Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Beat Practice เกม 24

Beat Practice เกม 24

Published by 6080102123, 2023-07-01 16:23:09

Description: Beat Practice เกม 24

Search

Read the Text Version

ปก

รายงานผลงาน การปฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) เรื่อง คณิตคิดไว ใชเ้ กม 24 โรงเรียนจักราชวิทยา อำเภอจักราช จงั หวดั นครราชสีมา สาํ นกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาศึกษานครราชสีมา กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานผลงานการปฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) ก คำนำ ตามทส่ี ำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษานครราชสมี า มโี ครงการสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษา ของสถานศึกษาสคู่ วามเปน็ เลิศดว้ ยนวตั กรรมการปฏบิ ตั งิ านที่เปน็ เลศิ (Best Practice) “รางวัลประกาย เพชร” โดยเชญิ ชวนบคุ ลากรทางการศึกษาของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษานครราชสีมาร่วม แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานที่ประสบผลสำเรจ็ และความภาคภมู ิใจในผลงานท่ีเกดิ ขน้ึ และ เพือ่ เป็นการสรา้ งขวัญและกำลงั ใจในการพัฒนางานอยา่ งต่อเนื่อง ข้าพเจ้า นางสาทิพย์ ถอื ความสัตย์ ตำแหน่ง ครู โรงเรยี นจักราชวทิ ยา ขอส่งผลการเข้ารว่ มโครงการดังกล่าว ขา้ พเจ้าหวังวา่ เอกสารฉบบั น้ีคงจะช่วยอำนวยความสะดวกใหแ้ ก่ผทู้ ส่ี นใจ ร่วมแลกเปลย่ี นเรียนรู้ สาระสำคัญตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ และนำไปเผยแพรต่ อ่ สาธารณชนในชอ่ งทางต่าง ๆ จงึ ขอขอบคุณผ้มู ี สว่ นเกยี่ วขอ้ งทุกฝ่ายท่ีสนับสนนุ และชว่ ยเหลือ ตลอดจนผลงานประสบผลสำเรจ็ ในครง้ั นี้ สาทิพย์ ถอื ความสัตย์ ผ้จู ดั ทำ โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) ข สารบัญ หน้า ก เรอื่ ง ข คำนำ 1 สารบญั 1 การจดั ทำผลงานการปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) 2 2 บทสรปุ หรือบทคัดย่อ (Best Practice) 4 ชอื่ เร่อื งวิธีปฏบิ ัติที่เปน็ เลิศ (Best Practice) 5 ความเป็นมาและความสาํ คัญของผลงาน 6 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของผลงาน 7 กระบวนการพฒั นาผลงานหรือขัน้ ตอนการดําเนินงาน 8 ผลการดาํ เนินงาน/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชนท์ ี่ได้รับ 9 ปัจจยั ความสำเรจ็ 10 บทเรียนท่ไี ดร้ บั (Lesson Learned) 11 การเผยแพร/่ การได้รบั ความยอมรบั บรรณานกุ รม ภาคผนวก โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) ค โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) 1 การจดั ทาํ เอกสารผลงานการปฏิบัติงานท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) รางวลั ประกายเพชร สํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครราชสีมา ช่ือผู้สง่ ผลงาน นางสาทิพย์ ถือความสัตย์ ตําแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรยี น จกั ราชวิทยา กลมุ่ โรงเรียน ราชสมี า 1. บทสรุปหรอื บทคดั ย่อ การจัดผลงานการปฏบิ ตั งิ านทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) เรอื่ ง คณิตคดิ ไว ใชเ้ กม 24 มี วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ พฒั นาทักษะการคิดคำนวณของนักเรียน ส่งเสริมสนับสนนุ ให้นกั เรยี นไดเ้ ขา้ รว่ มการ แขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการในระดับต่าง ๆ และเพื่อสง่ เสริมให้นกั เรยี นมเี จตคติทด่ี ีต่อวชิ าคณติ ศาสตร์ โดยมีกระบวนการพฒั นาผลงานหรือข้ันตอนการดําเนนิ งาน ดงั นี้ ขนั้ แรกเรม่ิ จากวเิ คราะห์ปญั หาใน การจัดการเรยี นการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ จากน้นั นำผลการวเิ คราะห์มาจัดทำโครงการ กำหนด รายละเอียดโครงการ ประสานงานกบั ฝ่ายอ่ืน ๆ เพ่ือดำเนินโครงการ จากน้นั ดำเนนิ โครงการจนเสรจ็ สิน้ แลว้ จดั ทำสรุปโครงการเพ่ือรวบรวมข้อมลู และวเิ คราะหข์ ้อมูล เขา้ สขู่ ั้นตอนตรวจสอบ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข โดยนำสรปุ โครงการมาประเมนิ ผลความสำเรจ็ ในการดำเนินโครงการว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์ หรอื ไม่ หากไม่สอดคล้องหรือมีปญั หาตอ้ งกลบั ไปที่ขั้นกำหนดรายละเอียดโครงการอกี คร้ัง เพอ่ื ปรบั ปรุงและแก้ไขรายละเอยี ดโครงการ ถา้ ผลการประเมินประสบความสำเรจ็ ด้วยดี จะไปสขู่ ัน้ ตอน จดั ทำผลงานเพื่อขยายผลต่อยอดสู่ความยัง่ ยืน และข้นั เผยแพร่ผลงาน ถือเปน็ การเสร็จส้นิ กระบวนการ จากการจัดทำโครงการทำให้นกั เรียนไดพ้ ัฒนาทักษะการคิดคำนวณ การบวก ลบ คูณ และหารของจำนวนนบั นกั เรยี นมเี จตคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ มคี วามรักและสนใจในการเรยี นวิชา คณติ ศาสตร์มากขึน้ โดยประเมินจากแบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดโครงการแข่งขนั เกม 24 ซง่ึ ปรากฏว่าความพึงพอใจเฉล่ีย 4.55 อย่ใู นระดับมาก ท้ังนักเรยี นยังได้เขา้ ร่วมการแขง่ ขันทกั ษะทาง วชิ าการในระดับต่าง ๆ และไดร้ ับรางวลั จากการเข้ารว่ มโครงการอีกด้วย ส่งผลให้การจดั การเรยี น การสอนในชนั้ เรียนง่ายข้นึ เพราะนักเรยี นมีทักษะการคดิ คำนวณแลว้ ทำให้ผู้สอนได้แนวทางการ พัฒนาการจดั การศึกษามากขึ้น และยังสามารถพฒั นาโครงการไปยังโครงการคิดเลขเร็ว ซ่ึงเป็นการ ตอ่ ยอดสู่ความยง่ั ยนื 2. ชอ่ื เร่ืองวธิ ีปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) คณิตคิดไว ใชเ้ กม 24 โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) 2 3. ความเปน็ มาและความสาํ คญั ของผลงาน การจดั การศึกษาท่ีผา่ นมาในประเทศไทย ส่วนใหญ่แล้วบทบาทของผสู้ อน ซงึ่ ผู้สอนจะเป็น ผู้ถา่ ยทอดความรู้เน้ือหาเปน็ หลกั และมักทำให้คิดเกีย่ วกับการศึกษาว่าเป็นการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี ปน็ กระบวนการท่ตี รงไปตรงมา ทั้งทีจ่ ริงแล้วการเรียนรเู้ ป็นสิ่งท่ีซบั ซอ้ นมากยากท่ีจะเขา้ ใจ (วจิ ารณ์ พานิช, 2557) การจัดการเรียนการสอนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ท่ผี ่านมา พบวา่ ยงั ไม่ ประสบผลสําเร็จเท่าที่ควร นักเรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ตํ่า ทัง้ นี้อาจเน่ืองมาจาก สาเหตแุ ละปจั จัยหลายประการ เชน่ หลักสตู ร เน้อื หา ครผู ู้สอน นกั เรยี น สภาพแวดลอ้ ม ผูป้ กครอง การจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเทคนิคและวิธีการสอนของครู และอาจเน่ืองมาจากครทู ่ัวไปมัก เขา้ ใจวา่ การสอนคณิตศาสตร์ คอื สอนหรืออธิบายเนื้อหาสาระ แลว้ ให้นักเรียนทําแบบฝึกหดั ก็ เพยี งพอแลว้ แต่แทจ้ รงิ แลว้ การสอนคณิตศาสตร์ทุกเรอ่ื งต้องพยายามใหน้ ักเรยี นได้ปฏิบัติจริงควบคู่ กับไปกบั การคาํ นวณ ส่งิ แรกคือ การลงมือปฏิบัติ การพิสูจน์ การตรวจสอบ แล้วให้ทําแบบฝึกหัด และ ในบางเรือ่ งครตู ้องสาธติ ใหเ้ ข้าใจหลกั การควบคกู่ ับการอธิบาย (สมนกึ ภทั ทิยธนี, 2556, น. 3) ปัจจุบนั การจดั การเรยี นรู้ พบวา่ มีปัญหาหลายอยา่ งเกิดขึน้ เชน่ ขาด แรงจงู ใจในการเรยี น ไม่ เหน็ ความสำคัญของเน้ือหา เป็นต้น ปัญหาเหล่าน้สี ง่ ผลเสยี โดยตรงตอ่ ผ้เู รียน ผู้สอน และสถาบันการ ศึกษา (เกรยี งไกร ล่ิมทอง, 2560) นอกจากน้ปี ัญหาทเ่ี กดิ จากตวั ผเู้ รยี น ครอบครัว ส่งิ แวดลอ้ ม และ สภาพสงั คม ซ่งึ จากการสังเกต พฤติกรรมนักเรียนในห้องเรียน พบวา่ นักเรียนพึงพอใจรูปแบบการ เรียนการสอนท่ีสอดแทรกความ บนั เทิงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สือ่ วดิ ที ัศน์ เกม และกจิ กรรมอ่นื ๆ ที่ ตรงกบั วัยและความสนใจของนักเรยี น โดยนกั เรียนจะให้ความรว่ มมอื กับกจิ กรรมในชัน้ เรียนและรว่ ม แสดงความคดิ เห็นมากย่ิงข้นึ (พิชญาภา ยืนยาว และณฐั ววรรณ พ่มุ ดียง่ิ , 2560) การสอนดว้ ยเกม ผูส้ อนสามารถเป็นผู้สร้างเกมขน้ึ มาเพือ่ ช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรตู้ าม วตั ถปุ ระสงค์ ส่อื การสอน ประเภทเกมเพ่ือการเรยี นรูจ้ ดั ว่าเป็นสื่อการสอนประเภทหนึ่งทม่ี ีบทบาทสำคญั ในการสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียน มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนท่ีดีขึ้น ชว่ ยพฒั นาความร้แู ละทักษะกระบวนการคิด โดยจุดประสงค์หลกั ของ การสรา้ งเกมทกุ ชนดิ คือ การมงุ่ หวังใหเ้ กมเปน็ สอื่ กลางที่ช่วยใหผ้ ู้ เลน่ รูส้ กึ เป็นสว่ นหนึง่ ของเกม ชว่ ย กระตุน้ จนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์แกผ่ เู้ ล่น ตลอดจนใหผ้ ูเ้ ล่น ร้สู กึ ผ่อนคลายและพงึ พอใจใน การเลน่ (ลดาวัลย์ แยม้ ครวญ และ ศุภกฤษฏิ์ นิวฒั นากูล, 2559, น. 4-5 ) จากสภาพการจดั การเรียนการสอนคณติ ศาสตรข์ องโรงเรยี นจกั ราชวิทยา ซึ่งมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนต่ำกว่าคา่ เป้าหมายทีโ่ รงเรยี นกำหนดไว้ พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวชิ า คณติ ศาสตรช์ ั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ในปีการศึกษา 2564 ทผ่ี า่ นมา พบว่า ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตำ่ กว่าเกณฑท์ โ่ี รงเรยี นตั้งไว้ร้อยละ 97 และนักเรยี นไมค่ ่อยให้ความสำคัญกับวิชาคณิตศาสตร์ เพราะคิด โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) 3 วา่ เป็นวชิ าทยี่ าก และไกลตัว ผู้จดั ทำเล็งเห็นว่า ทักษะการคิดคำนวณ การบวก การลบ การคูณและ การหารจำนวนนบั เป็นเรอ่ื งที่ผู้เรียนทุกคนไดใ้ ช้ในชีวิตประจำวันมากทส่ี ุด ผู้จัดทำจงึ อยากให้ผู้เรียนได้ ความรู้มากท่สี ดุ และต้องเป็นความรูท้ ีอ่ ยู่ตดิ ตวั ผู้เรยี นตลอด และผู้จดั ทำได้ตระหนกั ถึงปัญหาผเู้ รยี น ขาดความสนใจในชั้นเรยี นเป็นอย่างมาก จึงพจิ ารณาว่าวิธที ่ีจะช่วยแก้ปญั หาและวิธีการจัดการเรียน การสอนท่ีสร้างแรงจงู ใจแกน่ ักเรียน เปน็ การสอนท่ีนา่ สนใจ เหมาะสมกบั วยั ท้ังยงั ทำให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดยี ิ่งข้ึน คือ การจัดทำโครงการแข่งขัน เกม 24 เกม 24 เกดิ ขึน้ คร้ังแรกเม่ือปี 1988 โดยนายโรเบริ ์ต ซนั (Robert Sun) แรกเริม่ เดมิ ทเี กมนี้ ถูกใชเ้ พื่อให้เด็กระดับช้ันมธั ยมฝกึ คดิ เลข โดยใช้ไพ่เป็นอุปกรณใ์ นการสมุ่ ตัวเลข โดยใหเ้ ลข 1 = A และ ไม่ใชไ้ พ่เลข 10, K, Q, J ในการเลน่ เกมนี้ การเลน่ เกม 24 คือกำหนดเลขโดด (0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9) ขึ้นมา 4 จำนวน จากน้ันให้นำเลขโดดเหล่านี้มาดำเนินการทางคณติ ศาสตร์ โดยใช้การบวก การ ลบ การคูณ หรอื การหารให้ไดผ้ ลลพั ธเ์ ทา่ กับ 24 โดยใชเ้ ลขโดดไดต้ ัวละ 1 คร้ังเท่าน้นั และต้องใช้เวลา เลขให้ครบท้ัง 4 จำนวนทสี่ ุ่มขน้ึ มา ซึ่งเกมน้ีสามารถเลน่ กันเปน็ กล่มุ หรอื เล่นเดยี วก็ได้ เกม 24 ชว่ ย ฝกึ ทกั ษะการคดิ คำนวณใหแ้ ม่นยำและรวดเรว็ มากยงิ่ ข้ึน อีกท้ังยงั กอ่ ให้เกดิ เจตคติท่ดี ีตอ่ วชิ า คณิตศาสตร์ นอกเหนือจากประโยชนข์ องผเู้ ล่นเกมท่จี ะได้รับดังท่กี ลา่ วมาแลว้ น้ัน ยังพบว่า เกมนยี้ งั สามารถช่วยครูผสู้ อนในการคุมช้นั เรียน สร้างสมาธแิ ละเตรยี มความพร้อมก่อนการเรียนไดด้ อี ีกดว้ ย (ขนิษฐา ใจหนกั ด,ี 2555) จากเหตผุ ลดังกลา่ ว ผ้จู ัดทำโดยกลุ่มสาระการเรยี นรู้วชิ าคณิตศาสตรไ์ ดม้ กี ารส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน พฒั นาทักษะการคิดคำนวณ และสง่ เสริมผเู้ รยี นมีเจตคตทิ ี่ดีต่อวิชาคณติ ศาสตร์ โดยการจัดทำโครงการ การแขง่ ขนั เกม 24 ข้นึ มาเพ่ือใหน้ กั เรียนเกิดทกั ษะการคิดคำนวณอยา่ งรวดเรว็ และเปน็ การสง่ เสรมิ เจตคติทดี่ ตี ่อวิชาคณติ ศาสตร์อยา่ งยงั่ ยนื 4. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของผลงาน 4.1 วตั ถุประสงค์ 4.1.1 เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิดคำนวณของนักเรียน 4.1.2 เพ่ือสง่ เสริมสนับสนุนให้นักเรียนไดเ้ ข้ารว่ มการแข่งขันทกั ษะทางวิชาการใน ระดบั ต่าง ๆ 4.1.3 เพือ่ ส่งเสรมิ ให้นักเรียนมเี จตคติทด่ี ตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ 4.2 เปา้ หมายเชิงปริมาณ นกั เรียนเข้ารว่ มโครงการตามทกี่ ำหนดร้อยละ 80 โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practice) 4 4.2 เป้าหมายคณุ ภาพ 4.2.1 นกั เรยี นท่ีเขา้ รว่ มโครงการมีทักษะการคิดคำนวณท่ดี ีขึ้น 4.2.2 นกั เรยี นท่เี ขา้ ร่วมโครงการได้เขา้ ร่วมการแขง่ ขันทักษะทางวิชาการในระดับ ตา่ ง ๆ 4.2.3 นักเรยี นทีเ่ ข้าร่วมโครงการมเี จตคตทิ ่ดี ีต่อวชิ าคณติ ศาสตร์ 5. กระบวนการพัฒนาผลงานหรือขั้นตอนการดําเนินงาน โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) 5 5.1 ขน้ั วเิ คราะห์ปญั หาในการจดั การเรียนการสอนรายวิชาคณติ ศาสตร์ เปน็ ขน้ั ตอนที่ ครผู สู้ อนใช้ประสบการณ์ในการสอนเพ่ือวิเคราะหห์ าปญั หาท่ีทำให้การจดั การเรียนการสอนล้าช้า หรือไมป่ ระสบความสำเร็จเท่าท่คี วร ซึ่งอาจเป็นปญั หาทีเ่ กิดจากผู้เรียนไปส่ผู ู้สอน ปัญหาท่เี กดิ จาก ผสู้ อนไปสู่ผ้เู รยี น ปัญหาทเ่ี กดิ จากนอกหอ้ งเรียน หรือปญั หาท่ีเกิดจากการจัดการเรยี นการสอนของ ผสู้ อนเอง เมื่อวิเคราะห์ปัญหาแล้ว จากนัน้ นำปัญหาท่ีไดม้ าวิเคราะห์เพอื่ หาแนวทางการแกป้ ญั หาท่ี เหมาะสม 5.2 ขั้นนำผลการวิเคราะห์มาจดั ทำโครงการ เมือ่ ผ้สู อนวิเคราะห์ปัญหา และแนวทางการ แก้ปัญหาในการจัดการเรยี นการสอนแล้ว ข้ันนจี้ ะนำแนวทางการแกป้ ัญหามาจัดทำโครงการหรอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่ือให้สอดคล้องกับแนวทางการแก้ปัญหา 5.3 ข้ันกำหนดรายละเอียดโครงการ ผ้สู อนจดั ทำโครงการ กำหนดการของโครงการ และ ละเอียดของโครงการ เพอ่ื เสนอต่อหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียรู้คณิตศาสตร์และผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 5.4 ขั้นประสานงานกับฝ่ายอ่ืน ๆ เมื่อผลการเสนอโครงการผา่ นการอนุมัติ จากนัน้ ประสาน งานกับฝ่ายอน่ื ๆ เพือ่ ขอความรว่ มมือในการดำเนนิ โครงการ โดยการประชุมคณะครูกลุ่มสาระการ เรยี นรูค้ ณติ ศาสตรเ์ พือ่ วางแผนในการจัดโครงการ การติดต่อฝ่ายงบประมาณเพ่ือขออนมุ ัตใิ ช้เงินตาม โครงการ ติดต่อฝา่ ยวิชาการเพอ่ื ขออนญุ าตนำนักเรียนเข้าร่วมโครงการ และการติดตอ่ ฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป เพ่ือจัดหาสถานทีใ่ นการจัดโครงการรวมไปถงึ การประสานกับนักเรยี น เพอ่ื ประชาสัมพันธ์ เก่ยี วกบั โครงการอีกด้วย 5.5 ขั้นดำเนินโครงการ เป็นการดำเนินโครงการตามกำหนดการหรือรายละเอยี ดทก่ี ำหนด โดยเริ่มจากการประชาสัมพันธร์ บั สมัครผูเ้ ข้าแขง่ ขัน การดำเนนิ การแข่งขันทัง้ หมด 3 รอบ โดย แบ่งเปน็ รอบคัดเลอื ก รอบรองชนะเลิศ และรอบชงิ ชนะเลิศ จากนั้นประกาศผลการแข่งขัน และมอบ รางวัลแกผ่ ้ชู นะการแข่งขนั 5.6 ขน้ั จดั ทำสรุปโครงการ เป็นการจดั ทำสรปุ โครงการ รวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ข้อมูล เพ่อื ประเมนิ ผลความสำเร็จในการดำเนนิ โครงการ 5.7 ขนั้ ตรวจสอบ ปรบั ปรุง แก้ไข นำสรุปโครงการมาประเมนิ ผลความสำเร็จในการดำเนนิ โครงการวา่ สอดคล้องกบั จดุ ประสงคห์ รอื ไม่ หากไมส่ อดคล้องหรอื มีปญั หาต้องย้อนกลบั ไปยังข้ันตอน กำหนดรายละเอยี ดโครงการอกี คร้ัง โดยปรบั ปรงุ และแกไ้ ขรายละเอยี ดโครงการใหม่ เพอ่ื ใชใ้ นการ จัดทำโครงการครัง้ ต่อไป หากถา้ ผลการประเมินบรรลุเปา้ หมาย จะเข้าสู่ขั้นตอนถัดไป 5.8 ขน้ั จัดทำผลงานเพ่ือขยายผลต่อยอดสู่ความยั่งยืน เปน็ การจัดทำผลงานเพ่ือหา แนวทางในการขยายผลต่อยอดไปยงั โครงการหรือกิจกรรมอน่ื โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) 6 5.9 ขน้ั เผยแพรผ่ ลงาน เริ่มจากเผยแพรผ่ ลงานภายในโรงเรยี นกอ่ น จากนั้นเผยเเพร่สู่ ภายนอก เพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาให้กับผู้อน่ื 6. ผลการดําเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ 6.1 ผลงานการดำเนนิ งานและผลสัมฤทธิ์ท่ีเกดิ ตามจดุ ประสงค์ จากการจดั ทำโครงการแขง่ ขันเกม 24 เริม่ ต้นจากการจดั การเรยี นการสอนในช้ันเรียนของ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โดยผู้สอนจัดกิจกรรมให้ผเู้ รยี นแข่งขันเกม 24 ก่อนหมดคาบเรียน ประมาณ 10 นาที ทุก ๆ คาบเรยี น ทำให้นกั เรียนไดฝ้ ึกทักษะการคิดคำนวณ เมื่อการแข่งขันได้รบั ความสนใจ จงึ ขยายผลไปยงั นกั เรียนช้นั อ่ืน ๆ ซง่ึ มนี ักเรยี นสว่ นมากชื่นชอบ และมาฝึกเลน่ เกม 24 เวลาวา่ งเสมอ ผจู้ ดั ทำได้จดั โครงการแข่งขันเกม 24 โดยแยกเป็น 5 ระดบั ได้แก่ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 และระดบั บุคคลทั่วไป (นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 - 6) ผลการแขง่ ขนั เกม 24 มีผู้ชนะในแต่ละระดบั ดังนี้ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 คือ เด็กชาย วิศรุต เทียนกระโทก นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/5 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 คือ เดก็ หญงิ จริ าพัชร อนิ พะเนา นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/2 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 คือ เด็กหญงิ นนั ทรัตน์ ทองประเสรฐิ นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3/5 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คือ นาย วสันต์ พิลาลี นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4/2 และระดับบุคคลทวั่ ไป (นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 - 6) คือ นายวสันต์ พลิ าลี นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/2 การจัดทำโครงการแข่งขนั เกม 24 ทำใหน้ กั เรยี นไดฝ้ ึกทักษะการคิดคำนวณ การบวก ลบ คูณ และหาร จำนวนนบั จากนัน้ พัฒนาโครงการแข่งขนั เกม 24 ไปยงั โครงการแข่งขันคิดเลขเรว็ ซึ่งถือเป็น การตอ่ ยอดสู่ความย่ังยืน ส่งเสริมสนบั สนุนให้นักเรียนไดเ้ ข้าร่วมการแขง่ ขันทักษะทางวชิ าการที่ โรงเรียนจดั ขน้ึ และยงั เป็นการส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมเี จตคติท่ีดตี อ่ วชิ าคณิตศาสตร์อีกด้วย โดยการ ประเมนิ จากแบบสอบถามความพึงพอใจในการจดั โครงการแขง่ ขนั เกม 24 จากนักเรยี นที่เขา้ ร่วม โครงการ มีค่าเฉลย่ี 4.55 ซง่ึ ความพงึ พอใจอยู่ระดบั มาก 6.2 ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั 6.2.1 ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั ต่อผู้เรยี น 6.2.1.1 นกั เรียนได้พฒั นาทักษะการคิดคำนวณ การบวก ลบ คณู และ หารของจำนวนนบั โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติที่เปน็ เลศิ (Best Practice) 7 6.2.1.2 นักเรียนมเี จตคติท่ดี ีตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์ มคี วามรักและสนใจใน การเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรม์ ากขนึ้ 6.2.1.3 นักเรยี นได้เขา้ ร่วมการแขง่ ขันทกั ษะทางวชิ าการในระดบั ต่าง ๆ และไดร้ บั รางวลั จากการเขา้ ร่วมโครงการ 6.2.2 ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั ต่อผู้สอน 6.2.2.1 การจัดการเรียนการสอนในชน้ั เรียนงา่ ยขึน้ เพราะนกั เรยี นมีทกั ษะ การคดิ คำนวณ การบวก ลบ คณู และหารของจำนวนนบั แล้ว และนักเรียนมคี วามสนใจในการเรียน การสอน 6.2.2.2 ผ้สู อนได้แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษามากข้นึ 7. ปจั จยั ความสาํ เร็จ 7.1 ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นจักราชวิทยา 7.2 รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 7.3 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ 7.4 ครูกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ 7.5 นกั เรียนโรงเรยี นจักราชวทิ ยา 8. บทเรยี นทไี่ ดร้ บั (Lesson Learned) 8.1 ความสำคญั ของการมีความรับผิดชอบ ฉันทนา รัตนพลแสน (2551) กล่าวว่า ความรบั ผดิ ชอบ มคี วามสำคญั มากเพราะจะทำให้ มนุษย์อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ ประเทศชาติเจริญกา้ วหนา้ และสังคมโลกเกิดความสันติสขุ อยา่ ง ถว้ นหนา้ ดงั นัน้ โรงเรียน ครู และบุคลากรตา่ งๆซงึ่ เป็นสว่ นหนึง่ ของกระบวนการทางการศึกษา จงึ ต้อง แสดงบทบาทและความรับผดิ ชอบในการสรา้ งเด็ก เยาวชนและคนในชาติใหเ้ ป็นคนท่ีมคี วาม รบั ผดิ ชอบต่อตนเอง และสงั คมสว่ นรวม อย่างจริงจัง คะนึงรตั น์ ลาโพธิ์ (2535, น. 44-45) กล่าววา่ ความรับผิดชอบเป็นปัจจยั หน่งึ ท่ีเป็น คณุ ลักษณะทด่ี ีงามในสังคม ควรปลกู ฝังให้เกิดในตัวบุคคลทุกคนซ่ึงถา้ กล่าวไปแลว้ หาก บุคคลมีความ รบั ผิดชอบจะมีผลดีดังนี้ 1. คนท่มี คี วามรับผิดชอบย่อมทำงานทุกอยา่ งสำเร็จตามเป้าหมายได้ทันเวลา 2. คนที่มคี วามรบั ผดิ ชอบย่อมเปน็ ท่นี บั ถือ ได้รับการยกย่องสรรเสริญและเปน็ คุณประโยชนท์ ้งั ตอ่ โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 8 ตนเองและตอ่ สังคม 3. เป็นสิง่ เก้อื หนุนให้บุคคลปฏิบตั ิงานสอดคลอ้ งกบั กฎจรยิ ธรรมและหลกั เกณฑ์ ของสังคม โดยไม่ตอ้ งมีการบงั คบั จากผู้อ่ืน 4. ทําให้เกดิ ความก้าวหนา้ สงบเรียบร้อยแกส่ ังคม สรุปไดว้ า่ ความรับผดิ ชอบมีความสำคัญตอ่ การดำเนนิ ชวี ิตอยา่ งมาก ไมว่ ่าจะการทำงานต่าง ๆ การทำงานรว่ มกนั เพ่ือให้งานประสบความสำเร็จ ความรับผดิ ชอบทำให้สังคมสงบสุข ทั้งยังทำให้ ประเทศมกี ารพฒั นาและมคี วามกา้ วหน้าอีกด้วย 8.2 ความสำคญั ของการมนี ้ำใจนักกฬี า Bowen and Mitchell (1927) กล่าวไว้ว่า คุณลกั ษณะและหลักสำคัญของความมีน้ำใจ นกั กีฬาประกอบด้วยคุณลักษณะทีส่ ำคัญ คือ ความซ่ือสัตย์และความยตุ ธิ รรม รวมถึงคุณลักษณะอ่ืน ๆ ท่เี กยี่ วข้องกบั สภาพจติ ทางสงั คมด้วย เชน่ ความไม่เหน็ แก่ตัว ความมนี ้ำใจในระหวา่ งการเลน่ การเหน็ คณุ คา่ หรือความสำคัญของฝ่ายตรงขา้ ม การระงบั ความรูส้ ึกในการ การแสดงออกไม่วา่ จะแพ้หรือชนะ และความมีน้ำใจท่ีนอกเหนือไปจากสภาพท่ีอยูใ่ นสนาม จรนิ ทร์ ธานีรตั น์ (2514, น. 23) กล่าววา่ “คุณลักษณะของผู้มีน้ำใจนักกฬี า คอื ลักษณะของ การท่ีผ้เู ลน่ กีฬาหรือนักกีฬาเล่นกีฬาเพือ่ อดุ มการณ์ทางกีฬา เช่น เลน่ กีฬาเพ่ือสขุ ภาพและเล่นกีฬาเพื่อ ความสามัคคีอย่างแทจ้ ริง ไม่หวังแต่ชยั ชนะ ไม่เอารัดเอาเปรยี บค่ตู ่อสู้แบบผิดกตกิ า รูจ้ ักเสียสละ รู้จกั แพ้ ร้จู ักชนะ และรู้จกั ให้อภยั คแู่ ข่งขนั ตลอดจนการ แสดงออกซ่งึ มารยาททีส่ ภุ าพชนนิยม สรปุ ไดว้ ่า ความมีน้ำใจนักกฬี ามีความสำคัญตอ่ การแขง่ ขันทกุ การแขง่ ขนั ทำให้การเนินการ แข่งขันเป็นไปในทศิ ทางทเี่ หมาสม ผู้แขง่ ขนั ไม่เอารัดเอาเปรียบค่ตู ่อสู้แบบผดิ กตกิ าเพ่ือหวงั แตช่ ยั ชนะ การตดั สินผลการแข่งขันอยา่ งยุติธรรม รวมทง้ั สภาพจติ ใจของนักกฬี าเอง ทำใหน้ ักกฬี ารู้จกั เสยี สละ รจู้ ักแพ้ รจู้ ักชนะและรู้จักใหอ้ ภัยคแู่ ขง่ ขัน และทำให้เกิดความสามคั คีอีกดว้ ย 8.3 ความสำคญั ของการมีส่วนร่วม ยุวัฒน์ วฒุ เิ มธี (2534, น. 67) กล่าวว่า สาระสำคญั ของการมสี ว่ นรว่ ม หมายถึง การเปดิ โอกาสให้บคุ คลอืน่ ที่เก่ยี วข้องได้เขา้ มามีสว่ นร่วมในการคดิ ริเรม่ิ การพจิ ารณาตดั สนิ ใจการเข้าร่วม ปฏบิ ัติและการร่วมรับผดิ ชอบในเรื่องต่าง ๆ การมีสว่ นรว่ มเปน็ แนวคิดทางยุทธศาสตรข์ องหลกั การ พฒั นา ทำให้เกิดความศรัทธาในตัวเอง (Self-reliance) ความเช่อื มั่นในตัวเอง (Self- confidence) ความรูส้ ึกเปน็ เจ้าของ (Sense of belonging) ในการดำเนินการตามโครงการพฒั นาต่าง ๆ ซง่ึ จะ นำไปสคู่ วามสามารถ และประสทิ ธภิ าพในการปกครองตนเอง จำรัส นวลน่มิ (2540, น. 249) กล่าววา่ การมีส่วนรว่ มเป็นกระบวนการทม่ี ีความสำคัญตอ่ การพฒั นากจิ กรรมสำคัญที่ต้องทำกค็ ือ ผลักดันให้บุคลากรได้มสี ่วนรว่ มอย่างจริงจัง (Active participation) ในการดำเนินงานพฒั นา ทั้งนี้ก็เนื่องจากหลักสำคัญที่ว่า การมีส่วนร่วมเป็นวิธีการที่ โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) 9 จะได้มาซงึ่ ข้อเทจ็ จริง ทำให้มสี ว่ นรว่ มในการคิดค้นปญั หาและวางแผนพัฒนาแลว้ แล้วจะทำใหเ้ กดิ การยอมรับแผนงานโครงการพัฒนานนั้ ๆ ซึ่งถือเป็นการสร้างประชาธปิ ไตยขัน้ พนื้ ฐาน ดงั น้นั สรปุ ได้วา่ การมสี ่วนร่วมมคี วามสำคญั อย่างย่ิงต่อการพัฒนากิจกรรม โครงการ หรือการ ทำงานต่างๆ ถอื เปน็ การผลักดันให้บคุ คลท่เี ก่ยี วข้องได้มสี ว่ นรว่ มในการคดิ คน้ ปญั หาและวางแผน พัฒนา ทำให้เกิดการยอมรบั แผนงาน โครงการพฒั นาน้นั ๆ ซงึ่ จะนำไปสู่ประสิทธภิ าพในการปกครอง ตนเองในระบอบประชาธปิ ไตย 9. การเผยแพรผ่ ลงาน 9.1 จัดทำสรปุ โครงการเพื่อเผยแพร่ใหค้ ณะครูและบุคลาการในโรงเรยี น 9.2 มีการพฒั นาผลงานเพ่ือต่อยอดไปยังโครงการอน่ื ๆ เช่น โครงการการแขง่ ขันคิดเลขเรว็ ลงช่ือ.........................................ผสู้ ่งผลงาน (นางสาทิพย์ ถือความสตั ย์) ตาํ แหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ ลงชอื่ ......................................ผรู้ ับรองผลงาน (นางณัชชา ศรีแสนปาง) ตาํ แหนง่ ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นจกั ราชวิทยา โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 10 บรรณานกุ รม เกรยี งไกร ลิม่ ทอง. (2560). การประยกุ ต์ใชร้ ูปแบบกจิ กรรมผ่านเกมสำหรบั การเขา้ ช้ันเรียนและ การมีสว่ นรว่ มในชัน้ เรียน : กรณศี ึกษานกั ศึกษาภาควชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ. ในการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดบั ชาติและนานาชาติ คร้ังที่ 8 (น.72-82) สงขลา : มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่. ขนิษฐา ใจหนกั ด.ี (2555). สืบคน้ เม่อื 15 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.gotoknow.org/ posts/114078 คะนึงรัตน์ ลาโพธ์.ิ (2535). ผลของการนาํ กจิ กรรมกลุ่มสรา้ งคุณภาพไปประยุกต์ุใช้ในการจัด กจิ กรรมแนะแนวที่มีต่อความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6. ปริญญา นิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาการแนะแนว). กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทร วโิ รฒ. ถา่ ยเอกสาร. จรนิ ทร์ ธานีรตั น.์ (2514). วชิ าพลศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทร วโิ รฒ ถ่ายเอกสาร. จำรสั นวลน่ิม. (2540). การศกึ ษากับการพัฒนาประเทศ : แนวความคดิ และวิธปี ฏบิ ัต.ิ กรงุ เทพฯ : โอ เอส พรน้ิ ต้ิง เฮ้าส์. ฉันทนา รัตนพลแสน (2551). เรยี บเรยี งจากวารสารวิทยาจารย์ ปที ่ี 107 ฉบับท่ี 12 เดือน ตุลาคม 2551, จาก https://www.gotoknow.org/posts/286032 พิชญาภา ยืนยาว และณฐั วรรณ พุม่ ดยี ง่ิ . (2560). “รูปแบบการเรยี นการสอนแบบบนั เทงิ ของ นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม”. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ และศิลปะ. ปที ่ี 10, ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธนั วาคม 2560) : 904-920 ยวุ ัฒน์ วุฒเิ มธ.ี (2560). หลักการพัฒนาชมุ ชนและการพัฒนาชมุ ชน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ หา้ งหุ้นสว่ นนิตบิ คุ คลไทยอนุเคราะห์ไทย. วจิ ารณ์ พานิช. (2557). การเรยี นรูเ้ กดิ ขึน้ อย่างไร. พมิ พค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : มลู นิธสิ ยามกัมมาจล. สมนกึ ภทั ทยิ ธน.ี (2546). เทคนคิ การสอนและรูปแบบการเขยี นข้อสอบแบบเลือกตอบ วิชา คณติ ศาสตร์. (พิมพค์ ร้ังที่ 3). กาฬสนิ ธุ์ : ประสานการพิมพ.์ Bowen, Wilbur P. and Mitchell, Elmer D. (1927). The Theory of Organized Play. New York : As Barnes and Company. โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 11 ภาคผนวก โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 12 ขน้ั วิเคราะหป์ ัญหาในการจดั การเรียนการสอนรายวิชาคณติ ศาสตร์ ภาพที่ 1 การประชมุ ประจำกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ เพอ่ื วิเคราะห์ปญั หาในการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าคณิตศาสตร์ ภาพท่ี 2 การประชมุ ประจำกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ เพ่ือวเิ คราะห์ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) 13 ขน้ั นำผลการวเิ คราะห์มาจดั ทำโครงการ ภาพที่ 3 การจัดทำโครงการตา่ ง ๆ เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับแนวทางการแกป้ ัญหา โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 14 ขั้นกำหนดรายละเอียดโครงการ ภาพท่ี 4 การขออนมุ ตั ิจดั ทำโครงการแข่งขันเกม 24 โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 15 ภาพที่ 5 แผนการขอใชเ้ งนิ ในการจัดทำโครงการแข่งขนั เกม 24 โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) 16 ขั้นประสานงานกับฝา่ ยอน่ื ๆ ภาพท่ี 6 การประชุมคณะครูกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ เพ่อื วางแผนในการจัดโครงการแข่งขัน เกม 24 และประสานฝ่ายอื่น ๆ ภาพที่ 7 การประชมุ คณะครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ เพ่ือวางแผนในการจัดโครงการแขง่ ขนั เกม 24 และประสานฝ่ายอืน่ ๆ โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 17 ภาพที่ 8 คำสั่งการแขง่ ตงั้ คณะกรรมการโครงการแข่งขนั เกม 24 โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 18 ขน้ั ดำเนินโครงการ ภาพท่ี 9 การติดป้ายประชาสัมพันธร์ บั สมัครนักเรียนเพือ่ เข้าแข่งขนั เกม 24 โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) 19 ภาพท่ี 10 การติดปา้ ยประชาสมั พนั ธ์เกี่ยวกบั กติการแข่งขัน เกม 24 โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 20 ภาพท่ี 11 การฝึกซอ้ มเพื่อเตรยี มแข่งขนั เกม 24 ของนกั เรียนในช่วงเวลาว่าง ภาพที่ 12 การฝึกซ้อมเพ่ือเตรยี มแข่งขันเกม 24 ของนักเรียนในช่วงเวลาว่าง โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) 21 ภาพที่ 13 การเตรยี มอุปกรณใ์ นการแขง่ ขนั เกม 24 ภาพที่ 14 การแข่งขนั เกม 24 รอบคัดเลือก โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) 22 ภาพท่ี 15 การแข่งขันเกม 24 รอบคัดเลือก ภาพที่ 16 การแข่งขันเกม 24 รอบชิงชนะเลิศ โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) 23 ภาพที่ 17 การแข่งขันเกม 24 รอบชงิ ชนะเลศิ ภาพที่ 18 การแข่งขันเกม 24 รอบชงิ ชนะเลิศ โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 24 ภาพที่ 19 การแขง่ ขันเกม 24 รอบชิงชนะเลศิ ภาพที่ 20 ผชู้ นะการแขง่ ขันเกม 24 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practice) 25 ภาพท่ี 21 ผชู้ นะการแข่งขนั เกม 24 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาพท่ี 22 ผชู้ นะการแขง่ ขันเกม 24 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) 26 ภาพที่ 23 ผู้ชนะการแขง่ ขันเกม 24 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 ภาพท่ี 24 ผ้ชู นะการแขง่ ขันเกม 24 ระดับบคุ คลท่วั ไป (ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 6) โรงเรียนจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practice) 27 ภาพที่ 25 การรับรางวัลของนักเรียนทีเ่ ข้าแข่งขนั เกม 24 ภาพที่ 26 การรับรางวัลของนักเรยี นทเ่ี ข้าแขง่ ขนั เกม 24 โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลิศ (Best Practice) 28 ขั้นจัดทำสรุปโครงการ ภาพที่ 27 การจดั ทำสรุปผลและรายงานผลโครงการแข่งขันเกม 24 โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 29 ภาพท่ี 28 การสรุปผลความพึงพอใจในการจดั โครงการแข่งขันเกม 24 โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) 30 ขนั้ ตรวจสอบ ปรับปรงุ แก้ไข ภาพท่ี 29 การรายงานการจัดทำโครงการแข่งขันเกม 24 ต่อผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) 31 ขนั้ จัดทำผลงานเพ่ือขยายผลตอ่ ยอดสคู่ วามย่ังยืน ภาพท่ี 30 ตอ่ ยอดนักเรียนท่ีชนะการแข่งขันเกม 24 เข้าร่วมการแขง่ ขันคดิ เลขเร็ว ในการแข่งขนั ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ครง้ั ที่ 70 ระดับชาติ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาพท่ี 31 ต่อยอดนักเรียนที่ชนะการแข่งขันเกม 24 เข้ารว่ มการแข่งขันคิดเลขเร็ว ในการแข่งขนั ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งท่ี 70 ระดับชาติ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัติท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) 32 ขน้ั เผยแพร่ผลงาน ภาพที่ 32 การเผยแพรผ่ ลงานการปฏบิ ัติท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) ลงสู่เวบ็ ไซต์ โรงเรยี นจักราชวิทยา

รายงานผลงานการปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practice) 33 ปกหลงั โรงเรยี นจักราชวิทยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook