Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แหล่งท่องเที่ยวเมืองกาฬสินธุ์

แหล่งท่องเที่ยวเมืองกาฬสินธุ์

Published by radchaneeporn phusangsi, 2020-04-24 02:47:31

Description: แหล่งท่องเที่ยวเมืองกาฬสินธุ์

Search

Read the Text Version

แหลง ทอ งเท่ียวเมืองกาฬสินธุ จัดทาํ โดย นายยทุ ธภมู ิ ชารวี งศ นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 3/6 เลขที่ 2 กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เสนอ ครสู ุรจติ ร โลหะมาศ โรงเรยี นกาฬสนิ ธุพทิ ยาสรรพ อําเภอเมือง จงั หวดั กาฬสนิ ธุ รายงานนีเ้ ปนสว นหนงึ่ ของวิชา การงานอาชพี และเทคโนโลยี

คํานาํ หนงั สืออิเลค็ ทรอกนกิ ส์ เลม่ นีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวชิ า การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ซง่ึ มีเนือ้ หาเก่ียวการท่องเท่ียวจงั หวดั กาฬสินธุ์ เหมาะสาํ หรบั ผสู้ นใจท่วั ไปไดศ้ กึ ษาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวเมืองกาฬสินธุ์ และสดวกในคน้ หาขอ้ มลู ยุทธภมู ิ ชารีวงศ

แหลง ทองเที่ยวของจังหวัดกาฬสินธุ หลวงพอองคดาํ ลอื เลือ่ ง เมอื งฟาแดดสงยาง โปงลางเลิศล้ํา วฒั นธรรมผูไท ผาไหมแพรวา ผาเสวยภูพาน มหาธารลําปาว ไดโนเสารส ตั วโลกลานป

ขอมลู แนะนําจังหวัดกาฬสนิ ธุ จงั หวัดกาฬสินธุจ งั หวดั กาฬสินธุ อยูหา งจาก กรงุ เทพมหานครประมาณ 519 กโิ ลเมตร แบงการ ปกครองออกเปน 18 อําเภอ อําเภอเมืองกาฬสนิ ธ,ุ อําเภอ ยางตลาด อําเภอกมลาไสย อําเภอทาคันโท อาํ เภอเขาวง อําเภอเขาวง อาํ เภอหวยเม็ก อําเภอกมลาไสย อําเภอกฉุ ิ นารายณ อาํ เภอสมเด็จ อําเภอสหสั ขันธ อําเภอสามชัย อําเภอนาคู อําเภอนามน อําเภอคาํ มวง อาํ เภอเมอื ง กาฬสนิ ธุ อําเภอหนองกุงศรี อําเภอฆอ งชัย อําเภอดอน จาน ครอบคลุ มพน้ื ท่ี 7,055.07 ตารางกิโลเมตร ลักษณะ ของพื้นทีเ่ ปนภเู ขาตามแนวเทือกเขาภูพานทางตอนบนของ จงั หวดั ขณะท่ีภาคกลางเปนพนื้ ท่ภี ูเขาปา ผลดั ใบ

โบราณสถานและประวัตศิ าสตร (Historic Building)

พระธาตยุ าคู สถานท่ตี ัง้ อําเภอกมลาไสย เปน เจดยี ท ่ีใหญที่สดุ ในเมืองฟาแดดสงยาง ลกั ษณะเปน เจดยี ท รงแปดเหลีย่ มกอดว ยอิฐปรากฏการกอสราง 3 สมัยดว ยกันคอื สวนฐานเปน รปู ส่เี หล่ียมยอมมุ มีบันไดทางข้นึ 4 ทิศ มีปูนปนประดบั สรางในสมยั ทวารวดี ถัด ข้นึ มาเปนฐานรปู แปดเหลย่ี มซ่งึ สรา งซอนทับบนฐานเดมิ เปนรปู แบบเจดียในสมยั อยุธยา สว นองคระฆังและสวน ยอดสรางในสมยั รตั นโกสินทร รอบๆ องคพ ระธาตพุ บใบเสมาแกะสลักภาพนูนตํา่ เรือ่ งพทุ ธประวตั ิชาวบา นเช่ือกนั วา ในองคพ ระธาตุบรรจุอัฐิของพระเถระผูใหญท ีช่ าวเมืองเคารพนบั ถือ สังเกตได จากเมือ่ เมืองเชยี งโสมชนะสงคราม ไดทาํ ลายทุกสิง่ ทกุ อยางในเมืองฟา แดด แตไ มไ ดทําลายพระธาตุยาคู จงึ เปน โบราณสถานท่ยี งั คงสภาพคอนขา งสมบรู ณ ชาวบา นจะจัดใหม งี านประเพณีบุญบง้ั ไฟเปน ประจาํ ทุกปใ นเดือน พฤษภาคม เพอ่ื เปน การขอฝนและความรมเยน็ ใหก ับหมบู าน วดั โพธิ์ชัยเสมาราม หรือวดั บานกอม ตั้งอยูบ านเสมาตรงขามกับทางเขา เมืองฟาแดดสงยาง เปนวัดเกา ที่ชาวบา น ไดน ําใบเสมาหนิ ทีข่ ดุ พบมารวบรวมไวจาํ นวนมาก มีใบเสมาหนิ ขนาดใหญท่ีอาจถือเปนเอกลกั ษณของอีสาน เน่ืองจากแทบจะไมพ บในภาคอนื่ เลย ใบเสมาท่ีพบในเมืองฟา แดดสงยางมีความโดดเดนคอื นิยมแกะสลกั ภาพ เลา เรื่องราวพุทธประวตั ิและชาดก มีใบเสมาจาํ ลองหลกั ท่ีงดงามและสมบรู ณท ีส่ ุด สลักภาพพุทธประวัติตอน พระพุทธเจา เสด็จกลบั จากกรุงกบิลพัสดุพรอมดวยพระเจา สุทโธทนะ พระราหุล และนางยโสธรา (พิมพา) เขา เฝา แสดง สกั การะอยา งสูงสุดดว ยการสยายพระเกศาเชด็ พระบาทองคพระพุทธเจา เรียกเสมาหนิ ภาพ พมิ พา พิลาป ซ่ึงใบเสมาหลักน้ขี องจริงอยทู ี่พิพธิ ภณั ฑส ถานแหงชาติขอนแกน

เมืองฟาแดดสงยาง (Fa Daet Song Yang สถานทีต่ งั้ อําเภอกมลาไสย เปนเมอื งโบราณ ตามเสน ทางหมายเลข 214 (กาฬสินธ-ุ รอ ยเอด็ ) ระยะทาง 13 กโิ ลเมตร ถงึ อาํ เภอกมลาไสย เลย้ี วขวาตามทางหลวงหมายเลข 2367 ระยะทาง 6 กิโลเมตร ปจจุบันตั้งอยทู บ่ี า นเสมา ตาํ บลหนองแปน จากหลกั ฐานโบราณคดีทค่ี น พบ ทําใหทราบ วา มีการอยอู าศยั ภายในเมืองมาตั้งแตสมัยกอ นประวัตศิ าสตร แลว ไดเจริญรงุ เรืองมากขน้ึ ในสมัยทวารวดีราวพทุ ธศตวรรษที่ 13-15 นอกจากนน้ั ยงั มซี ากศาสนสถานกระจัด กระจายอยูท่ัวไป ภายในเมือง และนอกเมือง หลกั ฐานบางสวนเกบ็ ไวท่วี ดั โพธ์ชิ ัยเสมา รามซ่งึ อยูภายในเมือง บางแหง อยูในตําแหนง ด้ังเดมิ ทพี่ บ และบางสว นก็นําไปเกบ็ รกั ษา และจัดแสดงทีพ่ ิพิธภณั ฑส ถานแหง ชาติขอนแกน ซงึ่ หนงึ่ ในวัตถโุ บราณน้นั มพี ระสาํ ริดและ พวกเครอื่ งทอ ยาสบู อยู

ถา้ํ ฝามอื แดง (Famue Daeng Cave) สถานทีต่ ้ัง อาํ เภอกุฉนิ ารายณ หรือถํ้าลายมอื ตามคาํ เรียกของชาวบาน ไดมกี ารคนพบและเปด เผยตอ สาธารณชน เมอ่ื กอนป พ.ศ. 2516 และ 2523 คนพบคร้ังแรกนบั ไดประมาณ 147 รอย โดยกรมศลิ ปากรไดค น พบ และเผยแพร หลงั จากนนั้ ก็มีนกั ทองเที่ยวเดนิ ทางมาชมโบราณสถานแหง น้เี พิม่ มากขนึ้ ทุกปเปน บรเิ วณพ้ืนทแี่ หงหนง่ึ ทพี่ บฝามอื แดงมากทส่ี ุดในประเทศไทย ภาพดังกลา วถือวา เปน หลักฐานที่ สําคญั ทางประวตั ิศาสตรเกี่ยวกบั อดตี ทผี่ า นมา อาจารยพ ิสิฐ เจริญวงศ จากกรมศิลปากร ได อธบิ ายวา ภาพฝามอื แดงไมส ามารถบอกอายุท่แี นนอนไดแมใ นกอนชวงประวตั ศิ าสตร เทคนิค การวาดภาพเขยี นสีแดงอาจจะแยกเปนแบบฉีด ลายเสน และพวกของแข็งและคาดวาอายุของ ถ้ําบริเวณภูผาผึ้งนา จะประมาณ 2,000 ปผานมาแลว ซง่ึ เปนภาพวาดดท่ี ผาแตม อาํ เภอโขง เจยี ม จังหวดั อบุ ลราชธานี ภาพทปี่ รากฏอยางเชน คนและสัตว และภาพเหลาน้ีก็จะคอยๆ จาง ไปตามกาลเวลา นอกจากนี้ภาพบางสว นยงั ถูกการทําลายจากพวกคนบางกลุมทไ่ี มเขา ใจใน ภาพอันลํ้าคา ท่พี บเหน็

ศาสนสถาน (Religious Site)

วัดศรีบุญเรอื ง สถานท่ตี ั้ง อําเภอเมือง เปน วัดเกา แกใ นเขตเทศบาลเมือง ซงึ่ มีเสมาจาํ หลกั เมืองฟาแดดสงยางจํานวนหนงึ่ เก็บ รักษาไว โดยปก ไวรอบพระอโุ บสถ หลกั เสมาจําหลักทสี่ วยงามคอื หลกั ทจี่ าํ หลักเปนรปู เทวดาเหาะอยูเหนือ ปราสาททาํ เปนซุมเรอื นแกว ลา งสุดมีรูปกษตั ริย พระมเหสี และ พระโอรสท้ังหมดนี้เปน ลักษณะศิลปะทางฝงตะวันออกเฉยี งเหนือ

วดั กลาง (Wat Klang) สถานท่ตี ้งั : อาํ เภอเมือง มีพระอโุ บสถเปนท่ปี ระดษิ ฐานพระพุทธรูปองคด ําหลอ ดวยทองสัมฤทธิ์ หนาตกั กวาง 20 นว้ิ เปนพระพุทธรปู ลักษณะงดงามทพ่ี ระแทน มรี อยจารึกเปน ภาษาไทยโบราณ สรางในสมัย พระเจา คนู าขาม พระชยั สนุ ทร (กิง่ ) ไดน ํามาเปนพระพุทธรปู ศรีเมือง เปน พระพทุ ธรปู ศักด์ิสทิ ธิ์ หากปใ ดฝนแลงประชาชนชาวเมอื งจะอัญเชิญพระพทุ ธรปู ออกแหขอฝนเสมอ

พระพุทธสถานภปู อ (Phu Po Buddhistic Sigificance) สถานทีต่ ัง้ : อําเภอเมือง อยทู ตี่ าํ บลภปู อ อําเภอเมืองกาฬสินธุ หา งจากจังหวัดกาฬสินธุไปทางทศิ เหนือประมาณ 28 กิโลเมตร โดยใชเ สน ทางหมายเลข 2319 สมัยทวาราวดีจาํ หลกั บนหนา ผา 2 องค ซ่งึ เปน ที่ประดษิ ฐ พระพุทธรูปโบราณปางไสยาสน ฝม ือชา งจากสมัยทวาราวดอี งคแ รก ประดษิ ฐานอยูบนเชิงเขาทาง ข้ึนองคท ี่ 2 ประดิษฐานอยบู นภปู อ นอกจากภูปอจะเปนท่ีประดิษฐานของพระพทุ ธรูปปางไสยาสน อันศักดสิ์ ิทธิ์แลว ยงั เปน สถานที่มที วิ ทัศนตามธรรมชาติทีส่ วยงามเหมาะแกการพกั ผอ นหยอนใจ อยางยง่ิ และจะมีการเฉลิมฉลองพระพุทธรปู ปางไสยาสน ชวงเดือนเมษายนของทกุ ป เปนทปี่ ระดิษฐานพระพทุ ธไสยาสน ยาวประมาณ 2 เมตร กวาง 50 เซนติเมตร อยูในบริเวณวดั กลาง มีรอยพมิ พเทา จากหนิ สันนิษฐานวาพื้นท่ีบริเวณน้ี เคยเปนที่อยูอาศัยของเผา ละวา ซึง่ รอยพิมพเทา เดิมต้ังอยรู มิ ลาํ ปาวใกลแ กง สาํ โรง

วดั ภูสิงห์ ตั้งอยูบ นยอดเขาภูสิงห ขา งบนเปน ทปี่ ระดิษฐานพระพุทธรูปประทบั นง่ั ปางมารวิชยั นามวา \"พระพรหมภูมิปาโล\" อันเปนที่เคารพสักการะของชาวกาฬสินธุ มลี ักษณะ สงา งามและสวยงามมากท่ีสดุ องคหนึง่ ในประเทศไทย ดังจะเห็นวาเม่ือแลไปทพี่ ระ พกั ตรจ ะมลี ักษณะอ่มิ เอบิ พระเนตรสองขา งเปย มไปดวยเมตตา ทาํ ใหคนท่ีมากราบ ไวตา งพลอยรสู กึ สบายใจอยางบอกไมถ กู ทา มกลางบรรยากาศโดยรอบบรเิ วณของ องคพ ระพทุ ธรูปท่ีมีความสงบรม ร่นื สามารถมองเห็นววิ ทิวทศั นไดโ ดยรอบ ทกุ ปจะมี พุทธศาสนิกชนรว มทาํ บุญตักบาตรเทโวโรหณะในวันออกพรรษา โดยจะมีพระภกิ ษุ เดินลงมาจากวดั พุทธาวาส ซง่ึ ต้ังอยูภเู ขาภสู ิงหเ พือ่ มารอรบั บิณฑบาตจาก พุทธศาสนกิ ชนท่ัวไป

วัดโพธ์ิชยั เสมาราม (Wat Pho Chai Semaram) สถานท่ีตั้ง : อําเภอกมลาไสย เรยี กอีกอยา งวา วดั บา นกอม ตั้งอยบู า นเสมาตรงขามกบั ทางเขาเมืองฟา แดดสงยางและ ไมไกลจากพระธาตุยาคู เปนวัดเกาแกท่ีมีใบเสมาหนิ ทถ่ี ูกทําขึน้ ในชวงสมัยทวารวดซี ่ึงถือ เปนเอกลักษณแ ละจดุ เดนทีน่ าสนใจของอสี าน นนั่ คอื นิยมแกะสลกั ภาพเลา เรอื่ งราว พทุ ธประวตั ิและชาดก มีใบเสมาจาํ ลองหลักทีง่ ดงามและสมบูรณท ี่สดุ

วัดสักกะวัน (Wat Sakkawan) สถานที่ตัง้ : อาํ เภอสหัสขันธ ตง้ั อยทู เ่ี ชงิ ภกู ุมขา ว สามารถเดนิ ทางโดยใชเ สนทางกาฬสนิ ธ-ุ สหสั ขนั ธ (เสนทางหลวง หมายเลข 227) เปน สถานทีค่ น พบกระดกู ไดโนเสารจ ํานวนมาก โดยซากกระดกู บางสว นไดนาํ มาจัดแสดงทีศ่ าลาวดั มีการจดั นิทรรศการแสดงความเปนมาของการ เกิดไดโนเสารยุคตา งๆ รวมท้ังรูปภาพการขดุ คน พบซากกระดกู เหลานี้

วนอุทยานภพู ระ แหลงทองเท่ียวเชงิ ธรรมชาติที่ไดรับความนิยมจากนักทองเท่ยี วท่ชี ื่นชอบธรรมชาติ ตงั้ อยู ในเขตปา สงวนแหงชาตดิ งมูล อดุ มสมบูรณดวยพรรณไม ภูเขา สตั วปา และลําธารที่ สวยงาม ขณะเดียวกนั พนื้ ทร่ี าบดางหลงั ภูเขาเปน ทปี่ ระดิษฐานพระพุทธรปู เกา แก และ สาํ นกั สงฆท ่ปี ระชาชนใหความเคารพนบั ถือ ภายในมีสถานท่ีทอ งเที่ยวทน่ี าสนใจอยูไมนอ ย ไดแก \"ผาสวย\" ลานหนิ ผากวา ง เหมาะสาํ หรับเปนท่ีชมวิวทวิ ทัศน \"ถ้าํ เสียมสบั \" ถา้ํ หินผาท่ี มีลกั ษณะคลายเสียมท่ีขดุ ลงหนิ \"ผาหนิ แยก\" หนาผาทีม่ ลี กั ษณะเอนเอียง เปนทีส่ ําหรับชม ววิ ทวิ ทัศน \"ถ้าํ พระ\" ภายในประดิษฐานพระพทุ ธรปู ซ่ึงในชวงสงกรานตจ ะมีประชาชนขึน้ ไปสรงนํา้ พระเปนประจาํ ทุกป เปนตน

วดั วังคํา วดั วงั คาํ ตัง้ อยทู บี่ านนาวี อาํ เภอเขาวง จงั หวัดกาฬสินธุ ถอื เปน อีกหนงึ่ แลนดม ารก ทีต่ อ งมาเยือน เมื่อมาเที่ยวกาฬสนิ ธุ เพราะเปนโบราณสถานท่งี ดงามดวยสถาปต ยกรรมแบบลา นชา ง ไดรับอิทธพิ ล ตนแบบจากวัดเชยี งของ หลวงพระบาง ประเทศลาว ภายในมสี ถานทสี่ ําคญั ไดแก หอสวดมนต สมิ ไทเมิงวัง อุบมุง พระธาตเุ จา กู เฮนิ เยอ และอาฮามไทเมงิ บก เปนตน ซึง่ การเขา มาเยย่ี มชม นักทอ งเท่ยี วตอ งแตง กายใหส ภุ าพ ผูห ญิงไมควรนุงสน้ั และแนะนําวาใหล องไปเที่ยวชว งเยน็ ๆ รบั รองวา คุณจะตอ งท่ึงกบั ความสวยงามทางสถาปตยกรรมและวถิ ีชวี ิตท่ีแสนเรยี บงา ยของชาวภูไท ดรู ายละเอียดเพ่ิมเติมไดท ี่ เฟซบกุ วดั วงั คาํ เขาวง กาฬสินธุ ວັ ດວັ ງໍຄາ ເົຂາວົ ງ ກາຣະ ິສນ

อนสุ าวรยี  (Monument)

อนุสาวรียพ ระยาชยั สนุ ทร (Phraya Chaiyasunthon Monument Thao Somphamit) อนุสาวรียพระยาชัยสุนทรสถานทต่ี ง้ั : อําเภอเมอื ง อนุสาวรยี พ ระยาชยั สุนทร ต้งั อยหู นา ท่ที าํ การไปรษณยี โทรเลข จงั หวดั กาฬสินธุ เปน อนสุ าวรยี หลอ ดวยสัมฤทธ์เิ ทาตวั จรงิ ยืนบนแทน มอื ขวาถือกาน้ํา มอี ซา ยถอื ดาบอาญาสิทธ์ิ ชาวกาฬสนิ ธไุ ดท าํ การ บริจาคเงินสาํ หรับทาํ การกอ สรางอนุสาวรยี  เพื่อเปน การแสดงกตเวทิตาคุณตอผใู หก ําเนิดเมอื ง กาฬสินธุ

ศนู ยจดั แสดงนิทรรศการ (Exhibition Centre)

ศูนยส งเสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรมและการทอ งเท่ียว (Culture & Tourism Promotion Center) สถานทตี่ งั้ : อําเภอเมือง ตั้งอยูในโรงพยาบาลธีรวฒั น เปนแหลง ใหข อมูลและความรแู กผูท ีส่ นใจดานศลิ ปวัฒนธรรมพื้นบาน ของกาฬสนิ ธุ จดั แสดงวถิ คี วามเปนอยูของชาวบานในทองถน่ิ และในภาคอีสานพรอมท้งั จําหนา ย สินคา พน้ื เมอื งของกาฬสนิ ธุอ ยา งเชน ผา แพรวา กะเตาะหรอื เครอ่ื งดนตรพี ้นื เมอื งอีสาน สําหรับผทู ่ี จะเขา ไปชมเปน หมคู ณะและตอ งการผบู รรยาย กรณุ าติดตอ ลว งหนา ไดที่ ผอู าํ นวยการโรงพยาบาล ธีรวัฒน เลขที่ 269/3 ถนนชนะพล อําเภอเมอื ง จังหวดั กาฬสนิ ธุ 46000 ติดตอ สอบถามขอมลู เพ่ิมเติมไดท ่ี : 0 4381 1757

พิพิธภณั ฑส ริ นิ ธร ฟอสซลิ ไดโนเสารภูกมุ ขา ว (Sirindhorn Museum and Phu Kum Khao Dinosaur Excavation Site) พิพิธภณั ฑสริ นิ ธรสถานที่ต้งั : อําเภอสหสั ขนั ธ อยูทศ่ี าลากลางจงั หวดั กาฬสินธุ ซึ่งเดิมผูว าราชการจงั หวดั กาฬสินธุ (นายชัยรัตน มาปราณตี ) ไดจ ัดต้งั ข้ึน เพือ่ ใหเปน ศูนยร วมของดีเมอื งกาฬสินธุ จดั เปน หอ งบรรยายสรุป หอ งเจา เมือง หองศาสนา หอ งเฉลิมพระ เกียรติสมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ หองวิถชี ีวิตความเปนอยชู าวผูไ ทย หองวจิ ิตรแพรวา หอง ศึกษาคนควาเรอ่ื งหัตถกรรม หอ งสาธิตจาํ หนา ยผาไหมแพรวา และของทรี่ ะลึกพ้ืนเมอื ง โดยเปด ให นักทองเท่ียวและผสู นใจเขาชมทุกวนั จนั ทร-ศุกร เวลา 08.30–16.30 น. สอบถามรายละเอยี ดเพ่มิ เติมไดที่ : 0 4381 1695 พิพิธภัณฑน ้ีมีชือ่ วา \"พิพธิ ภณั พส ิรินธร\" อาคารสองชั้นภายในจดั เปน ทางเดินแนะนําไดโนเสารพันสายพันธุ ตา งๆ ในยคุ ลานปกอ น ชวงระยะเวลามหายคุ โพรทโี รโซอิก (Proterozoic Era) กาํ เนดิ สัตวชนิดแรกบนโลก เปนสตั วเซลลเ ดยี วเรียกวา โปรโตซัว และอโุ มงคจดั แสดงนทิ รรศการตา งๆ เกย่ี วกับธรณวี ิทยาตงั้ แต จุดเริม่ ตนของการเกิดโลก และวิวฒั นาการของสัตวโ ลกดกึ ดาํ บรรพเชน ไดโนเสาร มนษุ ยยคุ หินเปนตน

พพิ ิธภณั ฑ (Museum)

พิพธิ ภัณฑข องดีเมอื งกาฬสนิ ธุ (Kalasin Museum) สถานทีต่ ั้ง : อาํ เภอเมือง ตง้ั อยูทศี่ าลากลางจงั หวดั กาฬสินธุ ซึ่งเดมิ ผวู า ราชการจังหวัดกาฬสนิ ธุ (นายชัยรตั น มาปราณตี ) ได จัดต้ังขึ้นเพื่อใหเปนศูนยรวมของดีเมืองกาฬสนิ ธุ จดั เปน หองบรรยายสรปุ หองเจา เมือง หอ งศาสนา หอ งเฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ หอ งวถิ ีชีวติ ความเปน อยชู าวผไู ทย หอง วจิ ติ รแพรวา หองศึกษาคนควาเรอ่ื งหตั ถกรรม หอ งสาธิตจําหนายผา ไหมแพรวา และของทร่ี ะลึก พื้นเมอื ง โดยเปดใหน ักทอ งเทย่ี วและผูสนใจเขา ชมทุกวันจันทร-ศุกร เวลา 08.30–16.30 น. ตดิ ตอ สอบถามเพิ่มเตมิ ไดท่ี : 0 4381 1695

สวนสาธารณะและอุทยาน (Park & National Park)

วนอทุ ยานภูแฝก (Phu Faek Forest Park) สถานทีต่ งั้ : อําเภอยางตลาด และอําเภอทา คันโท ตัง้ อยหู มู 6 บานนาํ้ คํา ตาํ บลภูแลนชา ง ลกั ษณะภมู ิประเทศเปน ภูเขาสลบั กับเนินเขาไมสงู นัก สภาพ ปาเปน ปา เตง็ รงั มพี ันธุไมชนดิ ตาง ๆ เชน ไมมะคาโมง ไมเต็ง ไมรัง ไมป ระดู และมีสัตวปาที่พบเหน็ ได งา ย เชน กระรอก กระแต อีเหน็ กระตา ยปา เปน ตน เม่อื เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2539 เด็กหญงิ สอง คนพรอมดว ยผปู กครองไปทานขาวในวันหยุด ไดพบรอยเทา ประหลาดกลางลานหินลาํ หว ยเหงา ดู เชิง เขาภแู ฝก บริเวณเทือกเขาภพู าน หลงั จากนน้ั ไดแจงใหเ จาหนา ทน่ี ักธรณวี ิทยาพรอ มดว ยสว นราชการ และเอกชนในจังหวัดกาฬสนิ ธุ ไดเดนิ ทางไปสาํ รวจจงึ พบวาเปนรอยเทาไดโนเสาร ประเภทเทอรโ ร พอด 7 รอย จดั อยูในกลุมคารโ นซอรชนิดกนิ เนือ้ อายปุ ระมาณ 140 ลานป ปจจุบนั นั้นเหน็ ชดั เจน เพยี ง 4 รอย การเดนิ ทาง จากอาํ เภอเมอื ง ใชเ สนทางไปอําเภอสมเด็จ (ทางหลวงหมายเลข 213) ถึงอําเภอสมเด็จ เล้ยี วขวาเขา เสนทางไปอาํ เภอกฉุ นิ ารายณ (ทางหลวงหมายเลข 2042) ประมาณ 20 กิโลเมตร ถงึ อําเภอหว ยผง้ึ เล้ยี วซา ยไปก่งิ อําเภอนาคู (ทางหลวงหมายเลข 2101) ระยะทางประมาณ 10 กโิ ลเมตร แลวเล้ียวซา ยเขา วนอุทยานภูแฝกประมาณ 4.7 กิโลเมตร

แหลง ทอ งเที่ยวทางธรรมชาติ (Natural Attractions)

เข่อื นลาํ ปาว (Lam Pao Dam) หนงึ่ ในสถานทท่ี อ งเที่ยวที่มชี อ่ื เสียงแหง หน่งึ ในจงั หวัดกาฬสนิ ธุ มลี ักษณะเปนเขื่อนดนิ ที่สรา งขนึ้ เพอื่ บรรเทาอทุ กภยั และเพื่อการเกษตรของชาวบา น ปจจบุ ันเข่อื นลําปาวไดพ ฒั นาเปน แหลง ทองเทย่ี ว เปน แหลงเพาะพันธุปลา และสถานท่พี กั ผอนหยอ นใจ มีธรรมชาติและสายนํ้าทีส่ วยงาม ขณะเดยี วกันบริเวณอาคารผนั นา้ํ เข่อื นลําปาว ยงั มีรา นคา ท่ีคอยใหบรกิ ารอาหารแกน ักทอ งเที่ยว หลากหมายเมนู ทัง้ กงุ เผา ปลาเผา ซ่งึ เปน วัตถุดบิ สด ๆ จากเกษตรกรในพ้ืนที่ นกั ทอ งเทีย่ ว สามารถส่ังมาทานไดอ ยางจใุ จ นอกจากนบ้ี ริเวณริมฝงของเข่ือนลําปาวยงั มี \"หาดดอกเกด\" ชายหาดดนิ ทเี่ ปรยี บเสมอื นเปน สวรรคชายหาดของคนกาฬสินธทุ ีเดยี ว

ซากฟอสซิลไดโนเสารสถานทต่ี ง้ั : อําเภอยางตลาด อาํ เภอสหัสขันธ และอําเภอคาํ มวง เขา สูเสนทางทางหลวงหมายเลข 209 (กาฬสนิ ธุ-มหาสารคาม) ตรงหลักกิโลเมตรท่ี 10 แยกขวามอื เขา เขอ่ื นลําปาวตามถนนลาดยาง 26 กโิ ลเมตร เปนเขื่อนดินสงู จาก ระดบั น้ําทะเล 33 เมตร และสนั เขอื่ นยาว 7.8 เมตร เพ่อื ปด กนั้ ลาํ นํ้าปาวและหวยยาง อา งเกบ็ นํา้ แฝดทางซงึ่ อยูทางดา นเหนอื ถูกสรางขึ้นเพือ่ บรรเทาอทุ กภัยและเพ่ือ การเกษตรโดยเฉพาะ และตามทะเลชายหาดเปนจุดสําหรบั การพกั ผอ นหยอ นใจ

พิพธิ ภัณฑสริ นิ ธร พพิ ธิ ภัณฑไ ดโนเสารท ่ีดที ่ีสดุ ในอาเซียน ภายในอาคารจดั แสดงเปนนิทรรศการถาวร นาํ เสนอ เรอื่ งราวของไดโนเสารไดอยางนา ตื่นเตน ครบรส ผา นเทคโนโลยีการนําเสนอที่ทันสมัย นาจะ เปน ที่ถกู อกถกู ใจของเหลาเดก็ ๆ ท่ตี อ งการชมชวี ติ และความเปน อยขู องสตั วโ ลกดึกดาํ บรรพ ชนดิ น้ี เพราะเพยี งแคกาวแรกท่ีคณุ เขา มาในพพิ ิธภณั ฑ คณุ จะไดพบกับหุนจาํ ลองไดโนเสาร \"สยามโมไทรันนสั อสิ านเอนซสิ \" ทยี่ ืนโดดเดน แยกเข้ียวอา ปากกวา ง มหี อ งแสดงฟอสซลิ จําลอง ทีพ่ บในสถานท่ีตา ง ๆ ทั่วโลก โครงกระดูกไดโนเสารที่พบในกาฬสนิ ธุ ในสภาพท่สี มบูรณทั้งตวั

สถานพี ฒั นาและสง เสรมิ การอนุรกั ษส ัตวป า ลาํ ปาว หรอื สวนสะออน (Lam Pao Wild Life Park or Sa-on Park) สถานทตี่ ง้ั : อําเภอยางตลาดและอําเภอทาคนั โท สถานีพฒั นาและสง เสรมิ การอนรุ ักษส ตั วปา ลาํ ปาว หรือ สวนสะออนอยูใ กลกับอา งเกบ็ นาํ้ เขอ่ื นลาํ ปาว มีเน้อื ท่ี 1,420 ไร มีสภาพเปน ปาเต็งรงั หรือปาแดงท่ีคอ นขางสมบูรณ มีสัตวหา ยากท่ีอยูมากกวา 130 ตวั ไดแก ชะนี ลิง นกชนดิ ตาง ๆ ทั้งทเ่ี ล้ยี งไวและนกที่มาตามฤดูกาล สวนสะออนเปด ใหเขาชมทุกวัน ตั้งแตเวลา 07.00-18.00 น. การใชบา นพักของสถานฯี และ ตัง้ แคมปพกั แรมตองขออนญุ าตเจา หนาท่ีสถานีฯ หรอื ทําจดหมายขออนญุ าตลว งหนา สง ไปท่ี สถานพี ัฒนาและสง เสรมิ การอนุรกั ษสตั วปาลําปาว ตู ป.ณ. 120 อาํ เภอเมอื ง จังหวัดกาฬสินธุ 46000 หรอื ผอู ํานวยการสาํ นัก ตดิ ตอสอบถามขอ มูลเพิม่ เติมไดท ่ี : 0 2562 0760 การเดนิ ทาง การเดนิ ทาง มี 2 สองเสน ทาง คอื เสนทางไปเขื่อนลําปาว เม่อื ถงึ ตัวเข่อื นจะมี ทางเลยี บสนั เขอื่ นไปอกี ประมาณ 4 กิโลเมตร หรอื ใชเ สน ทางกาฬสินธุ-สหัสขันธ (ทางหลวง หมายเลข 227) ประมาณ 19 กโิ ลเมตร จะมที างแยกซา ยไปสวนสะออนอกี ประมาณ 5 กโิ ลเมตร

พระพทุ ธไสยาสนถํ้าภคู า ว (Phu Khao Cave Reclinging Buddha) สถานท่ีตงั้ : อาํ เภอสหัสขันธ พระพุทธไสยาสนถ าํ้ ภูคา ว อยทู บี่ า นนาสีนวล ตาํ บลโนนศลิ า หา งจากตลาดสหสั ขนั ธ ประมาณ 6 กโิ ลเมตร บริเวณถา้ํ ภคู าว แตเ ดิมเปน สถานท่สี ําคญั ทางศาสนาแหงหนง่ึ ปจ จุบนั เปน เพยี งวดั เล็กๆ เปน ท่ปี ระดิษฐานพระพุทธไสยาสนภ ูคาว ซึ่งเปน พระพทุ ธรปู ทแี่ ปลกจากพระนอนทั่วไปคือ แทนท่ี พระไสยาสนต ะแคงขวา แตกลบั ไสยาสนตะแคงซา ย มตี ํานานไดก ลาวไวว าพระพทุ ธไสยาสนสรางมา ตงั้ แตชวง 1,300-1,500 ปม าแลว และเปน ที่เคารพของชาวบา นท่วั ไป มีงานนมสั การปด ทองในวัน ตรุษสงกรานตทกุ ป

พุทธสถานภูสิงห (Phu Sing Buddhistic Significance) สถานทีต่ ง้ั : อําเภอสหัสขันธ อยูบนยอดเขาภูสงิ ห หา งจากอาํ เภอเมอื งประมาณ 34 กโิ ลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 227 พทุ ธสถานภูสงิ หส ามารถข้ึนได 2 ทางคือ ทางทศิ ตะวันตกจะเปน ทางลาดยางคดเคีย้ วขน้ึ ตามไหล เขาและทางทศิ ตะวนั ออกเปนทางขน้ึ บนั ได 400 กวา ข้ัน เปนสถานทีพ่ ักผอ นท่ีรม รนื่ ลอ มรอบดวย ธรรมชาติ ท้ังยงั มองเหน็ ทิวทัศนของทงุ นา หมูบ า นและน้าํ ในเข่ือนลําปาวอนั สวยงาม พทุ ธสถานภู สงิ หเ ปนทป่ี ระดษิ ฐานพระพรหมภูมปิ าโล ซ่ึงเปนพระพทุ ธรูปปางมารวชิ ัย หนาตักกวา ง 10.5 เมตร มลี ักษณะงดงาม

น้าํ ตกแกงกะอาม (Kaeng Ka-Am Waterfall) สถานทีต่ ง้ั : อาํ เภอสมเด็จ ไปตามเสน้ ทางกาฬสินธ-ุ์ สกลนคร (ทางหลวงหมายเลข 213) แลว้ เลีย้ วซา้ ยเขา้ ไปอีก 300 เมตร เป็นนา้ํ ตกขนาดเล็ก มีแก่งหนิ เรยี งรายเป็นแนวยาว มีลานหินกวา้ งเหมาะแก่การพกั ผ่อน

น้าํ ตกผาเสวย (Pha Sawoei Waterfall) สถานที่ต้ัง : อาํ เภอสมเด็จ อยบู นเทอื กเขาภูพาน เขตบา นแกง กะอาม ตาํ บลผาเสวย อําเภอสมเด็จ หา งจากทว่ี า การอําเภอสมเดจ็ 17 กิโลเมตร เดมิ ชาวบานเรยี กวา \"ผารงั แรง \" เม่อื ป พ.ศ. 2497 พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั และ สมเดจ็ พระนางเจาฯ พระบรมราชนิ นี าถ ไดเสดจ็ ผา นและเสวยพระกระยาหารกลางวนั จึงเรียกที่ ประทบั น้นั วา \"ผาเสวย\" ลกั ษณะตั้งอยูบนเหวลึก หนา ผาสูงชัน ชาวบา นเรยี กวา \"เหวหาํ หด\" บนหนา ผา เสวยสามารถชมทศั นยี ภาพและเปน ท่ีพักผอนไดเปนอยางดี

ภูผาผ้ึง (Phu Pha Phueng) สถานทีต่ ง้ั : อําเภอกฉุ ินารายณ ตั้งอยูท่บี านกุดหวา จงั หวดั กาฬสนิ ธุ เปนหนาผาสงู ประมาณ 400 เมตร ซึ่งในอดตี เคยมผี ้ึงมาทาํ รังเกาะอยูเต็มหนาผาแหง น้ี แตเ น่อื งจากการตผี ้ึง เพอื่ เอาผึ้งและรวงผ้ึงไปขายของชาวบา น บริเวณน้ัน เปนไปในรปู แบบลางเผา พนั ธไุ ปดว ย และเมอ่ื ปาไมถูกทาํ ลายระบบนเิ วศนก็ เปลย่ี นแปลงไป ไมม ดี อกไมอนั อุดมใหผงึ้ ไดก นิ ไดส รางครอบครัวอกี ตอ ไป ปจ จุบนั น้ภี ูผาผึง้ จงึ เหลอื เพยี งตํานานท่เี ลาขานเพ่ือช้ีชวนใหชมรอยเวารอยบมุ ของหนิ ผา ซง่ึ รวงผ้ึงเคยเกาะอยู เทา นั้น

นํา้ ตกตาดสงู และนํ้าตกตาดยาว (Tat Sung and Tat Yang Waterfall) สถานทีต่ ้งั : อาํ เภอกฉุ นิ ารายณ น้ําตกที่นสี่ วยงามมาก ลักษณะเดน คอื เปนลานหนิ ขนาดกวา งลาดเอยี งตามธรรมชาติ ชาวบานเรยี ก อกี ช่อื หน่งึ วา \"นาํ้ ตกสไลเดอร\" และนา้ํ ตกตาดยาวนจี้ ะไหลไปรวมกันกับน้ําตกตาดสงู ในทีส่ ุด

นํ้าตกผานางคอย (Pha Nang Khoi Waterfall) สถานท่ตี ง้ั : อาํ เภอเขาวง อยูทีต่ าํ บลบอแกว เปน นํา้ ตกขนาดใหญไ หลมาจากเทอื กเขาภูพาน แบง เปนชั้นๆ มคี วามสวยงาม มาก สภาพปา โดยรอบเขียวขจีอดุ มสมบูรณ มนี าํ้ ไหลตลอดปแ มใ นฤดแู ลง

นาํ้ ตกตาดทอง (Namtok Tat Thong) สถานท่ตี ง้ั : อําเภอเขาวง อยูในเขตอาํ เภอเขาวง บนเสนทาง เขาวงดงหลวง-มุกดาหาร เปนนา้ํ ตกที่มคี วามสวยงาม ดวยโขดหินสลบั ซบั ซอ น ในฤดฝู นจะเปนชว งท่สี วยงามที่สุด นาํ้ ตกตาดทองจะจดั ใหมงี าน ขน้ึ ทุกๆ ป ในชว งเดือนตุลาคม รถยนตส ามารถเดนิ ทางเขาถงึ นํ้าตกไดโดยสะดวก

แหลงทอ งเท่ยี วอ่นื ๆ (Other Attractions)

กลุมทอผาไหมแพรวาบา นโพน (Ban Phon Phrae Wa Silk ) ศูนยส ง เสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรมและการทอ งเทีย่ วสถาน ที่ตั้ง : อาํ เภอสหัสขันธ และอาํ เภอคาํ มวง ต้ังอยูห า งจากจังหวดั กาฬสนิ ธุ 70 กิโลเมตร โดยใชเสนทางหลวงหมายเลข 227 มีชอ่ื เสยี งดาน ผาแพรวาทอท่ีสวยงาม เปน งานฝมอื ทอผา ของชาวผไู ทย ทีอ่ พยพมาจากเวยี ดนาม ซ่งึ ผาแพร วาทอจากผาไหมดวยลายมัดหมลี่ ะเอียดลายเฉพาะตวั ลักษณะลายผาแบงออกเปน 2 กลุม ไดแ ก ลายหลัก (ลายใหญ) และลายแถบ (ลายริว้ ) สวนสขี องผา แพรวามิไดมีเพยี งสแี ดงเทานั้น ปจ จุบันน้มี ีการใหสตี างๆ มากขึน้ ตามความตองการของตลาด เชน สคี รมี สีชมพูออน สีมว ง สี นาํ้ เงิน สีเขียวเปนตน นบั ไดว า การทอผาแพรวาเปน งานศลิ ปหัตถกรรมประเภทสิ่งทอท่หี าได นอยแหงในประเทศไทย ซ่ึงตอ มาสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชนิ นี าถทรงสนับสนุนจนเปน ท่ีแพรหลายจนถงึ ปจจบุ ัน

หมูบา นวฒั นธรรมผไู ทยโคกโกง (Ban Khok Kong Phu-Thai Village ) สถานทต่ี ้งั : อาํ เภอกฉุ นิ ารายณ เปนหมบู า นท่ีมกี ารอนุรกั ษวฒั นธรรมชาวผไู ทย เปดตอนรับนกั ทอ งเทีย่ วทีส่ นใจทอ งเที่ยวเชงิ อนุรักษ ไดพักแรมและสัมผสั วิถชี ีวติ ชาวบา น รบั ประทานอาหารพื้นบานแบบพาแลง (อาหารแบบดงั้ เดิมของ ลาวและอาหารตะวนั ตกใหเลือกมากมาย) ชมการแสดงศิลปพนื้ บา น การเตนโดยเดก็ การราํ พื้นบาน เพลงประจําหมบู า น จดั แสดงและสอนการทอผาและการหัตถกรรม นอกจากนี้ สามารถเดนิ ทางไปชม น้าํ ตกและลาํ ธารได

ศูนยห ัตถกรรมผไู ทยหนองหาง (Phu Thai Nong Hang Handicraft Centre) สถานท่ีตั้ง : อาํ เภอกฉุ ินารายณ อยูบริเวณตําบลหนองหา ง หา งจากตวั อาํ เภอกฉุ นิ ารายณ ประมาณ 10 กิโลเมตร โดยใชเสนทางหลวง หมายเลข 2042 ประมาณ 2 กโิ ลเมตร หลังจากนัน้ เลยี้ วซายเขาถนนลาดยางประมาณ 6 กิโลเมตร ชาวบา นบานหนองหา งมกี ารรวมกลุมกนั ทอผา ฝาย ผาไหม และจกั สานไมไผ เปนลวดลายผาขดิ ฝมอื ประณีตสวยงามมาก ผลิตภัณฑอ ยางเชน ไดแ ก กระเตาะ กระตบ๊ิ กระเปาและภาชนะตางๆ

บรรณานุกรม http://www.sawadee.co.th/isan/kalasin/attractions.html https://travel.kapook.com/view141251.html https://th.tripadvisor.com/Attractions-g2098284-Activities-Kalasin_Province.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook