Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการฝนหลวง

โครงการฝนหลวง

Published by kan02726, 2019-12-23 12:23:17

Description: โครงการฝนหลวง

Search

Read the Text Version

โครงการฝนหลวง หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอวงั ทรายพนู ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอวงั ทรายพูน สานกั งาน กศน.จังหวัดพจิ ิตร

โครงการฝนหลวง เป็นโครงการที่เกิดข้ึนจากพระราชดาริส่วน พระองค์ใน พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช พ่ื อ ส ร้ า ง ฝนเทยี มสาหรบั บรรเทาความแหง้ แลง้ ใหแ้ ก่เกษตรกร ประวตั ิ เม่ือคราวที่ประบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จ พระราชดาเนินเย่ียมพสกนิกร เม่ือปี พ .ศ.2498 ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนทุกข์ยาก ของราษฎรและเกษตรกรที่ขาดแคลนน้าอุปโภค บริโภคและ การเกษตรจึงได้มีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานโครงการ พระราชดาริ “ฝนหลวง” ให้กับม.ร.ว.เทพฤทธ์ิ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมาได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลอง ปฏิบัติการ ฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้นในสังกัด สานักงาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เม่ือปี 2512 ด้วยความสาเร็จ ของโครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้งสานักงานฝนหลวง ขึน้ ในปี พ.ศ. 2518 ในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพ่ือเป็น หน่วยงานรองรับโครงการพระราชดารฝิ นหลวงต่อไป

วธิ กี ารทาฝนหลวง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงกาหนดขั้นตอนของ กรรมวธิ ีการทาฝนหลวงขน้ึ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจได้ง่าย ๆ ตามลาดบั ดังน้ี ขั้นตอนท่ีหนง่ึ : “ก่อกวน” เ ป็ น ขั้ น ต อ น ท่ี เ ม ฆ ธ ร ร ม ช า ติ เ ร่ิ ม ก่ อ ตั ว ท า ง แ น ว ต้ั ง การปฏิบัติการทางฝนหลวงในขั้นตอนน้ี จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้น ให้มวลอากาศเกิดการลอยตัว ขึ้นสู่ เบ้ืองบนเพ่ือให้เกิดกระบวบ การชกั นาไอน้า หรือ ความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ระยะเวลาท่ี จะปฏิบัตกิ ารในขัน้ ตอนนีไ้ ม่ควรเกิน 10.00 น. ของแต่ละวัน โดย การใช้สารเคมีท่ีสามารถดูดซับไอน้าจากมวลอากาศได้ แม้จะมี เปอร์เซ็นต์ความชื้นสัมพัทธ์ต่า (มีค่า Critical relative humidity ต่า) เพ่ือกระตุ้นกลไก ของกระบวนการกล่ันตัวไอน้าในมวลอากาศ (เป็นการสร้าง Surrounding ให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ เมฆด้วย) ทางด้านเหนือลมของพื้นท่ีเป้าหมาย เม่ือเมฆเร่ิมเกิดมี การกอ่ ตัว และเจริญเตบิ โตทางตัง้ แลว้ จงึ ใชส้ ารเคมใี ห้ปฏิกิริยาคาย ความรอ้ นโปรยเปน็ วงกลมหรือเปน็ แนวถดั ทางใตล้ ม เปน็ ระยะทาง สั้น ๆ เข้าสู่ก้อนเมฆเพ่ือกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วม (main cloud core)ในบริเวณปฏิบัติการสาหรับใช้เป็นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่ม เมฆฝนในข้ัน

ข้นั ตอนที่ 2 : “เล้ยี งใหอ้ ว้ น” เป็นข้ันตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริญเติบโตจึงเป็นระยะ สาคญั มากในการปฏิบัติการฝนหลวง เพราะจะต้องไปเพ่ิมพลังงาน ให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไปต้องใช้เทคโนโลยีและ ประสบการณ์หรือศิลปะแห่งการทาฝนควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน เพื่อ ตัดสินใจโปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ท่ีใดของกลุ่มก้อนเมฆ และในอัตราใดจึงเหมาะสมเพราะต้องให้กระบวนการเกิดละออง เมฆสมดลุ กบั ความแรงของ updraft มฉิ ะน้นั จะทาใหเ้ มฆสลาย ข้นั ตอนท่ี 3 : “โจมตี” เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง เมฆ หรือกลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้า ขนาดใหญ่ มากมายหากเคร่ืองบินบิน เข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนั้นจะมีเม็ดน้าเกาะตามปีกและกระจังหน้า ของเคร่ืองบิน เป็นขั้นตอนที่สาคัญและอาศัย ประสบการณ์มาก เพราะจะต้องปฏิบัติการเพ่ือลดความรุนแรงของ updraft หรือทา ให้อายุของ updraft หมดไป สาหรับการปฏิบัติการในขั้นตอนน้ี จะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมาย ของการทาฝนหลวง ซ่ึงมีอยู่ 2 ประเด็นคือ เพื่อเพ่ิมปริมาณฝนตก (Rain enhancement) และ เพื่อให้เกดิ การกระจายการตกของฝน (Rain redistribution)

เครือ่ งมือและอปุ กรณส์ าคัญทใี่ ช้ประกอบในการทาฝนหลวง เครื่องมืออุตุนิยมวิทยาใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศ ประกอบการวางแผนปฏิบัติการนอกเหนือจากแผนที่อากาศ ภาพถ่ายดาวเทียมท่ีได้รับสนับสนุนเป็นประจาวัน จากกรม อุตนุ ิยมวิทยาท่มี ใี ช้ได้แก่ เครื่องวัดความช้ืนบน (Pilot Balloon) ใช้ตรวจวัดทิศทางและ ความเรว็ ลมระดับสูงจากผิวดินขึ้นไป เคร่ืองวัดวิทยุหยั่งอากาศ (Radilsonde) เป็นเคร่ืองมือ อิเลคทรอนิคส์ประกอบด้วย เคร่ืองส่งวิทยุซ่ึงจะติดไปกับบอลลูน และเครื่องรับสัญญาณ วิทยุซง่ึ จะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิ ของบรรยากาศในระดับต่าง ๆ เครื่องเรดาร์ตรวจอากาศ (Weather Radar) ที่มีใช้อยู่เป็นติด รถยนต์เคล่ือนท่ีได้มีประสิทธิภาพ สามารถบอกบริเวณที่มีฝนตก และความแรง หรือปริมาณน้าฝนและการเคลื่อนท่ีของกลุ่มฝนได้ ในรัศมี 200- 400 กม. ซ่ึงนอกจากจะใช้ประกอบการวางแผน ปฏบิ ตั ิการแลว้ ยังใชเ้ ป็นหลักฐานในการประเมินผลการปฏบิ ัตกิ าร ฝนหลวงอีกดว้ ย

เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่าง ๆ เช่น เครื่องมือวัดอุณหภูมิ เคร่อื งวัดความเรว็ และทศิ ทางลม เครอ่ื งวัดปริมาณน้าฝน เปน็ ต้น เคร่ืองมือเตรียมสารเคมี ได้แก่ เคร่ืองบดสารเคมี เคร่ืองผสม สารเคมี ท้ังแบบน้าและแบบผง ถงั และกรวยโปรยสารเคมี เป็นตน้ เครื่องมือส่ือสาร ใช้ในการติดต่อส่ือสารและสั่งการระหว่าง นักวิชาการบนเคร่ืองบน กับฐานปฏิบัติการหรือ ระหว่างฐาน ปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้รายงานผลระหว่างฐาน ปฏิบัติงาน สานักงานฯ ในส่วนกลาง โดยอาศัยข่ายร่วมของ วิทยุตารวจ ศูนย์ ส่ือสารสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย วิทยุเกษตรและ กรมไปรษณีย์โทรเลข เคร่ืองมือส่ือสารที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ วิทยุ ซงิ เกิลไซดแ์ บนด์ วทิ ยุ FM.1, FM.5 เครอ่ื งทรพมิ พ์ เป็นตน้ เครือ่ งมอื ทางวชิ าการอ่ืน ๆ เชน่ อุปกรณท์ างการวางแผนปฏิบตั ิการ เข็มทิศ แผนท่ี กล้องส่องทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมี กลอ้ งถ่ายภาพ และอ่ืน ๆ

สถานีเรดาร์ฝนหลวง ในบรรดาเครือ่ งมอื อุปกรณ์ วิทยาศาสตร์ ภายใต้โครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศประยุกต์ จานวน 8 รายการนั้น Doppler radar จดั เป็นเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ที่มีมูลค่าสูงสุด Doppler radar น้ีใช้เพื่อวางแผนการทดลอง และ ติดตามประเมินผล ปฏิบัติการฝนหลวงสาธิต เครื่องมือชนิดน้ี ทางานโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Microvax 3400) ควบคุม การ ส่ังการ เก็บบันทึก รวบรวมข้อมูล สามารถนาข้อมูลกลับมาแสดง ใหมจ่ ากเทปบันทกึ ในรูปแบบการทางานของ IRIS (IRIS Software) ผ่าน Processor (RUP -6) กล่าวคือ ข้อมูลจะถูกบันทึกไว้ในเทป บันทึกข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถนามาใช้ได้ตลอด ซ่ึง เชื่อมต่อกับระบบเรดาร์ การแสดงผล / ข้อมูลโดย จอภาพ (TV .monitor) ขนาด 20 นิ้ว สถานท่ีต้ัง Doppler radar หรือท่ี เรียกว่า สถานเี รดารฝ์ นหลวง น้ีอยูท่ ี่ตาบลยางเปียง อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ จากกรรมวิธีการทาฝนหลวงท่ีใช้เป็นหลักอยู่ใน ปัจจุบัน คือการโปรยสารเคมีฝนหลวงจากเคร่ืองบิน เพ่ือเร่งหรือ เสริมการก่อตัว และการเจริญเติบโตของเมฆ และการโจมตี กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ ท่ีเคยปฏิบัติกันมาตั้งแต่เริ่มแรกจนถึง ปจั จบุ ันน้นั ในบางครัง้ กป็ ระสบปญั หาท่ีไมส่ ามารถปฏิบัติตาม

ขั้นตอนกรรมวิธีให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น ในขั้นโจมตีให้ฝนตกลงสู่ พื้นท่ีเป้าหมาย ไม่สามารถกระทาได้เน่ืองจากฝนตกปกคลุม สนามบิน เกิดพายุปั่นป่วนและรุนแรง เคร่ืองบินไม่สามารถบินขึ้น ปฏิบัติการได้ ทาให้กลุ่มเมฆเคลื่อนพ้นพื้นที่เป้าหมาย จากปัญหา ต่างๆ เหล่าน้ี จึงได้มีการวิจัยและทดลอง กรรมวิธี การทาฝน เพื่อ การพัฒนาและก้าวหน้าบรรลุเป้าหมายยิ่งขึ้นอีกระดับหนึ่ง อาทิ เชน่ การทาวจิ ยั สร้างจรวดบรรสารเคมยี ิงจากพื้นดินเข้าสู่ ก้อนเมฆ หรือยิงจากเครื่องบิน จึงได้ มีการเริ่มวิจัยประดิษฐ์จรวดทาฝน ร่วมกับกรมสรรพาวุธทหารบก เมือ พ.ศ.2515 - 2516 จน ก้าวหน้าถึงระดับทดลองยิงในเบื้องต้นแล้วแต่ต้องหยุดชะงัก ด้วย ความจาเป็นบางประการของกรมสรรพาวุธทหารบกจนถึง พ.ศ. 2524 คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติได้แต่ตั้งคณะทางาน พัฒนาและวิจัยฝนเทียมข้ึน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ ด้าน จรวด ของกองทัพบก กองทัพเรอื กองทัพอากาศ นักวิชาการของสภา วิจัยแห่งชาติและนักวิชาการ ฝนหลวงซึ่งได้ทาการวิจัยประดิษฐ์ และพัฒนาจรวดต้นแบบ ขึ้นทาการทดลองยิงทดสอบก้าวหน้ามา ตามลาดับ และถึงข้ันบรรจุสารเคมีเพื่อ ทดลองยิงเข้าสู่ก้อนเมฆ จรงิ แล้ว

ในปี พ.ศ. 2530 ขณะนี้กาลังอยู่ในข้ันทาการผลิตจรวดเชิง อตุ สาหกรรมเพือ่ ทาการยงิ ทดลองและตรวจสอบผล ในเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารต่อไปในการน้พี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง พระกรุณาพระราชทานแนวความคิดในการวิจัยชิ้นนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook