Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13570242_ปัทมาภรณ์ ผาสุข_ออกแบบแอนิเมชั่น

13570242_ปัทมาภรณ์ ผาสุข_ออกแบบแอนิเมชั่น

Published by Kurosaki.delivery, 2016-12-15 08:00:06

Description: 13570242_ปัทมาภรณ์ ผาสุข_ออกแบบแอนิเมชั่น

Search

Read the Text Version

คำ�นำ� อาชญากรรม เกดิ ขึ้นอย่ใู นทกุ ๆท่ี ไมว่ า่ จะยุคสมยั ใดกต็ าม หากเพยี งแต่ อาชญากรรมของชาวกรีก มคี วามโหดร้ายรนุ แรง หรอื ยดื หยุ่นแค่ไหน พอ็ คเก็ตบคุ๊ เลม่ นี้ อาจจะช่วยท่านผู้อ่าน หรอื ผทู้ ี่มคี วามสนใจไมม่ ากก็น้อย หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ท�ำ กข็ ออภยั มา ณ ที่นี้ด้วย ปัทมาภรณ์ ผาสุข ผ้จู ัดทำ�

สารบัญกรกี 1อาชญากรรม 6 ฆาตกรรม 8 การล่วงละเมดิ ทางเพศ 13 ชิงทรพั ย์ 20 การพจิ ารณาความทางอาญา 25 และการลงโทษ 35 บรรณานุกรม



กรีก ต้งั อยทู่ างตอนใต้ของคาบสมุทรบอลข่าน (Balkan) อย่ทู างทิศตะวันออก สดุ ของยุโรปภาคใต้ ท�ำ ใหค้ าบสมุทรนี้มีโอกาสได้ใกล้ชดิ กบั อารยธรรมทีเ่ กดิ ข้ึนแต่แรกเร่ิม การ คา้ ขายติดตอ่ กันกท็ �ำ ไดโ้ ดยสะดวก ถา้ พจิ ารณาดลู กั ษณะทะเลอีเจยี น (Aegean Sea) มีลักษณะ สำ�คญั คอื มเี กาะขนาดเลก็ มากมาย 1

Greek 2

ประกอบด้วย 2 นครรฐั คือ นครรัฐเอเธนส์ (ชาวเอธีเนียนส)์ และ นครรัฐสปาต้าร์ (ชาวสปาร์ตนั ) สาเหตทุ ีส่ ปารต์ ้าไมเ่ ป็นผูน้ �ำ ในอารยธรรมกรกี ในสมยั ศตวรรษท่ี 7 ทห่ี ลกั ฐานเช่อื ถือได้วา่ สปาร์ตา้ เป็นผนู้ ำ�ในอารยธรรมกรกี กวเี อกชาวกรีก ไดเ้ ขยี นไวใ้ นโคลงของเขาบรรยายถึงการด�ำ เนินชีวิตอยา่ งสุขสบายเต็มไปดว้ ยความสขุ สงบความรักและความเพลดิ เพลนิ ในชีวิตของสปารต์ าในสมยั ศตวรรษที่ 7 กอ่ นคริสตกาลน้ีเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาทีข่ ดุ พบก็แสดงถงึ อารยธรรมที่สงู สง่ ของชาวสปารต์ า้ และชาวสปารต์ ้ากม็ ิไดอ้ ยู่อยา่ งโดดเด่ียวแตก่ ็มีการตดิ ต่อกับพวกเอเซยี ติคกรีก (Asiatic Greek) ใน ศตวรรษที่ 6 ก่อนครสิ ตกาล สปารต์ า้ เรมิ่ ไมส่ นใจกบั ศลิ ปวทิ ยาการ และสญู เสียฐานะผ้นู �ำ ทาง อารยธรรมไปให้กับเอเธนสใ์ นที่สุด 3

ชาวเอธีเนียส์ อาศัยอยูใ่ นนครรฐั ทเ่ี ป็นอิสระต่อกัน ทางความเชื่อและ หลักฐานบางส่วนในช่วงกอ่ นประวัตศิ าสตร์ พวกเขานับถอื เทพเจ้าเป็นอย่างมาก เทพเจ้าของพวกเขาส่วนใหญม่ ักจะเจา้ อามรณ์และอารมณร์ า้ ย ทำ�ให้มนษุ ย์ได้รับความเดอื ดร้อนโดยความไมย่ งั้ คิดของพวกเขา แต่อย่างไรกต็ าม ยงั คงไมส่ ามารถท�ำ ให้ชาวกรกีน้นั หมดศรัทธาลงได้ และยงั คดิ อกี ว่าสิ่งที่เทพเจา้ ทีพ่ วกขาบชู านับถือ และ กระท�ำ ลงไปนั้นเป็นสงิ่ ท่ถี ูกต้อง ท�ำ สิ่งท่ีเขาเหน็ ควรท่ีจะปฏิบตั ิตาม 4

การก่ออาชญกรรมในช่วงน้ันเลยนับว่าเป็นเรื่องที่ปกติ และมีความเปน็ ส่วนตวั มาก ใครจะฆา่ ใครกฆ็ า่ มองว่าส่ิงเหลา่ น้ัน เปน็ ปจั จัยแหง่ ความสุข ไม่มกี ฎเกณฑเ์ ก่ียวกบั การกระท�ำ ความผิด ทรี่ า้ ยแรงเชน่ นี้ แต่ในภายหลังน้ันมีการเปล่ียนแปลงการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตย แต่ถึงจะเรียกว่าประชาธปิ ไตย เปน็ ประชาธิปไตย แคเ่ รอื่ งการใช้สทิ ธิของประชาชนเทา่ นนั้ ยงั ไม่สามารถเรียกวา่ เป็นประชาธปิ ไตยแบบไดใ้ นปัจจุบนั แตเ่ ป็นการปกครองแบบ กดข่ี หรอื ทเ่ี รยี กกันวา่ ระบบทรราช คาดวา่ ประชาชนชาวกรกี นั้น มีความสขุ นน่ั ก็เลยส่งผลให้เศรษฐกจิ ของพวกเขาเจริญเติบโตได้ รวดเรว็ 5

CอRาชIMญาIกNรAรมL 6

HOM 7

ICIฆDาEตกรรม 8

ต้นกำ�เนิดของยุคก่อนคลาสสิค บรเิ วณพนื้ ทนี่ ้ัน ตามระยะเวลาท่ีของประวตั ศิ าสตร์เมืองเอเธนส์ เมือ่ มีคนถูก ก�ำ หนด หากมีความร้ายแรงตามกล่าวหาว่าเปน็ ฆาตรกร(เหยอื่ ) หรือ เปน็ ความเห็นของผตู้ ัดสินและประชาชนฆาตรกรกต็ ามที ผลทเ่ี ขาจะได้รบั น้ัน อาจจะ ไมว่ า่ จะต้ังใจหรือไมต่ ้งั ใจกต็ ามที เขาถกู ประชาชนในเมืองลอ้ มเปน็ วงกลม และ จะถูกนักฆ่า(เพชรฆาต) พาตัวไปการลงโทษสำ�หรับคนทไ่ี ม่ไดต้ ้งั ใจน้ัน อาจ ทท่ี ะเล ท�ำ การตดั หัวและหอ้ ยหัวจะเป็นการขับไล่ หรือ เนรเทศออกจากกรงุ ประจานตามรมิ ทะเลเอเธนส์ รอบชนบทและ 9

ในกรณีที่ไม่ได้ต้ังใจแล้วถูกเนรเทศน้ัน หากไดร้ ับการอภัยโทษจากคนในครอบครัวฆาตกร หรือฆาตรกรท่ีเป็นเหยอ่ื ผูน้ น้ั จะได้รับอนญุ าตใิ หก้ ลับเขา้ ไปในกรุงเอเธนส์ไดอ้ ีกครั้ง 10

ในกฏหมายของเอเธนส์ คดฆี าตกรรมบางอย่างกถ็ ือว่ามีความ สมเหตสุ มผล ในระดบั นงึ “ หากผ้ทู ถ่ี กู เนรเทศ ถูกเนรเทศตามระยะ เวลาที่ค�ำ ส่ังกำ�หนกครบวาระแล้ว แต่ยังไม่ได้รับ อภยั โทษจากคนในครอบครัว แมจ้ ะเปน็ เพยี งแคค่ รงั้ หรอื ไม่ว่าจะอยา่ งไรกต็ าม ” “ หากมกี ารฆา่ โดยไม่ไดต้ ้งั ใจ เช่น หากเกิด พลงั้ มอื ฆา่ ขโมยทพ่ี ยายามจะ ขโมยของบา้ นตัวเอง ก็ ถือวา่ เป็นการฆา่ แบบไม่ไดต้ ัง้ ใจ กถ็ กู เนรเทศเชน่ กัน ” 11

12

การลว่ งละเมิดSทาEงเพXศ 13

OFFENSES 14

การลงโทษเรื่องการล่วงละเมิดทางเพศ หรอื เซ็กซ์ ในกรงุ เอเธนส์ดูเหมอื นวา่ จะค่อนข้าง อ่อน การข่มขืนผูห้ ญิง ลงโทษโดยการจ่ายค่าปรับ ให้ทางพ่อ หรอื สามีของผู้เสยี หาย การล่อลวงไปกระท�ำ ช�ำ เรา หรอื เกลี้ย กล่อมนัน้ ดูเหมอื นว่าจะมีโทษที่รนุ แรงกว่าการ ข่มขนื เสยี อกี น่ันเพราะพวกเขาคิดวา่ ผู้ถกู กระทำ� ไดร้ ับความเสียหายทง้ั จติ ใจและรา่ งกาย และสิ่งที่ผู้ ถูกกระท�ำ อาจจะได้รบั กค็ ือ ความตาย หาก เกิดว่า พอ่ หรอื สามีของผ้ถู กู กระท�ำ เกดิ บรรดาลโทษะขึ้น มา นั่นกไ็ ม่ผิดกฎหมายเพราะวา่ เป็นส่ิงท่ีผ้กู ระท�ำ ควรจะได้รบั 15

ถ้าเกดิ ผกู้ ระท�ำ ไมต่ าย ก็จะไดร้ บั โทษจนถงึ แกค่ วามตาย โดยการจับไปคุมขงั และทรมานรา่ งกาย (ทรมานร่างกายมี 2 อยา่ งก็ คือการดงึ ผมของผกู้ ระท�ำ ออก หรือทีเ่ รยี กวา่ การถลกหนงั หัว และ การยดั หวั ไชเทา้ เขา้ ไปในบริเวณทวารหนักของผกู้ ระท�ำ ) 16

17

การนอกใจ หรือ การผดิ ประเวณี ทางครอบครัว กฏหมายของเอเธนส์จะให้ทำ�การลงโทษดว้ ยการชดเชยซง่ึ กันและกัน เชน่ หากชายหญงิ ท่ีแต่งงานแลว้ ทั้งสองฝ่าย เปน็ ชู้กนั การลงโทษก็จะใหภ้ รรยาของฝ่ายชาย ไปชดเชย สามีของฝ่ายหญิง สามีของฝ่ายหญิง ไปชดเชย ภรรยาของฝา่ ยชาย ซงึ่ การชดเชยน้นั ไม่ได้มองถึงเรื่องการมีเซ็กซ์ แต่ ไม่ว่าอีกฝา่ ยจะใหท้ ำ�อะไร ก็ต้องท�ำ จนกว่าจะพอใจ รักร่วมเพศนั้นกเ็ ปน็ สิง่ ที่ผดิ กฏหมายเช่นกัน โดยการลงโทษกจ็ ะเหมือนกนักับ การล่อลวงไปกระทำ�ช�ำ เรา และการลงโทษเรอ่ื งโสเภณี พวกเขาก็เอากฏหมายเรอ่ื งเพศมาประยุกตใ์ ช้ 18

TH 19

EFชTิงทรพั ย์ 20

มมุ มองของการชงิ ทรัพย์ หรอื การ โจรกรรมในกรงุ เอเธนส์ ในสถานเบาคือ ขโมย สิ่งของเล็กนอ้ ย โทษกส็ ถานเบาเช่นกัน คอื การ เรียกร้องคา่ ชดเชยใหก้ บั ผูเ้ สยี หาย 21

การลงโทษที่รนุ แรงขนึ้ ก็ข้ึนอยกู่ บั ความรุนแรงของการกระท�ำ หากมีทำ�การขโมยแล้วมีคนตายนั่นเอง เช่น หากขโมยออกท�ำ การในเวลากลางคืน แลว้ ผเู้ สยี หายและขโมยเกิดการต่อสู้ ผู้เสยี หาย 22

ไมเ่ พียงแต่ ท�ำ การขโมยแลว้ ผู้เสียหายเสยี ชวี ติ แต่ขโมยของจากสถานทศ่ี กั ด์สิ ทิ ธ,์ิ ขโมยจากคลงั สาธารารณะ หรอื วัด แลว้ เป็นสง่ิ ของที่มคี า่ โทษก็ถึงแกค่ วามตายเชน่ กัน การลกั พาตัวบุคคลส�ำ คญั ต่อนครรฐั ไมว่ ่าด้านใดกต็ าม, การปลน้ ธนาคาร, สร้าง กลุ่มอาชญากรรมเพื่อท�ำ การโจรกรรม , การปลอมแปลงเงินตรา ก็ถงึ แก่ความตาย 23

24

การพจิ ารณาความอาญา แลCะ RกาIรMลงIโNทษAL PROCEDURE 25

ANDSANCTION 26

ชาวเอธีเนียนส์ในกรุงเอเธนส์ พวกเขาเลอื กให้ผู้พิพากษา เรยี กร้องสิทธิ ของพวกเขาในการไต่สวนคดี หากมีการ ตอ้ งชดเชยค่าเสยี หาย พวกเขาจะขอใหผ้ ู้ พพิ ากษากล่าวถึงค่าใชจ้ า่ ยหรอื คา่ เสยี หาย ของพวกเขา นนั่ จะเหน็ ได้วา่ พวกเขาสามารถ มีตัวเลือกให้ตัวเองเพ่ือให้ได้รับสิทธิได้เต็มที่ เปน็ การชว่ ยเหลือตัวเองในการจบั กุม หรือ พพิ ากษาคดีของเขา 27

การพิพากษาประกอบไปด้วยหัวหน้าผู้ พพิ ากษา หรือ อาร์คอน (Archons) 9 คน และ สมาชกิ ของตระกูลขนุ นาง จะมารวมตวั กนั ท่ี อโก รา(พ้ืนทโี่ ล่งกว้าง หรือ เป็นตลาดของชาวเอธเี นียน ส์) หรือ อาเรโอพากสั (Areopagus : เป็นสถานท่ีที่ ใช้ไต่สวน และพิพากษาของชาวเอธเี นยี นส)์ ดงั นั้น ศาลจะแบ่งออกเปน็ 2 ฝา่ ย คอื ศาลที่เป็นสภาการ ปกครอง หรือ ศาลอารค์ อน (Archon) และ ศาลท่ี เป็นสภาสูงสดุ หรอื ศาลอาเรโอพากัส (Areopagus) อาร์คอน ท้งั 9 คน จะถกู เลอื กจากชนชน้ั ขนุ นาง เมือ่ พ้นตำ�จากแหนง่ พวกเขาจะไปเป็นสมาชิกอาวสุ โสที่ สภาอาเรโอพากัส (แนน่ อนว่าสภาท้งั หมดไม่มเี พศสตรีทเี่ ป็นสมาชิกทง้ั สิน้ ) 28

29

ลกั ษณะการแบ่งฐานะของพลเมืองในรัฐเอเธนส์ เหน็ ได้วา่ ชนชั้นสงู สดุ คือพวกขนุ นางหรือพวกผดู้ มี ตี ระกูลเปน็ พวกทีม่ อี �ำ นาจสูงสุด ต่อมาฐานะของพลเมอื งในนครรัฐเอเธนส์ก็เรมิ่ เปล่ยี นแปลงไป คอื การท่พี วกผู้ดหี รือขนุ นางซ่ึงเคยเป็นพลเมืองชัน้ สงู สดุ ของนครรฐั เรม่ิ หมดความสำ�คัญลงทีละนอ้ ย ปัจจัยส�ำ คัญทก่ี ่อให้เกิดการเปลยี่ นแปลงดังกลา่ วสืบเนื่องมาจากการเปลีย่ นแปลงในทางเศรษฐกจิ กล่าวคอื การคา้ การอตุ สาหกรรมของนครรัฐเอเธนส์เจริญขน้ึ และขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ สินค้าออกที่สำ�คญั ทส่ี �ำ คญั คอื น้ำ�มนัมะกอก จดั เป็นอตุ สาหกรรมท่ขี น้ึ หน้าขึน้ ตาทส่ี ดุ พวกชนชน้ั พอ่ ค้าเริม่ รำ่�รวยข้นึ ขนุ นางบางคนทีต่ อ้ งการมีฐานะร�ำ่ รายขน้ึ ก็หันมาจบั งานค้าขาย ในระยะนค้ี วามม่งั มแี ละทรัพย์สินเปน็ ทีย่ อมรับในลงสังคมและการเมอื งเช่นเดยี วกบั ความมรตระกลู ฐานะของพลเมอื งและสทิ ธิในการเมืองวดั กนั ด้วยความมัง่ ค่ังและทรัพยส์ นิ เงินทอง กลา่ วคอื ผูท้ ีม่ ีผลิตผลในทดี่ นิมากที่สดุ เป็นชนช้ันสูงสุด มาในระยะนี้ชนชั้นสงู สุดจึงไมจ่ �ำ เปน็ จะตอ้ งเป็นพวกผดู้ มี ีตระกูลแต่เปน็ คนทม่ี ที รัพยส์ ินเงินทอง พวกนม้ี ีสทิ ธดิ ำ�รงต�ำ แหน่งสงู ๆในทางการเมืองด้วย 30

การปรบั ปรุงของโซลอน (Solon) และการวางรากฐานประชาธิปไตยของเอเธนส์ การปกครองนครรัฐเอเธนส์ในชนั้ ตน้ กค็ ลา้ ยคลงึ กับนครรฐั อื่นๆ ของกรีก คือในสมัยต้นๆ มี กษัตรยิ ์ปกครอง ตอ่ มาเปน็ การปกครองโดยอภสิ ิทธิช์ นและต่อจากนน้ั กว็ วิ ฒั นาการกลาย เปน็ รูปการปกครองแบบประชาธิปไตย(1) การปฏิรปู การปกครองใหค้ ล้อยตามความตอ้ งการ ของคนหมมู่ ากในสงั คมขน้ึ ตอ่ มาเป็นผลงานของขุนนางชือ่ โซลอน (Solon) ซึง่ ไดร้ ับเลือกเป็น อารค์ อน เม่อื 594 ปี ก่อนคริสตกาล ทางดา้ นอ�ำ นาจและต�ำ แหนง่ ทางการเมืองน้นั เคยเปน็ อภิสิทธ์ขิ องผทู้ ี่ถือก�ำ เนดิ มาในตระกูลขนุ นางเก่าๆ เท่านนั้ โซลอนได้เปลี่ยนแปลงเสยี โดย ใช้ฐานะทางเศรษฐกิจและทรัพย์สมบัติแทนกำ�เนิดเป็นเคร่ืองบ่งสิทธิในการเข้ารับตำ�แหน่ง ทางการปกครอง ราษฎรของเอเธนสท์ ง้ั หมดแบง่ ออกเปน็ 4 พวก ตามรายไดโ้ ดยไม่จำ�กัดวา่ เป็นรายไดจ้ ากท่ีดนิ หรือจากการคา้ ขาย และผทู้ ี่อยใู่ นกลุม่ ผูท้ มี่ รี ายไดส้ ูงสุดเท่านัน้ ที่จะมี สทิ ธทิ ี่จะเข้ารับต�ำ แหนง่ สงู สดุ คือ ต�ำ แหน่งอาร์คอนได้ โซลอนไดย้ กฐานะของพวก Thetes เป็นชนช้นั ท่ี 4 สังคม มสี ิทธใิ นทางการเมืองบา้ งในขอบเขตที่จำ�กัด เชน่ สทิ ธใิ นการเลือก แมจสิ สเตรท (Magistrate) คือเจ้าหน้าทีส่ ูงสุดในการปกครองรัฐและได้รบั สิทธิเปน็ ทหาร ในกองทหารใช้อาวธุ บา้ งและเป็นกะลาสใี นส่วนทีเ่ กย่ี วกับระเบยี บการปกครองรัฐ โซลอนได้ ปรบั ปรงุ ใหมบ่ างประการ 31

32

33

1. ใหเ้ จา้ หนา้ ทีฝ่ ่ายบรหิ ารหรือคณะอาร์คอนคงมีอ�ำ นาจหนา้ ท่ตี ามเดิม แต่ให้รบัผิดชอบต�ำ่ กวา่ ศาลสูงสดุ ของประชาชน ซึ่งโซลอนไดต้ งั้ ขน้ึ 2. การจัดต้งั สภาสร่ี อ้ ย (Council of Four Hundred) เพื่อเตรยี มงานทางด้านนิติบัญญตั ิ มีสมาชิก 400 คน เลอื กมาจากพลเมืองทงั้ 4 หมู่ ทป่ี ระกอบขึ้นเปน็ ชาวนครเอเธนสห์ ม่ลู ะ 100 คน พลเมอื งช้นั สงู สุดท้งั 3 ชนั้ ของนครรัฐมสี ทิ ธไิ ด้รับเลอื กเข้านง่ั ในสภาส่วนพวก Thetes ชนชนั้ ท่ี 4 ยังไม่มีสทิ ธิ์ 3. สภาราษฎร (Assembly) ใหป้ ระกอบดว้ ยพลเมืองทุกคนที่มอี ายุ 18 ปขี น้ึ ไปซงึ่ มารว่ มประชุมในสภาน้ี มอี ำ�นาจหนา้ ทเ่ี ลือกตัง้ เจา้ หนา้ ทฝี่ า่ ยบรหิ ารหรือคณะอาร์คอนตามเดมิ และมีอำ�นาจลงมตใิ นปัญหาตา่ งๆ ที่สภาสี่ร้อยเสนอข้นึ มา การปฏิรูประเบียบการปกครองของโซลอนนี้แม้จะนับว่าอยู่ในระบอบธนาธิปไตย (Timocracy) เพราะยงั ถือเอาทรพั ย์สมบตั เิ ป็นเกณฑใ์ นการก�ำ หนดสทิ ธิและหน้าทที่ างการ เมอื งกด็ ี แต่มสี ว่ นเปน็ ประชาธิปไตยอยู่มาก นับได้วา่ เป็นกา้ วแรกไปสู่ระบอบประชาธิปไตย 34

บรรณานุกรมอารยธรรมกรีซโบราณ.(2552). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://writer.dek-d.com/clazp/story/viewlongc. php?id=565583&chapter=4 (วันท่คี ้นข้อมูล : 14 พฤศจิกายน 2559).พฒั นาการของประชาธปิ ไตยในกรกี .(2559). เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.penedge.com/book/2016/03/ พัฒนาการของประชาธิปไตย/ (วนั ที่ค้นข้อมลู : 14 พฤศจิกายน 2559).Mark Jones & Peter Johnstone.(2012). History of Criminal Justice.5th ed. Waltham : Anderson Pub-lishing. 35



นางสาวปทั มาภรณ์ ผาสุข รหสั 13570242 คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ และ การสือ่ สารสาขาออกแบบ เอกแอนิเมชัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook