Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 2 PLC ให้มีนวัตกรรมบูรณาการ

เล่มที่ 2 PLC ให้มีนวัตกรรมบูรณาการ

Published by กฤษณะ มั่งมี, 2018-10-18 05:36:01

Description: เล่มที่ 2 PLC ให้มีนวัตกรรมบูรณาการ

Search

Read the Text Version

PLC ใหม้ นี วัตกรรม การจักดากราจรัดกเราียรเนรยีรนู้บรูรบู้ ณรู ณาากกาารรสสู่ผู่ผลลลพั ลธัพ์ Tธh์ aTilahnadila4n.0d 14.0 คานา เอกสาร PLC : Professional Learning Community ให้มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้บูรณาการสู่ผลลัพธ์ Thailand 4.0 ฉบับน้ี ผู้เรียบเรียง ดร.นัตยา หล้าทูนธีรกุลศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานศึกษาธิการจงั หวัดขอนแก่น ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มงานนิเทศการศึกษา และรับผดิ ชอบงานขบั เคลือ่ นนโยบาย : การพัฒนาครูท้ังระบบ ได้ศึกษา วิเคราะห์หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารใหข้ ้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู มีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะตามหนังสือสานกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 21 ลงวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560เชื่อมโยงกับศาสตร์และศิลป์ความเป็นครู (Pedagogical Content Knowledge : PCK)หลากหลายด้านหลอมรวมเปน็ สาระสาคัญท่ีครูควรรู้และนาไปปฏิบัติได้ เพ่ือให้ครูได้ใช้ศึกษาความรเู้ พม่ิ เติม สาหรบั การนานโยบายส่กู ารปฏบิ ัติให้เกิดคุณภาพสงู สุด การขบั เคล่อื นจดุ เนน้ การปฏิรปู การศึกษา 6 ยทุ ธศาสตร์ ของกระทรวงศึกษาธิการยุทธศาสตร์ท่ี 1 ด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ และยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการผลิตพัฒนากาลังคนและงานวิจัยทีส่ อดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใชใ้ นการอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ครูในนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การจัดการเรียนรู้บูรณาการ แนว Active Learning กับ แนว STEM Education และการจัดการเรียนรู้ภายใต้กรอบแนวคิด Thailand 4.0 โดยนากระบวนการของ PLC :Professional Learning Community สู่สถานศึกษา ผ่านภาระงานของครูผู้สอนในการออกแบบหน่วยการเรยี นรู้และการจัดการเรียนรู้สู่คณุ ภาพผูเ้ รียน ยคุ Thailand 4.0 ผเู้ รียบเรียง หวังเป็นอยา่ งยงิ่ วา่ เอกสาร ชุดน้ี จะช่วยส่งเสริมให้ครูผู้สอน สามารถประยุกต์ใช้ความรู้สู่การพัฒนางานในวิชาชีพครู ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ได้อย่างมีคณุ ภาพ พรอ้ มเช่ือมโยงผลงานอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่สู่วิทยฐานะแนวใหม่(ว21/2560)ได้อยา่ งสอดคล้อง สมดุล อนั จะส่งผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาในภาพรวมตอ่ ไป ดร.นตั ยา หล้าทนู ธรี กุล ศึกษานิเทศก์ สงั กัดสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดขอนแก่น ผ้เู รยี บเรยี ง 1

PLCPLC ให้มนี วัตใหก้มรรนี มวัตกรรม การจัดการเรยี นร้บู ูรณาการสผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 2สารบญัเนือ้ หา หนา้คานา 1สารบญั 2ตอนท่ี 1 ความหมาย PLC : Professional Learning Community 3ตอนที่ 2 ปัญหาคณุ ภาพผู้เรียน “จดุ เรม่ิ ตน้ ของการทา PLC” 5ตอนท่ี 3 องคป์ ระกอบพนื้ ฐานการจัดการเรยี นรู้ 7ตอนที่ 4 Active Learning กับการออกแบบนวตั กรรมการสอน 9ตอนท่ี 5 หนว่ ยการเรียนรบู้ ูรณาการสู่ผลลัพธ์ Thailand 4.0 20ตอนที่ 6 การวิจัยเพอ่ื แกป้ ัญหาคุณภาพผ้เู รยี น 30เอกสารอ้างอิง 31ประวัตผิ ู้เขียน/วิทยากร 322

PLC ใหม้ นี วัตกรรม การจัดกากราจรัดเกราียรเนรรยี ูน้บรูรู้บณูรณาากกาารรสสูผู่่ผลลลพัลัธพ์ Tธh์ aTilhanadila4n.0d 43 .0 ตอนที่ 1ความหมาย PLC : Professional Learning Community Professional Learning Community (PLC) ตรงกับข้อความในภาษาไทย ว่าชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีความหมายตรงกับเหตุการณ์ว่า “เกิดการรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกัน ในการช่วยเหลือ แนะนา ให้กาลังใจกัน ของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษาในโรงเรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เกิดผลดีมีคุณภาพในยุคศตวรรษที่ 21 :Teachers, administrators, teacher educators, and communities seeking adviceand motivation for restructuring schools for the 21st century would be welladvised to consult this work.\" (Sergiovanni,1994) ความหมาย Professional Learning Community (PLC) ในองค์กรระดับโรงเรียนท่ีนาเสนอมาน้ัน เมื่อพิจารณารูปแบบ (Model) ของ Hiatt-Michael, D. (Ed.). (2001)เราจะเหน็ ภาพของกระบวนการ PLC ไดล้ ึกซ้ึง ชดั เจน ดงั ภาพ 3

PLCPLC ให้มีนวัตใหกม้ รรีนมวัตกรรม การจดั การเรียนร้บู รู ณาการสผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 4 ดังนั้น PLC (Professional Learning Community) จาเป็นต้องมีระบบ เนื่องจากเปน็ นวตั กรรมองคก์ รที่จะต้องเกิดความต่อเนื่อง เช่น กรณีตัวอย่างของสถานศึกษาแห่งหนึ่งที่มีความต้องการจาเป็นให้เกิด “ระบบ PLC ให้ทีมครูจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยใช้STEM Education เพ่อื พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ยุค Thailand 4.0” มีกรอบแนวคดิ ดงั นี้ ปัจจัยของPLC กระบวนการของPLCวนิ ยั 5 ประการ ของบุคลากรในโรงเรยี น ขน้ั ตอนที่ 1 Community1. ความรอบรแู้ หง่ ตน (Personal Mastery) สร้างทมี ครบู รู ณาการ STEM Education2. แบบแผนความคดิ อ่าน (Mental Models)3. วิสยั ทัศนร์ ่วม (Shared Vision) ข้นั ตอนท่ี 2 Practice4. การเรยี นรู้ของทีม (Team Learning) จดั การเรียนรบู้ รู ณาการ STEM Education5. การคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ ขัน้ ตอนท่ี 3 Reflection สะทอ้ นคดิ เพอื่ การพฒั นาการปฏิบัติ (Systematic Thinking) ขนั้ ตอนที่ 4 Evaluation ประเมินเพอื่ การพฒั นาสมรรถนะครู Senge (1990) ขน้ั ตอนท่ี 5 Network Development สร้างเครอื ขา่ ยการพฒั นา ผลลพั ธ์ของPLC คุณภาพผเู้ รยี นยุค Thailand 4.0 ผลผลติ ของPLC ครูมีนวตั กรรมการสอนและมสี มรรถนะ ในการจดั การเรียนรู้ บรู ณาการ STEM Education-คิดเองได้-ทาเองได้-ผลิตผลงานอยา่ งสร้างสรรค์ได้ 4

PLC ใหม้ นี วัตกรรม การจัดกการาจรดั เรกีายรนเรรียู้บนูรรบู้ ณรู ณากากาารรสสูู่ผ่ผลลลลพั ัพธ์ ธT์hTaihlaanidla4n.0d 45.0 ตอนที่ 2 ปัญหาคุณภาพผู้เรยี น “จุดเริ่มต้นของการทา PLC”ปัญหาคุณภาพผู้เรียน คือ ปัญหาผู้เรียนไม่บรรลุมาตรฐานและตัวชี้วัดช้ันปีของหลักสูตรกาหนด ยกตัวอยา่ ง หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 มีมาตรฐานและตัวช้ีวัดชั้นปีที่เกี่ยวข้องกบั การประเมินท่ีเปน็ รูปธรรม ในสว่ นทเี่ ปน็ ปัญหาของผู้เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ในชว่ งเวลา 3 เดือนแรก ของปีการศึกษา ดังน้ีมมาาตตรรฐฐาานน ทท 11..11 แใทใทแชชก1ก1ก้้กป้..้ป1ร1รญััญะะปปบหบห..ว1า1วานใ//ในนน11กกกกาออาราา่า่ารอรรนนอดด่าออ่นาา�ำ อนเอเสนนกกรสินินเา้เรสสชงช้าียควีียีวงงิตวงิตคคาค วาม ำ�แาแ รคลมคลูแ้ าะระ�ำลคมู้แคมะลีนลลนีคอ้ิสอ้ะวิสงัยางคยัจรจมวรอกัอคาักงกงิดมกาแเคาแรพลริลดอะอ่ือะ่าเขนพ่านข้อานื่อ้อคไปคนววใำา�ชามไต้ปมสดัสใั้นชสนั้ๆ้ตนิ ๆัดใจสินใจ ตตวัวั ชชีว้ีว้ ัดัดชช้ันั้นปปีี มาตรฐาน ท 2.11 ใชก้ ระบวนการเขยี นนเเขยี ยี นนสสื่ออื่ สสาารรเเขียยนนเเรรยี ียงงคคววาามมยยอ่ อ่ คคววาามมแแลละะเเขขยี ยี นน ก กเททเรารา22่อืรือ่ร.ศ.ง11งศรึกรึกาปปษาษวว..า11ใใาคนน//คน้22รร้นคูปูปเเควขขแแวา้ียยีบบ้าอนนบบอยสสตตย่า่อือ่ื ง่าา่า่ สสมงงงๆามๆาปี รรปีรดดเะรข้วเ้วสะขยียยทิสยี นคคิทธนาร�ำภิธรแาแาิภายลลยพางะะงพาปาปนรนรขะขะอ้โอ้โยมยมคลูคูลงสง่าสา่ายายรๆรสๆสนนเเททศศแแลละะรราายยงงาานน ตตวััวชช้วีี้วดััดชชนั้นั้ ปปีี 5

PLCPLC ใหม้ ีนวัตใกหร้มรนี มวัตกรรม การจัดการเรียนรบู้ รู ณาการสผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 6 ปัญหาคุณภาพผู้เรียน คือ ผู้เรียนสร้างนวัตกรรมไม่เป็น การเรียนรู้ไม่บรรลุเปา้ หมายของหลกั สตู รกาหนด มาตรฐานการเรยี นรู้ ว.8.1 ใชก้ รระะบบววนนกากราทราทงวาิทงวยิทาศยาาสศตารส์ แตลระ์ จแติ ลวิทะยจาิตศวาิทสยตรา์ศในากสาตรร์ ในการ มใเคสเทสขกนืบวืีรบแ่ี ้าย่ี ชาูปนเใเวสม่วจส่นแขาหงวหาบอะ้อเา่มะมนวบหวงาหาลสทิายสยาาคทมัยทาทนควาพ่ีแมาาา้ัศนวงนาันงมาคคาครๆ่นคธสรมณถก์6อณู้6ตอรเกิต.นันข.ร1ธู้ิต1าศ์แ้าิบกศร าลใสาแมมาสาจะยากรสีคตีควเมแท้แปตวร่วาลา์าคกัวรญาแระมม์ิโท้ปถลหตแนสสยัญอะราลโาาาวลกธมะหมรจศยาิบกาู้วาสารีาราา่าสรนอสถยรปถังราบตในแคใรนู้เวไรสนลำ�มาด่กา์แนเกะก้ปาสแลภอตฏารนรละารรแกกาะอยแเวกาทกาสใจก้ปรรกติง่ฏคสณ้ปัญเแข้าชโกอัญรว้์อทนหือ่ าบเดมาหาชมโรลไลงูลอื่โาดณกอ้ธยยแม้ารมงก์ีทลโรภรคสายะใามมวาหรังงเงีคชายคใคคเ้ธมวหาหใรวมรตาตรื่อ้เตารมหตู้้ขิทงุผมมแเา่ต้อมี่เลกรงกลชผุมือยีู่้ตๆิดกะาลทูลว่าขาสตทขแี่มงร้ึนก่ิงิทอ้ๆาลีอสแสางง่ีเะยือ่ควรทส่วกเู่ใสสณดนคัมินาดา่ือลงพใรชิตขรหคส่ือ้อัน่วศึ้นกญณางงมธาสารมเสก์่มติวร่วือนัตมีรลศสกนทูปรีคา่อืาาใ์่ีมแนสรวแหบีสอ้ันาตลญมื่อยบๆระ์ู่่แเชลอ่ื ะมเชโยอื่ งมคโณยิตงคศณาสติ ตศรา์กสับตศราก์สับตรศอ์ าน่ืสๆตรแ์อล่ืนะๆมีคแวลาะมมคคีิดวราเิ รมม่ิ คสดิ รร้าเิงรสิ่มรสรรคา้์ งสรรค์ ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปี ว 8.1 ม.3/9 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และหรอื อธิบายเกย่ี วกับแนวคดิกระบวนการ และผลของโครงงานหรอื ชิ้นงานให้ผู้อืน่ เข้าใจ ค 6.1 ม.3/6 มคี วามคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ 6

PLC ให้มนี วัตกรรม การจกัดารกจาัดรกเารรียเรนียรนู้บรบูู้รูรณณาากกาารรสสู่ผูล่ผลลพั ลธั์พTธha์ iTlahnadil4a.0nd 74.0 ตอนที่ 3 องคป์ ระกอบพนื้ ฐานการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ มีองค์ประกอบพ้ืนฐาน อย่างน้อย 3 องค์ประกอบ คือ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ส่ือที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ และส่ิงแวดล้อมที่เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ องค์ประกอบพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้ 3 องค์ประกอบ ดังท่ีกล่าวมา ครูผู้สอนจาเป็นต้องมีความเข้าใจที่ชัดเจน ในคาศัพท์ทางการศึกษาที่สาคัญ คือ คาว่า “สื่อ”ซึ่ง Heinich และคณะ (1996) ได้นิยามไว้ว่า ช่องทางในการติดต่อส่ือสาร (Media isa channel of communication) และ คาว่า “นวตั กรรม” โดย McKeown, M. (2008).ได้นยิ ามไวว้ า่ การทาสิง่ ต่างๆดว้ ยวิธีใหมๆ่ จากความคิดริเรม่ิ ทีน่ ามาประยุกต์ใชอ้ ยา่ งสมั ฤทธผิ ลซง่ึ สอ่ื บางอยา่ งอาจเป็นนวัตกรรมได้ หากมสี ว่ นช่วยใหผ้ ู้เรยี นมสี มั ฤทธิผลในการเรียนสูงข้นึ 7

PLCPLC ใหม้ นี วัตกใหร้มรมีนวัตกรรม การจดั การเรยี นรู้บรู ณาการสู่ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 8 8

PLC ใหม้ นี วัตกรรม การจัดกการาจรดั เรกีายรนเรรียู้บนูรรูบ้ ณรู ณากากาารรสสูู่ผ่ผลลลลพั ัพธ์ ธT์hTaihlaanidla4n.0d 49.0 ตอนที่ 4Active Learning กับการออกแบบนวัตกรรมการสอน Active Learning คือ อะไรก็ตาม ส่ิงใดก็ตาม ท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียนในการทาในการฝกึ อะไรบางอย่าง และ การคดิ เก่ยี วกบั สิ่งที่เขากาลังลงมือทาลงไป : Active learningis \"anything that involves students in doing things and thinking about the thingsthey are doing\" (Bonwell & Eison, 1991, p. 2) Active Learning คือ การเรียนรู้ภายใต้สมมติฐาน 2 ประการ คือ 1) การเรียนรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ และ 2) บคุ คล แตล่ ะบคุ คลมีแนวทางในการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน : Active learning is based on two assumptions : (1) that learningis by nature an active endeavour and (2) that different people learn in differentways\" (Mayers and Jones, 1993). 9

PLCPLC ให้มีนวัตใหก้มรรีนมวตั กรรม การจดั การเรยี นร้บู รู ณาการสูผ่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 10 Active Learning สู่ หลักสตู รระดับชั้นเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรแบบอิงมาตรฐาน (Standards-based curriculum) ทีม่ มี าตรฐานเปน็ เปา้ หมาย ในการพัฒนาผู้เรียนและเป็นกรอบทิศทางในการกาหนดโครงสร้าง เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จากหลักสูตรระดับชาติ จนถึงหลักสูตรระดับชั้นเรียนซึ่งการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรระดับช้ันเรียน จะต้องจัดการเรียนการสอนให้อิงมาตรฐาน (Standards-based instruction) และการประเมินผลจะต้องอิงมาตรฐาน(Standards-based assessment) Active Learning สู่ หลักสูตรระดบั ชนั้ เรียน จะปรากฏชัดเจนในหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ีครูออกแบบไว้สาหรับการจัดการเรียนรู้ โดยแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะมเี ปา้ หมายคุณภาพผ้เู รียนท่กี าหนดไวใ้ นตวั ช้ีวัดชั้นปี ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนเกิดท้ังความรู้/ความคิดรวบยอด (K : Knowledge) ทักษะ/การปฏิบัติ (P : Performance) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Desirable Characteristic) หรือ คณุ ลกั ษณะ (A : Attribute) 10

PLC ใหม้ ีนวัตกรรม การจกัดากราจรัดกเราียรเนรียรนู้บรูรบู้ ณูรณาากกาารรสสผู่ ู่ผลลลพั ลธัพ์ Tธh์ aTilahnadila4n.0d 141.0ตวั ชี้วัดชั้นปชี ตี้ าแหน่ง Active Learning ส่ิงทไ่ี ด้ปฏบิ ตั ิจรงิกรณตี วั อยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ “มมุ สูงภาพสวยด้วยมือเรา”ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปี ตวั ชว้ี ัดชั้นปี ค 3.2 ป.6/3 เขียนแผนผงั แสดงว 7.2 ป.6/1 สบื ค้น อภปิ ราย ตาแหน่งของสิ่งตา่ งๆและแผนผังความกา้ วหน้าและประโยชน์ แสดงเสน้ ทางการเดินทางของเทคโนโลยี อวกาศ กิจกรรมการเรยี นรู้กิจกรรมการเรียนรู้ แนว Active Learning คือ เขียนแผนผงั แสดงตาแหนง่ …แนว Passive Learningคอื อ่านหนงั สอื อ่านใบความรู้ ตัวชี้วดั ช้ันปีแนว Active Learning ค 6.1 ป.6/2 ใช้ความรู้ ทกั ษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คือ สบื ค้นความรู้ และเทคโนโลยใี นการแกป้ ญั หา จากการใช้คอมพิวเตอร์ ในสถานการณ์ต่างๆไดอ้ ย่างเหมาะสม กจิ กรรมการเรยี นรู้ตัวช้วี ดั ชัน้ ปี แนว Active Learning คือ ใช้คอมพวิ เตอร์สร้างสรรค์ว 8.1 ป.6/3 เลอื กอปุ กรณแ์ ละวิธกี าร Product หรือ ช้ินงานตา่ งๆได้สารวจ ตรวจสอบ ที่ถกู ตอ้ งเหมาะสมให้ไดผ้ ลทคี่ รอบคลมุ และเช่อื ถือได้กจิ กรรมการเรยี นรู้แนว Active Learning คือ เลอื ก อปุ กรณ์ทาการถา่ ยภาพมุมสงู 11

PLCPLC ให้มนี วัตใหกม้ รรนี มวตั กรรม การจัดการเรียนรูบ้ ูรณาการสู่ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 12 นวัตกรรมวธิ ีการสอนตามแนว Active Learning วธิ ีสอน “อ่านเขยี นหรรษา 5 ขน้ั ตอน” วิธีสอน “อ่านเขียนหรรษา 5 ขั้นตอน” วิธีการสอนนี้ จะมีองค์ประกอบพื้นฐานของการสอน ด้านส่ือการจัดการเรียนรู้ และการจัดส่ิงแวดล้อมการจัดการเรียนรู้ มาเพิ่มเติมขัน้ ตอนการสอนเพ่อื ให้การจดั การเรียนรู้มีคุณภาพสงู สุด ดงั ภาพ 12

PLC ให้มีนวัตกรรม การจัดกากราจรดั เกราียรเนรรยี ูน้บรูรู้บณรู ณาากกาารรสสู่ผู่ผลลลพัลัธพ์ Tธh์ aTilhanadila4n.0d 413.0 วิธสี อน “บูรณาการ STEM 6 ข้นั ตอน” วิธีสอน “บูรณาการ STEM 6 ข้ันตอน” วิธีการสอนน้ี จะเป็นวิธีสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างนวัตกรรม มีองค์ประกอบพ้ืนฐานของการสอน ด้านสื่อการจัดการเรียนรู้ ด้านขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้ และการจัดสิ่งแวดล้อมการจัดการเรยี นรู้ มาเพิ่มเติมข้ันตอนการสอนเพ่ือให้การจัดการเรยี นรู้มคี ณุ ภาพสูงสุด ดงั ภาพ ขขัน้น้ั ตตออนนทที่ ี่11รระะบบปุ ุปญั ญั หหาาในในชชวี ีวิติตจจรรงิ ทิงทพี่ ่พี บบหหรอืรนอื นวัตวกตั รกรรมรทม่ตีท้อี่ตง้อกงากราพรฒัพนัฒานา………โรงเรยี นของเราต้องการพฒั นานวตั กรรมเชิงผลติ ภัณฑ์ ภายใต้กรอบแนวคิด “ผลิตภัณฑ์ปลา วิถีใหมไ่ ทอีสาน” ท่ีบริโภคแลว้ ปลอดภยัจากโรคโดยเฉพาะโรคพยาธิใบไมต้ บั และมะเร็งทอ่ นา้ ดี………กก าารรพพัฒฒั นนาานนววตั ัตกขกขร้ันรัน้ รรตตมมออนนนนั้นน้ัทที่ ่ี22 รวรบวบรวรวมมขข้อ้อมมูลลู แแลละะแแนนววคคิดิดทท่เี กี่เกี่ย่ียวขวอ้ขง้อกงับกปับัญปหัญาหหราอืหนราือไนปำ�สไู่ ปสู่เทห ท เพ ทท่พีรีพ่ฒั คคอื ฒััฒโนโพนนนานัฒโโนาาลลนไวไยดยดาตั ี ้ีนก้กกรวรระตัระบกขขขขมขขขขบวรั้นั้นัน้้นัไนนััั้น้ั้้นวดรนตตตตนตตตตม้กออออออออกไานนนนดนนนนารททททร้ทททททท่ีี่่ีี่ าี่ี่ี่่ี43564365างง วทน วินอวทศาดศิาวอเ�ำดวอสสวงกเกาอสอสแกนรงแกอบนผรอแรบแบรนมอผวปบบมิธวแนรแบวีกปธิลแะแลิธกีาวระลเละีกริธมาะดะะคแีกราินเด�ำ คมกแณราผเาแณรป้นกินเิตลแกนป้ญันิผติศก้ปนิแญักลศาห้ปลกัญสาาหาัญะารแตสหารปผแหรลตาแผลกร์าะรโกับลกป้ดโ์ปป้ดกาปัญยรยรัญารเับหแชเรุงหชปกแ่ือแาอื่าหกป้กมรหมุปง้ไ้รัญโรโขยแอืญัยหอืวงกพงพิหธาค้ไคฒัหีกขัฒาววาหรานวานรอืมิธรามแาผีกอืรนรนกู้ลดผาดู้ววป้ ขร้าลัตา้ัตัญนแอนขกกกงวอหวรรนิท้ปิทรงารวนมยัญยมัตวาาหกศตัศรากาารหสสรมรรตตมือรร์์ 13

PLCPLC ให้มนี วัตใหก้มรรนี มวัตกรรม การจดั การเรยี นรู้บูรณาการสู่ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 14 PBL: Problem/Project Based Learning กับ การเรยี นรู้แหง่ ศตวรรษท่ี 21และยทุ ธศาสตรข์ องไทย อยู่บนคุณลกั ษณะ 8 ประการ ดังน้ี ท่ีมา : http://www.ocmboces.org/teacherpage.cfm?teacher=15361. “21 Century Skill” คอื ทกุ คนตอ้ งรจู้ ัก \"ทักษะการเรยี นรแู้ หง่ ศตวรรษที่ 21\" ซึ่งไมส่ ามารถหลกี เล่ียงได้เนื่องจากการหลัง่ ไหลของสรรพวิทยาการ และขา่ วสารข้อมลู ทาง “อินเตอร์เน็ต” ท่ที กุ คนสามารถศึกษาหาความร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง การศึกษาในศตวรรษที่ 21 เรยี กวา่ “นวัตกรรม 3Rและ 4C” คอื 3R ได้แก่ Reading การอ่าน, Writing การเขียน, และ Arithmeticคณิตศาสตร์ และ 4C ได้แก่ Critical Thinking การคิดวเิ คราะห์, Communicationการสอ่ื สาร, Collaboration ความร่วมมอื , และ Creatively ความคิดสร้างสรรค์ รวมทง้ัทกั ษะชีวติ และอาชีพ สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี 14

PLC ใหม้ ีนวัตกรรม การจัดกากราจรัดเกราียรเนรรียูน้บรูรูบ้ ณูรณาากกาารรสสู่ผู่ผลลลพัลัธพ์ Tธh์ aTilhanadila4n.0d 415.02. \"Inquiry and Innovation\" Inquiry and Innovation หมายความว่า “ผเู้ รียน” ตอ้ งแสวงหาความรู้ดว้ ยวิธีการตา่ งๆ เช่น การสืบสาวราวเร่อื ง การสอบถามจากแหล่งวชิ าต่างๆ การค้นคว้า ค้นหา สบื หาทดสอบ ทบทวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ ด้วยวิธีการตา่ งๆ จากอปุ กรณ์การส่ือสาร เทคโนโลยีไร้พรมแดนต่างๆ จากคอมพวิ เตอร์ อินเตอร์เน็ต ไอที ฯลฯ น้ีรวมเรียกวา่ Inquiry และโดยวิธนี ้ีคณุ ครูอาจตอ้ งให้ความรูพ้ น้ื ฐานพอทีจ่ ะ “นาทาง Lead” ไปตอ่ ยอดแสวงหาความรู้และความเขา้ ใจมนั อยา่ งถ่องแท้ จนสามารถ ”สร้างสรรคส์ ง่ิ ใหม่ๆ construct something new”ขึ้นมาในตัวของผู้เรยี น เปน็ ตน้ วา่ ความคิด Idea การตคี วามหมาย Interpretation และนาเสนอ Presentation สงิ่ ใหม่ๆ ที่พวกเขาได้เรียนรู้มา ซ่ึงเรียกวา่ นวัตกรรม หรือInnovation นน่ั เอง3. “Need to Know” “Need to Know” น้หี มายความวา่ สิ่งทจ่ี านามาให้เรยี นนัน้ ต้องเปน็ “สิ่งทที่ กุ คนอยากจะรรู้ ่วมกัน” ท้ัง ครู นักเรยี น และสงั คมภายนอก โดยครตู ้องจูงเดก็ ในเร่ืองทท่ี กุ คน“Need to Know”4. “Student’s Voice and Choice” “Student’s Voice and Choice หรือ การรบั ฟังความคดิ ของผ้เู รยี น ใหเ้ ขาเลอื กในส่ิงทเี่ ขาตอ้ งการน้ี คณุ ครตู อ้ งจัดใหอ้ ย่างเตม็ ที่ เพราะมนั เปน็ การสอน และ “ฝกึ ฝน” ให้กลา้ แสดงออกและยอมรับฟังคนอืน่ ด้วยเหตผุ ล มนั เปน็ การเสริมกาลังใจและใหเ้ กยี รติแกก่ ันนกั เรียนได้เรียนร้ใู นสงิ่ ท่ีเขาตอ้ งการรู้ ครู เป็นผ้คู อยช้แี นะ“แบบตะลอ่ มๆ”ให้ตรงทศิ ทางเปรยี บเหมอื นว่าใหค้ นได้กินอาหารขณะทก่ี าลงั หิว เขาจะกนิ ไดม้ ากและมคี วามสุข หรอื จะทาหอ้ งเรียนเป็นเหมอื น “สภาเลก็ ๆ โดยมคี ณุ ครเู ปน็ ประธานสภา” ช่วยกันเลือก “หัวข้อท่ีจะทาเปน็ โครงการ หรอื ปญั หา” เพอ่ื ให้พวกเขาได้ไป Inquiry… เอา “ความร้จู ากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ” ได้อยา่ งเต็มท่ี5. “Significant Content” Significant Content คือ การเลอื กเนื้อหาท่ีมนี ยั สาคัญ ต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายท่ีเราต้องการ และทีส่ าคญั เน้ือหาน้ัน จะตอ้ งเป็นเนือ้ หาท่ีมีความสาคญัและสัมพนั ธก์ บั นาไปใช้ไดจ้ ริงในชีวิตประจาวัน 15

PLC ใหม้ นี วตั กรรม การจัดการเรียนรู้บูรณาการสูผ่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 16PLC ใหม้ ีนวัตกรรม6. \"Feedback and Revision\" การรบั ฟังความคิดเห็นจากผอู้ น่ื เป็นสิ่งดีมาก ผูแ้ สวงหาความก้าวหน้าแกต่ นเอง ย่อมเห็นคณุ คา่ และ ”สานึกในพระคณุ ” ของข้อ “วิจารณ์ หรอื Criticism หรอื Feedback”ท่ีผ้อู ืน่ และสังคมภายนอกวจิ ารณต์ นใหเ้ รานาข้อ“วิจารณ์หรอื ติเตียนหรือ Feedback” นไี้ ป”ปรบั ปรุงแกไ้ ข หรอื Revision” ใหม้ คี ุณภาพและสมบูรณ์ย่ิงๆ ขึ้นไปได้อยา่ งดีทีส่ ดุ7. \"Publicly Presented Product\" เมอื่ ทุกคนได้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามแบบของ PBL แลว้ ทุกคนตอ้ งแสดงออกซ่ึง “ผลแห่งการเรียนร”ู้ น้ันๆ ออกมาเป็นทีป่ ระจักษ์ต่อผูอ้ ่ืน เพ่อื เป็นสิ่งยืนยันว่า พวกเขาได้ผ่านการเรียนรนู้ ้ันๆ มาจริง อาจเปน็ การแสดงผลงาน ส่งิ ประดิษฐ์ หรอื การอภปิ ราย เราเรยี กการนาเสนอนีว้ ่า Presented Product8. \"Driving Question or Challenge\" ใช้คาถามเป็นตัวขับเคลือ่ นท้าทายหรอื เป็นตัวกระต้นุ ให้เกิดการ “แสวงหาความร”ู้วิธกี ารเรยี นของ PBL นีผ้ ู้เรยี นใชก้ ระบวนการแบบ “สืบสวนสอบสวน Inquiry method”เป็นวธิ กี ารหาความร้โู ดยการสืบสาวราวเรอื่ ง สอบถาม ซกั ไล่เรยี ง ท้ังจากสถานที่ วตั ถุ บคุ คลหนังสือ หลักฐาน และโลกไซเบอร์ การสือ่ สารทางไกล อนิ เตอร์เน็ต เพอื่ ตอบคาถามที่ซบั ซอ้ นตอบปัญหา หรือหาคาตอบตอ่ สิ่งท้าทายตา่ งๆ ดังน้นั การเรียนรจู้ ะเกิดข้ึนได้ จากการแสวงหาคาตอบ “ต่อปัญหา หรือคาถามทีไ่ ด้รว่ มมือกนั เลอื กสรรอย่างรอบคอบมาแล้ว จากท้ัง ครู และนักเรียน แต่ละกลุ่มการเรียนรู้ชว่ ยกนั เลือก สว่ นคาถามทใี่ ชเ้ ป็นตวั ขบั เคลื่อนหรือกระตุน้ ใหผ้ เู้ รยี นตอ้ งแสวงหาความร้นู ั้น“เปน็ คาถามประเภทปลายเปดิ Open-end Question” คือ สามารถที่จะมีคาตอบที่หลากหลายซงึ่ ล้วนแตส่ นองความอยากรอู้ ยากเหน็ ของผเู้ รยี น ลกั ษณะของ PBL: Problem/Project Based Learning อกี ลักษณะหนึง่ ที่พยายามอธบิ ายวา่ Problem/Project Based Learning จะเปน็ การต่อยอดสมรรถนะของผเู้ รยี นให้เพ่ิมขึ้นสูงกวา่ มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสตู ร ซงึ่ ถอื วา่ เป็นมาตรฐานข้ันตา่ ท่หี ลกั สูตรกาหนด เป็นการเพิม่ ขีดสมรรถนะของผู้เรียน ใหเ้ กดิ ความสามารถ ทีเ่ ป็นผลลัพธ์ของหลักสตู ร(student learning outcomes) และสามารถสรา้ งผลิตภณั ฑ์ หรือองค์ความรใู้ หม่ได้ ดังภาพ 16

PLC ใหม้ ีนวัตกรรม การจกัดากรจาดัรกเราีรยเนรยี รนู้บรูรู้บูรณณาากกาารรสส่ผู ู่ผลลลพั ลธัพ์ Tธh์ aTilahnadila4.n0d 147.0 17

PLCPLC ให้มนี วัตใกหร้มรนี มวัตกรรม การจัดการเรียนรู้บรู ณาการสูผ่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 18 วิธีสอน “โครงงานเปน็ ฐาน 6 ขน้ั ตอน” วธิ สี อน “โครงงานเป็นฐาน 6 ขัน้ ตอน” วิธีการสอนน้ี จะเป็นวธิ สี อนที่เน้นใหผ้ เู้ รียนสร้าง ชุด ความรู้ใหม่ เพ่อื สรา้ งเสรมิ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ของ ดษุ ฎี โยเหลา และคณะ(2557) โดยมีทั้งหมด 6 ขั้นตอน ดงั น้ี การจัดการเรยี นรู้ ตามวิธสี อน “โครงงานเป็นฐาน 6 ขั้นตอน” มีรายละเอียด ดังน้ี1. ขขน้ั ัน้ ใใหห้คค้ ววาามมรู้พรูพ้ นื้ น้ืฐาฐนาน คครรูใูใหห้ค้คววามามรูพ้รู้พนื ฐ้ืนาฐนาเนกย่ีเกวี่กยบัวกาับรกทาารโคทรำ�งโงคารนงกง่อานนกกา่อรนเรกยี านรเู้ รซีย่งึ นผรู้เรู้ ียซนึ่งจผะู้เรตียอ้ นงมจี ะต้องคมวคีามวารมู้เกรี่ยเู้ กวกย่ี บัวกโคบั รโงคงรางนงไาวน้เปไว็นเ้ ปพ็นื้ ฐพา้นื นฐาเพนอื่ เใพชอ่ื้ในใชก้ใานรกปาฏรบิ ปตั ฏขิ ิบณัตะขิ ทณาะงาทน�ำ โงคารนงโงคารนงจงรางินจรงิ ในขัน้ในแสขว้ันงแหสาวคงวหามครวู้ามรู้22. .ขขนั้ น้ักกระรตะนุ้ตคนุ้ วคาวมาสมนสในจใจรก โทส่วจิ ดนมี่ดกยกใึงรจกดนัรติจมูดโอ้กทใดคคงหรดี่ยรกรร้นึงกูเาเูมตดัตกิจรนรูดรเกจีรย้ันใยีะรหียมมอรทน้นกมกา�ำ กัิจสจนจิอกเนเก้ันยรปรใรียอู่แรจ็นรนาลมมกจสว้ทใทิจเคนปจี่ จ่ีทกรใะ็นะจร้ัง่รกกกนรู้ ใริจรมถใ้ีคะะนกทึงรตตรกค่รี่คุ้นรนุู้้าวรถคมรคาูกึงวทกมวคำ�า่ีคราสหมวะมรนาสนูกตสมุกนดาุ้นนสสใหขขใจนนจนึ้นอขกุขาดงอสนอคขหงนงใรึน้นรนนาจูือกันกักหะอเใเารรตรนารียือ้อยีจกทนอนงเาาำ�เปรโปโจโด็ทนดคดิเยปายกรโโตตน็อิจงค้องอ้กกกรางงจิารงคนคสงรกิดหาดิมใรหหนหรรทหรมน้ือรี่นือทอรืักกักเอืเี่เินจตตรเกรกกัรียริจียียรเยีนรกนรมมียเรมสกนรรมนจิม่วีคอกมวจรการาันมมก 18

PLC ใหม้ นี วัตกรรม การจัดกกาารรจเัดรกียานรเรรู้ยีบนูรรณบู้ รู าณกาากราสรูส่ผู่ผลลลลัพัพธธ์ T์ hTahilaaniladn4d.0 41.09มกีคิจวการมรสมนทใ่ีไจดต้เร้อียงนการรู้ผจ่าะนทกาาอรยจ่แูัดลกว้ ารทเร้งั นียนใี้ นรกู้ขาอรงกครระูทตี่เุ้นกขี่ยอวงขค้อรงูจกะับตช้อุมงชเปนดิ ทโ่ีนอกั าเรสียใหนน้อาักศเรัยยี อนยู่หรือเสปน็นอเรจ่อื างกใกกิจลกต้ รัวรทมสี่ทาีไ่ มดเ้ารรยี ถนเรยีูผ้ นา่ นรู้ไกดาด้รว้จยดั ตกนารเอเรงียนรู้ของครูทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับชมุ ชนทนี่ กั เรยี นอาศัยอย่หู รือเปน็ เร่ืองใกล้ตัวท่สี ามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง3. ข้นั จัดกลมุ่ ร่วมมอื3 . ข ้ัน จ ัดนกกั ลเรมุ่ ียรน่วแมบมง่อื กลุ่ม เพือ่ เตรยี มการแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการกลุม่ ในการวางแผนแดดคสลา่ิงำว�เทะเานนหมี่ตนิ ินานคกรกิเดิจนืออิจแกักงแกลรเบตรรระยีมอ้ง่รหนหมงาโเแนดรรบา้โยยีือดทง่นนกย่ีเักรแพลนู้ใเบอ่ืมุ่รนัก่ยีงเภปเเหนรพา็นนเียคอื่ปแ้านเเ็นนรตทเียผวรป่ีเนทู้รยีพ็นว่มนา่ือผมงก้นัเู้ปรกปาๆ่วันฏร็นเมแวรบิ แสยีกาัตนงวบันิรแงวรว่วผหทอ้มานายกางคกงแแันวิจปลผากหฏ้วนมรลิบรกรังู้ัมติจจใชกิรกา้ก่กาวรรรมทรเะมก่ีไรบดยีันกท้วนานรขรหากอเลบรางังีรยหตจกนวันาลขขเกอุ่มอ้ อทงใสงนี่ไงิ่รตกดทะนา้ทตี่ดรเนรมอวาเคางอบงวงแาหรผมะัวนคดขดิ ้มอตอ้ งเรยี นรใู้ นภาคเรยี นน้ันๆเรียบรอ้ ยแลว้4. ขั้นนแแสสววงงหหาาคคววาามมรรู้ ู้จขเจ จหปาอาานน็กงกก้ารตโโคทคะคนรรยี่ขรตงะเองนานงปงเงมกัามัากน็ตนเขื่อนรเรนทอ้รมยีทะตีตยี่ตีขนยี่ตากนน้อละนมลปสลเงปขมงมงฏงขฏ้ออ่ืสอืมิบอิบัยตมปือตังหกีขัตฏปิกร้อลิบิลฏอืสงมุ่ตั ิบปขงกิ สอัญัตพิจัยงิกรหกกห้อิจารลรมเรกกุ่ือมทมริดปโั้งรคขพรัญมึ้รนว่ รโหงม้อคงนามมารเักอืนกทงเกดิงร้ังตนัาียขรานปน่ว้นึ มมฏรหน่วตมิบัวมกัาือัตขกเมกิกร้อันหิจันยีทเกันวขป่กี รขยีรฏลร่ว้นอมุ่ิบมมรทสัตปูกโ่ีนกิกดนัเใลลิจยจเุ่ข่มมกขียนอสรสนรักคนรมเราุปใรปปูจยีรโรเานดลกึนยปย่มษงักฏขาาสเอิบนจรรคีาัตยุปกำ�หินรคปนปารรา้ยฏูึกทงิบษาี่ นัตา ิ 5นน5 .า.�ำ ไขไขปปั้น้ันสสสสู่กกู่ รรคาคาปุ ุปรรรรสสูใสสูใหรง่ิ หรงิ่ ทปุ้นทุป้นสกัเี่ สีเ่รักร่ิงเยีง่ิรทเยี ทรยีนน่เี ียนเ่ีรรรรนยีู้สยีู้ นสรนรปุรรูุ้ปสู้ ิ่งสทิ่งเี่ทรี่เียรนียรนจู้ ราู้จกากกากรทารากทจิำ�กกริจรกมรรโดมยคโดรูใยชคค้ ราูใถชา้คมำ�ถถาามมนถกั เารมียนนักเรียน6ไ6ไ ดด..้เ้เขสขส้ันนั้นนนอนอสาสำ�คคิง่เเิง่สรทสรทนใูใู่ตีนห่ีตหอนอนน้้นผเผเกัอักลอลเงเงรงรไงาไยีดยีาดนน้เนนรเ้ นรนยี ีย�ำานนเเรสสรู้นนเู้ พเออพ่อืผผือ่ ใลลหใกกห้เาาพเ้ รรพอื่ เเ่อืรรนยียีนรนน่วรรมว่รูู้้มชโโดดชนั้ ยย้ันแคคลแรระลูออู นะออกันกกเักแแรบเบยี รบนบยี กอนกจิื่นจิอกๆก่นื รใรๆนรรใมโมนรหหโงรรรเือรงอื ียเจรจนัดียดั ไเนเวดวไล้ชลดามา้ชใใผหมหล้นผน้งกัลากั เงนเรารียนยี นน 19

PLC ใหม้ นี วัตกรรม ตอนที่ 5 หน่วยการเรียนร้บู รู ณาการสผู่ ลลัพธ์ Thailand 4.0หน่วยการเรียนรู้ บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษากบั STEMเรือ่ ง “ผลติ ภัณฑป์ ลา วิถใี หมไ่ ทอสี าน” ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลา 10 ช่วั โมง1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ดั ช้นั ปี 1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำ�รงสุขภาพการป้องกนั โรค และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพอื่ สุขภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลาน้ันๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม มคี วามเก่ยี วข้องสัมพนั ธก์ นั ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเกยี่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทตี่ อ้ งการวดั ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำ�เสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณติ ศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ ่ืนๆ และมคี วามคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ ง 3.1 เขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ และใชก้ ระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คน้ขอ้ มลู การเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การแกป้ ญั หา การท�ำ งาน และอาชพี อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลและมคี ุณธรรม 1.2 ตวั ชี้วดั ช้ันปี พ 4.1 ม.3/1 ก�ำ หนดรายการอาหารทเี่ หมาะสมกบั วยั ตา่ งๆ โดยค�ำ นงึ ถงึ ความประหยดั และคุณค่าทางโภชนาการ พ 4.1 ม.3/3 รวบรวมข้อมูลและเสนอแนวทางแก้ไขปญั หาสขุ ภาพในชุมชน ว 8.1 ม.3/9 จดั แสดงผลงาน เขยี นรายงาน และหรอื อธบิ ายเกย่ี วกบั แนวคดิกระบวนการ และผลของโครงงานหรือช้นิ งานใหผ้ อู้ ่ืนเข้าใจ ค 2.1 ม.3/4 ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ค 6.1 ม.3/6 มคี วามคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ ง 3.1 ม.3/4 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทำ�ในชวี ิตประจ�ำ วนั ตามหลกั การทำ�โครงงานอย่างมีจิตสำ�นึกและมคี วามรับผดิ ชอบ 20

การจัดการเรียนรู้บูรณาการสู่ผลลัพธ์ Thailand 4.02. สาระส�ำ คญั / ความคิดรวบยอด ความสามารถในการกำ�หนดรายการอาหารท่ีเหมาะสมกับวัยต่างๆ โดยคำ�นึงถึงความประหยดั และคณุ คา่ ทางโภชนาการ จากรวบรวมขอ้ มลู และเสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพในชุมชน ให้เกิดผลิตภัณฑ์ทางอาหารเพื่อการบริโภคและการจำ�หน่าย โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างผลติ ภัณฑ์ จากจินตนาการ และใชก้ ารคาดคะเนเกีย่ วกบั การวดั ในสถานการณต์ ่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ อย่างมีจิตสำ�นึก และมีความรับผิดชอบ พร้อมจัดแสดงผลงาน เขยี นรายงาน หรอื อธบิ ายเกยี่ วกบั แนวคดิ กระบวนการ และผลของผลติ ภณั ฑ์ ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจยอ่ มส่งผลดีต่อคุณภาพของชวี ิตในด้านเศรษฐกิจ สงั คม และสขุ ภาพ3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 รายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่างๆ โดยคำ�นึงถึงความประหยัดและคุณค่าทางโภชนาการ 3.1.2 แนวทางแกไ้ ขปัญหาสุขภาพในชุมชน 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 3.2.1 ทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีความสามารถในการสังเกต การวัด การจำ�แนกประเภท การหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา การค�ำ นวณ การจัดทำ�และสอ่ื ความหมายข้อมลู การลงความคดิ เห็นจากข้อมูล การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การก�ำ หนดนิยามเชงิ ปฏิบตั ิการ การกำ�หนดและควบคุมตวั แปร การทดลอง การตีความหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ 3.2.2 ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา การใหเ้ หตผุ ล การสอื่ สาร การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์และการนำ�เสนอ การเช่ือมโยงความรูต้ า่ งๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชือ่ มโยงคณติ ศาสตร์กับศาสตร์อน่ื ๆ และมคี วามคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ 3.2.3 ทกั ษะและกระบวนการทางเทคโนโลยี มีความสามารถกำ�หนดปัญหา รวบรวมข้อมูล เลือกวิธีการ ออกแบบและปฏิบัติการ ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข และประเมนิ ผล 3.2.4 ทกั ษะการ ใช้คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสรา้ งช้นิ งาน “ผลิตภณั ฑ์ปลา วิถใี หม่ ไทอสี าน” 3.3 ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3.3.1 มวี นิ ัย 3.3.2 ใฝ่เรยี นรู้ 3.3.3 มงุ่ มั่นในการท�ำ งาน 3.3.4 มีจติ สาธารณะ 21

PLCPLC ให้มนี วัตกใหร้มรมนี วตั กรรม การจัดการเรียนรบู้ ูรณาการส่ผู ลลพั ธ์ Thailand 4.0 224. การวัดและประเมินผล 4.1 ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด 4.1.1 ช้นิ งาน “ผลิตภณั ฑป์ ลาวิถีใหม่ไทอสี าน” 4.1.2 ภาระงาน นิทรรศการ “งานสขุ ภาพชมุ ชน” 4.2 ประเมินผลระหวา่ งเรยี น ส่ิงท่วี ดั วธิ ีการ เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิดา้ นความรู้ (K)-กาหนดรายการอาหาร - ทาใบงาน - แแบบบบ ผ่านการประเมนิเหมาะสมกบั วยั ต่าง ๆ เรือ่ ง เมนู ปรปะรเมะินเมิน คะแนนรอ้ ยละ 60 ข้ึนไปโดยคานงึ ถึงความประหยดั อาหารปลา ใใบบงงาานนและคุณค่าทางโภชนาการ เพิ่มคณุ ค่า ทาง - แแบบบบ ผ่านการประเมิน-เสนอแนวทางปอ้ งกันโรคทเ่ี ปน็ โภชนาการ ปรปะรเมะินเมิน คะแนนร้อยละ 60 ขน้ึ ไปสาเหตสุ าคัญของการเจบ็ ป่วย - ทาใบงาน ใใบบงงาานนและการตายของคนไทย เรือ่ ง ผลติ ภณั ฑ์-รวบรวมขอ้ มลู และเสนอ ปลาวิถใี หม่ - แแบบบบ ผ่านการประเมินแนวทางแกไ้ ขปัญหาสุขภาพ ไทอสี าน ปประรเะมเนิมนิ คะแนนรอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไปในชุมชน - ทาสมดุ รายงาน สสมมุดุดรราายยงางนาน เรอ่ื ง แนวทาง แก้ไขปญั หา สุขภาพ ในชุมชนด้านทักษะ/กระบวนการ (P) -การสงั เกต แบบสงั เกต นักเรียนได้คะแนน-ทักษะการสบื คน้ และรวบรวม และประเมนิ จากการประเมนิ ดา้ นขอ้ มลู ด้านทักษะ ทกั ษะ/กระบวนการ-ทักษะการวิเคราะห์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน)-ทักษะการวางแผน คะแนน 9-10 ระดับดเี ย่ยี ม-ทักษะการสรา้ งทางเลือก คะแนน 7-8 ระดบั ดมี ากทหี่ ลากหลาย คะแนน 5-6 ระดบั ผ่าน-ทักษะการประเมนิ ทางเลอื ก คะแนน 0-4 ระดับปรบั ปรุง-ออกแบบและปฏบิ ัตกิ าร-ทักษะความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์-ทกั ษะการนาเสนอ 22

PLC ใหม้ นี วัตกรรม การจกัดากรจาดัรกเราีรยเนรยี รนู้บรูรูบ้ รูณณาากกาารรสสู่ผู่ผลลลพั ลธัพ์ Tธh์ aTilahnadila4.n0d 243.04.2 ประเมนิ ผลระหว่างเรียน สงิ่ ทวี่ ัด วิธกี าร เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมินด้านเจตคติ (A) - การสังเกต-มวี ินยั - แแบบบบบบันันททึกึก ผา่ นการประเมิน-มุ่งม่ันในการทางาน กากราสรังสเังกเตกต ทุกคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์-อย่อู ย่างพอเพียง-ใฝเ่ รียนรู้-รกั ความเป็นไทย-ซ่อื สัตย์สจุ รติ-มีจิตสาธารณะ5. กกจิ ิจกกรรรมมกการาเรรเยีรนียรนู้ รู้ ชช่วั ั่วโมโมงทงี่ท1ี่ -12-2 สป ขุ ญั ภหาพาสในุข21ช21ภ..ุม.. า ชนพนนนนักใักกักั นเเเเรรรรชียยีียียมุ นนนนชนทนทนำ�าา�ำ เกเกสสจิ นิจนกกออรแรรแนรมนมวBวทrทBาarงาianกงiกาnGราyศGรmกึศyษmึกขาษยคขาับ้นคยกค้บันาวย้าคกขาวรยย้าวาบขยรยรสววามบมยอขรสง้อวมมมอลูขง้อแมลูละเสแนลอะแเนสวนทอาแงแนกวไ้ทขาปงญั แหกา้ไข 33.. จจัดัดนนกั กั เรยี นออกกเเปปน็ ็นกกลล่มุ ุ่มๆๆลละะ4-45-5คนคนใ ห ใท้ หกุ ้ทกกุลกมุ่ ลเลุม่ อื เกลวอื ธิ กกี วาิธรีกศึการษศาคกึ น้ษคาวค้า้นรคววบา้ รวรมวขบอ้รมวูลมแขล้อะมเลูสนแอลแะนเวสทนาองแกน้ไวขทปาญั งหแากส้ไขุ ภปาัญพหในาชสุมขชภนาพในชุมชน 44.. นนกั ักเรเรยี ยี นนแแตล่ ะกลมุ่ ศศึกกึ ษษาาคคน้ น้ คควว้าา้ รรววบบรรวมวมข้อขมอ้ ูลมลู แลแะลเะสเนสอนแอนแวนทวาทงแากงแไ้ ขกปไ้ ญขั ปหญัาสหขุ าภสาขุ พภาพ ในชชมุ ุมชชนนตตาามมววธิ ีกธิ ากี ราศรึกศษึกาษคา้นคค้นวคา้ วท้าี่แทต่ลีแะตก่ลละุ่มกเลอื่มุ กเลโือดกยใโหดน้ ยักใเหรน้ียนกั เนรีย้นนเนเ้ือนห้นาเนเร้ืออ่ื หงากเารรื่อเกงดิ กโารรคเพกยดิ าโธริ คใพบยไมาธต้ ิใับบแไลมะต้ มับะแเรลง็ ทะม่อนะเา้ รด็งีจทา่อกนพฤำ้�ดตกิจี รารกมพกฤาตรกิ นิรขรมองกคานรอกสีินาขนองคนอีสาน 55.. นนกักั เเรรยีียนนแแตตล่ ่ละะกกลลุ่มมุ่ททาใ�ำ บใงบางนานเร อ่ืเรง่อื เงมนเมูอนาหอู าารหปาลราปเพลา่ิมเคพณุ ม่ิ คคา่ ณุ ทาคง่าโทภชางนโาภกชารนาแกลาว้ รทาแใลบ้วงทานำ�รใบายงบานุคครลายสบาหุครคับลรสวบ�ำ หรวรมับเรปวน็ บรรปู วเลมม่ เปสมน็ ุดรรูปาเยลง่มาสนมเุดมื่อราเรยียงนาจนบหเมนือ่ ว่ เยรกยี านรจเรบยี หนนรู้ว่ ยการเรยี นรู้สป ขุ ัญภหาพาสในุข6776ชภ....ุม าชคตคตพนรัวัวรใแูแูแแนเลทลกทชะนย่ีะนุมนวนนนชกักักักกันเบัเรเรเรกยีรียียเาียนนกรนรนแ่ียเว่รกแตวม่วดิตล่กมกโะล่ับรันกกคะกอันลพกาภอมุ่ ลยรปิ นภาุ่มเรกาธิปนาเิใิดสรยบำ�โานเไรสยมสอคน้ตผรพสปุับอลยรงผแแุปาาลลลนธะงะิใหแมาบแนลนะสไเา้ะหมรดชแ็งน้งตัน้ทสคับา้เอ่วดรชแานยีงัน้ ลมนา้คเคะดรวดิมีจยีาเาะมนหกเคน็รพิด็งเฤกทเตหย่ี ่อกิว็นนรกเรำ้�ับกมดแ่ียกีจนวาากวรกทกับพานิแงฤขนแอตกวงิกท้ไคขรานปรงอญมัแสี กกหาา้ไานขรกนิ ของคชนัว่ อโมสี งาทน่ี 3-4คแป ลือร ะะ กค หนิ ณุ ยป คดั ล1 า่3232ชแา1.ท..ส..ล่ัว. า ุกนะโนนนนงนมักคโักััักกกปภกัเงุณเเเเรรรเชทรรรรยีายีคยีนียียี่ยีศนน3่านานนนจทนทก-ทานคค4าาาากดิ�ำำกิ�ด รเงเสกเเิจชเโชสชนจิกภื้อ่ือนื่ออกรโชมรรรอมรนโคมารรยโายยมางแBกกถยงลrาาBaงึถกะรรกirึงาnคอaากรงาiรGnคอาหจyรณุาาะGmจรหนคyจะาา่าmาขนปรทกยจลำ�าปับขงาปาลกโมยกลภาาาับปทาชยแกลมนเ่ีขปหาาายารมยทกแาราขยาปูี่ปเะหรสยเรสปมมารม็นยอาูปกงผสะบัเลมสปวติอม็นยั ภงกตผณั ั่าบลงฑวิตๆ์ปัยภโลตัณดา่ายงฑใคๆน์ปาแนลโนึงดาวถยวึงใิถคคนใีวำ�หแานมมนึง่ปวถไทรวึงะิอถคหีสีใวยหาาดันมม่ไทอีสาน คอื กนิ ปลาสุก ปราศจากเชอ้ื โรค และคงคณุ คา่ ทางโภชนาการ 23

PLC ให้มนี วัตกรรม 4. นักเรียนออกแบบผลติ ภณั ฑ์ปลาวิถีใหม่ ไทอีสาน 5. นักเรยี นท�ำ ใบงาน เร่ือง ผลิตภณั ฑ์ปลาวิถใี หม่ ไทอีสาน ช่วั โมงท่ี 5-6 1. นกั เรียนท�ำ กิจกรรม Brain Gym ขยบั กายขยายสมอง 2. นกั เรยี นเสนอแนวทางป้องกนั โรคท่เี ปน็ สาเหตุส�ำ คัญของการเจ็บปว่ ยและการตายของคนไทย 3. จดั นักเรียนออกเปน็ กล่มุ ๆละ 4–5 คน ใหท้ กุ กลุม่ เลือกวิธีการศึกษาค้นคว้า รวบรวมขอ้ มลู และเสนอแนวทางป้องกันโรคที่เปน็ สาเหตสุ ำ�คัญของการเจบ็ ป่วยและการตายของคนไทย 4. นักเรยี นแต่ละกลุ่มจดั ท�ำ สมุดรายงาน เรื่อง แนวทางแกไ้ ขปญั หาสุขภาพในชุมชน 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอความรู้จากการทำ�รายงานหน้าชั้นเรียน พร้อมส่งสมุดรายงาน เรื่อง แนวทางแก้ไขปัญหาสขุ ภาพในชุมชน ให้ครูประเมนิ ผลงาน 6. นกั เรียนสนทนา อภปิ ราย เก่ียวกบั การวางแผนการจดั งานนิทรรศการ “งานสุขภาพชมุ ชน” เนน้ การแสดงสินค้าผลิตภัณฑ ์ “ผลติ ภัณฑ์ปลา วิถใี หมไ่ ทอสี าน” ของนกั เรยี นและชุมชน พร้อมสง่ เสรมิ การขายผ่าน facebook โดยจัดใหม้ ีผูร้ บั ผิดชอบการจ�ำ หนา่ ยผลติ ภัณฑ์ผ่านระบบonlineประจำ�ชมุ ชน ชัว่ โมงที่ 7-10 1. นกั เรยี นท�ำ กจิ กรรม Brain Gym ขยบั กายขยายสมอง 2. นักเรียนจดั งานนิทรรศการ “งานสขุ ภาพชุมชน” 3. ผปู้ กครอง และชาวบา้ นในชุมชน รว่ มงานนทิ รรศการ “งานสขุ ภาพชมุ ชน” 4. นกั เรยี นส�ำ รวจความพงึ พอใจของผปู้ กครอง และชาวบา้ นในชมุ ชน ตอ่ งานนทิ รรศการ “งานสขุ ภาพชมุ ชน” 6. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรอ่ื ง วฒั นธรรมการกินของคนอีสาน 2. VDO เมนอู าหารจากปลา 3. เมนูอาหารจากปลาในชมุ ชน 4. Internet เพือ่ การสืบค้นและการสื่อสารเพอ่ื การจ�ำ หน่ายผลิตภณั ฑ์ 5. แหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ ในชุมชน 6. ภูมิปัญญาท้องถิน่ 7. เวบ็ ไซด์ www.livercare.kku.ac.th 8. หนงั สือ ความรพู้ นื้ ฐานโรคพยาธิใบไมต้ บั และมะเรง็ ท่อนำ�้ ดี 9. สื่อความรู้สำ�หรับเด็ก เยาวชนและประชาชน เรือ่ ง ความรูเ้ รอื่ งโรคพยาธใิ บไมต้ บั และมะเร็งทอ่ นำ้�ดี 24

PLC ให้มนี วัตกรรม การจกัดากรจาัดรกเราีรยเนรียรนู้บรูรบู้ ูรณณาากกาารรสสู่ผู่ผลลลพั ลธัพ์ Tธh์ aTilahnadila4.n0d 245.0 ใบงาน เรอ่ื ง เมนอู าหารปลาเพมิ่ คณุ คา่ ทางโภชนาการคาช้แี จง : ใหน้ กั เรียนกาหนดรายการอาหารท่เี หมาะสมกบั คนในชุมชน สาหรบั วัยตา่ งๆ ได้แก่ วยั ทารกวยั เด็ก วัยกอ่ นเรียน วยั เรยี น วยั รนุ่ วยั ผู้ใหญ่ และวัยผสู้ งู อายุ ทัง้ น้ี ใหค้ านงึ ถงึ ความประหยัดและคุณคา่ทางโภชนาการ ตลอดจนความปลอดภัยจากการเกดิ โรคพยาธใิ บไม้ตับและมะเรง็ ทอ่ นา้ ดี วยั เมนอู าหาร/ภาพประกอบวัยทารกวยั เดก็ /วัยกอ่ นเรยี นวัยเรียนวยั ร่นุวัยผ้ใู หญ่วยั ผ้สู ูงอายุช่ือ-สกลุ ...................................................................................................ชัน้ .........................เลขที่............... 25

PLCPLC ใหม้ ีนวัตกใหรม้รมีนวัตกรรม การจดั การเรียนรูบ้ รู ณาการส่ผู ลลพั ธ์ Thailand 4.0 26 ใบงาน เรือ่ ง ผลติ ภณั ฑป์ ลา วถิ ใี หมไ่ ทยอีสานคาชี้แจง : ให้นักเรียนดูภาพวงจรของการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้าดี แล้วคิดเช่ือมโยงถงึ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ปลา แนววิถีใหม่ไทอีสาน อาหารสุก สะอาด ปราศจากเชื้อโรค และคงคุณค่าทางโภชนาการ โดยระบุเมนูอาหาร และบรรจภุ ณั ฑ์ ท่จี ะใชใ้ นการผลิต “ผลิตภณั ฑป์ ลาวิถีใหม่ไทยอีสาน” 26

PLC ให้มีนวัตกรรม การจกัดารกจาดั รกเารรียเรนยี รนู้บรู้บูรรู ณณาากกาารรสสผู่ ูล่ผลลพั ลธั์พTธha์ iTlahnadil4a.0nd 247 .0เมนูอาหาร บรรจภุ ณั ฑ์ ภาพประกอบ “ผลิตภัณฑป์ ลาวิถีใหมไ่ ทอสี าน”facebook เพือ่ การจาหน่ายผลิตภณั ฑผ์ า่ นระบบonline…………………………………………………………………ช่อื กลมุ่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….สมาชิกกลุ่มชอื่ -สกลุ ...................................................................................................ช้นั ..........................เลขที.่ ..............ชือ่ -สกลุ ...................................................................................................ชน้ั ..........................เลขที.่ ..............ชอ่ื -สกลุ ...................................................................................................ชน้ั ..........................เลขท.ี่ ..............ชอ่ื -สกลุ ...................................................................................................ชนั้ ..........................เลขที.่ ..............ชอื่ -สกลุ ...................................................................................................ชน้ั ..........................เลขที.่ .............. 27

PLCPLC ให้มนี วัตใกหรม้ รนี มวัตกรรม การจัดการเรียนรู้บูรณาการสู่ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 28 สมุดรายงาน เรื่อง แนวทางแก้ไขปญั หาสขุ ภาพในชุมชน 28

PLC ใหม้ ีนวัตกรรม การจกัดารกจาดั รกเารรียเรนียรนู้บรู้บูรูรณณาากกาารรสส่ผู ูล่ผลลพั ลธั์พTธha์ iTlahnadil4a.0nd 249 .0 ภาระงานรวบยอด นิทรรศการ “งานสุขภาพชุมชน” 29

PLCPLC ใหม้ นี วใหัตก้มรีนรวมตั กรรม การจดั การเรยี นรู้บูรณาการสูผ่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 30 ตอนท่ี 6การวจิ ยั เพ่ือแก้ปญั หาคุณภาพผู้เรยี น การดาเนินงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหา “ผู้เรียนสร้างนวัตกรรมไม่เป็น” ของผู้เรียนจะดาเนนิ การต่อเนอื่ ง 3 เดอื น ซ่งึ เปน็ การปฏิบตั ิการวิจัยในช้นั เรยี น ควบคู่กันไปกับการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ หรือการทา PLC : Professional Learning Communityจะปฏิบัติการได้ 3 วงรอบ ต่อเนื่องเป็นวงจร P-A-O-R สอดคล้องกับ นงลักษณ์ วิรัชชัย และสวุ ิมล ว่องวาณิช (2544 : 5) ท่ีไดอ้ ธิบาย ดงั ภาพประเดน็ ปัญหาผู้เรยี น พบปญั หาคุณภาพผเู้ รียน “สร้างนวตั กรรมไมเ่ ปน็ ”รวมทีม PLC ทม่ี เี ปา้ หมายเดียวกัน ผู้เรยี น “สร้างนวัตกรรมเป็น 100%”นวตั กรรมทเ่ี กดิ จากการรวมทมี PLC ท่ีมีเป้าหมายเดียวกนั นวัตกรรมการจดั การเรียนรวู้ ิธสี อน STEM Education 6 ขนั้ ตอนขอบเขตเวลา วงรอบท่ี 1 จดั การเรยี นการสอนเดือนพฤษภาคม วงรอบที่ 2 จัดการเรยี นการสอนเดือนมิถนุ ายน วงรอบที่ 3 จดั การเรยี นการสอนเดอื นกรกฎาคม 30

PLC ใหม้ นี วัตกรรม การจัดกการาจรดั เรกีายรนเรรยี ู้บนูรรู้บณูรณากากาารรสสูู่่ผผลลลลพั ัพธ์ ธT์hTaihlaanidla4n.0d 431.0 เอกสารอา้ งองิดษุ ฎี โยเหลา และ คณะ. (2557). การศกึ ษาการจัดการเรียนรแู้ บบ PBL ทไ่ี ด้จากโครงการ สรา้ งชดุ ความรู้เพอื่ สรา้ งเสรมิ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ของเดก็ และเยาวชน : จากประสบการณค์ วามสาเรจ็ ของโรงเรยี นไทย. กรงุ เทพฯ : หจก. ทิพยวสิ ทุ ธิ์.นงลักษณ์ วริ ัชชยั และ สวุ ิมล วอ่ งวาณิช. (2544). การวจิ ัยและการพฒั นาเพ่ือการปฏริ ปู ท้ังโรงเรยี น. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2560). ค่มู ือการใชง้ าน Logbook สาหรบั ขา้ ราชการครูสายงานการสอนเพอ่ื ขอประเมินวทิ ยฐานะ. (เอกสารอดั สาเนา).Bonwell, C. C., and Eison, J. A. (1991). Active learning: Creating excitement in the classroom. ERIC Digests (ED340272, pp. 1-4). George Washington University, Washington D.C.: ERIC Clearinghouse on Higher Education.Heinich, R. and others. (1996). Instructional Media and Technologies for Learning. New Jersey:Prentice-Hall, Inc.Hiatt-Michael, D. (2001). Caring and the learning community. Unpublished manuscript, Pepperdine University, Malibu, CA.McKeown, M. (2008). The Truth About Innovation. London, Prentice Hall.Meyers, Chet and Jones, Thomas B. (1993). Promoting Active Learning: Strategies for the Collage Classroom. San Francisco: Jossey-Bass.Senge,P.M. (1990). The fifth discipline :Theart andpracticeof the learning organization. London: CenturyPress.Sergiovanni, T. J. (1994). Building community in schools. San Francisco: Jossey-Bass. 31

PLCPLC ใหม้ ีนวใหัตกม้ รีนรวมตั กรรม การจดั การเรยี นรู้บรู ณาการสู่ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 32 32

1ภาคปฏบิ ัติ : การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้แบบองิ มาตรฐานตวั ช้วี ดั ชั้นปี ตวั ชี้วัดชนั้ ปี………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………… ผลลพั ธ์ของระบบหลกั สูตร ตัวช้วี ดั ช้นั ปี (ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด) ………………………………………………………… ……………………………………………………….. ………………………………………………………… …………………………………………………………

2 ใบงานกล่มุ ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้แนว Active Learning สผู่ ลลัพธ์ Thailand 4.0คาชี้แจง ใหค้ รอู อกแบบหน่วยการเรียนรู้ ตามองคป์ ระกอบพ้ืนฐานของหนว่ ยการเรียนรู้ ดังน้ีชอื่ หนว่ ยการเรียนร…ู้ ……………………………………………………………………………………………….ชัน้ ……………………………………………………..……………………………..เวลา………………….ช่วั โมง1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชีว้ ดั ชัน้ ปี 1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้ 1.2 ตวั ช้วี ดั ชน้ั ปี2. สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ 3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์4. การวดั และประเมนิ ผล 4.1ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด (นวัตกรรมทพี่ ัฒนาได้) …………………..……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 4.2ประเมินผลระหว่างเรยี น5. กิจกรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้แนว STEM Education6 ขัน้ ตอน6. ส่อื และแหล่งเรียนรู้

3 ใบงานการวางแผนการทาชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC)ในสถานศกึ ษาคาช้ีแจง : ให้สมาชกิ ในกลุ่ม ฝกึ แสดงบทบาทในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และวางแผนการทาชมุ ชนการเรยี นร้วู ิชาชพี (PLC)ในสถานศึกษา

4บนั ทึกชุมชนการเรยี นรวู้ ิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)โรงเรียน……………………………………………………สงั กัด………………………………………………………….ชอื่ กลุ่มกจิ กรรม……………………………………………ชอื่ กิจกรรม……………………………………………….จานวนสมาชกิ ……คน ครั้งที่……วันท่ี……เดือน………… ป…ี ……ภาคเรียนที่…..ปีการศึกษา……….จานวนสมาชิกทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมในครัง้ นี้……..…..คน จานวนช่ัวโมง……ชว่ั โมงประเดน็ ………………………………………………………………………………………………………………………สาเหตุ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ความร/ู้ หลกั การทนี่ ามาใช้………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………กิจกรรมทท่ี า…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5ผลที่ไดจ้ ากกิจกรรม……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………การนาผลท่ไี ดไ้ ปใช้………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………อ่ืนๆ………………….....………………………………………………………………………………………………………สมาชิกทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรมในคร้งั นี้ บทบาทในPLC ลายมือช่อื ท่ี ชอื่ -สกุล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 (ลงช่อื ) ผู้บนั ทกึ () ตาแหนง่ …………………………………………………………………………หมายเหตุ สาเนาบันทกึ กิจกรรม PLC ในครงั้ น้ี ใหส้ มาชิกทกุ คน พรอ้ มลงลายมือชอื่ รบั รองสาเนาถูกต้อง

6 ใบงาน การวางแผนการทาวิจยั ในชั้นเรยี นตอนที่ 1 ระบปุ ญั หาคณุ ภาพผู้เรียนและนวตั กรรมยกระดบั คุณภาพผเู้ รียนคาชแ้ี จง : ใหค้ รผู สู้ อน ระบปุ ญั หาคุณภาพผู้เรยี น จากการวิเคราะห์ประสบการณ์ การสอน ในรายวชิ าท่ีเคยรับผิดชอบ จากน้นั บันทึกข้อมลู ที่เกย่ี วขอ้ งในแบบกรอกขอ้ มลู ในตารางและภาพ ปญั หาคุณภาพผเู้ รียน………………………………………………….. นวตั กรรมยกระดบั คุณภาพผเู้ รียน นวตั กรรมยกระดบั คณุ ภาพผ้เู รียน ระดบั เทคนคิ การสอน ระดบั วธิ ีการสอน ระบุ/เชอื่ มโยง เทคนคิ การสอนใด ใช้ในข้นั ตอนการสอนใด ระบุวิธีสอน………………………………………………....…………………………………………………………………..………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..………………………………………………………………….. ……..

7ตอนท่ี 2 ออกแบบนวตั กรรมยกระดับคณุ ภาพผู้เรยี น ระดบั วิธกี ารสอนคาชแ้ี จง : ใหค้ รผู สู้ อน ระบุชื่อวธิ ีการสอน ชื่อขั้นตอนการสอน กจิ กรรมการเรียนรูป้ ระกอบ ขนั้ ตอนการสอน และเทคนิคการสอน ทใ่ี ช้ในแตล่ ะขน้ั ตอนของการสอน จากนั้น บันทกึ ขอ้ มูลท่เี กีย่ วข้องในแบบกรอกขอ้ มูลในตาราง วธิ กี ารสอน……………………………………………………………………………………………………….. ขน้ั ตอนการสอน ชอ่ื ข้นั ตอน/กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระกอบขั้นตอนการสอน เทคนิคการสอนท่ีใช้ ชือ่ ขนั้ ตอน ……………………………………………………………….. กิจกรรมการเรียนรปู้ ระกอบขน้ั ตอนการสอน ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ชือ่ ขั้นตอน ……………………………………………………………….. กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระกอบข้ันตอนการสอน ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ชอื่ ข้นั ตอน ……………………………………………………………….. กิจกรรมการเรยี นร้ปู ระกอบขั้นตอนการสอน ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ช่ือขัน้ ตอน ……………………………………………………………….. กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระกอบขั้นตอนการสอน ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………

8 วธิ ีการสอน………………………………………………………………………………………………………..ข้ันตอนการสอน ชอ่ื ข้นั ตอน/กิจกรรมการเรียนรปู้ ระกอบข้นั ตอนการสอน เทคนิคการสอนท่ใี ช้ ชื่อขั้นตอน ……………………………………………………………….. กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบขนั้ ตอนการสอน ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ชอ่ื ข้นั ตอน ……………………………………………………………….. กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบขนั้ ตอนการสอน ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ชอื่ ขนั้ ตอน ……………………………………………………………….. กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบขน้ั ตอนการสอน ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… (ลงช่ือ) ผ้บู ันทึก () ตาแหนง่ …………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook