมใหเ กดิ ความพิการหรือเสียชีวติ กอ นวัยอันควร เปาหมายการควบคุมระดับนาํ้ ตาลในเลอื ดอาจปรบั เปลย่ี นไดต ามลักษณะจําเพาะของผูป วยแตละราย โดยอาจควบคมุ อยา งเขมงวดมากข้นึ หรือนอยลงไดต ามความเหมาะสม

ความเสยี่ งทค่ี วรไดร บั การตรวจคดั กรองเบาหวาน1. อายุ 35 ปขึ้นไปผทู อี่ วน (BMI ≥ 25 หรอื รอบเอว ≥ 90 ในชาย, ≥ 80ในหญงิ ) และมีพอ แม พี่ หรอื นอ ง เปนโรคเบาหวาน2. เปน โรคความดันโลหิตสงู หรอื กนิ ยาควบคุมความดนั โลหติ อยู3. มีระดับไขในเลือดในเลอื ดผดิ ปกติ TG ≥250 HDL ≤ 354. มปี ระวัติเปน เบาหวานขณะต้ังครรภห รือเคยคลอดบุตรน้ําหนกั มากกวา 4 kg5. เคยไดร บั การตรวจพบวา เปน impaired fasting glucose(IFG)6. มีโรคหัวใจและหลอดเลือด

ชนิดของโรคเบาหวาน โรคเบาหวานแบง เปน 4 ชนดิ ตามสาเหตขุ องการเกดิ โรค1. โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 1 (type 1 diabetes mellitus)2. โรคเบาหวานชนิดท่ี 2 (type 2 diabetes mellitus)3. โรคเบาหวานท่ีมีสาเหตจุ าํ เพาะ (other specific type).4. โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ (gestational diabetes mellitus, GDM)

ชนิดของโรคเบาหวานเบาหวานชนดิ ที่ 1 (type 1 diabetes mellitus ) เกดิ จากการขาดอนิ ซูลนิ โดยสนิ้ เชงิ เนอ่ื งจากตบั ออ นไมสามารถสรา งอนิ ซูลนิ ไดผูปวยกลุม นต้ี อ งใชอ ินซลู ินในการรักษาเบาหวานชนดิ ที่ 2 (type 2 diabetes mellitus) เปน ชนดิ ทพี่ บมากทส่ี ดุ ประมาณรอ ยละ 95 ของผปู วยเบาหวานท้งั หมด เกดิ จากการหลงั่ อินซลู ินไดลดนอ ยลง หรือมีภาวะดื้อของเนอ้ื เยือ่ ตอ อนิ ซลู ินหรือท้ังสองสาเหตุรว มกนั

ชนิดของโรคเบาหวานเบาหวานทม่ี ีสาเหตุจําเพาะ (other specific type) ไดแกโรคเบาหวานทีเ่ กดิ จาก ความผิดปกติทางพันธกุ รรม โรคของตบั ออน ความผิดปกตขิ องฮอรโ มน การไดร บั ยาบางชนิด เชน ยากลุมสเตียรอยดห รอื สารเคมี เปนตนเบาหวานขณะตงั้ ครรภ (gestational diabetes mellitus, GDM) เบาหวานชนดิ นี้ จะตอ งไมมปี ระวตั เิ ปนเบาหวานมากอนต้งั ครรภ ในชวงระหวางการตั้งครรภ จะมีฮอรโ มนจากรกซึ่งมฤี ทธต์ิ า นอนิ ซูลนิ เปน ผลใหร างกายตอบสนองตอ อินซูลินลดลง ถาไมสามารถเพม่ิ การสรา งอนิ ซลู ินใหเ พยี งพอจะทําใหเ กดิ เบาหวานขณะตั้งครรภได

พยาธสิ ภาพของโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 (Type 2)ที่สําคัญมี 2 ประการ1. มกี ารหลงั่ อนิ ซลู ินนอ ยกวา ปกติ ในภาวะที่รางกายมีการหล่ังอินซูลนิ นอย กวา ปกติทําให ระดับนํ้าตาลในเลอื ดสูง มีอาการแสดงของโรคเบาหวานแต มักไมทําใหเกิดภาวะคีโตอะซโิ ดซสี ทั้งน้ีเพราะรางกายยังพอมีอินซลู ินอยู ในระดับที่สามารถนํากลูโคสเขาเซลลไดบ า งจึงไมสลายไขมัน และโปรตีน มาใชเปน พลังงาน รางกายจงึ ไมเ กิดภาวะกรดคั่ง แตเ กิดภาวะเลือดขนจาก ระดับนํ้าตาลในเลอื ดทีส่ งู มากแทน (Hyperglycemic Hyperosmolar Non- Ketotic Syndrome: HHNS)

2. เกิดภาวะดอ้ื ตออนิ ซลู ิน (Insulin Resistance) คือ ภาวะท่รี ีเซ็บเตอรต ออินซูลิน ท่เี นือ้ เยอื่ มจี ํานวนลดลง จะเกิดข้นึ เม่อื ฮอรโมนอนิ ซลู นิ ที่สรางจากตบั ออนในปรมิ าณที่ปกติแต ฮอรโ มนอนิ ซลู นิ กลบั ไมสามารถทาํ หนาทคี่ วบคุมระดบั นา้ํ ตาลในเลือดได เซลลในรา งกายจึงไมสามารถนาํ นา้ํ ตาลกลโู คสจากกระแสเลือดไปใชเ ปน พลังงานได จึงสงผลใหเกิดภาวะระดบั นํา้ ตาลในเลอื ดสูง เปน ภาวะทเ่ี กิดขน้ึ ภายในรางกายโดยผปู วยไมป รากฏอาการแตอยางใด ที่ สาํ คัญคือจะสงผลทาํ ใหผนู ั้นมคี วามเสยี่ งท่จี ะเปน โรคเบาหวานและโรคหัวใจ เพม่ิ มากขนึ้ กวาคนปกติ

อาการและอาการแสดง 1. ถายปส สาวะมาก (Polyuria) 2. ดื่มนาํ้ มาก (Polydipsia) 3. รับประทานอาหารจุ (Polyphagia) 4. นา้ํ หนกั ลด (Weight loss) อาการแสดงอ่ืน ๆ ในรายที่เปนโรคเบาหวานมานานแตผูปวยไมทราบมากอน อาจมาดวยอาการแทรกซอน เชน ตาพรามัว เปนแผลเรอ้ื รงั เปนฝบอย มีผื่นคันหรือเชื้อราตามซอกอับของรางกาย คันบริเวณชอ งคลอด ชาหรอื ปวดแสบปวดรอ นบริเวณปลายมือปลายเทา

การประเมินผปู ว ยเบาหวานจากประวตั ิ อายุและระยะเวลาในการเปนเบาหวาน ประวัติครอบครวั สายตรงเปนเบาหวาน ภาวะแทรกซอน ◦ เสน เลอื ดใหญ : เสนเลือดสมองตีบหรอื แตก เสนเลอื ดหวั ใจตีบ ◦ เสนเลือดเลก็ : เบาหวานขึน้ ตา ไตวาย เสน ประสาทปลายมอื ปลายเทาเปอ ย พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกาํ ลังกาย อาการของน้าํ ตาลสูง เชน ปสสาวะบอย นํ้าหนกั ตัวลด หิวน้ําบอย

การประเมนิ เบาหวานจากการตรวจรา งกาย นํ้าหนักและสวนสูง BMI, WC ◦ BMI = BW (kg)/height (เมตร)2 ◦ เสนรอบเอว ผูหญิง ≥ 80 ผูช าย ≥ 90 เซนตเิ มตร วัด BP and Pulse 2 ขาง ◦ Radial pulse ◦ Dorsalis pedis pulse ตรวจแผล เชือ้ ราตามรา งกายและเทา การตรวจเทา

การประเมินเบาหวานจากการตรวจรา งกาย  การตรวจรางกาย ◦ Opthalmoscope ◦ Dental and mouth ◦ Carotid bruit ◦ Heart and lung ◦ Abdomen ◦ Skin lesion ◦ Neuro exam

การรักษาเบาหวาน

วัตถุประสงคในการรักษาโรคเบาหวาน• รักษาอาการท่ีเกดิ ข้ึนจากภาวะน้าํ ตาลในเลือดสูง• ปอ งกนั และรกั ษาการเกดิ โรคแทรกซอนเฉยี บพลัน• ปองกันหรือชะลอการเกดิ โรคแทรกซอนเร้ือรัง• ใหมีคุณภาพชีวิตท่ดี ใี กลเ คยี งกบั คนปกติ• สําหรบั เดก็ และวัยรุนใหมีการเจริญเตบิ โตสมวยั และเปน ปกติ แนวทางเวชปฏิบตั ิสําหรับโรคเบาหวาน พ.ศ.2557

การรักษา1. อาหาร ควรรบั ประทานอาหารใหตรงเวลา ปริมาณอาหารของแตละวนั ใหใ กลเ คียงกัน หลีกเลย่ี งอาหารท่ีมีนํา้ ตาล ผลไมรสหวานจัด ขนมและน้าํ อัดลม ลดอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง ลดอาหารเค็ม เพ่ิมอาหารใยพชื หลกี เลยี่ งการด่มื สรุ า

พลังงานทเ่ี หมาะสม• พลงั งานท่ีไดจ ากอาหารท้ังหมดทีก่ นิ ตอ วนั มีหนว ยวดั เปนกิโลแคลอร่ี• คารโบไฮเดรต และโปรตีน 1 กรมั ใหพลงั งาน 4 กโิ ลแคลอร่ี• ไขมนั 1 กรมั ใหพลงั งาน 9 กิโลแคลอร่ี• วติ ามนิ เกลอื แรแ ละนา้ํ ไมใหพลังงาน แบง พลงั งานทตี่ อ งการตอวนั ตามสดั สว น• คารโ บไฮเดรต : โปรตนี : ไขมนั• รอ ยละ 55-60 : รอยละ 12-15 : รอยละ 25-30

2. การออกกาํ ลงั กาย คอื การเคลื่อนไหวรา งกายโดยใชกลา มเนื้อมัดใหญแ ละเล็กในการ ทํากจิ กรรมตางๆ เพื่อใหสขุ ภาพแข็งแรง ชว ยลดระดับนา้ํ ตาลในเลอื ดไดดว ย ควรทําควบคใู หพอดีกบั การควบคุมอาหารจงึ ไดผลดี การออกกาํ ลังกายควรทําสม่ําเสมอ อยา ใหขาดตอนอยา งนอยวันละ 30 นาที จนเหง่ือออกซึมสปั ดาหล ะ 3 คร้ัง ควรทําตามถนดั และเหมาะสมกับวยั หรือโรคแทรกซอน

รูปแบบของกิจกรรม• เลือกกจิ กรรมท่ีเหมาะสมกับคนๆน้ัน• ไมเส่ียงตอการบาดเจบ็• เขา กบั ชีวิตประจาํ วันไดงาย• ใชทักษะนอยๆ หรือไมต องใชท ักษะ

ยาชนิดรับประทานยาควบคุมระดับนา้ํ ตาลในเลือดชนดิ กนิ1. ยากระตนุ การหลง่ั อินซูลนิ จากตบั ออน กลมุ ซัลโฟนิลยเู รีย(sulfonylurea) เชน  Glibenclamide  Glipizide2. ยาควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดกลมุ ไบกวาไนด (biguanide) ไดแ ก  Metformin hydrochloride3. ยาอ่ืนๆ ทีใ่ ชควบคุมระดบั กลูโคสในกระแสเลอื ด (otherantidiabetics) เชน  Acarbose

ยากลุม sulfonylurea ออกฤทธ์ิหลักโดยการกระตนุ การหล่ังอินซูลินจากตับออน ดังนน้ัยาจึงมีประสิทธิผลเฉพาะเมือ่ บีตาเซลลข องตับออ นบางสว นยังทํางานอยู(หา มใชก ับเบาหวานชนิดท่ี 1) ระหวางการใชยาระยะยาวยากลมุ นี้จะมีฤทธ์ินอกตับออ นดวย เชน ลดการสรางกลูโคสจากตับ เพ่ิมความไวของเนือ้ เยื่อตออินซลู ินดว ยการเพ่ิมจํานวนของตัวรับอินซูลินผลขา งเคียงรวมของยากลมุ sulfonylurea ภาวะระดับนํ้าตาลต่ําในเลอื ด และอาการของระบบทางเดินอาหารเชน คล่นื ไส อาเจียน ทอ งเสยี ทองผกู

Metformin (500, 850 mg) เปนยาเพยี งชนดิ เดยี วของยาในกลมุ biguanide ออกฤทธิ์หลักโดยลดการสรางกลูโคสใหมใ นตับ(gluconeogenesis) และเพม่ิ การนาํ เขา และใชก ลูโคสในเน้ือเยอื่ (ออกฤทธลิ์ ดภาวะด้ือตอ อินซูลนิ ของเนอ้ื เยื่อ) เปนยาขนานแรกทคี่ วรเลือกใชสําหรบั ผปู ว ยทม่ี นี ้าํ หนกั เกนิ หรอื อวนซึ่งลมเหลวจากการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลอื ดโดยการจาํ กดั อาหารอยา งเครงครดัAmerican Diabetic Association (ADA) และ the European Associationfor the Study of Diabetes (EASD) แนะนาํ ใหใ ช Metformin เปน ยาขนานแรกสาํ หรับผปู ว ยโรคเบาหวานชนดิ ท่สี องทกุ ราย ทไ่ี มม ขี อ หา มใชย านี้ขอ หา มใช ผูปว ยที่มีการทาํ งานของตับบกพรอง ผูปว ยโรคไตหรือมีภาวะไตเสื่อม

ผลขางเคียงของ Metformin - เบ่ืออาหาร (30%) - คล่นื ไส/อาเจยี น (7-26%) - ทองรวง (10–53%) - ทองอืด (12%) โดยทวั่ ไปจะเปนเพยี งช่ัวคราว - น้าํ หนกั ตัวลด - ปวดทอง (6% ) - ลดการดดู ซมึ ของวิตามนิ บี 12 (7%) - ลักษณะผิวหนงั แดง อาการคัน และลมพิษวธิ ใี หยาควรกนิ ยาพรอ มอาหารเพื่อลดการระคายเคืองทางเดินอาหาร

การรกั ษาดว ยอินซูลนิ ชนดิ ฉดีผูป ว ยทจ่ี าํ เปน ตองฉีดอินซลู ินมลี กั ษณะดังนี้ 1. เปนโรคเบาหวานชนิดที่ 1 (Type 1) 2. เปน โรคตับและไต ซึ่งไมสามารถใชยาชนิดรบั ประทานได 3. ผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2) ทไ่ี ดรับการรักษาดวยยาชนิดรับประทานขนาดเต็มทแ่ี ลวยงั ควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไมได 4. ผูปวยเบาหวานทมี่ ภี าวะเครียดอยา งรุนแรง เชน การเจบ็ ปวยหนกั การไดร บั การผา ตดั การติดเชื้ออยา งรุนแรง เปนตน 5. ผทู ่ีกาํ ลังต้ังครรภ

ชนดิ ของอินซูลิน1. ชนิดออกฤทธ์สิ ้ัน (Repid Acting Insulin)2. ชนดิ ออกฤทธปิ์ านกลาง (Intermediate Acting Insulin)3. ชนดิ ออกฤทธ์นิ าน (Long Acting Insulin)4. อินซลู ินผสม (Biphasic insulin)

ชนดิ ของอินซูลนิ1. อนิ ซูลินชนดิ ออกฤทธ์สิ ั้น - ชนดิ ออกฤทธิส์ นั้ ซ่ึงเปนอนิ ซูลินธรรมชาตทิ ไ่ี มไดรบั การดัดแปลง โครงสรา ง เชน regular insulin ออกฤทธิห์ ลังฉีด 30 นาที ออกฤทธิ์สูงสุด 1-3 ชั่วโมง และออกฤทธไิ์ ดน าน 8-12 ชว่ั โมง - ชนิดออกฤทธ์ิส้ันซ่ึงเปน อินซลู นิ กึ่งสังเคราะหทไ่ี ดรบั การดดั แปลง โครงสรา ง เชน insulin aspart (NovoRapid) ออกฤทธห์ิ ลงั ฉีด 15 นาที ออกฤทธสิ์ ูงสดุ 40-50 นาที และออกฤทธ์ไิ ดน าน 3-5 ชว่ั โมง2. ชนิดออกฤทธป์ิ านกลาง ออกฤทธห์ิ ลงั ฉดี 1-4 ชว่ั โมง ออกฤทธส์ิ ูงสดุ 4-14 ชว่ั โมง และออกฤทธ์ิ ไดนาน 10-24 ชว่ั โมง เชน isophane insulin, NPH เปน ตน

ชนดิ ของอินซูลนิ3. ชนิดออกฤทธน์ิ าน มีท้ังชนิด natural insulin(ปจจุบนั ไมมีจําหนา ย) และ insulin analog (ราคาแพง)4. อนิ ซูลนิ ผสม เปน การนาํ อินซูลินทีอ่ อกฤทธส์ิ ้นั ผสมกับอินซูลินท่ีออกฤทธนิ์ านปานกลางสัดสว น 1 ตอ 2 (30/70) เพอ่ื ควบคมุ ระดบั นา้ํ ตาลหลงั อาหารไดด ขี น้ึ ลดภาวะนา้ํ ตาลในเลือดตํา่ ตอนกลางคืน

วธิ ีการฉีดอนิ ซลู นิ แบบ SC ผูปวยควรรับประทานอาหารภายใน 30 นาทีหลงั ฉีดยา ควรฉีดยาบริเวณตนขาดานหนา หรือดานขาง ตนแขน กน หรือบริเวณหนาทอง ตรวจดขู นาดยาในหลอดยาซา้ํ สองครั้งเสมอกอ นฉดี จับผิวหนังอยางเบาๆ ใหผ วิ หนังนูนขน้ึ ดว ยน้วิสองขาง ปก เขม็ ลงตรงๆ ดวยมมุ 90 องศา ปลอยน้ิวจากผวิ หนัง (ถา เปนเด็กหรือผูป วยที่ผอมควรใชเขม็ สั้นและปกเข็มดวยมมุ 45 องศาเพ่ือปองกนั การฉีดยาเขากลา ม) ฉีดยาไดเลยโดยไมจําเปนตองลองดูดยากลับกอนฉีด ใชเวลาในการฉดีประมาณ 2-4 วนิ าที ควรปลอยเข็มใหค างอยูในผวิ หนงั อีก 5 วินาทีหลังฉดี เพือ่ ใหแนใ จวาปรมิ าณยาท้ังหมดไดเ ขาสูร า งกายของผูปวยแลว เปลีย่ นตําแหนงของการฉีดยาทุกครัง้ เพือ่ ปองกันภาวะไขมนั ใตผ วิ หนังฝอ แตไมค วรเปล่ยี นบริเวณของรางกายทฉี่ ีด (เชนเคยฉีดบริเวณหนา ทองก็ควรฉีดบริเวณเดิม) เพื่อปอ งกันการแปรเปลี่ยนของการดูดซมึ ยาระหวา งการฉีดยาแตละคร้ัง

การเก็บรกั ษาอนิ ซลู ิน1. อินซูลินชนิดขวด (vial) ทเ่ี ปด ออกใช อาจเก็บท่อี ณุ หภูมิหอ ง(ไมเกิน 30 องศาเซลเซียส) เพือ่ ลดการระคายเคืองขณะฉีดยา2. ระยะเวลาที่ยังคงใชย าไดหลังเปด ขวด ออกใชแตกตางกันระหวา งผลติ ภณั ฑแตละชนิด โปรดอานรายละเอียดจากเอกสารกํากบั ยา แตโดยทั่วไปมกั มีอายุใชงานประมาณ 4 สัปดาห3. อนิ ซลู ินชนิดปากกา เม่อื เปดใชค วรเกบ็ ท่อี ณุ หภูมิหอ งเทา น้ัน ไมควรนํากลบั ไปแชใ นตูเย็นอีก

ภาวะแทรกซอ นของเบาหวาน1. ภาวะแทรกซอนเฉยี บพลนั (Acute complication of DM) Hypoglycemia DKA (Ketoacidosis) Hyperglycemic Hyperosmolar Nonketotic syndrome (HHNS )



เกณฑการวินจิ ฉัยนา้ํ ตาลในเลือดตาํ่องคป ระกอบ 3 ประการ (Whipple’s triad ) 1. ระดับน้ําตาลในเลอื ดต่ํา (< 70 มก/ดล.) 2. มีอาการนํา้ ตาลในเลอื ดตํ่า• อาการออโตโนมคิ (Autonomic symptom ) ใจส่ัน หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหติ ซิสโตลิกสูง มือส่นั กระสับกระสาย คลื่นไส รูสึกรอน เหงอื่ ออก ชา และรสู กึ หวิ• อาการสมองขาดกลูโคส(Neuroglycopenic symptom) ออนเพลีย ออ นแรง คดิ ชา พฤติกรรมเปล่ยี นแปลง มึนงง การทํางานสมองดา น cognitive บกพรอ ง ปฏิกิริยา ตอบสนองชาลง สับสน ไมม สี มาธิ ตาพรา มวั อัมพฤกษครงึ่ ซกี รา งกาย (hemiparesis) คลายโรคหลอดเลือดสมอง (stroke), หมดสติ และชัก 3.อาการดังกลาวหายไปอยา งรวดเรว็ หลงั ไดรับนํา้ ตาล

สาเหตุ กินยาลดนาํ้ ตาล หรือฉดี ยาอนิ ซูลนิ มากเกนิ ไป มีการขับยาลดลง เชน เกดิ ภาวะไตเส่อื ม ตับเสื่อม กนิ อาหารนอยเกนิ ไป หรือผดิ เวลาอาหารมากเกนิ ไป ออกกาํ ลังกาย หรือทาํ งานหนกั มากกวาปกติ ด่มื เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลม ากเกนิ ไป

อาการภาวะนาํ้ ตาลในเลือดต่ําเวลาอดอาหาร หลังกินยาลดนา้ํ ตาล หรือเสยี สมดลุ อาหารกับยา

การประเมินความรนุ แรงของภาวะนาํ้ ตาลตํ่าในเลือด1. Mild hypoglycemia : ผปู วยมีระดบั พลาสมากลโู คสตาํ่ แตไ มมอี าการ หรือมีอาการออโตโนมคิ ซ่ึงผูป ว ยสามารถทําการแกไ ขไดดวยตัวเอง2. Moderate hypoglycemia : ผูป ว ยมีระดับพลาสมากลูโคสตาํ่ และมี อาการออโตโนมิคและอาการสมองขาดกลโู คสเกิดข้ึนเล็กนอ ยหรือ ปานกลาง ซึ่งผูปวยสามารถทําการแกไ ขไดดวยตวั เอง3. Severe hypoglycemia : ผูปว ยมอี าการรุนแรงจนไมส ามารถแกไ ขได ดว ยตัวเองและตองอาศัยผูอ่ืนชวยเหลอื หรืออาการรุนแรงมาก เชน ชัก หมดสติ

การวินิจฉัยและรักษาภาวะนํา้ ตาลในเลือดต่าํ ในผูป วยเบาหวานผปู  วยเบาหวานท่มี ีภาวะนํา้ ตาลต่าํ ในเลือด อาการของภาวะนํา้ ตาลต่าํ ในเลอื ด ระดับกลโู คสในเลือด <70 มก./ดล. * อาการออโตโนมคิ ไดแก ใจสนั่ , หวั ใจเตนเร็ว, ความ และมอี าการ ดนั เลอื ดซสิ โตลคิ สงู , มือสน่ั , รูสกึ กงั วล, คลนื่ ไส, รูสกึ ร อน, เหง่ือออก, ชา, และรูสกึ หวิ * อาการสมองขาดกลโู คส ไดแก ออ นเพลยี , มนึ งง, ปวดศรี ษะ, ปฏกิ ิริยา ตอบสนองชาลง, สบั สน, ไมม ีสมาธิ, ตาพรามวั , พดู ชา, งว งซมึ , หลงลมื , พฤติกรรมเปลย่ี นแปลง, อมั พฤกษ, หมดสต,ิ และชกั ประเมนิ ความรุนแรงของภาวะ ระดับความรุนแรงของภาวะนํา้ ตาลต่าํ ในเลือด นํา้ ตาลต่าํ ในเลือด * ระดบั ไมร ุนแรง หมายถึง มีผลตรวจเลอื ดพบระดบั* พลาสมากลโู คสตา่ํ แตไ มม อี าการ ระดบั ปานกลาง หมายถงึ มีอาการเกิดขนึ ้ เลก็ นอย( หรือปานกลาง และสามารถทาํ การแกไขไดดวยตนเอง* เชน ดืม่ นาํ ้ ผลไมหรือกลโู คส หรือกินอาหาร) ระดบั รุนแรง หมายถึง มีอาการรุนแรงมากจนไม สามารถทาํ การแกไขไดดวยตนเองและตองอาศยั ผอู ื่น ชวยเหลอื ระดับไม รุ นแรง การรักษาภาวะนํา้ ตาลต่าํ ในเลอื ด รุนแรงปานกลาง ระดับไม รุ นแรง-ปานกลาง * กินอาหารประเภทคารโบไฮเดรตในปริมาณ 15 กรัม ไดแก กลโู คสเมด็ 3 เม็ด,นาํ ้ สมคนั ้ 180 มล.,นาํ ้ อดั ลมระดับรุนแรง 180 มล., นาํ ้ ผงึ ้ 3 ชช., ขนมปังปอนด 1 แผน สไลด, นมสด 1 ถวย, ขาวตมหรือโจก ½ ถวยชาม* ตดิ ตามระดบั กลโู คสในเลอื ดท่ี 15 นาทีการรักษาภาวะนํา้ ตาลต่าํ ในเลอื ดระดับรุนแรง * กินคารโบไฮเดรตในปริมาณ 15 กรัม ซาํ ้ ถาระดบั* โดยบคุ ลากรการแพทย: เปิ ดหลอดเลอื ดดํา,เก็บตวั อยา ง กลโู คสในเลอื ดยงั คง <70 มก./ดล.เลอื ดดําเพอ่ื สง ตรวจเพิ่มเติมที่จําเป็ น บริหารสารละลายกลโู คส * ถาอาการดีขนึ ้ และการตรวจวดั ระดบั กลโู คสในเลอื ด50% 10-20 มล. Bolus และเปิ ดหลอดเลอื ดดาํ ตอ เนื่องไวดวย ซํา้ ไดผล >80 มก./ดล. ใหกินอาหารตอ เน่อื งทนั ทีheparinหรือsaline lockหรือบริหารสารละลายเดก็ ซโตรส 5-10% เมื่อถึงเวลาอาหารหยดตอ เน่อื งตามความเหมาะสม* ตดิ ตามระดบั กลโู คสในเลอื ดท่ี 15 นาที* รักษาระดบั กลโู คสในเลอื ดท่ี >80 มก./ดล.

ปองกนั ภาวะนาํ้ ตาลในเลือดตํ่า ควบคมุ อาหาร รบั ประทานใหต รงเวลา และปรมิ าณเหมาะสม ฉีดอินซูลนิ หรือรบั ประทานยาใหต รง ท้ังปริมาณและใหต รงตามเวลา การออกกําลังกายมากกวาปกติ ควรมีอาหารวาง เชน นม 1 แกว ผลไม 1 สวน หรือ ขนมปง กรอบ 2-3 แผน กอนออกกําลงั กาย 1 ช่วั โมง ควรมีการตรวจระดับ นํา้ ตาลในเลือด กอ นและหลงั การออกกําลงั กาย ควรตรวจระดับนาํ้ ตาลอยางสม่ําเสมอ แจง บคุ คลใกลช ิดใหท ราบวาเปน เบาหวาน และอธิบายวิธีการชว ยเหลือ มีผลไม ลูกกวาด นาํ้ ตาลกอน หรือขนมปง กรอบตดิ ไว เผอ่ื ยามฉกุ เฉิน พกบัตรประจําตวั ผูเปนเบาหวานเมื่อออกจากบาน เผื่อในกรณีฉุกเฉิน

การแกไ ขอาการของภาวะระดบั น้ําตาลตาํ่ ในเลือด ควรกินน้ําตาลกลโู คส 20 กรัม (ประมาณเทา กบั น้ําอัดลม เชนสไปรท 1 กระปอง) ใหซํ้าไดอ ีก ภายใน 15-20 นาที หากยงั มีอาการหลงั จากนนั้ ควรรับประทานอาหารวางหรืออาหาร 1 ม้ือ โดยเร็ว (พิสนธิ์ จงตระกลู , 2557)



ภาวะกรดคโี ตนคัง่ จากเบาหวาน (Diabitic Ketoacidosis : DKA) หมายถึง ภาวะท่ีมีการคั่งของสารคีโตนในรางกายเนื่องจากการขาดอินซูลินทําใหมีการสลายตัวของสารไขมัน และทําใหเกิดภาวะกรดจากการเผาผลาญ (metabolic acidosis) เกิดขึ้น มักพบในผปู วยเบาหวานชนิดที่ 1



ภาวะ DKA (Ketoacidosis)• Diabetic ketoacidosis (DKA) เปนภาวะฉุกเฉินของโรคเบาหวานซ่ึงทําใหระดับ นํ้าตาลในเลือดสูงและเกิดภาวะกรดเมตะบอลิคจากการท่ีมีกรดคีโตนคั่งในรางกาย ภาวะนี้พบไดท ง้ั ในผปู วย เบาหวานชนิดท่1ี และชนิดที่ 2• ปจ จยั ชักนําที่สําคัญ ไดแก การขาดยาลดนํ้าตาลท้ังชนิดกินและอินซูลิน มีโรคหรือ การเจ็บปวยอื่นเกิดขึ้นซ่ึงทําใหเกิดภาวะเครียดตอรางกาย และเปนผลใหรางกาย ตองการอินซูลินเพ่ิมมากขึ้น ที่พบบอย ไดแก ภาวะติดเชื้อซึ่งพบบอยท่ีสุด ไดรับ อุบัติเหตุ โรคหลอดเลือดสมอง หัวใจวาย ภาวะกลามเน้ือหัวใจขาดเลือด ภาวะฮัยเปอรธัยรอยดิสซึม ไดรับยาบางชนิด เชน กลูโคคอรติคอยด, ยาขับ ปสสาวะกลุมไธอะไซด เปน อยางไรก็ตามพบวาภาวะ DKA สามารถเกิดขึ้นใน ผูปวยเบาหวานชนิดที่ 1 ไดโ ดยทีไ่ มม ปี จ จยั ชักนําหรือมีปจจัยชักนําไมรุนแรง สวน การเกิด DKA ในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 หรือจากสาเหตุอ่ืนน้ันผูปวยจะตองมี ปจจยั ชักนําท่ีคอนขางชัดเจนและรุนแรงรว มดว ยเสมอ

อาการและอาการแสดง1. ถา ยปส สาวะมาก (polyuria) และถา ยปส สาวะบอ ยครั้ง2. กระหายนาํ้ และดื่มนาํ้ มากขน้ึ3. ออ นเพลีย นาํ้ หนักลดและผอมอยางรวดเร็ว เนื่องจากการสูญเสีย นาํ้ และรางกายไมสามารถใชพลังงานจากนาํ้ ตาลกลโู คส ทําให มกี ารสลายโปรตีนและไขมันในเนื้อเยอ่ื ออกมา4. อาการคล่นื ไสอาเจียน สาเหตุไมท ราบชัด แตอาการคล่นื ไสเ ช่อื วา เปนผลมาจากภาวะไมสมดุลของอิเลคโตรไลทจากการสูญเสีย ไปกบั ปสสาวะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook