การรักษาโรคเบืองต้น วันเพ็ ญ แวววรี คปุ ต,์ สด. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม ประเทศไทย
รายวชิ าการรักษาโรคเบ้ืองตน้ (อ.ดร.วนั เพญ็ แวววีรคุปต)์
โรคผวิ หนัง Skin disease โรคทท่ี ำให้ลกั ษณะของผวิ หนังมผี ่ืน ตุ่ม วงด่ำงขำว หรือเป็ นก้อนขนึ้ ตำม ร่ำงกำย สำมำรถมองเห็นได้ชัดเจน อำจมอี ำกำรปวดหรือคนั ร่วมด้วย สำเหตุ : กำรตดิ เชื้อ กำรใช้ยำ ปรสิต อำกำรแพ้หรือเกย่ี วข้องกบั ภูมแิ พ้ เกดิ ขนึ้ ท้งั ในส่วนของหนังกำพร้ำ (Epidermis) และหนังแท้ (Dermis)
Weber J. & Kelly H. J. (2010) Health assessment in nursing. 4th Edition. New York, USA: Lippincort Williams & Wikins.
ควำมผดิ ปกตขิ องฮอร์โมน การอุดตนั หรืออกั เสบติดเช้ือของรูขมุ ขน ไดแ้ ก่ สิว การการใชย้ า เครื่องสาอาง รังสี และแสงแดด ไดแ้ ก่ กระ, ฝ้า การติดเช้ือแบคทีเรีย ไดแ้ ก่ ฝี (abscess), cellulitis, impetigo โรคผวิ หนงั ท่ีเกิดจากการติดเช้ือไวรัส ไดแ้ ก่ โรคเอดส์ โรคเริม โรคงูสวดั โรค อีสุกอีใส โรคหดั เยอรมนั โรคหูด
• กลำก • เกลือ้ น • โรคนำ้ กดั เท้ำหรือฮ่องกงฟุต • รังแคหรือเชื้อรำทหี่ นังศีรษะ • เชื้อรำทเ่ี ลบ็
โรคผวิ หนงั ที่เกิดจากอาการแพห้ รือภูมิแพ้ ผ่นื จากการแพเ้ กสรดอกไม้ ผนื่ จากการแพข้ นสตั ว์ ผื่นจากการแพอ้ าหาร ผ่ืนจากการแพย้ า โรคผวิ หนงั ท่ีเกิดจาการขาดสารอาหาร ไดแ้ ก่ การขาดวติ ามินบี 3
โรคผวิ หนงั ท่ีเกิดจากพนั ธุกรรมหรือความผดิ ปกติขณะต้งั ครรภ์ ไดแ้ ก่ ไฝ, ปาน โรคผวิ หนงั ท่ีเกิดจากความผดิ ปกติของผวิ หนงั หรือเกิดจากหลายสาเหตุ ไดแ้ ก่ โรคสะเกด็ เงิน ตาปลา โรคผวิ หนงั จากโรคทางอายรุ กรรม เช่น DM, hypothyroid (myxedema ต่อมไทรอยดท์ างานนอ้ ยผดิ ปกติ)
อำกำรของโรคผวิ หนัง ความรุนแรงข้ึนอยกู่ บั ชนิด และสาเหตุท่ีทาใหเ้ กิดโรค อาการเป็นผน่ื แดง เป็นจุดหรือเป็นวง เป็นแผน่ เป็นตุ่มนูน เป็นตุ่มพอง และเป็ นแผล โรคผวิ หนงั บางชนิดเกิดข้ึนถึงช้นั หนงั แทท้ าใหเ้ ลือดไหลออก ซ่ึงผปู้ ่ วยโรค ผวิ หนงั มกั พบอาการแสบ คนั และเจบ็ บริเวณที่เกิดรอยแดง ตุ่มหรือแผล
โรคผวิ หนังจำกกำรตดิ เชื้อ เช้ือแบคทีเรีย เช้ือรา เช้ือไวรัส
โรคผวิ หนังท่เี กดิ จำกกำรตดิ เชื้อแบคทีเรีย (Bacteria) รายวชิ าการรักษาโรคเบ้ืองตน้ (อ.ดร.วนั เพญ็ แวววีรคุปต)์
โรคผวิ หนงั จากการติดเช้ือแบคทีเรีย ฝี (Abscess) แผลพพุ อง (Impetigo, Ecthyma) ผวิ หนงั อกั เสบ (Cellulitis) ไฟลามทุ่ง (Erysipelas)
ฝี (Abscess) Pus ภาพจาก https://medthai.com/%E0%B8%9D%E0%B8%B5/
ฝี (Abscess) การอกั เสบของต่อมไขมนั และขนุ ขน พบไดบ้ ่อยในคนทุกวยั คนที่เป็นเบาหวานหรือกินสเตอรอยด์ เป็นประจาอาจเป็นฝีไดบ้ ่อย ส่วนใหญ่มกั ข้ึนเพียงหวั เดียว บางคนอาจข้ึนหลายหวั ติด ๆ กนั เรียกวา่ ฝีฝักบวั (Carbuncles) สำเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรียกลุ่มสแตฟฟี โลคอ็ กคสั (Staphylococcus) อาจติดต่อโดย การสมั ผสั ถูกผปู้ ่ วยโดยตรง
อำกำรของฝี ตุ่ม หรือกอ้ นบวมแดง ปวด กดเจบ็ มีผมหรือขนอยตู่ รงกลาง อาจพบต่อมน้าเหลืองในบริเวณใกลเ้ คียงบวมและปวด เช่น ถา้ เป็นที่ มือ กม็ ีการอกั เสบของต่อมน้าเหลืองท่ีรักแร้ เป็นตน้ ในรายท่ีเป็นฝีฝักบวั อาจมีไข้ อ่อนเพลีย ร่วมดว้ ย ในรายที่เป็นฝีหวั เดียว อาการทวั่ ไปมกั เป็นปกติเมื่อหายแลว้ มกั เป็น แผลเป็ น
กำรรักษำฝี 1. ใชผ้ า้ ชุบน้าอุ่นจดั ๆ (ขนาดที่พอทนได้ อยา่ ร้อนจดั ) ประคบวนั ละ 2-3 คร้ัง คร้ังละ 10-15 นาที 1. ใหย้ าแกป้ วดลดไข้ 2. ใหย้ าปฏิชีวนะ 5-7 วนั เช่น Cloxacillin 250-500 mg 1x4 per oral pc : Erythromycin 500 mg 1x4 per oral ac 3. ถา้ ฝีสุก (ฝีนุ่มเตม็ ท่ี) อาจใชเ้ ขม็ เจาะดูด หรือผา่ ระบายเอาหนองออก พร้อมกบั ใส่ผา้ กอซ ระบายหนอง ชะลา้ งแผล และเปล่ียนผา้ กอซทุกวนั จนกระทง่ั แผลต้ืน และแหง้ ดี
ข้อแนะนำ 1. ถา้ เป็นฝีบ่อย ๆ อาจมีภูมิตา้ นทานต่า เน่ืองจากขาดอาหาร โลหิตจาง เป็น เบาหวาน หรือ กินสเตอรอยดน์ าน ๆควรตรวจหาสาเหตุ และใหก้ ารดูแลรักษา โรคที่เป็ นสาเหตุ 2. ควรป้องกนั การเกิดฝี โดยการอาบน้าฟอกสบู่วนั ละ 2 คร้ัง 3. อยา่ บีบหวั ฝี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ถา้ ข้ึนตรงกลางใบหนา้
แผลพพุ อง (Impetigo,Ecthyma) ภาพจาก http://www.atlasdermatologico.com.br/disease.jsf?diseaseId=203
แผลพุพอง (Impetigo,Ecthyma) แผลพพุ อง เป็นโรคที่พบไดบ้ ่อย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในเดก็ เป็นโรคท่ีติดต่อไดง้ ่าย และรวดเร็ว ติดต่อโดยการสมั ผสั ถูกคนท่ีเป็นโรคน้ีอยกู่ ่อน สำเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย ไดแ้ ก่ สแตฟฟี โลคอ็ กคสั ออเรียส (Staphylococcus aureus) หรือ บีตาสเตรปโตคอ็ กคสั (Beta streptococcous) ภาพจาก http://www.atlasdermatologico.com.br/disease.jsf?diseaseId=204
อำกำร เร่ิมแรกข้ึนเป็นผน่ื แดงและคนั ต่อมากลายเป็นตุ่มน้าใส แตกง่าย กลายเป็นสีแดง มีน้าเหลืองเหนียว ๆ ติดเยมิ้ กลายเป็นสะเกด็ เหลืองกรังติดอยู่ คลา้ ยรอยบุหร่ี เมื่อผน่ื อนั แรกแตก มกั มีผน่ื บริวารข้ึนตามในบริเวณขา้ งเคียงหลายอนั บางรายอาจมีไขต้ ่า หรือต่อมน้าเหลืองโตร่วมดว้ ย มกั ข้ึนตามใบหนา้ , ใบหู, จมูก, ปาก, ศีรษะ, กน้ และบริเวณนอกร่มผา้ (เช่น มือ ขา หวั เข่า) พพุ องท่ีศีรษะ เรียกวา่ ชนั นะตุ อาจเป็นภาวะแทรกซอ้ นของโรคผวิ หนงั อ่ืน ๆ เช่น หิด อีสุกอีใส เริม งูสวดั ผน่ื แพ้ ผน่ื คนั เป็นตน้
อำกำรแทรกซ้อนและกำรรักษำ อำกำรแทรกซ้อน - อาจลุกลามเขา้ กระแสเลือด ทาใหเ้ ป็นโลหิตเป็นพิษ(sepsis) - เช้ือบีตาสเตรปโตคอ็ กคสั กลุ่มเออาจทาใหเ้ ป็นหน่วยไตอกั เสบ ได้ กำรรักษำ 1. อาบน้าฟอกดว้ ยสบู่วนั ละ 2 คร้ัง และใชน้ ้าด่างทบั ทิมชะลา้ งเอาคราบสะเกด็ ออกไป 2. ถา้ คนั มาก ใหย้ าแกแ้ พ้ เช่น Chlorpheniramine: CPM.
การรักษา 3. ทาแผลดว้ ย ข้ีผ้งึ เตตราไซคลีน หรือครีมเจนตาไมซิน หรือเจนเชียนไวโอ เลต หลงั อาบน้าทุกคร้ัง 4. ใหย้ าปฏิชีวนะ เช่น Cloxacillin 250-500 mg 1x4 per oral pc : Erythromycin 500 mg 1x4 per oral ac ถา้ ดีข้ีนใน 3-5 วนั ควรใหก้ ินยาต่อจนครบ 10 วนั เพอ่ื ป้องกนั โรคหน่วยไต อกั เสบ (ในรายที่เกิดจากเช้ือบีตาสเตรปโตคอ็ กคสั กลุ่มเอ) ถา้ ไม่ดีข้ึน หรือพบ ในทารก ควรส่งโรงพยาบาล
ผวิ หนังอกั เสบ (Cellulitis) ลกั ษณะทวั่ ไป เน้ือเยอื่ ใตผ้ วิ หนงั ช้นั ลึกอกั เสบ เป็นการอกั เสบของช้นั ไขมนั ใตผ้ วิ หนงั สำเหตุ เกิดจากการติดเช้ือสเตรปโตคอ็ กคสั หรือสแตฟฟิ โลคอ็ กคสั อำกำร - ผวิ หนงั มีลกั ษณะบวมแดงร้อนและปวด ขอบเขตไม่ชดั เจน มกั เกิดข้ึนตาม แขนขา หรือใบหนา้ อาจมีไข้ ออ่ นเพลีย เบ่ืออาหาร - ต่อมน้าเหลืองอาจโต และอาจมีท่อน้าเหลืองอกั เสบเป็นรอยแดงเป็นแนวยาว
อำกำรแทรกซ้อน เช้ืออาจลุกลามเขา้ กระแสเลือดกลายเป็นโลหิตเป็นพิษ(sepsis)ได้ กำรรักษำ 1. ควรใหผ้ ปู้ ่ วยพกั ผอ่ น พยายามอยา่ เคลื่อนไหวส่วนที่อกั เสบ ยกแขนหรือขาส่วนท่ีอกั เสบให้ สูง ละใชน้ ้าอุ่นประคบ กินอาหารไดต้ ามปกติ ไม่มีของแสลง ควรกินโปรตีนใหม้ าก ๆ 2. ใหย้ าแกป้ วดลดไข้ ถา้ ปวดหรือมีไข้ และ 3. ใหย้ าปฏิชีวนะ เช่น Cloxacillin 250-500 mg 1x4 per oral pc : Erythromycin 500 mg 1x4 per oral ac ถา้ ดีข้ึนใหย้ าต่อจนครบ 10 วนั แต่ถา้ ไม่ดีข้ึนใน 3-5 วนั ควรส่งรพ. อาจตอ้ งฉีดเพนิซิลลินจี 600,000 ยนู ิตเขา้ กลา้ มวนั ละ 2 คร้ัง
Cellulitis ภาพจาก ภาพจาก https://ercare24.com/cellulitis- http://cai.md.chula.ac.th/l emergency/ esson/skin/pic/page7.htm
ไฟลำมทุ่ง (Erysipelas) การอกั เสบของผวิ หนงั ช้นั หนงั แทแ้ ละเน้ือเยอ่ื ใตผ้ วิ หนงั (เน้ือเยอื่ ใตผ้ วิ หนงั ช้นั ต้ืนอกั เสบ) เกิด จากเช้ือแบคทีเรียที่มีช่ือวา่ บีตาสเตรปโตคอ็ กคสั กลุ่มเอ อำกำร - มกั เกิดเฉียบพลนั เริ่มแรกมีไขส้ ูงหนาวสน่ั ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบ่ืออาหาร ปวดบวมแดงร้อนท่ี ผวิ หนงั โดยเริ่มจากจุดเลก็ ๆ แลว้ ขยายออกไปเร่ือย ๆ ผวิ หนงั ในบริเวณน้นั จะนูนเป็นขอบแยกจาก ผวิ หนงั ท่ีปกติอยา่ งชดั เจน เม่ือกดสีจะจางลง มีรอยบุ๋มเลก็ นอ้ ย - ถา้ เป็นมากอาจมีตุ่มน้าพอง มกั เกิดที่หนา้ แกม้ ขา้ งเดียว หรือสองขา้ ง แขนหรือขา ถา้ เป็นบ่อย อาจทาใหท้ ่อน้าเหลืองพองตวั อยา่ งถาวร - ถา้ เป็นที่เทา้ หรือขา ทาใหผ้ วิ หนงั ในบริเวณน้นั มีลกั ษณะขรุขระ
ไฟลำมทุ่ง (Erysipelas) ภาพจาก http://www.atlasdermatologico.com.b r/disease.jsf?diseaseId=132
อำกำรแทรกซ้อน เช้ืออาจลุกลามเขา้ กระแสเลือด ทาใหก้ ลายเป็นโลหิตเป็นพษิ กำรรักษำ 1. ควรใหผ้ ปู้ ่ วยพกั ผอ่ น พยายามอยา่ เคลื่อนไหวส่วนท่ีอกั เสบ และยกแขนหรือขาส่วนท่ีอกั เสบให้ สูง และใชน้ ้าอุ่นประคบ ผปู้ ่ วยสามารถกินอาหารไดต้ ามปกติ ไม่มีของแสลง ควรกินอาหารพวก โปรตีน (เน้ือ นม ไข่) ใหม้ าก ๆ 2. ใหย้ าแกป้ วดลดไข้ ถา้ ปวดหรือมีไข้ และใหย้ าปฏิชีวนะ เช่น Cloxacillin 250-500 mg 1x4 per oral pc or : Erythromycin 500 mg 1x4 per oral ac ถา้ ดีข้ึนใหย้ าต่อจนครบ 10 วนั แต่ถา้ ไม่ดีข้ึนใน 3-5 วนั ควรส่งโรงพยาบาล อาจตอ้ งฉีด Pen-G 600,000 ยนู ิต เขา้ กลา้ ม วนั ละ 2 คร้ัง
โรคผวิ หนังทเ่ี กดิ จำกกำรตดิ เชื้อรำ (Fungal) ภาพจาก https://beezab.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%81%E0% B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/ รายวิชาการรักษาโรคเบ้ืองตน้ (อ.ดร.วนั เพญ็ แวววรี คุปต)์
โรคกลำก หรือ ขกี้ ลำก (Tinea, Ring worm*) โรคกลาก หรือ โรคผวิ หนงั จากเช้ือราพวกเดอร์มาโตไฟต์ (Dermatophyte) บริเวณผวิ หนงั ผม เลบ็ ขมุ ขน เช้ือราส่วนใหญ่จะเจริญในเฉพาะช้นั หนงั กาพร้า ผวิ หนงั มนุษยม์ ีสารตา้ นเช้ือรา และการหลุดลอกของหนงั กาพร้า พบมากในประเทศร้อนช้ืน ความเสี่ยง : DM, immunocompromise host, กินยาปฏิชีวนะ และฮอร์โมนนานๆ, ใชส้ ่ิงของร่วมกบั ผทู้ ่ีเป็น
สำเหตุ เช้ือราที่ทาใหเ้ กิดโรคในคน ไดแ้ ก่ Dermatophytes มี 3 ชนิด 1. Trichophyton 2. Microsporon 3. Epidermophyton
ตำแหน่งของเชื้อรำ กลากตามตวั (tinea corporis) เกิดบริเวณลาตวั กลากที่ขาหนีบ (tinea cruris) เกิดบริเวณขาหนีบ(สงั คงั ) ฮ่องกงฟุต (tinea pedis) เกิดบริเวณง่ามเทา้ และฝ่ าเทา้ กลากท่ีมือ (tinea manuam) ง่ามนิ้วมือและนิ้วมือ กลากบนใบหนา้ (tinea faciei) กลากที่เลบ็ (tinea ungium) กลากท่ีศีรษะ (tinea capitis)
กลากตามตวั (tinea corporis) เกิดบริเวณลาตวั ภาพจาก http://www.atlasdermatologico.com.br/disease.jsf?dise aseId=454
กลากที่ขาหนีบ (tinea cruris) เกิดบริเวณขาหนีบ(สงั คงั ) ภาพจาก http://www.atlasdermatologico.com.br/disease.jsf?diseaseId=455
กลากท่ีศีรษะ (tinea capitisก)ลากบนใบหนา้ (tinea faciei) ภาพจาก ภาพจาก http://www.atlasdermatologi http://www.atlasdermatologico.com.br/disea co.com.br/disease.jsf?disea se.jsf?diseaseId=456 seId=453
กลากท่ีมือ (tinea manuam) ง่ามนิ้วมือและนิ้วมือ ภาพจาก http://www.atlasdermatologico.com.br/disease.jsf?diseaseId=458, 457
ฮ่องกงฟุต (tinea pedis) เกดิ บริเวณง่ำมเท้ำและฝ่ ำเท้ำ ภาพจาก http://www.atlasdermatologico.com.br/disease.jsf?diseaseId=459 รายวิชาการรักษาโรคเบ้ืองตน้ (อ.ดร.วนั เพญ็ แวววรี คุปต)์
อำกำรและอำกำรแสดง เร่ิมแรกจะเกิดผนื่ แดงและคนั อาจจะเป็นรูปไขห่ รือวงกลม ตรงกลางผน่ื จะมีสีปกตหิ รือสีแดง ส่วนขอบจะยกสูง สีแดงและเป็นขยุ ซ่ึงเป็นบริเวณท่ีพบเช้ือเป็นจานวนมาก สาหรับผทู้ ่ีทายา steroid ผน่ื อาจจะมีตุ่มน้าหรือตุ่มหนอง กลากตามตวั วงแหวน วงกลมสีแดง อาจมีขยุ หรือสะเกด็ ตุ่มน้า ป้ื นแดง กอ้ นเน้ือ กลากที่ขาหนีบ(สังคงั ) มกั พบในผชู้ าย ตุ่มแดงท่ีตน้ ขาลุกลามไปตน้ ขา อวยั วะเพศดา้ นนอก ฮ่องกงฟตุ สีขาว ยยุ่ ลอกเป็นแผน่ มีกลิ่นเหมน็ บริเวณง่ามนิ้วเทา้ คนั กลากที่เลบ็ เลบ็ สีดา้ น ขรุขระ รูปร่างผดิ ปกติ กลากท่ีศีรษะ พบในเดก็ มากกวา่ ผมหกั เป็นหยอ่ ม มีวงแหวนมีสะเกด็ เมด็ หนอง (ชนั นะตุ) เมื่อ แตกออกมีน้าเหลืองติดกรัง
กำรวนิ ิจฉัย โดยมากวนิ ิจฉยั จากลกั ษณะของผนื่ แต่หากไม่สามารถบอกไดก้ ส็ ามารถขดุ ขอบแผลซ่ึงมีเช้ืออยู่ นาไปยอ้ มดว้ ย KOH ซ่ึงจะพบตวั เช้ือ
กำรรักษำ ใชค้ รีมรักษาเช้ือราทาวนั ละ 2 คร้ังเป็นเวลา 3 สปั ดาห์ ผ่นื มกั จะหายใน 2 สปั ดาห์ ยาท่ี ใชไ้ ดแ้ ก่ Miconazole (Monistat) Clotrimazole (Mycelex) Ketoconazole (Nizoral) Terbinafine (Lamisil) หลงั จากผน่ื หายใหท้ าครีบหรือรับประทานยาต่ออีก 1 สปั ดาห์เพ่อื รักษาเช้ือท่ียงั หลบ ซ่อนอยู่
การรักษา สาหรับผทู้ ่ีมีผน่ื ค่อนขา้ งมากหรือใชย้ าทาแลว้ ไม่ไดผ้ ลกต็ อ้ งใชย้ ารับประทาน รับประทาน วนั ละคร้ังเป็นเวลา 7 วนั ท่ีนิยมและไดผ้ ลดีไดแ้ ก่ itraconazole ketoconazole Terbinafine (Lamisil) 250 mg
กำรรักษำและกำรดูแล รักษาความสะอาดของร่างกายและเครื่องนุ่งห่ม ยาละลายขยุ เช่น Whitfield ointment ยาฆ่าเช้ือรา ส่งปรึกษาแพทยผ์ วิ หนงั เนื่องจากตอ้ งใชร้ ะยะเวลารักษา
โรคเกลือ้ น (Tinea versicolor) เกล้ือนคือการติดเช้ือราที่ผวิ หนงั ทาใหส้ ีของผวิ หนงั เปล่ียนแปลง บางรายจางบางรายเขม้ ข้ึน สำเหตุ เกิดจากเช้ือราท่ีมีช่ือวา่ Pityrosporum orbiculare เป็นโรคเช้ือราผวิ หนังช้ัน ตื้น อาศยั อยใู่ นรูขมุ ขนของคน และกินไขมนั ที่อยใู่ นขมุ ขนเป็นอาหาร ถา้ ผปู้ ่ วยมีความ ตา้ นทานลดลง เหงื่อไคลมากหมกั หมม เช้ือราชนิดน้ีจะเพม่ิ จานวนมากข้ึนแลว้ ก่อใหเ้ กิดโรค ท่ีผวิ หนงั เป็นดวงมีขยุ โรคน้ีพบบ่อยในบริเวณผวิ หนงั ที่มีต่อมไขมนั มากๆ เช่นหนา้ อก และ หลงั เป็นตน้
เกลือ้ น (Tinea versicolor) ภาพจาก https://medthai.com/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0 %B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/
กำรรักษำเกลือ้ น ใชย้ ากดการเจริญเติบโตของเช้ือเกล้ือน เป็นยาทาไดแ้ ก่ ยาน้าชนิดทา เช่น 20% sodium sulfide เหมาะกบั ผนื่ ท่ีเป็นมากๆ ยาทาที่มีส่วนผสมของ selenium sulfide หรือ ketoconazole ใหอ้ าบน้าฟอกตวั ใหส้ ะอาดดว้ ยสบู่ตามปกติ แลว้ อยา่ เพ่ิงเช็ดน้าออก ใหใ้ ช้ แชมพทู ี่มีส่วนผสมของยาดงั กล่าวลูบไปทวั่ บริเวณที่เป็นโรค ทงิ้ ไว้ 10 นาที แลว้ ไปอาบน้า เป็นเวลาสองสปั ดาห์ สาหรับรายท่ีรักษาไม่คอ่ ยไดผ้ ลอาจจะ ตอ้ งทาทิ้งขา้ มคืนแต่อาจจะมีการระคายเคืองต่อผวิ หนงั
กำรรักษำเกลือ้ น ยาทาท่ีมีส่วนผสมของยาฆ่าเช้ือรา เช่น clotrimazole ,ketoconazole, ใหท้ าก่อนนอนวนั ละคร้ังเป็นเวลาสองสปั ดาห์ หลงั จากน้นั ทาสปั ดาห์ละคร้ังเพอื่ ป้องกนั การ กลบั เป็นซ้า ยารับประทานฆ่าเช้ือรา ไดแ้ ก่ ketoconazole, itraconazole, fluconazole จะใชใ้ นกรณีที่เป็น มาก และควรอยภู่ ายใตค้ าแนะนาของแพทย์ เพราะรับประทานเหล่าน้ีเกิดผลขา้ งเคียงได้ โดย ใหร้ ับประทาน 5 วนั การรักษาอนามยั ส่วนบุคคล เช่นเส้ือผา้ ผา้ เช็ดตวั ควรจะซกั และผ่งึ ใหแ้ หง้ ก่อนนามาใชอ้ ีกคร้ัง และไม่ควรใชร้ ่วมกบั ผอู้ ื่น อาบน้าชาระร่างกายใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ อยา่ ปล่อยใหเ้ หง่ือไคล หมกั หมม
กำรปฏบิ ตั ติ นเม่ือเป็ นเกลือ้ น รักษาความสะอาดของร่างกายใหท้ วั่ ถึงอยา่ งสม่าเสมอ อาบน้าฟอกสบู่ และเชด็ ตวั ใหแ้ หง้ ทุกคร้ัง โดยเฉพาะบริเวณซอก เช่น รักแร้ ขาหนีบ ง่ามนิ้วเป็นตน้ ตดั เลบ็ มือเลบ็ เทา้ ใหส้ ้นั หมน่ั ลา้ งมือใหส้ ะอาด และอยา้่ เกาเพราะจะทาใหเ้ ช้อื ลุกลามไปท่ีอ่ืน ไม่ใชข้ องส่วนตวั ร่วมกนั เส้ือผา้ ควรจะซกั ใหส้ ะอาดและตากใหแ้ หง้ ทุกคร้ัง เม่ือมีผนื่ ควรไปตรวจรักษาเพื่อการวินิจฉยั ที่ถูกตอ้ ง การรักษาเช้ือราที่ผวิ หนงั โดยทว่ั ไปจะใชย้ าทาวนั ละ 2-3 คร้ังติดต่อกนั จนผน่ื หาย โดยทายาที่ผน่ื และบริเวณใกลเ้ คียงโดยรอบ หลงั จากผน่ื หายแลว้ ควรจะทายาต่ออีกประมาณ 2 สปั ดาห์และอยา่ ใชม้ ือเป้ื อนยาขย้ตี า สาหรับเช้ือราที่เลบ็ และหนงั ศีรษะการรักษายงุ่ ยากกวา่ ตอ้ งใชย้ ารับประทาน ยาที่ใชไ้ ดแ้ ก่ micronazole, clotrimazole
โรคผวิ หนังท่เี กดิ จำกกำรตดิ เชื้อไวรัส รายวชิ าการรักษาโรคเบ้ืองตน้ (อ.ดร.วนั เพญ็ แวววีรคุปต)์
Herpes simplex / เริม อาการ : เกิดจาก Virus เป็นตมุ่ ใส ๆ ขนึ้ เป็นกลมุ่ โดยรอบเป็น ผ่นื แดง และกลายเป็นสีเหลืองขนุ่ และแตกใน 2 wks ตดิ ตอ่ โดยการสมั ผสั มีอาการคนั ภาพจาก http://www.atlasdermatราoยวชิ าlกoารรักgษาโรiคcเบ้ืองoตน้ .(อ.cดร.วoนั เพmญ็ แววว.รี คbุปต)์r/disease.jsf?diseaseId=182
Skin : Group arranment of lesion ../ Vesicle lesion at…. - Eczematous lesion at……. LN : ท่ีอวยั วะใกลเ้ คยี ง at ……..enlarge ……...cm Rx : ถา้ ปวดใหย้ าแกป้ วด Paracet 1-2 tab oral prn - ถา้ ตมุ่ ใสเข็มสะกิดใหแ้ ตก แลว้ ใช้ Povidine ทา prn. หา้ มใช้ ! สเตยี รอยค์ รมี ทา - Acyclovia 5% cream ทาทกุ 4 hr. ( 5 -10 วนั ) - อาการ < 5 วนั ให้ Acyclovia 200 1 tab q 4 hr นาน 5 – 10 วนั รายวชิ าการรักษาโรคเบ้ืองตน้ (อ.ดร.วนั เพญ็ แวววรี คุปต)์
Search