Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางจัดการเรียนรู้

แนวทางจัดการเรียนรู้

Published by thida.nfe, 2020-05-12 00:03:02

Description: แนวทางจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ย์การเรียน ตามโครงการการวิจยั เพอ่ื พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของครู กศน.ในเขตภาคเหนือ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรูแ้ บบศูนยก์ ารเรยี น ส่วนวิจัยและพฒั นา สถาบนั พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนอื สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา ในปงี บประมาณ 2558 สถาบนั กศน.ภาคเหนือ ได้จัดทา โครงการการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของครู กศน.ในเขตภาคเหนอื โดยใชร้ ปู แบบการ จัดการเรียนรู้แบบศนู ย์การเรียนข้ึน โดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อพฒั นาการจัดกระบวนการเรียนร้ทู ี่ เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551ของครู กศน.ในเขตภาคเหนือ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นร้แู บบศูนยก์ ารเรียน จากผลการวจิ ัยในครง้ั นี้ ทาใหไ้ ดแ้ นวทาง การจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยใช้ รปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ย์การเรยี น โดยสถาบนั กศน.ภาคเหนือได้จดั ทาเปน็ เอกสาร แนวทาง การจดั กระบวนการเรยี นร้ทู ี่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศนู ย์การ เรียน เพอ่ื ให้สถานศึกษา กศน. และ ครู กศน. ได้ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรทู้ เี่ น้น ผู้เรยี นเปน็ สาคัญอีกรูปแบบหน่ึง มีเนือ้ หาสาระประกอบด้วย ความรูพ้ ้นื ฐาน ที่จาเปน็ ตอ่ การ จัดกระบวนการเรียนรขู้ องครู เชน่ ความรพู้ ื้นฐานเกี่ยวกบั การออกแบบการสอน ความรู้ พน้ื ฐานเก่ียวกับเทคนคิ การสอน เป็นตน้ รวมถึงแนวทางการจดั การเรียนรแู้ บบศูนย์การ เรียน ตลอดจนขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ยั ซงึ่ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ หวงั เปน็ อยา่ งย่งิ ว่าเอกสาร เผยแพร่ผลงานวชิ าการ : แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบบั น้ี จะเป็นประโยชน์ ตอ่ ครู กศน. และสถานศกึ ษา กศน.ในเขตภาคเหนอื ท่ีจะนาไปปรบั ใชใ้ นการจัดกระบวนการ เรียนรู้ตอ่ ไป (นายประเสริฐ หอมดี) ผู้อานวยการ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื กนั ยายน 2558 (1)

สารบญั หน้า คานา……………………………………………………………………………………………………..………………. (1) คาช้แี จง………………………………………………………………………………………………..………………. 1 ตอนที่ 1 บทนา……………………………………………………………………………………….……….………… 2 ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา…….……….….......................................... 2 2 ความรู้พื้นฐานเกีย่ วกับการออกแบบการสอน……………………………….……….……… 5 ความหมายและประโยชนข์ องการออกแบบการสอน.......................................... 5 ปจั จัยสาคัญในการออกแบบการสอน............................................................. 6 ทฤษฎีการออกแบบการสอน........................................................................ 7 การออกแบบการสอน................................................................................. 10 3 ความร้พู ้นื ฐานเกย่ี วกับเทคนิคการสอน……………………………….……….……….……… 17 การจดั การเรยี นการสอนอย่างมีระบบ….…....................................................... 17 การสอนทมี่ ีประสิทธิภาพ….…....................................................................... 19 ทกั ษะของครูในการสอน….…........................................................................ 20 ทกั ษะการสอน….….................................................................................... 21 การสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ….….............................................................. 22 การสอนให้ผ้เู รยี นมีปฏสิ ัมพันธ์….…................................................................ 25 4 แนวทางการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ย์การเรียน………………….……………….….………… 27 ความหมายและลักษณะของศนู ยก์ ารเรียน…….……….…....................................... 27 องคป์ ระกอบของศนู ยก์ ารเรยี น…….……….…...................................................... 28 ข้นั ตอนการสอนแบบศนู ย์การเรยี น…….……….…................................................ 31 ข้อดแี ละขอ้ จากัดของวธิ สี อนแบบศูนย์การเรียน…….……...................................... 33 สรปุ ผลการวจิ ยั …….……….….......................................................................... 35 ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัย…….……….…............................................................. 36 บรรณานุกรม………………….……………………………………………………………………….….………… 40 คณะผจู้ ดั ทา………………….………………………..……………………………………………….….………… 41 (2)

คาชแ้ี จง เอกสารแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั หลกั สูตร การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยใช้รปู แบบการจดั การ เรยี นรูแ้ บบศูนยก์ ารเรียน ฉบบั นี้ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื ไดจ้ ัดทาขึน้ เพ่อื ให้สถานศกึ ษา กศน. และ ครู กศน. ได้ใช้เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั อีกรปู แบบ หนึง่ โดยมเี นื้อหาสาระท้งั หมด 4 ตอน ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 บทนา ตอนท่ี 2 ความรู้พนื้ ฐานเกีย่ วกับการออกแบบการสอน ตอนที่ 3 ความร้พู ้นื ฐานเก่ียวกบั เทคนคิ การสอน ตอนท่ี 4 แนวทางการจัดการเรยี นรูแ้ บบศูนยก์ ารเรยี น โดยเน้ือหาสาระดงั กล่าวเป็นความรูพ้ นื้ ฐานทจ่ี าเป็นต่อการจัดกระบวนการเรยี นรูข้ องครู เชน่ ความร้พู ืน้ ฐานเก่ยี วกับการออกแบบการสอน ความรู้พนื้ ฐานเกยี่ วกบั เทคนคิ การสอน เป็นตน้ รวมถึงแนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบศนู ย์การ เรียน ตลอดจนขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัย ซง่ึ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่าเอกสาร แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้น ผ้เู รียนเป็นสาคัญ หลกั สตู รการศึก ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบบั นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อครู กศน. และสถานศกึ ษา กศน.ในเขตภาคเหนือท่ีจะนาไป ปรับใชใ้ นการจดั กระบวนการเรยี นรตู้ อ่ ไป 1 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญฯ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรยี น

ตอนท่ี 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 แกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553 ได้กาหนดใหส้ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องดาเนินการเกย่ี วกับการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ตามมาตรา 24 (5) ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สือ่ การเรียน และอานวยความสะดวกเพ่อื ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นร้แู ละมคี วามรอบรู้ และ มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพฒั นากระบวนการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสง่ เสริมใหผ้ ู้สอน สามารถวิจยั เพอื่ พฒั นาการเรยี นร้ทู เี่ หมาะสมกบั ผ้เู รียนในแตล่ ะระดับการศึกษา นอกจากนีแ้ ผนการ ศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2545-2559) ไดก้ าหนดวตั ถปุ ระสงค์ขอ้ 1 เพ่อื พฒั นาคนอยา่ งรอบด้านและสมดลุ เพ่ือเป็นฐานหลกั ของการพัฒนา โดยมแี นวนโยบายเพอื่ ดาเนนิ การ คอื การปฏิรปู การเรียนรเู้ พือ่ พฒั นา ผู้เรยี นตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ และกาหนดเปา้ หมายไวว้ า่ ผู้เรยี นเปน็ คนเก่งทีพ่ ฒั นาตนเอง ได้อยา่ งเตม็ ศักยภาพ เป็นคนดี และมคี วามสุข และครทู กุ คนไดร้ บั การพัฒนาใหม้ ีความรู้และสามารถใน การจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผเู้ รียนมีความสาคญั ที่สดุ ในปงี บประมาณ 2558 สานักงาน กศน.ไดก้ าหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเรง่ รดั ปฏริ ูปการดาเนนิ งาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั โดยการประเมนิ ทบทวนและปรับกิจกรรมการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย และการเร่งรดั พฒั นาครู กศน.ตาบลทกุ คน กอรปกับการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้การศกึ ษาขั้นพื้นฐานของครู กศน.ตาบลที่ผ่านมา พบว่า ผู้เรียนขาดการพบกลมุ่ ผเู้ รียนมาพบกลมุ่ ไมพ่ รอ้ มกนั ทาใหต้ ดิ ตามการเรียนการสอนของครไู มท่ ัน และครูไม่สามารถจัดการ เรยี นการสอนได้ทันครบทกุ รายวชิ า หรือทุกสาระการเรียนรู้ ซ่งึ ในปีงบประมาณ 2558 สานักงาน กศน. ได้ช่วยแกป้ ญั หาโดยการใช้ ETV ในการชว่ ยสอน แต่ยงั มปี ญั หาคือ ผเู้ รียนมาพบกล่มุ ไมพ่ ร้อมกนั และครู ไมส่ ามารถจัดการเรียนการสอนได้ทนั ครบทกุ รายวิชา หรือทกุ สาระการเรยี นรู้ ศนู ย์การเรียนเปน็ การจัดประสบการณ์การเรยี นร้ทู ่ใี ห้ความสาคัญกบั ผู้เรยี นหรือยึดผูเ้ รยี นเป็น ศูนยก์ ลาง ใชเ้ ทคนิคการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยการแบ่งผู้เรียนออกเป็น 4-6 กลมุ่ กลุ่มละ ประมาณ 5-12 คน ให้เข้าเรยี นในศูนยก์ จิ กรรม โดยแต่ละกลมุ่ มีการประกอบกจิ กรรมตา่ งกนั ไปตามที่ กาหนดไวใ้ นชดุ การสอน แตล่ ะกลมุ่ ใช้เวลาประมาณ 15-25 นาที สาหรับประกอบกิจกรรมตามคาส่งั 2 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรูแ้ บบศูนยก์ ารเรยี น

เมื่อผู้เรียนทกุ ศนู ยป์ ระกอบกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปลี่ยนศูนยก์ ิจกรรม จนกระท่งั ครบทกุ ศนู ยจ์ ึงจะถือว่า เรยี นเน้อื หาในแต่ละหน่วยครบตามทีก่ าหนด การสอนในลักษณะนท้ี าให้บทบาทของผู้สอนและผู้เรยี น ตา่ งไปจากเดิม โดยครูเปน็ ผู้ประสานงาน คอยดูแล กระตนุ้ การเรียนของผูเ้ รียนแตล่ ะคน (อรนุช ลมิ ตศริ ิ 2546: 179) โดยลกั ษณะของศนู ยก์ ารเรยี นจะประกอบด้วยสือ่ ประสมชนิดตา่ ง ๆ ในแต่ละศนู ย์ความรู้ ซึ่งผเู้ รียนจะสามารถเรียนรู้ไดต้ นเอง หรือเรยี นในลกั ษณะกลุ่มและปรกึ ษาหารือกันโดยการอ่าน คาแนะนาการใชส้ ่อื ในแต่ละศูนย์ความรู้ และดาเนนิ กจิ กรรม หรอื ศกึ ษาหาความร้ดู ้วยตนเองตามท่ี กาหนดในใบงาน ซ่ึงผเู้ รยี นบางกลุม่ จะเรียนโดยตรงกบั ครผู ้สู อน และบางกลุม่ จะศกึ ษาจากเอกสาร หนังสอื เรียน รปู ภาพ หรอื เครอ่ื งมอื ต่าง ๆ ในศนู ยค์ วามรู้ เช่น ชดุ การสอน ซดี ี วซี ดี ี เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ และอื่น ๆ ดังนนั้ ในศนู ยก์ ารเรียนจะประกอบด้วยศูนย์ความรูต้ ่าง ๆ ซ่ึงมีอปุ กรณ์การเรยี นร้ทู ี่เพียงพอ เหมาะสม และอยูใ่ นตาแหนง่ ทผ่ี ู้เรยี นจะสามารถศกึ ษาได้โดยไมร่ บกวนผู้อน่ื นอกจากนี้ผูส้ อนจะกาหนด ตดิ ประกาศ หรือเขียนใหผ้ ูเ้ รียนรบั ทราบวา่ เมื่อผเู้ รียนศึกษาหรอื เรียนในศนู ยค์ วามรู้หนงึ่ ๆ เสร็จแล้ว ควรจะศึกษาในศูนย์ความร้ใู ดตอ่ ไป (ระววิ รรณ ศรคี รา้ มครนั 254 3: 149) นอกจากน้ลี ักษณะสาคัญ ของวธิ สี อนแบบนอี้ กี ประการหน่ึงกค็ อื การท่ผี ้เู รียนไดล้ งมือปฏิบัตกิ ิจกรรม ศกึ ษาด้วยตนเอง นับเปน็ การสร้างองค์ความรดู้ ้วยตนเอง ตลอดจนส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นแสดงความคิดเหน็ ฝึกการตดั สินใจ และมี ความรับผดิ ชอบ การสอนดว้ ยวิธีนเี้ ปน็ การนาเนื้อหาในบทเรียนมาแบ่งเปน็ สว่ น ๆ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้ ทลี ะหน่วย (อรนุช ลิมตศิริ 2544: 179) จากสภาพปัญหาการจัดการเรยี นการสอนดงั กลา่ วข้างต้น สถาบันพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยภาคเหนือไดเ้ ลง็ เหน็ ความจาเป็นและความสาคัญของปัญหา ดงั นน้ั ใน ปงี บประมาณ 2558 สถาบัน กศน.ภาคเหนอื จงึ ได้จัดทาโครงการการวิจยั เพอื่ พฒั นาการจดั กระบวนการ เรยี นรทู้ ่เี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของครู กศน.ในเขตภาคเหนอื โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น ข้นึ โดยการจดั อบรมครู กศน.ตาบลในเขตภาคเหนือ เพ่ือใหค้ รไู ด้นารปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรยี นไปใช้ใน การจัดกระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษาข้นั พื้นฐานควบคไู่ ปกับการใช้ ETV ในการชว่ ยสอน ทัง้ น้เี พอ่ื สนอง นโยบายของสานกั งาน กศน. และใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ ตลอดจนเพอ่ื แกป้ ัญหาการจดั การเรยี นการสอนดงั กลา่ ว จากการดาเนนิ โครงการการวิจัย เพ่ือพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของครู กศน.ในเขต ภาคเหนอื โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียน ทาให้ไดแ้ นวทางการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ที่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ของครู กศน.ในเขตภาคเหนอื โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนยก์ ารเรียน ซงึ่ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ คาดหวงั ว่าสถานศกึ ษา กศน.ในเขตภาคเหนอื จะได้ใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดการเรยี นรใู้ ห้กบั ผู้เรียน กศน. อีกรปู แบบหน่ึง 3 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่เี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญฯ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนย์การเรียน

ในการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ จาเปน็ อยา่ งย่ิงทคี่ รผู ู้สอนจะต้องมีความรู้ พ้นื ฐานในเร่ืองการออกแบบการสอน เทคนคิ การสอน ซ่ึงการจัดการเรียนร้แู บบศนู ย์การเรียนเป็นการ จัดการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญอีกรปู แบบหนึง่ ทเี่ หมาะสมกบั การนามาประยุกต์ใชใ้ นการจัด กระบวนการเรยี นรใู้ หก้ บั ผู้เรยี น กศน. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ซึง่ ในเอกสาร แนวทาง พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ของครู กศน.ในเขต ภาคเหนือ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรยี นฉบับนี้ จะนาเสนอความรพู้ ืน้ ฐานที่จาเป็น ตอ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู ตลอดจนแนวทางการจดั การเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียน โดยมี รายละเอยี ดดังนี้ 1) ความรูพ้ ้นื ฐานเกย่ี วกับการออกแบบการสอน 2) ความรพู้ ้ืนฐานเก่ียวกบั เทคนคิ การสอน 3) แนวทางการจดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน 4 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั ฯ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนย์การเรยี น

ตอนท่ี 2 ความรูพ้ ้ืนฐานเกย่ี วกับการออกแบบการสอน 1. ความหมายและประโยชน์ของการออกแบบการสอน ความหมายของการออกแบบการสอน การออกแบบการสอน หมายถงึ การวางแผนการสอน การกาหนดรปู แบบหรอื แบบฟอรม์ ของ การเรยี นรู้ การจดั ทาแผนการสอนหรอื บันทึกการสอนอยา่ งมรี ะบบ โดยการนาวธิ ีระบบ ( System approach) มาใช้ และรปู แบบการสอนหรอื แบบฟอรม์ ของการเรยี นรู้น้ัน จะเปน็ สง่ิ ชแี้ นะสถานการณ์ และความต้องการในการเรยี นรูข้ องผู้เรียน มกี ารกาหนดขั้นตอนในการเลอื กสื่อ เพอื่ เปน็ ตัวกลางสาหรับ การถ่ายทอดเน้อื หารายละเอียดจากการออกแบบ การออกแบบการสอนเรยี กไดว้ ่า เปน็ ศาสตรแ์ ขนง หนึง่ ที่ต้องใชค้ วามรู้ ความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ในการออกแบบ รวมทง้ั การผลติ ส่ือการเรียนการสอน กิจกรรม และนาไปทดลองใช้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เพอื่ ให้เกิดสมั ฤทธผิ ลตามจดุ ประสงค์ทตี่ ั้งไว้ (สคุ นธ์ ภูริ เวทย์ 2542: 4) ประโยชนข์ องการออกแบบการสอน ในชีวติ ประจาวันของเรามกั จะได้ยนิ หรอื คนุ้ เคยกับคาว่า “การออกแบบ” ในเร่อื งตา่ ง ๆ อยู่ ตลอดเวลา เช่น การออกแบบการศึกษา โรงเรยี น สถานที่ ชดุ การสอน ระบบการสอน สนามกีฬา โรงพยาบาล โรงแรม โรงเรยี น สถานทีท่ างาน บ้าน คอนโดมิเนียม แฟลต อพารท์ เมน้ ท์ ทาวเฮ้าส์ เฟอร์นิเจอร์ เสือ้ ผา้ เครอ่ื งแต่งกาย เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ อาวุธยทุ โธปกรณ์ เครื่องบนิ เครือ่ งจกั ร เครือ่ งกล ฯลฯ ทุกส่งิ ทกุ อยา่ งที่กล่าวมาน้ีล้วนแล้วแต่ตอ้ งอาศยั การออกแบบทีเ่ ป็นระบบ มขี ัน้ ตอนถูกตอ้ งตาม หลกั การ ดว้ ยเหตุนีเ้ ราจะเหน็ ได้วา่ การออกแบบเปน็ ส่งิ สาคญั ในทุกสาขาอาชพี โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ใน แวดวงการศกึ ษา ครหู รอื ผู้สอนต่างตระหนกั ดีถงึ ประโยชนข์ องการออกแบบการสอน ดังนั้นพอจะ กลา่ วถึงประโยชนข์ องการออกแบบการสอนไดด้ งั นี้ (สคุ นธ์ ภรู ิเวทย์ 2542: 22-23) 1) ชว่ ยให้จัดทาหลกั สตู รทุกสาขาวิชาชีพไดง้ า่ ยข้นึ 2) จากผลการวิจยั เรื่อง ระบบการสอนของโครงการสง่ เสริมสมรรถภาพการสอนทเี่ รยี ก เปน็ ภาษาองั กฤษว่า RIT ย่อมาจาก Reduce Instruction Time พบว่า สามารถลดเวลาการสอนของ 5 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศูนยก์ ารเรยี น

ครูให้น้อยลงได้ แทนที่จะต้องใช้เวลามากกับนักเรียน ในการท่จี ะทาให้นักเรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ ใน เนื้อหาวิชาท่สี อนไป นอกจากนย้ี งั ชว่ ยใหน้ ักเรียนเกดิ การเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพด้วย 3) ชว่ ยทาใหค้ รแู ละนักเรียนมีปฏิสมั พนั ธ์ ( Interaction) ที่ดตี ่อกนั และนักเรียนยงั มี มนุษยสมั พันธท์ ี่ดตี อ่ ครูหรือผู้สอนดว้ ย 4) ชว่ ยทาใหผ้ เู้ รยี นเรียนดว้ ยความต้ังใจ สนกุ สนานกับเนอื้ หาวิชา วธิ ีการสอนของครู และเกิดประสบการณ์การเรยี นร้ไู ดง้ า่ ยย่ิงข้นึ 5) ช่วยทาใหจ้ ัดทาส่อื การเรยี นการสอนได้ถกู ตอ้ งเหมาะสม และนาไปใชอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ 6) ชว่ ยทาให้ผู้ออกแบบการสอน หรือนกั ออกแบบการสอน หรอื ผู้ที่เกย่ี วข้องในการ ออกแบบการสอน หรอื แม้กระทั่งครผู สู้ อนเอง เกิดความม่นั ใจ พอใจ และต้งั ใจจะพฒั นาระบบการสอน ให้ดีและมีประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น 7) ในเรือ่ งการนาคอมพวิ เตอรไ์ ปช่วยในการเรยี นการสอนกเ็ ช่นกัน เมอ่ื มีการออกแบบ บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนหรือฝกึ อบรมน้นั จะชว่ ยทาใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นร้แู ละดึงดดู ความสนใจ ของผเู้ รยี นไดเ้ ปน็ อย่างดี 8) ทาใหผ้ บู้ ริหารหรือผทู้ มี่ ีสว่ นรบั ผดิ ชอบในโปรแกรมการศกึ ษา หรอื โปรแกรมการเรียน การสอนได้ลดประมาณให้นอ้ ยลงกว่าเดมิ เปน็ การประหยดั และยงั ได้ผลเปน็ ทนี่ ่าพอใจดว้ ย 9) แมแ้ ตใ่ นด้านการฝึกอบรมวชิ าทหาร เมอื่ มกี ารออกแบบการสอน และนาไปทดลองใช้ พบว่า ในแต่ละสปั ดาหส์ ามารถลดเวลาการสอนและฝึกอบรมวิชาทหารใหน้ อ้ ยกว่าเดิมได้มาก 2. ปจั จัยสาคัญในการออกแบบการสอน สคุ นธ์ ภรู ิเวทย์ (2542: 6-7) ได้กลา่ วถึงปัจจยั สาคญั หรอื องค์ประกอบพนื้ ฐานในการออกแบบ การสอนไว้ 4 ประการด้วยกนั คอื 1) ผูเ้ รยี นหรือผู้เข้ารบั การอบรม 2) จุดประสงค์ 3) วธิ สี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน 4) ประเมนิ ผล ปัจจยั ทง้ั 4 ประการนี้เป็นพื้นฐานที่จาเปน็ และสาคญั ในกระบวนการออกแบบการสอน และ ปัจจัย 4 ประการน้สี ามารถแทนไดด้ ว้ ยคาตอบ ดังคาถามต่อไปน้ี 1) โปรแกรมเหล่านี้พัฒนาเพอื่ ใคร (คณุ ลักษณะของผ้เู รยี นหรอื ผู้เข้ารบั การอบรม) 2) จะต้องการให้ผู้เรียนหรือผูเ้ ข้ารับการอบรมเรยี นรู้อะไร หรือสามารถจะทาอะไรได้ (จดุ ประสงค์) 3) เนือ้ หาวิชาหรอื ทกั ษะการเรยี นรูไ้ ด้ดที ีส่ ดุ อย่างไร (วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน) 6 แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ฯ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบศูนย์การเรยี น

4) จะตดั สนิ ใจอยา่ งไรว่าผู้เรียนบรรลผุ ลสาเรจ็ (ประเมินผล) สรุปไดว้ า่ ปัจจัยพนื้ ฐาน 4 ประการดงั กล่าวข้างต้นทป่ี ระกอบด้วย ผู้เรียนหรอื ผู้เข้ารับการ ฝกึ อบรม จุดประสงค์ วธิ ีสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน และกระบวนการประเมินผล เปน็ ปจั จยั สาคัญในกระบวนการออกแบบการสอน ปัจจยั ต่าง ๆ เหล่าน้มี ีความสมั พันธอ์ ยา่ งเป็นระบบ และยงั มี ปัจจยั อื่น ๆ ที่นา่ สนใจอีก เมื่อนาเข้ามารวมกบั ปจั จยั พน้ื ฐานท้ัง 4 ประการแลว้ จะก่อให้เกดิ เป็นรูปแบบ (Model) การออกแบบการสอน หรือรูปแบบการสอนท่ีสมบรู ณแ์ บบ 3. ทฤษฎีการออกแบบการสอน การออกแบบการสอนในวชิ าใด ๆ ก็ตาม ผอู้ อกแบบจะตอ้ งนาเอาทฤษฎีหลักที่สาคญั มาเปน็ พืน้ ฐานในการออกแบบการสอน ทฤษฎีหลกั ท่ีสาคัญน้ี มอี ยู่ดว้ ยกัน 3 ทฤษฎี คอื (สุคนธ์ ภูรเิ วทย์ 2542: 37-38) (1) ทฤษฎรี ะบบทัว่ ไป (General system theory) (2) ทฤษฎสี ือ่ สาร (Communication theory) (3) ทฤษฎกี ารเรียนรู้ (Learning theory) ในเอกสารฉบบั น้จี ะขอกล่าวถงึ เฉพาะทฤษฎีระบบท่วั ไป ดังน้ี ความหมายของทฤษฎีระบบ สคุ นธ์ ภรู ิเวทย์ (2542: 43) ได้กลา่ วถึงความหมายของทฤษฎรี ะบบว่าเปน็ ทฤษฎเี บื้องตน้ ทม่ี ี ผลกระทบตอ่ ทฤษฎอี ่นื ๆ ทฤษฎนี ี้แสดงถึงแนวคดิ ในการออกแบบใหแ้ นวนโยบายต่อโครงการ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในการรวบรวมองคป์ ระกอบอื่น ๆ เขา้ ด้วยกนั และทฤษฎรี ะบบนั้นยังนาหลักการของ ปรชั ญาเข้ามามคี วามสมั พนั ธเ์ กย่ี วขอ้ ง ทฤษฎีนเี้ ชอื่ ว่าทุกอย่างในโลก หรือในจักรวาลน้ตี ้องมีโครงสร้างที่ เป็นระบบ ไมว่ า่ ประเทศใด ชนใด สังคมใด ชมุ ชนใด ตอ้ งมโี ครงสรา้ งหรือการทางานทเี่ ปน็ ระบบ มี ความสัมพันธ์ซ่งึ กันและกนั และมีความสัมพนั ธ์กับสิง่ แวดลอ้ มระบบน้ันมีทั้งระบบปิด ระบบเปิด ระบบ ยอ่ ย และระบบใหญ่ การนาทฤษฎรี ะบบทว่ั ไปมาใช้ในการออกแบบการสอน ลกั ษณะขัน้ ตอน หลักการ หรอื วิธีการต่าง ๆ ของทฤษฎรี ะบบนน้ั อาจจะมคี วามคล้ายคลึงกนั หรอื แตกต่างกนั บา้ งไมม่ ากก็นอ้ ย หรืออาจจะมรี ายละเอียดปลกี ย่อยเพ่ิมเตมิ เข้ามาเพือ่ ท่จี ะไดน้ าไปใช้ได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน ดงั นนั้ ได้มีนักการศึกษาหลายทา่ นไดเ้ สนอขนั้ ตอนของทฤษฎีระบบไว้ หลายรปู แบบด้วยกัน คอื (สุคนธ์ ภรู เิ วทย์ 2542: 43-44) (1) รปู แบบของบานาธี (Banathy 1968 อ้างถึงใน สุคนธ์ ภูรเิ วทย์ 2542 : 43) ประกอบดว้ ย 1) การวเิ คราะห์ระบบ 2) การแก้ปญั หา และ 3) การพัฒนาระบบ 7 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรยี น

(2) รปู แบบของคอฟแมน ( Kaufman 1970 อ้างถงึ ใน สุคนธ์ ภรู ิเวทย์ 2542 : 43) ประกอบด้วย 1) การวเิ คราะห์ระบบ (การกาหนดปญั หา กาหนดวิธีแกป้ ญั หา) และ 2) การสงั เคราะห์ ระบบ (เลอื กยุทธวิธีการแกป้ ัญหา นายทุ ธวธิ ที ่ีเลือกแลว้ ไปใช้แกป้ ญั หา ตัดสินใจแกป้ ญั หาอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ) (3) รูปแบบของโรมิสโซสกี้ ( Romiszowski 1981 อ้างถงึ ใน สคุ นธ์ ภรู เิ วทย์ 2542 : 43) ประกอบดว้ ย 1) การจากดั ปัญหา 2) การวเิ คราะห์ปญั หา 3) ออกแบบหรือพัฒนาวิธแี ก้ปญั หา 4) ลงมือ แกป้ ญั หา และ 5) ประเมินผล (4) รูปแบบของไรอัน ( Ryan 1975 อา้ งถงึ ใน สุคนธ์ ภูรเิ วทย์ 2542 : 44) ประกอบด้วย 1) การศึกษาระบบความเป็นอยู่ 2) แก้ปญั หา และ 3) ออกแบบระบบ (5) รปู แบบของซิลเวิรน์ ( Silvern 1972 อ้างถงึ ใน สุคนธ์ ภูริเวทย์ 2542 : 44) ประกอบด้วย 1) การวเิ คราะห์ 2) การสงั เคราะห์ 3) การกาหนดรูปแบบ และ 4) สถานการณ์จาลอง จากข้ันตอนหรือองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ปี ระกอบอยใู่ นแตล่ ะรปู แบบแลว้ จะเห็นวา่ ทกุ รปู แบบ มี ขั้นตอนหรอื องคป์ ระกอบที่คล้ายคลงึ กัน จะตา่ งกันนดิ หน่อยก็ตรงมขี ้นั ตอนย่อยอยูใ่ นขัน้ ตอนใหญเ่ ท่า น้นั เอง สรุปได้ว่าขัน้ ตอนหรือองค์ประกอบตา่ ง ๆ ท่อี ย่ใู นทฤษฎรี ะบบทว่ั ไป ก็เหมอื นกับข้นั ตอนหรอื องคป์ ระกอบในวิธรี ะบบนั้นเอง เราอาจเรียกได้ว่าทฤษฎรี ะบบ ( Systems theory) กค็ ือวธิ ีระบบ (Systems approach) น่ันเอง สรุปการนากระบวนการของทฤษฎรี ะบบมาใช้ในการออกแบบการสอนหรืองานด้านการสอน และการฝกึ อบรม กระบวนการดงั กลา่ วนี้ จะประกอบด้วยองค์ประกอบตามแผนภูมติ อ่ ไปนี้ (สุคนธ์ ภูริ เวทย์ 2542: 44) ตวั ปอ้ น กระบวนการปฏิบตั ิ การประเมนิ ผล หรอื กระบวนการสอน การปฏิบัติงาน หรือกระบวนการสอน ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ ลักษณะของงานในด้านการสอน จาเปน็ อยา่ งย่งิ ที่ตอ้ งอาศยั ทฤษฎีระบบเช่นเดียวกัน คือ (สุคนธ์ ภรู ิเวทย์ 2542: 44-45) (1) ตัวป้อนของงานในด้านการสอนในที่นี้ หมายถงึ งานที่ผูส้ อนจะตอ้ งจัดเตรยี มกอ่ นทจี่ ะทา การสอนในชั้น การปฏบิ ตั ิงานอยู่ในขนั้ ที่ 2 ของระบบ งานดงั กล่าวน้ีเรยี กวา่ แผนในการดาเนินการสอน ซึ่งจะเกดิ ขึ้นไดก้ โ็ ดยท่ีผูอ้ อกแบบการสอนได้ศกึ ษาวเิ คราะหข์ อ้ มลู ต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับงานทตี่ น รับผิดชอบแล้ว ก็ดาเนนิ การออกแบบรปู แบบระบบการเรียนการสอน ถา้ เป็นผู้สอนกน็ าเอารูปแบบระบบ 8 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญฯ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียน

การเรยี นการสอนมาศึกษาวเิ คราะหแ์ ล้วจัดทาออกมาในรปู ของแผนการสอนเฉพาะบทเรยี น หรอื เนื้อหา น้นั ๆ ขอ้ มูลดังกล่าวนี้ ไดแ้ ก่ - การศึกษาหลกั สูตร เอกสารหลกั สูตร - การวินิจฉยั ผ้เู รยี นถงึ พ้ืนฐานความรูเ้ ดิม และความแตกต่างระหว่างบคุ คล (คุณลักษณะ ของผู้เรียน) - เนือ้ หาทีจ่ ะสอน - จุดประสงค์รายวชิ าและบทเรยี น - กิจกรรมตา่ ง ๆ ทสี่ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคข์ องการเรยี นรู้ และเน้อื หาวชิ า ตลอดจน วธิ ีการสอนทจี่ ะใช้ - การวดั ผลและประเมนิ ผล ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ดงั กล่าวน้ี จะนามาประกอบรวมกันเข้าเป็นแผนการสอนของผู้สอน (2) กระบวนการปฏิบตั ิงาน หรือกระบวนการสอน คอื การดาเนนิ การตามแผนการสอนท่ี กาหนดไว้ อันประกอบดว้ ย - การทดสอบกอ่ นเรียน เพอ่ื ทราบพ้ืนฐานความร้เู ดมิ ของผู้เรยี น - การดาเนินการสอน - การทดสอบหลงั เรยี น เพื่อทราบเอกลักษณ์ของผลผลติ หรือการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ว่า เป็นไปตามจดุ ประสงคก์ ารสอนท่ีกาหนดไว้หรือไม่ (3) การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน หรือกระบวนการสอน คอื การตรวจสอบผลผลติ ว่าเปน็ ไป ตามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไวห้ รอื ไม่ ผลจากการวเิ คราะหด์ ังกล่าวนี้ จะชใ้ี หผ้ ูส้ อนทราบวา่ การปฏิบัตงิ าน ของตนประสบผลสาเร็จหรือมปี ระสิทธภิ าพเพยี งใด มีจุดใดทีส่ มควรจะทาการแก้ไข ปรบั ปรุง สาหรับการ ปฏิบัติในครง้ั ตอ่ ไป หรอื ตอ้ งออกแบบการสอนใหม่ 9 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศนู ย์การเรยี น

จากกระบวนการในการออกแบบการสอนตามทฤษฎรี ะบบน้ี อาจพจิ ารณาได้ตามแผนภูมดิ งั นี้ (สคุ นธ์ ภรู ิเวทย์ 2542: 44-45) ตวั ป้อน การปฏบิ ัติงาน การประเมินผล -หลกั สูตร -การทดสอบกอ่ นเรียน -ลกั ษณะผลผลติ เปน็ อย่างไร -คณุ ลักษณะของผเู้ รียน -การดาเนนิ การสอน -เนื้อหาวชิ า -จุดประสงค์การสอน -การทดสอบหลังเรยี น -กิจกรรมการเรียนการสอน -วธิ สี อน ผลผลติ ผลการปฏบิ ตั งิ าน -การวดั ผลและประเมินผล แผนการสอน ข้อมูลยอ้ นกลับ 4. การออกแบบการสอน ในการออกแบบการสอน อันดับแรกทผ่ี ู้ออกแบบจะตอ้ งกระทากค็ อื การวิเคราะห์ ก่อนที่จะทา การวิเคราะห์ จะต้องมีการศกึ ษาค้นควา้ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทตี่ อ้ งการและจาเปน็ ในการออกแบบการสอน ซึ่ง ในการออกแบบการสอนนน้ั มสี ิ่งสาคญั ทจี่ ะต้องศกึ ษาค้นคว้า เพ่ือนาไปออกแบบ คอื เรื่องจุดประสงค์ การสอน ทฤษฎีการสอน รปู แบบการสอน และส่อื การเรียนการสอน เมอื่ ศกึ ษาค้นควา้ ได้แล้ว กท็ าการ รวบรวมข้อมลู ต่าง ๆ ทีไ่ ดน้ ามาวเิ คราะหเ์ พอ่ื จะนาไปเปน็ ประโยชน์และแนวทางในการออกแบบการสอน (สคุ นธ์ ภรู เิ วทย์ 2542: 105) การวิเคราะห์ การวิเคราะห์ เป็นกระบวนการแรกทผ่ี อู้ อกแบบจะตอ้ งกระทาก่อนการออกแบบ ผู้ออกแบบ จะตอ้ งวเิ คราะหใ์ นเร่ืองตา่ ง ๆ ต่อไปนี้ (สุคนธ์ ภรู เิ วทย์ 2542: 106-107) 10 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนร้ทู เ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนร้แู บบศนู ยก์ ารเรียน

1. การวเิ คราะหใ์ นด้านภารกิจและเนอ้ื หาวชิ า เราสามารถทาการวิเคราะห์ได้ 2 ระดบั ดว้ ยกนั คอื การวิเคราะห์แบบทั่วไป และการ วเิ คราะห์แบบเจาะจง 1.1 การวเิ คราะห์ภารกจิ และเน้อื หาวิชาแบบท่วั ไป มีจุดมงุ่ หมายเพอ่ื ทีจ่ ะดวู ่ามีหวั ข้อ ใดบา้ งทสี่ มควรจะนามาใชส้ อน และมหี วั ข้อใดบา้ งที่สมควรจะนามาใช้สอน และมีหัวข้อใดบา้ งทส่ี มควร จะตัดทิ้งไป หลงั จากไดห้ วั ข้อแลว้ กน็ าเอาหัวขอ้ ทต่ี อ้ งการ มาพิจารณาประกอบกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ของบลูม (Bloom) ท้ัง 3 ด้าน เพื่อทจ่ี ะนามาสรา้ งเป็นจดุ ประสงคป์ ลายทางของการเรียนรู้ 1.2 การวิเคราะห์ภารกิจและเนื้อหาวชิ าแบบเจาะจง ตอ้ งใช้เวลามากกว่าแบบแรก เพราะจะแยกแยะรายละเอียดเจาะจงมากกวา่ แบบทว่ั ไป ดงั นี้ 1.2.1 แยกรายละเอยี ดของการวเิ คราะหภ์ ารกิจเนอื้ หาวชิ าหรือหวั ข้อทจ่ี ะสอน 1.2.2 แยกรายละเอียดของขนั้ ตอนในการดาเนนิ งาน จดั เรียงลาดับให้ ตอ่ เนื่องกนั 1.2.3 ทาการวเิ คราะหก์ ลุ่มผูเ้ รียน เมือ่ วิเคราะหแ์ ล้ว กจ็ ัดกลุ่มผู้เรยี นให้เหมาะสม กับขั้นตอนในการดาเนินงาน 1.2.4 ในกรณีของการวเิ คราะหภ์ ารกิจ จะตอ้ งนาภารกิจทจ่ี ะสอนมาตัง้ เป็น จุดประสงคป์ ลายทาง และนารายละเอยี ด หรือปจั จยั ประกอบของภารกจิ นั้นมาตั้งเป็นจุดประสงคเ์ สริม หรอื จดุ ประสงคน์ าทาง ซึ่งจะเปน็ รายละเอียดในด้านใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจในเนอื้ หาวิชา หรอื ให้มที ักษะ ความชานาญขัน้ พน้ื ฐาน เพอ่ื เปน็ แนวทางใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ฏิบัตเิ พือ่ จะใหบ้ รรลผุ ลตามจุดประสงคป์ ลายทาง ที่ต้งั ไว้ 1.2.5 ในกรณีของการวิเคราะหห์ วั ขอ้ เรอ่ื งของเนอ้ื หา ก็นาหัวข้อเรื่องเหลา่ นน้ั มาต้ังเป็นจุดประสงคป์ ลายทาง จะต้องนาความร้จู ากจุดประสงค์ของบลูม ( Bloom) หรือความรู้ในเรื่อง ความแตกตา่ งขอการเรยี นรขู้ องกาเย่ ( Gagné) มาพจิ ารณาประกอบ สาหรบั รายละเอียดของเนื้อหาใน แตล่ ะหวั ขอ้ เร่อื งนนั้ จะเปน็ แนวทางในการต้ังจดุ ประสงค์นาทาง 2. การวเิ คราะห์ผูเ้ รยี น การวเิ คราะห์เพอ่ื จะได้ทราบว่า ผเู้ รยี นแตล่ ะคนมพี น้ื ฐานความรอู้ ยใู่ นระดบั ใด มี ประสบการณ์มามากนอ้ ยเพยี งไร และผเู้ รยี นมีความต้องการที่จะเรียนอะไร และอยากจะทาอะไร เมื่อ เรยี นจบหลกั สตู รแล้ว ผเู้ รียนจะเกิดการเปลีย่ นแปลงจากเดิม หรือไม่ ควรตอ้ งมกี ารวิเคราะห์ผ้เู รียนโดย จะต้องคานงึ ถงึ ความสามารถของผ้เู รยี นแต่ละคนวา่ มคี วามแตกต่างกัน แต่ละคนมีความสนใจ ความ ต้องการ และมีระดับสตปิ ัญญาและการรับร้ทู ี่แตกตา่ งกันและไม่เท่ากนั จึงจาเปน็ อย่างย่ิงทีต่ ้องจะตอ้ งทา การวิเคราะห์วา่ จะจัดอยา่ งไรใหเ้ หมาะสม และจะทาอยา่ งไรใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรียนร้ทู ่ีครอบคลุมทักษะทั้ง 11 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญฯ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน

3 ดา้ น คอื 1) ดา้ นพทุ ธพิ ิสยั ( Cognetive domain) ซ่ึงผูเ้ รยี นจะตอ้ งมีความรูค้ วามสามารถและนา ความรูท้ ่ไี ดเ้ รียนไปนน้ั ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ 2) ด้านเจตนพิสยั ( Affective domain) ผเู้ รยี นเกดิ ความรสู้ ึกซาบซง้ึ มีความชนื่ ชมทด่ี ีและมีทศั นคตทิ ีด่ ี และ 3) ดา้ นทกั ษะพิสยั ( Psychomotor domain) ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการปฏบิ ัตติ นอยา่ งคลอ่ งแคล่ววอ่ งไวในการใชก้ ลา้ มเนอ้ื ความเคลอื่ นไหวตา่ ง ๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี 3. การวิเคราะห์หลักสตู ร ในการวเิ คราะหห์ ลกั สตู รตามทฤษฎีการวิเคราะหห์ ลกั สูตรนนั้ ผอู้ อกแบบควรจะต้อง คานงึ ถงึ การวิเคราะหข์ อ้ มูลพื้นฐานทางดา้ นปรัชญา ทางดา้ นจิตวทิ ยา และทางดา้ นสงั คมวิทยา มา ประกอบกนั ซ่งึ พอจะกล่าวไดค้ รา่ ว ๆ ดังน้ี (1) การวเิ คราะหข์ ้อมลู พื้นฐานทางดา้ นปรัชญา เป็นการสารวจวา่ ปรชั ญาของ หลกั สูตรที่เรากาลังใช้อยนู่ ัน้ เนน้ ด้านใด เชน่ ถา้ เนน้ ทางด้านความรู้ ความจา ก็จะเป็นปรชั ญาแบบสารถั นิยม ฉะนน้ั การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนกจ็ ะเนน้ เน้อื หามาก บทบาทของครกู จ็ ะเปลย่ี นไป ครูตอ้ ง เปน็ แบบอย่างทดี่ ีแกศ่ ษิ ย์ แตถ่ ้าหลักสูตรเน้นปรัชญาแบบประสบการณ์นยิ ม กระบวนการจัดกจิ กรรม การเรียนการสอนก็จะเนน้ ใหผ้ เู้ รียนเป็นศูนย์กลาง เนน้ ให้ผ้เู รียนปฏบิ ัติ บทบาทของครกู ็จะเปน็ เพียง ผชู้ ่วยชี้แนะ หรือใหค้ าแนะนา (Facilitator) (2) การวิเคราะห์ขอ้ มลู พนื้ ฐานทางดา้ นจติ วทิ ยา เปน็ การเตรยี มตัวเพ่อื ใหเ้ ทคนิค กระบวนการจิตวิทยาในการจดั การเรยี นการสอนเพื่อทาให้เข้าใจพฤติกรรมของนักเรยี นได้มากข้นึ ทั้งยงั ช่วยใหเ้ กิดความเขา้ ใจในกระบวนการเรยี นรู้เพม่ิ ข้นึ อีกดว้ ย เช่น ถา้ ผูส้ อนสอนผู้เรียนท่ีมอี ายุระหวา่ ง วยั ร่นุ ผ้สู อนจะต้องเข้าใจวา่ ผู้เรยี นทีเ่ ป็นวยั รนุ่ มีอารมณ์เปน็ อย่างไร ตอ้ งการคนเอาใจใส่และสนใจ ตลอดเวลา ชอบแสดงออกเพ่อื ให้ตนเป็นทย่ี อมรับของสังคม (3) การวเิ คราะห์ขอ้ มูลพื้นฐานทางดา้ นสงั คมวทิ ยาที่ว่าดว้ ยเรือ่ ง สงั คม เศรษฐกจิ การปกครอง และวัฒนธรรม การวิเคราะหน์ ้จี ะเป็นการสารวจขอ้ มูลที่เปน็ ปจั จุบันและอนาคตด้วย เรา ตอ้ งศกึ ษาวา่ สงั คมในปจั จบุ ันเป็นอย่างไร ตอ้ งการบคุ ลากรประเภทใด เราจะได้จดั ให้ตรงตามความ ต้องการของสังคมน้นั ๆ ส่วนทางดา้ นเศรษฐกิจ การปกครอง ตลอดจนวัฒนธรรมก็เชน่ กัน เราตอ้ ง ศกึ ษาสภาพของความเป็นอยขู่ องบ้านเมืองและประชาชนเป็นอยา่ งไร มคี วามเจรญิ และมีการพฒั นาไปใน รปู แบบใด และไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากดา้ นใดบ้าง นอกจากวิเคราะหพ์ ืน้ ฐาน 3 ประการดังกล่าวแล้ว ผ้อู อกแบบจะตอ้ งศกึ ษาหลกั สตู ร ท่ีวา่ ดว้ ยโปรแกรมการศึกษา โปรแกรมการสอน โครงสรา้ งของหลกั สูตร ตลอดจนเนอื้ หาวิชา ว่ามีความ เหมาะสมทนั สมยั ยดื หยนุ่ ตามความเหมาะสมของชมุ ชนและทอ้ งถ่ินหรือไม่ เนือ้ หาท่เี รยี นไปสามารถ นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้มากน้อยเพียงใด หลักสตู รทป่ี ระกอบดว้ ยจดุ หมาย หลกั การ โครงสร้าง แนว 12 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรแู้ บบศนู ย์การเรยี น

ดาเนินการ และหลกั เกณฑ์ในการใช้ ตลอดจนการวดั ผลประเมนิ ผล มีการวางแผนอยา่ งเป็นระบบหรอื ไม่ เพียงใด เพือ่ ที่ผอู้ อกแบบจะไดน้ าข้อมูลเหล่าน้ไี ปพจิ ารณาในการออกแบบการสอน สาหรบั เร่อื งการวิเคราะหห์ ลักสตู รและเนอ้ื หาวิชาอาจจะกลา่ วเพมิ่ เติมไดด้ ังน้ี (1) ในเรือ่ งตัวหลกั สูตร มคี รูผ้สู อนเป็นจานวนมากร้จู กั หลกั สตู รแตเ่ พียงว่า เปน็ เอกสารท่ีทางกระทรวงศึกษาธกิ ารจัดทาเป็นรูปเลม่ แลว้ ให้ครผู ู้สอนดาเนินวิธกี ารสอนไปตามเอกสารเลม่ นั้น ซงึ่ ตามความเป็นจริงแล้ว ครผู ้สู อนสามารถที่จะประยุกตต์ วั หลักสตู รทใี่ ช้อ้างองิ นน้ั โดยนามาปรับใช้ ให้เหมาะสมกบั สภาพการณ์ปจั จบุ ัน (2) จะต้องวเิ คราะห์ดคู วามเหมาะสมของตวั หลักสูตรวา่ เหมาะสมกับผ้เู รียนหรอื ไม่ เนือ้ หา คาบเวลาเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรยี นการสอน รวมท้งั การวัดผลประเมนิ ผล เหมาะสมหรอื ไม่เพยี งใด (3) จะต้องวเิ คราะหห์ ลกั การและจดุ ประสงค์ ต้องสามารถชชี้ ดั ได้วา่ หลกั การและ จดุ ประสงคเ์ ปน็ อย่างไร มคี วามตอ้ งการอะไร (เพ่อื ปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมของผเู้ รียนไปในทศิ ทางใด) ให้ ผ้เู รยี นเรียนรู้อะไร (4) จะต้องดูโครงสรา้ งรวมหรือภาพรวมท้งั หมดในส่งิ ทห่ี ลักสูตรต้องการวา่ เม่อื เรียน จบไปแล้วจะได้อะไร จะไปทาอะไร และจะใหม้ ีคณุ สมบตั ิอย่างไร เพราะในแตล่ ะระดบั ชัน้ จะมโี ครงสร้าง ไม่เหมอื นกนั ในการออกแบบการสอนในแตล่ ะระดบั จะตอ้ งใหเ้ หมาะสมกบั วัยของผเู้ รียน และจะต้องมี การต่อเน่ืองของระบบการเรยี นการสอนดว้ ย และเมอ่ื เกิดการเรียนรู้แล้ว จะสง่ ผลกระทบอะไรกบั นักเรียนบา้ ง หลักสูตรมคี วามเปน็ ทอ้ งถิ่นและมีความสากลควบค่กู ันและมีอัตราส่วนอยา่ งไร 4. การวิเคราะหเ์ นื้อหาวิชา การวิเคราะห์เนื้อหาวิชาจะเปน็ ข้ันตอนต่อจากการวเิ คราะหห์ ลักสูตร เม่อื ไดผ้ ลจาก การวเิ คราะห์ท้ังทางด้านปรัชญา จิตวิทยา และสังคมวิทยาแล้ว กน็ าผลจากการวิเคราะหไ์ ปใช้ในดา้ น เนอ้ื หาของวชิ าต่าง ๆ จะต้องวเิ คราะหว์ า่ เน้อื หาสาระมีความเหมาะสมหรอื ไม่ เนอ้ื หานั้นเขา้ กับ วตั ถปุ ระสงคห์ รือไม่ และเนื้อหาทจี่ ะเขียนในหลักสูตรทต่ี ดั ให้เรียนวา่ ตอ้ งการใหเ้ ดก็ เรยี นรู้ในเรือ่ ง อะไรบ้าง เน้อื หาอะไรที่ควรจะตัดออกไปบา้ ง และเนื้อหาอะไรทคี่ วรเพม่ิ เตมิ เพื่อใหเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น และตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของสังคม เศรษฐกจิ การเมือง ในขณะน้ันหรอื ไม่ หากวิเคราะหแ์ ลว้ พบวา่ ไม่เหมาะสมด้วยเหตผุ ลใด ๆ ก็ตาม กจ็ าเป็นต้องมีการปรับเปลีย่ นเนื้อหาใหเ้ หมาะสมตาม สภาพการณใ์ นขณะนัน้ ได้ 13 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น

5. การวเิ คราะห์บคุ ลากรท่มี ีสว่ นเกี่ยวข้องทางการศึกษา บคุ ลากรที่มสี ่วนเกี่ยวข้องทางการศกึ ษา ไดแ้ ก่ ผ้สู อน (ครู อาจารย์) ผู้บริหารโรงเรียน ผเู้ ชีย่ วชาญ และผู้ชานาญการในดา้ นการศึกษาและดา้ นต่าง ๆ ฯลฯ ผู้ออกแบบจาเป็นจะต้องวิเคราะห์ บุคคลดังกล่าวนีเ้ พ่ือประโยชนใ์ นการออกแบบการสอน (1) ผ้สู อน (ครู อาจารย์) เป็นบคุ คลทีส่ าคัญที่สุดคนหนึ่งในกระบวนการออกแบบการ สอน ผู้สอนประกอบด้วยท่อี อกแบบการสอนดว้ ยตนเองหรอื มสี ่วนรว่ มในการออกแบบการสอน และ ผ้สู อนท่ไี มไ่ ดอ้ อกแบบการสอนด้วยตนเองหรือไม่มสี ว่ นรว่ มในการออกแบบการสอน ซงึ่ ผูส้ อนทง้ั 2 ประเภทนี้จะมีทงั้ ขอ้ ดแี ละข้อจากดั ดังน้ี ขอ้ ดีของผสู้ อนทอี่ อกแบบการสอนด้วยตนเองหรอื มสี ว่ นรว่ มในการ ออกแบบการสอน - ผ้สู อนเขา้ ใจวธิ ีการใช้ ทราบถึงความตอ้ งการ ความสามารถ ความถนัด ความ เชย่ี วชาญในดา้ นต่าง ๆ - ผู้สอนมโี อกาสพฒั นาศักยภาพของตนเอง ทราบวา่ ตนเองมีความพรอ้ ม มี ประสบการณ์ และเทคนคิ วธิ ีการต่าง ๆ มากนอ้ ยเพยี งใด - ผู้สอนสามารถแก้ไข ปรบั ปรงุ พัฒนา และแก้ปญั หาทีเ่ กดิ ข้ึนด้วยตนเองได้ ข้อเสยี ของผู้สอนทอี่ อกแบบการสอนด้วยตนเองหรอื มีส่วนร่วมในการ ออกแบบการสอน - ทาใหผ้ ้สู อนไมค่ ่อยมเี วลาสอน และทากจิ กรรมของตนเอง หรอื กจิ กรรมอ่นื ๆ - ต้องใชง้ บประมาณค่อนขา้ งสงู ในกรณีทผ่ี ูส้ อนออกแบบการสอนดว้ ยตนเอง - ไมม่ ีองค์กรหรือหนว่ ยงานใด ๆ รบั รองมาตรฐานหรอื คุณภาพของงาน ในกรณี ทผี่ ้สู อนออกแบบดว้ ยตนเอง ขอ้ ดขี องผู้สอนทไ่ี มไ่ ดอ้ อกแบบการสอนดว้ ยตนเองหรอื ไมม่ สี ่วนร่วมใน การออกแบบการสอน - ทาใหไ้ มเ่ สยี เวลาในการสอน - ผู้สอนมีโอกาสศึกษาคน้ คว้าแหล่งวทิ ยาการต่าง ๆ ขอ้ เสียของผสู้ อนทไี่ มไ่ ดอ้ อกแบบการสอนดว้ ยตนเองหรอื ไมม่ สี ่วนร่วม ในการออกแบบการสอน - ผสู้ อนไม่เข้าใจถึงวิธกี ารใช้ - ผสู้ อนไม่ทราบถึงขอ้ ผดิ พลาด 14 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ฯ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบศนู ย์การเรียน

- ผ้สู อนไมส่ ามารถแกไ้ ข ปรับปรงุ และแกป้ ญั หาเมื่อมปี ญั หาบางอย่างเกดิ ขน้ึ ในบางข้ันตอนหรือบางกิจกรรม (2) ผูบ้ ริหาร ในทน่ี ้ีหมายถงึ ผอู้ านวยการ อาจารยใ์ หญ่ หรอื ครใู หญโ่ รงเรียน ผอู้ อกแบบต้องทราบถงึ นโยบายหรือแนวทางในการบริหารของผูบ้ ริหารดังกลา่ วกอ่ นวา่ มนี โยบาย อยา่ งไร ถา้ ไดท้ ราบถงึ นโยบาย หรือทาความเข้าใจกันเสียกอ่ น กจ็ ะทาใหง้ านดาเนินไปอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ไม่มีอปุ สรรคใด ๆ เพราะจะได้รบั การสนับสนนุ ในการวิเคราะห์ ผบู้ ริหารต้องร้จู กั หลัก จติ วทิ ยาและความเปน็ มนุษยสมั พนั ธ์ กจ็ ะทาใหเ้ ข้าใจและวิเคราะห์ผบู้ ริหารดงั กลา่ วได้ (3) ผูเ้ ชยี่ วชาญหรอื ผชู้ านาญการในด้านการศึกษาหรอื ด้านต่าง ๆ ในการจะทางาน อะไรก็ตามเพื่อให้ประสบผลสาเรจ็ และมีประสทิ ธิภาพ จะต้องประกอบด้วยผ้รู ว่ มงานหรือการทางานแบบ กลมุ่ ในการวเิ คราะห์ผูร้ ่วมงานเหล่าน้จี ะตอ้ งทาการวิเคราะหอ์ ยา่ งละเอียดในดา้ นตา่ ง ๆ นอกเหนือจาก การวเิ คราะห์ผ้บู ริหาร เช่น ความรู้ ความสามารถ ความถนดั และทักษะในด้านตา่ ง ๆ 6. การวเิ คราะหส์ อื่ การเรียนการสอน เปน็ การวเิ คราะห์วา่ ส่ือที่นามาใช้นัน้ มีความเหมาะสมกบั เนื้อหาวชิ าและผูเ้ รียนหรอื ไม่ ผู้ออกแบบควรมีการวางแผนหรือเตรยี มการใชส้ อ่ื ไวล้ ่วงหนา้ เพ่ือจะไดไ้ ม่เกดิ ความผิดพลาดเมื่อนาไปใช้ จรงิ เป็นการเพม่ิ ความเชือ่ มนั่ ให้กบั ตัวผูส้ อนเองดว้ ย สอื่ การเรยี นการสอนทีด่ นี ้ันจะต้องสามารถ ถา่ ยทอดความรตู้ า่ ง ๆ แทนเน้อื หา หรอื แทนความหมายของส่งิ ทีจ่ ะเรยี นไดด้ ี สื่อการเรยี นการสอนทีด่ ี จะต้องมคี วามสัมพนั ธก์ บั จุดประสงคห์ รอื ส่ิงทต่ี ั้งเปา้ หมายไว้ในเนอื้ หาและกจิ กรรมดว้ ย ดังนั้น สือ่ การ เรยี นการสอนจงึ เป็นสงิ่ สาคญั จาเปน็ ท่ีจะตอ้ งใหใ้ นการสอนของครู เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นสนใจ ไม่เบือ่ อยากที่จะ เรยี น และทาใหเ้ รียน และทาใหผ้ ู้เรียนเข้าใจและเกิดการเรยี นรไู้ ด้เรว็ ย่ิงข้ึน 7. การวเิ คราะหส์ ภาวการณใ์ นโรงเรียน ผอู้ อกแบบตอ้ งคานึงถึงในเรื่องสถานทแี่ ละบรรยากาศ วา่ เอ้อื อานวยตอ่ การเรยี นการ สอนมากน้อยเพยี งใด เชน่ หอ้ งเรียน ห้องสมดุ ห้องนา้ หอ้ งอาหาร ห้องแล็ป หอ้ งเกบ็ วัสดอุ ุปกรณ์ แสง และเสียง เปน็ ตน้ เพราะสิ่งเหลา่ นจี้ ะมผี ลตอ่ ผเู้ รียน ถ้าส่งิ แวดลอ้ มและบรรยากาศไมเ่ อ้ืออานวย กจ็ ะทา ให้การเรียนการสอนไม่ไดผ้ ลดังจดุ ประสงคท์ ่กี าหนดไว้ ดังนัน้ ผ้อู อกแบบตอ้ งทาการวิเคราะห์สารวจให้ ถอ่ งแท้ เพอ่ื เป็นประโยชน์ในการนาขอ้ มลู เหลา่ นีไ้ ปออกแบบการสอน 15 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรแู้ บบศนู ย์การเรยี น

8. การวิเคราะห์สภาวการณ์ภายนอกโรงเรยี น สภาวการณ์ภายนอกโรงเรียน หมายถงึ สถานท่สี าคญั ๆ ทัง้ ทางราชการและเอกชน ตลอดจนแหล่งชุมชนและตลาดแรงงาน ถ้าโรงเรียนล้อมรอบด้วยสถาบนั เอกชนท่มี นั่ คง เช่น บริษทั ห้าง รา้ น ธนาคาร และโรงพยาบาล เปน็ ตน้ สถาบนั เหล่านจ้ี ะมีบทบาทท่สี าคญั ตอ่ โรงเรยี น เพราะเขาอาจจะ ให้ความชว่ ยเหลอื ในด้านงบประมาณ บคุ ลากร หรือสถานที่ โรงเรยี นอาจจะส่งผู้เรียนฝึกปฏบิ ตั ิเพอื่ หา ประสบการณ์ กอ่ นจบการศกึ ษาออกไปจากโรงเรียน หรอื เม่อื ผ้เู รียนจบออกไปแลว้ สถาบันเหล่านี้ อาจจะเต็มใจเป็นตลาดแรงงานสาหรบั ผ้ทู เ่ี รียนจบกไ็ ด้ 16 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั ฯ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี น

ตอนท่ี 3 ความรู้พ้ืนฐานเกยี่ วกับเทคนิคการสอน 1. การจัดการเรียนสอนอยา่ งมีระบบ ระววิ รรณ ศรคี ร้ามครัน (2545: 1-5) ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนการสอนอยา่ งมรี ะบบ ไว้ดงั น้ี การดาเนินงานอยา่ งมรี ะบบในเร่ืองใด ๆ ก็ตาม ย่อมทาใหก้ ารดาเนนิ งานนน้ั ประสบความสาเรจ็ ได้ ซ่ึงระบบของการทางานโดยทั่ว ๆ ไปจะประกอบด้วย ตัวปอ้ น ( input) กระบวนการ ( process) ผลผลิต (output) และการประเมินผลย้อนกลบั (feedback) เพือ่ การปรับปรุง องคป์ ระกอบเหลา่ นจี้ ะมี ความสมั พนั ธ์ เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลงาน หรือผลผลิตตามทกี่ าหนด หรอื ตามทมี่ งุ่ หวงั ไว้ ทั้งน้โี ดยการประเมิน ผลผลติ ที่ได้ เพือ่ นาขอ้ มูล หรือปญั หาต่าง ๆ นามาปรับปรุง ตวั ปอ้ น และกระบวนการ ซ่งึ จะเปน็ วงจรที่ ตอ่ เนือ่ งกันไป ในระบบการเรยี นการสอนในโรงเรยี น หรอื ในช้ันเรียนก็เช่นเดียวกนั ตวั ป้อนของกระบวนการ เยนการสอนจะประกอบดว้ ย ผสู้ อน ผเู้ รียน หลกั สตู ร เนอื้ หาวชิ า วธิ กี ารสอน และอน่ื ๆ แล้วจึงนามา จัดทาเปน็ แผนการสอน สาหรบั กระบวนการน้ัน จะเปน็ การดาเนินการสอนในช้ันเรยี น หรือการนา แผนการสอนมาใช้ ซ่งึ จะตอ้ งประกอบดว้ ยกจิ กรรมการสอนในรปู แบบต่าง ๆ รวมทงั้ การมที ักษะการสอน ของครู และการจัดสภาพแวดลอ้ มในการเรียนเพอ่ื เพิ่มประสิทธผิ ลในการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น และ ดาเนนิ การประเมินผลการเรียนการสอนในชัน้ เรยี นสาหรับช่วงเวลาน้ัน ๆ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความสามารถ ทกั ษะในเน้ือหาวิชาน้นั ๆ ในทกุ ๆ ด้าน เช่น พทุ ธิพสิ ัย จติ พิสยั และทักษะพสิ ัย และเม่อื ประเมนิ ประสิทธผิ ลของผเู้ รียนแล้ว จึงนาข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อดาเนินการปรับปรุงตวั ป้อน และ กระบวนการตอ่ ไป 17 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญฯ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียน

กระบวนการเรยี นการสอน การปรับปรุง -ครู ผเู้ รยี น -ดาเนินการสอน ผู้เรียนมคี วามสามารถ -เน้อื หาวิชา หลกั สตู ร -ทักษะการสอน ตามจดุ ประสงค์ดา้ น -สภาพแวดลอ้ ม -การสรา้ งบรรยากาศใน -พทุ ธพิ ิสยั -วธิ สี อน ระยะเวลา การเรียน -จติ พสิ ยั -อุปกรณก์ ารสอน -การใช้อุปกรณก์ ารสอน -ทักษะพิสยั แผนการสอน ประเมินผลการเรยี น ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลติ การสอนท่ดี อี ย่างถกู ต้องน้นั จะมีลกั ษณะของการเปน็ ระเบียบ เป็นระบบ และมีความต่อเนื่อง ของการดาเนินงาน ซึง่ เรมิ่ ตงั้ แต่การวางแผนงาน การดาเนินการสอน การประเมินผลการสอน และการ ปรบั ปรุงการสอน อาจจะกลา่ วได้ว่าการจดั การเรียนการสอนอย่างมรี ะบบจะมลี กั ษณะของการ ดาเนินงาน ดังนี้ 1. ผู้สอนสารวจสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ในส่วนทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั โรงเรยี น ผเู้ รียน เน้อื หาสาระของ วิชาทีจ่ ะดาเนนิ การสอน ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่จี ะนามาเปน็ ทรพั ยากรประกอบการสอน 2. ผสู้ อนจะต้องนาข้อมูลที่ไดจ้ ากการสารวจ นามากาหนดแผนการสอน โดยกาหนด จุดประสงค์ของการสอน การจัดเนอ้ื หาสาระใหส้ อดคลอ้ งกัน กาหนดกจิ กรรมการเรียนการสอน และ อปุ กรณก์ ารสอน 3. จัดเตรียมเพ่ือสรา้ งสภาพแวดลอ้ มของการสอนท่ไี ดก้ าหนดไว้ โดยการผลติ ส่อื การสอนทีม่ ี ประสทิ ธภิ าพ สอดคล้องกบั เน้อื หาวิชาท่ีจะสอน กาหนดกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีนา่ สนใจ และการ สร้างแบบทดสอบ 4. ดาเนนิ การสอนตามแนวทางทก่ี าหนดไว้ โดยจดั ใหม้ สี ภาพแวดล้อมท่เี ออื้ ตอ่ การสอน ทาให้ การเรยี นการสอนเป็นที่น่าสนใจ และผ้เู รยี นเกดิ การเรียนร้ตู ามวตั ถุประสงคท์ ่กี าหนด 5. ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามแนวทางการประเมนิ ผลท่ีได้กาหนดไว้ เพอ่ื ตรวจสอบ พฤติกรรม และความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามเกณฑ์ และเงื่อนไขทกี่ าหนดไว้ในจุดประสงค์ เชิงพฤตกิ รรม 6. ผูส้ อนจะต้องประเมินผลยอ้ นกลับ จากผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรียนรูข้ องผเู้ รียน และประเมินผล การสอนของตนเอง เพอื่ นามาเปน็ ขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ การสอนของตนเองใหม้ ปี ระสิทธิภาพสูงขนึ้ 18 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญฯ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น

2. การสอนทมี่ ีประสิทธิภาพ การสอนทม่ี ปี ระสิทธิภาพน้นั ผู้สอนจะตอ้ งมีความสามารถ มคี วามรู้ และมีทกั ษะในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหแ้ กผ่ ู้เรียน ซึ่งครทู ่ีมีประสบการณใ์ นดา้ นการสอนจะสามารถปรับกจิ กรรม การเรียนการสอนในชัน้ เรยี นใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รียน เน้อื หาวิชา สภาพแวดลอ้ ม และสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี นอกจากนี้ ครูจะตอ้ งมีความร้เู กยี่ วกบั การสอน และความรู้ในดา้ นต่าง ๆ ต่อไปน้ี เพ่ือชว่ ย ให้การสอนของครูประสบความสาเร็จได้ (ระวิวรรณ ศรีครา้ มครัน 2545: 14-21) 1. ความรู้ในดา้ นเนือ้ หาวิชาท่ผี ู้สอน 2. ความรูเ้ กย่ี วกับการจดั สภาพแวดลอ้ ม และการสร้างบรรยากาศในชนั้ เรยี น 3. ความรู้เกี่ยวกับหลักสตู ร เอกสารหลกั สตู ร และโปรแกรมการสอน 4. ความรู้เก่ียวกบั ผู้เรยี น 5. ความรเู้ กีย่ วกับการจดั การศึกษา และสภาพแวดลอ้ มของชุมชน 6. ความรู้ในดา้ นจุดมุง่ หมายของการศึกษา ท้งั ในด้านจติ พสิ ยั ที่มงุ่ ใหแ้ ก่ผเู้ รยี น นอกเหนือจากความรู้ในดา้ นตา่ ง ๆ แล้ว ผสู้ อนจะต้องร้จู กั การคิดอยา่ งมีเหตผุ ล มี ความสามารถในการตัดสนิ ใจ ปรับปรงุ หรอื จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนไดอ้ ย่างเป็นระบบ รวมท้งั มี ทกั ษะการสอนกอ่ นเขา้ ชัน้ เรยี น ในระหวา่ งการสอนหรือหลังจากการสอนเสร็จสน้ิ แลว้ และ ความสัมพนั ธข์ องทักษะที่ตอ่ เนอ่ื งกนั ซึ่งจะทาให้ครูสามารถดาเนินการสอนในชน้ั เรยี นได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ และบรรลผุ ลตามจดุ มงุ่ หมายทก่ี าหนดไว้ การสอนของผูส้ อนจะประสบความสาเร็จได้นนั้ ผู้สอนจะตอ้ งมเี ทคนคิ การสอนในรูปแบบตา่ ง ๆ นอกเหนอื จากการมีความรใู้ นเนื้อหาวิชาที่จะสอน วิธสี อน และการใชอ้ ปุ กรณ์การสอน องค์ประกอบที่ จะทาใหก้ ารสอนมีประสทิ ธภิ าพ (ระวิวรรณ ศรีคร้ามครนั 2545: 13-19) ประกอบด้วย 1. เอาใจใส่ในการสอน 2. ดาเนินการสอนได้ตรงตามจดุ ประสงค์ 3. ทบทวนความรู้ที่เรยี นไปแล้ว 4. ดาเนินการสอนในลักษณะของกลมุ่ การเรยี น 5. สรา้ งแนวคิดในการเรยี นรู้ 6. สอนเนอื้ หาวชิ าให้เกดิ ความเข้าใจ 7. กระตุ้นให้ผ้เู รยี นสนใจการเรียน 8. สื่อความหมายทชี่ ดั เจน 9. ใช้คาถามท่เี หมาะสม 10. เสริมกาลังใจให้แก่ผูเ้ รยี น 11. จัดบทเรยี นให้มีการฝึกปฏิบตั ิ 12. ติดตามงานและประเมนิ ความเขา้ ใจของผ้เู รียน 19 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ ่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ฯ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศนู ย์การเรยี น

13. สรปุ บทเรยี นในทา้ ยชวั่ โมง 14. ประเมินผลการสอนของตนเอง 3. ทักษะของครูในการสอน การดาเนินการสอนท่มี ีประสทิ ธิภาพประกอบด้วยทักษะของครูในการสอน (ระวิวรรณ ศรีครา้ ม ครนั 2545: 23-24) ซง่ึ มีดังตอ่ ไปน้ี 1. ทกั ษะกอ่ นการสอน หมายถงึ การที่ครูตอ้ งศกึ ษาหลักสตู ร และประมวลการสอน การ พจิ ารณาเลอื กเนอ้ื หาวชิ า และระยะเวลาท่ใี ช้ในการสอนการกาหนดจุดมงุ่ หมายและจุดประสงค์ของการ สอน สาหรับการสอนในเทอมหนึ่ง ๆ ในแตล่ ะหนว่ ยการสอน และในแต่ละคาบเวลาของการสอน รวมทัง้ การวางแผนการสอน การกาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การจัดเตรยี มเนื้อหาวิชา และการใช้สอ่ื การ สอน 2. ทกั ษะระหว่างการสอน ผู้สอนจะตอ้ งมที ักษะในการจัดและเลอื กกิจกรรมการเรียนการ สอน รวมทง้ั การจดั ประสบการณ์การเรยี นร้ทู ่เี หมาะสมกับเน้อื หาวชิ าให้แก่ผู้เรียน มคี วามสามารถในการ สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรูเ้ พอื่ ให้ผเู้ รยี นสนใจกจิ กรรมการเรียนการสอน มคี วามสามารถในการ เสริมแรง กระตุ้นและสร้างความสนใจให้แกผ่ ้เู รยี นรวมทง้ั มีทักษะในการใชค้ าถาม ให้ผเู้ รียนรู้จกั การ รักษากฎ ระเบยี บ และวนิ ยั ในชนั้ เรียนและสามารถสรปุ บทเรียนได้ 3. ทกั ษะหลงั การสอน หมายรวมถึงการมีความรเู้ ก่ียวกับจดุ ประสงคข์ องการทดสอบและ แบบทดสอบ มีทกั ษะในการประเมินผลความกา้ วหน้าในการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น ประเมินผลกิจกรรมการ สอนและความสามารถในการสอนของตนเอง สามารถวเิ คราะห์และวินจิ ฉัยข้อมูลตา่ ง ๆ ได้ เพอื่ นามา ปรบั ปรุงการสอนให้มีประสิทธภิ าพทดี่ ขี นึ้ 20 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ทเี่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญฯ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศูนยก์ ารเรียน

แผนภูมิทกั ษะของครใู นการสอน 1. ศึกษาหลักสตู รและประมวล การสอน 2. พจิ ารณาเนือ้ หาวิชา วิธสี อน และระยะเวลาทใ่ี ช้สอน 3. กาหนดจุดประสงคก์ ารเรียน 4. วางแผนการสอน และการใช้ สื่อการสอน ทักษะก่อนการสอน ทักษะหลังการสอน ทักษะระหว่างการสอน 1. ประเมินผลการเรยี นรขู้ อง 1. การนาเข้าสบู่ ทเรียน ผู้เรียน 2. สร้างบรรยากาศการเรยี น 3. เร้าความสนใจผูเ้ รียน 2. วเิ คราะห์และวนิ จิ ฉยั ขอ้ มลู 4. เสรมิ กาลงั ใจผเู้ รียน 3. ประเมินผลกจิ กรรมการสอน 5. ส่อื ความหมายชดั เจน 6. มีทักษะการใช้คาถาม ของตนเอง 7. สรปุ บทเรยี นได้ 4. ปรบั ปรุงตนเอง และการจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4. ทกั ษะการสอน ทักษะการสอนของครูทนี่ ามาใช้ในชน้ั เรียนสาหรับการสอนเนอ้ื หาวชิ าตา่ ง ๆ หรือเป็น สว่ นประกอบในการจัดกิจกรรมการสอนในรปู แบบต่าง ๆ รวมทัง้ การจดั กิจกรรมกลมุ่ เพ่อื ให้ผเู้ รยี นสนใจ การสอนของครู กระตุน้ และเร้าความสนใจของผูเ้ รียนน้นั มีอย่มู ากมาย ซงึ่ จะไดก้ ล่าวในทักษะทค่ี าดว่า สาคญั และเป็นประโยชน์ตอ่ การสอนของครู (ระวิวรรณ ศรีครา้ มครัน 2545: 69-99) ดังนี้ 1. ทักษะการสรา้ งบรรยากาศในการเรียนการสอน 2. ทกั ษะนาคาถามมาใชใ้ นการสอน 3. ทกั ษะการสอนใหผ้ เู้ รียนคดิ 4. ทกั ษะการส่อื ความหมาย 1) การส่ือความหมายโดยใช้คาพูด 2) การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คาพูด 21 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศูนย์การเรียน

5. ทักษะการเสริมกาลังใจ การเสริมกาลงั ใจผเู้ รยี นในชัน้ เรียน มอี ยู่ 2 รูปแบบ คือ 1) การเสรมิ กาลงั ใจในทางบวก ( Positive reinforcement) เม่ือผู้สอนให้รางวัลเพ่ือ กระตุ้นให้ผู้เรยี นเรยี น ทากจิ กรรม หรือประพฤติ และปฏบิ ัตติ ามท่ตี ้องการ รางวัลที่ใหอ้ าจจะมหี ลาย ประเภท เช่น การใหค้ ะแนน จัดใหม้ ีเวลาวา่ งสาหรับการทางานสว่ นตวั เพ่มิ มากข้ึน กล่าวคายกย่องต่อ หนา้ เพ่ือนผเู้ รียนด้วยกนั หรอื ยกย่องใหเ้ ปน็ หวั หนา้ กลุ่ม หวั หน้าชั้นเรยี น และอืน่ ๆ การเสรมิ กาลงั ใจ ผ้เู รยี นในลักษณะดังกล่าวน้ี ผู้สอนจะตอ้ งมปี ระสบการณ์ เขา้ ใจเรียน และวเิ คราะหค์ วามร้สู ึก หรือ พฤติกรรมของผเู้ รียนด้วย ซ่ึงในบางครงั้ ยกย่อง หรือการให้รางวัลบางอยา่ งอาจจะไมเ่ ป็นที่พึงประสงค์ ของผู้เรียนบางคนก็ได้ 2) การเสริมกาลังใจในทางลบ ( Negative reinforcement) หมายถึง การทาให้ ผู้เรียนอยูใ่ นสถานะท่ีผู้เรียนไมต่ ้องการจะเปน็ หรอื ไมพ่ ึงประสงค์ และเม่ือผูเ้ รยี นมพี ฤติกรรมท่ีดขี ้ึน หรอื ปรับความประพฤตแิ ล้ว ก็จะอนุญาตให้หลุดพ้นจากสถานการณ์นั้นได้ เชน่ การมอบงานใหผ้ ูเ้ รียนทาคน เดยี วในช้นั เรียนให้เสรจ็ ก่อน เมอื่ เสรจ็ แล้วจึงจะสามารถออกไปเล่นกับเพือ่ นหรือรวมกลุ่มกับเพอื่ นได้ การเสริมกาลงั ใจในทางลบประเภทน้ีจะเปน็ การควบคุมความประพฤติท่ีไมพ่ งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น แตกต่างจากการลงโทษ ซงึ่ ไมใ่ หผ้ ู้เรยี นได้มีโอกาสแก้ตัวในพฤตกิ รรมของตนเอง 6. ทกั ษะการกระตุ้นความสนใจ 7. ทักษะการใชส้ อ่ื การสอน 8. ทักษะการสอดแทรกจริยธรรมในการสอน 9. ทักษะการสรุปบทเรยี น 5. การสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั การสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั หรือการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง หรอื การสอนทม่ี ีผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง (Student centered) เป็นรูปแบบการสอนในลักษณะท่ีช่วยให้ผูเ้ รยี น รจู้ กั การคดิ คน้ แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง โดยผ้สู อนจะเปน็ ผกู้ าหนดสถานการณ์ หรือสภาพแวดลอ้ ม รวมท้ังกาหนดปญั หาทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั สถานการณ์ปัจจุบนั บรู ณาการกับความรู้เนอ้ื หาวิชาทีก่ าหนดไว้ใน หลักสตู ร ซงึ่ การกาหนดสถานการณ์ หรือสภาพแวดล้อมดังกล่าวจะกระตุ้น หรือสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ ศกึ ษา คน้ ควา้ ความรู้ การปรกึ ษาหารือ และรว่ มกนั ตัดสินใจ รูปแบบการสอนมีดังต่อไปน้ี (ระววิ รรณ ศรี ครา้ มครนั 2545: 119)  เรมิ่ จากผ้สู อนกาหนดปัญหา หวั ข้อเรอ่ื งหรอื สถานการณท์ นี่ ่าสนใจ ซ่ึงอยูใ่ นขอบเขตของ เน้อื หาวิชาในหลกั สตู รท่ีจะตอ้ งศกึ ษา 22 แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นร้ทู เี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศนู ย์การเรียน

 ผเู้ รยี นศึกษาปัญหา หวั ข้อเรอื่ ง หรอื สถานการณ์ โดยการคดิ ค้น แสวงหาความรู้ ด้วยวธิ ีการ ตา่ ง ๆ เช่น ศึกษาจากตารา สัมภาษณ์ผูร้ ู้ หรอื ผ้ทู ี่เกยี่ วขอ้ ง โดยมีผูส้ อนใหค้ าแนะนา ช่วยเหลือ ชแ้ี นะใน การสบื ค้นแหลง่ ขอ้ มูล  ผู้เรยี นสามารถค้นพบหลกั การ ขอ้ สรุป แนวคิดในลกั ษณะของนัยทั่วไป หรือความคิดรวบ ยอดของปญั หานน้ั ๆ พิจารณาตดั สินใจ และเสนอผลงานตอ่ เพอื่ น ๆ และผู้สอน เชน่ เดียวกับที่ วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ (2542 : 4) ไดก้ ลา่ วว่า เป็นทย่ี อมรับกันวา่ การจดั การเรยี น การสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง คือ วธิ กี ารสาคญั ท่สี ามารถสรา้ งและพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ กดิ คณุ ลักษณะตา่ ง ๆ ที่ตอ้ งการในยุคโลกาภิวตั น์ เน่อื งจากเป็นการจัดการเรียนการสอนทใ่ี ห้ความสาคัญ กับผเู้ รยี น ส่งเสริมให้ผู้เรยี นรู้จักเรียนร้ดู ้วยตนเอง เรียนในเร่ืองทสี่ อดคลอ้ งกับความสามารถและความ ตอ้ งการของตนเอง และได้พฒั นาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ ซ่งึ แนวคดิ การจัดการศึกษานเ้ี ป็น แนวคดิ ที่มีรากฐานจากปรชั ญาการศกึ ษาและทฤษฎกี ารเรียนรูต้ า่ ง ๆ ที่ไดพ้ ัฒนามาอย่างตอ่ เนอื่ ง ยาวนาน และเป็นแนวทางท่ไี ดร้ ับการพิสูจน์วา่ สามารถพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะท่ีตอ้ งการอย่าง ไดผ้ ล ความเป็นมาของแนวคิด Carl R. Roger คอื ผู้คดิ คน้ และใชค้ าวา่ “เด็กเป็นศนู ย์กลาง ( Child-centred)” เปน็ ครั้งแรก ใน วิธีการน้ผี ูเ้ รียนจะได้รบั การสง่ เสรมิ ให้มีความรบั ผิดชอบและมีส่วนรว่ มเต็มท่ตี ่อการเรยี นร้ขู องตน ผเู้ รยี น แต่ละคนมีคุณค่าสมควรไดร้ บั การเช่ือถอื ไว้วางใจ แนวทางนีจ้ งึ เป็นแนวทางทีจ่ ะผลักดนั ผ้เู รียนไปสกู่ าร บรรลศุ ักยภาพของตน โดยสง่ เสริมความคดิ ของผู้เรียนและอานวยความสะดวกให้เขาได้พัฒนาศักยภาพ ของตนเองอยา่ งเตม็ ท่ี (วฒั นาพร ระงับทกุ ข์ 2542: 4-5) หลักการพืน้ ฐานของแนวคดิ “ผเู้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง”  ผูเ้ รยี นมีบทบาทรบั ผดิ ชอบตอ่ การเรียนรขู้ องตน  เน้ือหาวิชามคี วามสาคัญและมีความหมายตอ่ การเรยี นรู้  การเรียนรจู้ ะประสบผลสาเร็จหากผเู้ รียนมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรยี นการสอน  สัมพนั ธภาพทีด่ ีระหว่างผเู้ รยี น  ครูคือผอู้ านวยความสะดวกและเปน็ แหล่งความรู้  ผเู้ รยี นมีโอกาสเห็นตนเองในแง่มุมทแ่ี ตกตา่ งจากเดมิ  การศึกษา คอื การพัฒนาประสบการณก์ ารเรยี นรขู้ องผูเ้ รียนหลาย ๆ ด้านพร้อมกันไป 23 แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั ฯ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียน

หลักการจัดประสบการณ์การเรยี นร้ทู ี่เน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง เพื่อให้การเรยี นร้เู ปน็ ไปอยา่ งได้ผล การจดั ประสบการณ์การเรียนร้คู วรยึดหลกั ดงั ตอ่ ไปน้ี (วฒั นาพร ระงบั ทุกข์ 2542: 7)  การเรยี นรู้เปน็ กระบวนการที่ควรเป็นไปอย่างมชี วี ติ ชีวา ดังนั้นผเู้ รียนจงึ ควรมีบทบาท รบั ผิดชอบตอ่ การเรียนรูข้ องตน และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอน  การเรียนรู้เกดิ ขึ้นได้จากแหล่งต่าง ๆ กัน มใิ ช่จากแหลง่ ใดแหล่งหนึง่ เพียงแหล่งเดยี ว ประสบการณค์ วามรู้สึกนกึ คิดของแต่ละบคุ คลถือวา่ เป็นแหล่งการเรยี นรทู้ ี่สาคญั  การเรียนรทู้ ี่ดี จะต้องเป็นการเรียนรทู้ เี่ กดิ จากการสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจดว้ ยตนเอง  การเรยี นรกู้ ระบวนการเรยี นรมู้ ีความสาคัญ  การเรยี นรู้ทมี่ คี วามหมายแก่ผ้เู รียน คอื การเรยี นรู้ที่สามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ตัวบง่ ชก้ี ารเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รียนเปน็ ศูนยก์ ลาง ศูนยพ์ ฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอน (พ.ค.ร.) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ ได้ พัฒนาตวั บง่ ชี้การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ ศนู ย์กลางขน้ึ โดยกาหนดตวั บง่ ชี้การเรยี นของผู้เรียน 9 ขอ้ และตวั บ่งชก้ี ารสอนของครู 10 ข้อ เป็นเคร่อื งตรวจสอบว่า เม่อื ใดก็ตามท่ีเกดิ การเรียนหรอื การสอน ตามตวั บง่ ช้ีเหล่าน้ี เม่อื น้นั ไดเ้ กิดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลางแลว้ ดังนี้ (วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ 2542: 8-10)  ตวั บง่ ชก้ี ารเรียนของผเู้ รยี น 1) ผเู้ รยี นมปี ระสบการณต์ รงสัมพนั ธ์กบั ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 2) ผู้เรียนฝึกปฏิบัตจิ นค้นพบความถนัดและวิธีการของตนเอง 3) ผูเ้ รียนทากิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรจู้ ากกลุ่ม 4) ผเู้ รยี นฝกึ คิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรคจ์ ินตนาการ ตลอดจนไดแ้ สดงออกอยา่ ง ชดั เจนและมีเหตผุ ล 5) ผเู้ รยี นไดร้ บั การเสริมแรงให้คน้ หาคาตอบ แกป้ ัญหา ทง้ั ด้วยตนเอง และรว่ มด้วยช่วยกัน 6) ผู้เรียนไดฝ้ กึ คน้ ควา้ รวบรวมข้อมลู และสร้างสรรคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเอง 7) ผ้เู รยี นได้เลอื กทากิจกรรมตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเองอย่าง มีความสุข 8) ผู้เรียนฝึกตนเองให้มีวินัยและมีความรบั ผดิ ชอบในการทางาน 9) ผู้เรียนฝึกประเมนิ ปรับปรุงตนเองและยอมรบั ผู้อน่ื ตลอดจนสนใจใฝ่หาความรอู้ ยา่ ง ต่อเนอื่ ง 24 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรูท้ เ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรแู้ บบศนู ย์การเรียน

 ตัวบ่งชีก้ ารเรยี นของครู 1) ครเู ตรยี มการสอนทั้งเนอ้ื หาและวิธีการ 2) ครูจัดสภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศที่ปลกุ เร้า จงู ใจ และเสรมิ แรงให้ผเู้ รยี นเกิดการ เรียนรู้ 3) ครูเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล และแสดงความเมตตาผเู้ รยี นอย่างทวั่ ถึง 4) ครจู ัดกิจกรรมและสถานการณ์ให้ผูเ้ รยี นได้แสดงออกและคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ 5) ครูสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นฝกึ คิด ฝึกทา และฝึกปรบั ปรุงตนเอง 6) ครูส่งเสรมิ กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนร้จู ากกล่มุ พร้อมทงั้ สังเกตส่วนดี และปรับปรงุ ส่วน ด้อยของผู้เรียน 7) ครใู ชส้ อ่ื การสอนเพอ่ื ฝกึ การคิด การแกป้ ญั หา และการค้นพบความรู้ 8) ครใู ช้แหลง่ เรียนรทู้ ห่ี ลากหลายและเชื่อมโยงประสบการณ์กบั ชวี ิตจรงิ 9) ครูฝึกฝนกริ ยิ ามารยาทและวินัยตามวิถวี ัฒนธรรมไทย 10) ครสู งั เกตและประเมนิ พฒั นาการของผูเ้ รียนอย่างต่อเนอ่ื ง ประเภทการสอนท่ีมีผู้เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง การสอนท่มี ผี ้เู รยี นเป็นศนู ย์กลางสามารถแบ่งออกเปน็ 4 ประเภท ตามลกั ษณะของการจดั การ เรยี นการสอนดังต่อไปนี้ (ระววิ รรณ ศรคี รา้ มครนั 2545: 120) 1) การสอนตามเอกัตภาพ (Individualized Instruction) 2) การสอนโดยออ้ ม (Indirect Instruction) 3) การสอนใหผ้ ู้เรียนมปี ฏิสัมพนั ธแ์ ละเรียนในลกั ษณะกลมุ่ ( Interactive Instruction and Cooperative learning) 4) การสอนใหผ้ เู้ รยี นมปี ระสบการณจ์ รงิ (Experiential Instruction) 6. การสอนใหผ้ ู้เรียนมีปฏิสมั พนั ธ์ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยสง่ เสริมให้ผูเ้ รยี นมีปฏสิ มั พนั ธ์ ( Interactive) และ รวมกลมุ่ กันเรียนในลกั ษณะกลุม่ จะทาให้ผ้เู รยี นมีความสมั พันธ์ทด่ี ตี ่อกนั ร่วมกันเรียน ช่วยเหลือกนั ไม่ แข่งขนั กัน รวมทงั้ รจู้ กั การทาหน้าทข่ี องตนเองในกลุ่ม รูจ้ ักการทางานในลกั ษณะกลมุ่ และท่สี าคัญคือทา ใหผ้ เู้ รยี นไดม้ โี อกาสฝกึ การใช้ภาษา เพอ่ื การส่ือสารกบั ผู้อ่ืนในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ (ระวิวรรณ ศรี ครา้ มครัน 2545: 137) 25 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญฯ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรียน

รปู แบบของการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทม่ี ุง่ ให้ผู้เรียนมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ และร่วมกนั เรยี นใน ลกั ษณะกล่มุ จะเปน็ ลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี น รู้จักการคิดคน้ แสวงหาความรู้ หรอื แนวคดิ ใหม่ ซง่ึ การจดั กจิ กรรมการเรยี นสอนดังกลา่ วมีดังต่อไปนี้ (ระวิวรรณ ศรีคร้ามครัน 2545: 139-153) 1) การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) 2) การจดั ทาโครงการ (Group Project) 3) การจัดกลมุ่ ยอ่ ย (Small – Group) 4) การจดั ศนู ยก์ ารเรียน (Learning center) 26 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญฯ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียน

ตอนท่ี 4 แนวทางการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ย์การเรียน 1. ความหมายและลักษณะของศูนย์การเรียน ความหมายของศนู ย์การเรียน ศูนยก์ ารเรยี นเปน็ การจดั ประสบการณ์การเรียนรทู้ ี่ใหค้ วามสาคัญกับผู้เรียนหรอื ยึดผ้เู รียนเป็น ศูนยก์ ลาง ใช้เทคนิคการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยการแบง่ ผ้เู รยี นออกเป็น 4-6 กลุม่ กลุ่มละ ประมาณ 5-12 คน ใหเ้ ขา้ เรยี นในศนู ยก์ จิ กรรม โดยแตล่ ะกลมุ่ มกี ารประกอบกิจกรรมต่างกันไปตามที่ กาหนดไว้ในชดุ การสอน แตล่ ะกลมุ่ ใชเ้ วลาประมาณ 15-25 นาที สาหรบั ประกอบกจิ กรรมตามคาสงั่ เม่อื ผู้เรยี นทุกศนู ย์ประกอบกจิ กรรมเสรจ็ แล้วจงึ เปล่ียนศูนย์กจิ กรรม จนกระทง่ั ครบทกุ ศูนย์จงึ จะถือว่า เรยี นเน้ือหาในแตล่ ะหน่วยครบตามท่กี าหนด การสอนในลกั ษณะนท้ี าให้บทบาทของผ้สู อนและผเู้ รยี น ตา่ งไปจากเดมิ โดยครูเปน็ ผ้ปู ระสานงาน คอยดูแล กระต้นุ การเรียนของผู้เรียนแต่ละคน (อรนุช ลิมตศิริ 2546: 179) ลักษณะของศนู ย์การเรยี น ลักษณะของศูนยก์ ารเรียนจะประกอบด้วยสอ่ื ประสมชนิดตา่ ง ๆ ในแตล่ ะศนู ย์ความรู้ ซึ่งผู้เรียน จะสามารถเรยี นรไู้ ด้ตนเอง หรอื เรียนในลักษณะกล่มุ และปรึกษาหารือกันโดยการอา่ นคาแนะนาการใช้ สอ่ื ในแตล่ ะศูนย์ความรู้ และดาเนนิ กจิ กรรม หรือศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองตามท่ีกาหนดในใบงาน ซึง่ ผ้เู รียนบางกลมุ่ จะเรียนโดยตรงกบั ครูผสู้ อน และบางกลุม่ จะศกึ ษาจากเอกสาร หนังสอื เรียน รปู ภาพ หรือเคร่ืองมือตา่ ง ๆ ในศนู ยค์ วามรู้ เชน่ ชุดการสอน ซดี ี วีซดี ี เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ และอนื่ ๆ ดังน้นั ใน ศนู ย์การเรยี นจะประกอบด้วยศนู ย์ความรตู้ ่าง ๆ ซ่ึงมีอุปกรณ์การเรียนรทู้ เี่ พยี งพอ เหมาะสม และอย่ใู น ตาแหนง่ ทผี่ ูเ้ รียนจะสามารถศกึ ษาได้โดยไมร่ บกวนผ้อู น่ื นอกจากนผี้ ้สู อนจะกาหนด ตดิ ประกาศ หรอื เขยี นใหผ้ ู้เรยี นรับทราบวา่ เม่ือผู้เรยี นศึกษาหรอื เรียนในศูนยค์ วามรู้หน่งึ ๆ เสร็จแลว้ ควรจะศึกษาในศนู ย์ ความรูใ้ ดตอ่ ไป (ระวิวรรณ ศรคี รา้ มครนั 2543: 149) 27 แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นรูท้ ่เี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียน

ลกั ษณะสาคัญของวธิ สี อนแบบนคี้ ือ การที่ผูเ้ รียนได้ลงมือปฏิบัตกิ จิ กรรม ศึกษาด้วยตนเอง นับเป็นการสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง ตลอดจนส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น ฝึกการตัดสินใจ และมีความรบั ผดิ ชอบ การสอนด้วยวิธนี เี้ ปน็ การนาเนอ้ื หาในบทเรียนมาแบง่ เปน็ ส่วน ๆ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นได้ เรียนรู้ทีละหน่วย (อรนุช ลิมตศิริ 2544: 179) ทฤษฎีการเรยี นรู้และสอื่ การสอน การสอนแบบศูนย์การเรยี นยึดหลักทฤษฎกี ารเรียนรู้และสอ่ื การสอน ดังนี้ (อรนชุ ลิมตศิริ 2546: 179) 1) ทฤษฎีกระบวนการกลุ่ม (Group Process) เปน็ การท่ผี ้เู รยี นศึกษาเนื้อหาด้วยวิธีทางาน กลุ่ม โดยเชอ่ื ว่าการทางานเป็นกลมุ่ หรอื การร่วมมอื กับผอู้ นื่ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ทต่ี ้องอาศยั การฝึกฝน การท่ีผูเ้ รียนมโี อกาสฝกึ ทางานร่วมกบั ผู้อน่ื นั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการทางานในชีวติ จริง 2) ทฤษฎสี ื่อประสม ( Multi-media) การเรียนรทู้ อ่ี าศัยประสาทสมั ผสั หลายด้าน จะทาให้ เกิดความคงทนในการเรียน ดังนั้น ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนควรบรู ณาการการใช้ส่อื การสอน ชนิดตา่ ง ๆ เพ่ือใหเ้ กดิ การเรียนรอู้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2. องคป์ ระกอบของศนู ยก์ ารเรียน อาภรณ์ ใจเทย่ี ง (2540 อา้ งถึงใน อรนุช ลิมตศิริ 2546 : 180-182) เสนอแนะว่าในศูนย์การ เรียนควรมอี งค์ประกอบสาคญั 4 ประการ คือ 1) บทบาทของผูเ้ รยี น (1) ทาความเข้าใจเกย่ี วกบั วิธีเรยี นแบบศนู ย์การเรียน (2) พฒั นาการเรยี นรู้ด้วยตนเอง โดยปฏิบัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามคาสง่ั ทรี่ ะบไุ ว้ในศูนย์ การเรยี นแตล่ ะศูนยใ์ ห้ครบทุกศูนย์ (3) เรียนร้ทู ี่จะทางานร่วมกับผู้อน่ื โดยปฏิบตั ิตนเปน็ ผ้นู าหรอื ผู้ตามที่ดี (4) พัฒนาทกั ษะการประเมินตนเอง และบันทกึ ความก้าวหน้าของตนเอง 2) บทบาทของผู้สอน (1) วางแผนและเตรยี มชุดการสอน รวมทั้งอุปกรณอ์ ืน่ ๆ (2) สงั เกต ให้ความช่วยเหลือ และแก้ไขพฤตกิ รรมท่ไี มถ่ กู ต้องขณะผูเ้ รยี นทางาน ร่วมกนั 28 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรยี น

(3) บนั ทึกพฒั นาการของผู้เรียนแต่ละคน โดยอาจบนั ทึกเกยี่ วกับความเข้าใจในเน้อื หา สาระ ความสามารถในการปฏิบตั ติ ามคาสั่งท่กี าหนดไว้ การทางานเสร็จดว้ ยตนเอง การทางานรว่ มกับ คนอืน่ การเปน็ ผนู้ าท่ดี ี และความเป็นระเบียบในการทางาน (4) อธบิ ายเพม่ิ เติม ตลอดจนเปน็ ผ้นู าเขา้ สบู่ ทเรียนและสรุปบทเรียนดว้ ย (5) เตรียมกจิ กรรม และสือ่ การเรยี นการสอนเพิ่มเติม เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกบั สถานการณท์ ี่เปลี่ยนไป และเพอ่ื ให้บทเรยี นมีคุณคา่ ย่ิงขน้ึ ข้อควรคานึงสาหรับผสู้ อน ในการสอนแบบศนู ย์การเรียนน้ัน ครตู อ้ งเปล่ยี นแปลงทศั นคติให้เหมาะสม เพื่อเปิด โอกาสใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองมากขน้ึ ทศั นคติทคี่ รคู วรเปล่ยี นแปลงและข้อควรคานึง ไดแ้ ก่ (1) ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากท่สี ุด พยายามลดบทบาทจากผูบ้ อก มาเป็นผถู้ าม และคอยดูแลชว่ ยเหลือ (2) เป็นผู้มีใจกวา้ งและให้คาชมผู้เรียนท่ีทาดีหรือประสบความสาเร็จแม้เพียงเลก็ น้อย (3) ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นเรียนรู้ดว้ ยการเคลอื่ นไหวในขณะประกอบกิจกรรม (4) สนบั สนนุ ให้ผเู้ รยี นใช้เคร่อื งมืออุปกรณ์ เช่น เทปบนั ทึกเสยี งดว้ ยตนเอง (5) คอยชว่ ยเหลอื ผ้เู รียนใหเ้ รยี นตามความสามารถของตน 3) ชุดการสอนสาหรบั ศนู ยก์ ารเรยี น “ชุดการสอน” เปน็ เครอ่ื งมอื ท่ีสาคญั สาหรบั การสอนแบบศูนย์การเรียน ท่ีนาเสนอ เน้ือหาสาระในรูปของสื่อประสม ในแตล่ ะวิชาอาจมชี ดุ การสอนประมาณ 16-20 ชุดการสอน ท้ังน้ี ข้นึ กับจานวนหน่วยการสอนทเ่ี รากาหนดไว้ โดยใหม้ ีชดุ การสอน 1 ชุดตอ่ หนว่ ยการสอน 1 หน่วย ชุด การสอนแต่ละชดุ จะประกอบด้วย 1) คูม่ อื ครู 2) แบบฝกึ ปฏิบตั สิ าหรับผู้เรียน 3) ส่ือสาหรบั ศนู ย์ กจิ กรรมรวมทง้ั กจิ กรรมสารอง และ 4) แบบทดสอบสาหรับการประเมินผล (ชยั ยศ พรหมวงศ์ 2538 อา้ งถงึ ใน อรนุช ลมิ ตศิริ 2546: 181) (1) คมู่ อื ครู คูม่ อื ครูช่วยใหค้ รูใช้ชุดการสอนในหอ้ งเรียนแบบศูนยก์ ารเรยี นไดอ้ ย่าง มปี ระสิทธภิ าพ ส่วนประกอบของค่มู อื ครู ได้แก่  คาชแ้ี จงสาหรบั ครู  สิง่ ท่ีครูตอ้ งเตรียม  บทบาทของผ้เู รยี น  การจัดชั้นเรียนพร้อมแผนผงั  แผนการสอน 29 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนร้ทู ่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญฯ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรียน

 เนอ้ื หาสาระประจาศูนย์ต่าง ๆ  การประเมินผล (แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน) (2) แบบฝกึ ปฏิบตั ิ (Workbook) แบบฝึกปฏิบัตเิ ปน็ คมู่ อื ผูเ้ รียนท่ีใช้ประกอบ กจิ กรรมการเรยี น บันทกึ คาอธิบายของครู และทางานหรอื ทาแบบฝึกหัดตามท่คี รูมอบหมายไว้ในบตั ร กิจกรรม (3) สื่อสาหรับศูนยก์ ิจกรรม เปน็ การเสนอเนอื้ หาในรปู ของส่อื ประสม เช่น บตั ร คาสั่ง บตั รเนอ้ื หา บัตรกิจกรรม บตั รคาถาม หรือบัตรนาอภิปราย และบัตรเฉลย รวมทัง้ ภาพชดุ แบบเรียน บัตรคา บตั รภาพ เกมต่าง ๆ สไลด์ หนงั สอื เป็นตน้ (4) แบบทดสอบสาหรบั การประเมนิ ผล เป็นแบบสอบอิงเกณฑ์ทีส่ อดคล้องกับ วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมจานวน 5-10 ขอ้ ซ่ึงครจู ะใช้เปน็ แบบสอบก่อนและหลงั การเรียน โดยมี กระดาษคาตอบเตรยี มไวต้ ่างหาก ขนั้ ตอนการสรา้ งชุดการสอน (1) เลอื กเรอ่ื งทีจ่ ะสอน แล้วแบ่งเป็นหวั เรื่องย่อย 4-6 เรอ่ื ง (2) กาหนดความคดิ รวบยอดของแต่ละเร่อื ง (3) กาหนดจดุ ม่งุ หมายเชิงพฤตกิ รรม (4) กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน (5) เตรียมสอื่ การสอน (6) เตรียมขอ้ สอบทใี่ ชท้ ดสอบกอ่ นและหลงั เรียน 4) การจดั ห้องเรยี น การจัดห้องเรียนโดยแบ่งออกเป็นกลุม่ ประมาณ 4-6 กลุ่ม ท้ังน้ีขน้ึ กบั เนือ้ หาที่แบง่ เปน็ ตอน ๆ ในแตล่ ะกลุม่ จะมีเน้อื หา กจิ กรรมการเรยี นการสอนและส่ือการเรยี นการสอนท่ีต่างกันออกไป ผู้เรียนจะผลัดกันเรียนรู้และทากิจกรรมในแตล่ ะศนู ย์จนครบ จะมีศูนยส์ ารองสาหรบั กลุม่ ท่ีเรียนเร็วกว่า กลุม่ อื่น 30 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรทู้ ่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ฯ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นร้แู บบศนู ย์การเรยี น

ศูนย์ที่ 1 ศนู ยท์ ี่ 2 ศนู ย์ท่ี 3 ศนู ย์ที่ 4 ศนู ย์ท่ี 5 ตวั อยา่ งการจดั ห้องเรยี นแบบศูนย์การเรยี น (บญุ ชม ศรีสะอาด 2537 อ้างถึงใน อรนุช ลิมตศริ ิ 2546: 182) 3. ขนั้ ตอนการสอนแบบศนู ยก์ ารเรยี น ข้ันตอนการสอนแบบศนู ยก์ ารเรียนแบ่งเปน็ 5 ขนั้ ดงั นี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด 2537 อ้างถึงใน อรนุช ลิมตศิริ 2546: 183) ขน้ั ประเมนิ ผลก่อนเรียน ในขน้ั แรกจะทาการทดสอบเพือ่ วัดความรู้ความเขา้ ใจในเร่อื งที่จะเรียน โดยอาจทดสอบ ประมาณ 5-10 นาที ตอ่ จากนนั้ จงึ ตรวจใหค้ ะแนนเกบ็ ไว้ ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรยี น ผสู้ อนจะนาเขา้ สูบ่ ทเรียนประมาณ 5-10 นาที เพ่อื ดงึ ดูดความสนใจของผเู้ รยี น โดย อาจใช้การเล่นเกม เล่านทิ าน ใชโ้ สตทัศนูปกรณ์ เชน่ วดี ทิ ศั น์ ภาพยนตร์ หรอื รูปภาพ เปน็ ตน้ ตอ่ จากนัน้ ก็อธบิ ายวิธีเรียน ขัน้ ประกอบกิจกรรมการเรยี น แบ่งผู้เรยี นออกเปน็ กล่มุ ตามจานานของศูนย์กจิ กรรม แต่ละกล่มุ อาจคละกนั ระหว่าง เดก็ เก่งและอ่อน หรือให้ผู้เรียนเลือกกลุ่มเอง แต่ควรคานงึ ถึงส่ิงต่อไปน้ี ไดแ้ ก่ ความสามารถทางการเรยี นของผเู้ รียนแต่ละคน ความสามารถทางการพดู และการอา่ น วฒุ ิภาวะทางอารมณแ์ ละสังคม เพศ วยั 31 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ ี่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศนู ยก์ ารเรยี น

ต่อจากนน้ั ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ประจาศนู ยก์ จิ กรรม อา่ นบัตรคาสง่ั และปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้น หมุนเวยี น กันจนครบทกุ ศนู ย์ การเปล่ยี นกลมุ่ ทาได้ 3 วิธี คอื 1. เปล่ียนกลุ่มพรอ้ มกันทุกกลุ่ม จากศนู ย์ที่ 1 ไปศนู ยท์ ี่ 2, 3, 4 ตามลาดบั การ เปล่ยี นกลุม่ ในลกั ษณะนี้จะทาได้กต็ อ่ เม่อื ผเู้ รียนทกุ คนทากจิ กรรมเสรจ็ พร้อมกัน 2. เปลย่ี นเฉพาะกลมุ่ ที่เสร็จพร้อมกนั เช่น กล่มุ 2 และกลุม่ 4 เสรจ็ อาจเปล่ยี นกลมุ่ ได้ทนั ที 3. กลมุ่ ใดเสรจ็ ก่อนไปทากิจกรรมท่ศี ูนยส์ ารอง ขั้นสรุปบทเรียน เมือ่ ผูเ้ รียนทกุ กลมุ่ ประกอบกจิ กรรมจนครบทุกศนู ย์แลว้ ผู้สอนจะสรุปบทเรียนอกี คร้งั เพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจกระจ่างข้นึ ขนั้ ประเมินผลการเรยี น หลังจากสรปุ บทเรยี นแล้ว ผู้สอนจะใหผ้ ูเ้ รียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเพอื่ วดั ผลการ เรียน ซ่ึงเปน็ แบบทดสอบชดุ เดยี วกับท่ีใหท้ ากอ่ นเรยี น นาคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นมาเปรยี บเทยี บ กันเพือ่ ให้ทราบความก้าวหนา้ ในการเรยี น สว่ นกจิ กรรมทีผ่ ูเ้ รียนปฏบิ ัตใิ นแตล่ ะศนู ยน์ ้ัน ผสู้ อนตอ้ งนามา พจิ ารณาประกอบการประเมินผลด้วย การประเมินผลการใชศ้ ูนย์การเรยี น เพ่อื ใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนในลกั ษณะของศนู ย์การเรียนเป็นไปอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ผสู้ อนควรจะตรวจสอบความสนใจของผ้เู รยี น รวมทั้งจัดทาแบบสารวจ เพ่ือประเมินตนเอง เก่ียวกับการจัดศนู ย์การเรียนในแนวทางต่อไปนี้ (ระววิ รรณ ศรคี ร้ามครัน 2545: 153-154)  ผู้สอนจัดเตรยี มการให้ประสบการณค์ วามรูแ้ ก่ผ้เู รียนในเรอื่ งทวั่ ๆ ไป หรอื ไม่ ก่อน ให้ผูเ้ รยี นเขา้ ศึกษาในศูนย์การเรียน  ศูนย์การเรยี น มีส่อื การเรยี น รปู แบบ ตาแหน่งในการจัดวาง และสีสันท่ีจะดงึ ดดู ความสนใจของผูเ้ รยี นหรือไม่  ภาระงานท่ีมอบใหผ้ เู้ รียนปฏบิ ตั ิในแต่ละศูนย์ความรคู้ ่อนข้างยาก หรือง่ายเกนิ ไป สาหรับพ้ืนฐานความรู้ของผูเ้ รียน  ผู้เรียนจะทราบผลการเรียนย้อนกลบั ในทนั ทีหรือไม่  ผู้สอนจดั เตรยี มแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ รวมทง้ั เอกสารสาหรบั ให้ผู้เรียนได้สืบคน้ อยา่ ง เพียงพอหรอื ไม่ 32 แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นร้ทู เี่ น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญฯ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรียน

 ป้ายประกาศต่าง ๆ ในศนู ย์การเรียนมีความถูกตอ้ งตามหลักการใช้ภาษาหรือไม่ ส่ือความหมายได้เข้าใจมากน้อยเพยี งใด  กิจกรรมและเน้อื หาวชิ าในแตล่ ะศูนยค์ วามรู้ ไม่เก่ียวเน่อื งกันใช่หรอื ไม่  ในศูนยก์ ารเรียนเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้เรียนอย่างอสิ ระตามเอกัตภาพ และให้ ผ้เู รียนได้เรียนในลักษณะของกลมุ่ การเรยี นหรอื ไม่  คาแนะนาในการใชศ้ ูนยก์ ารเรียนชัดเจน เขา้ ใจง่าย หรือไม่  ผู้เรียนจะสามาระมาใช้ศูนยก์ ารเรียนอย่างอิสระด้วยตนเองไดห้ รอื ไม่  วัสดุ อปุ กรณ์ ทใี่ ชใ้ นศนู ยก์ ารเรยี นมีความคงทนหรือไม่ และมีการดแู ลรักษา อย่างไร  ผู้สอนจะทราบไดอ้ ยา่ งไรว่า เม่ือผ้เู รียนเขา้ ศกึ ษาในศูนยค์ วามรหู้ นึง่ ๆ แล้วจะได้รับ ความร้ตู ามเนอื้ หาวชิ าครบถ้วน ภายในเวลาท่ีกาหนด  ผู้สอนจะเกบ็ รวบรวมคาตอบของผูเ้ รยี นในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ได้อย่างไร  ผสู้ อนไดจ้ ดั ทาระบบการเกบ็ บนั ทึกขอ้ มูลคาตอบของผ้เู รยี นอยา่ งไร การประเมินผลการใชศ้ นู ยก์ ารเรยี น จะทาให้ผู้สอนสามารถดาเนนิ การปรบั ปรงุ ศนู ย์ การเรยี นให้อยู่ในสภาพท่ีสมบูรณท์ ่สี ุด สามารถดงึ ความสนใจของผเู้ รยี น ผ้เู รยี นสามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ย ตนเองในลกั ษณะของกลุม่ หรอื รายบคุ คล รวมทั้งได้รับความรูเ้ น้ือหาวิชาตามทหี่ ลกั สูตรกาหนด 4. ข้อดีและข้อจากัดของวธิ ีสอนแบบศูนยก์ ารเรยี น อรนุช ลมิ ตศิริ (2546: 184) ไดส้ รปุ ขอ้ ดแี ละข้อจากัดของวิธีสอนแบบศูนยก์ ารเรียนไว้ดงั น้ี ข้อดี 1) ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนแสวงหาและสรา้ งองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง แทนทจี่ ะรบั จากผ้สู อนฝา่ ยเดียว 2) ส่งเสริมให้ผ้เู รียนเรยี นตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจ 3) สง่ เสริมให้มคี วามรับผิดชอบ และการทางานรว่ มกัน 4) ชว่ ยลดปัญหาการขาดแคลนผู้สอน เพราะผู้สอนลดบทบาทลง ข้อจากัด 1) ผู้สอนตอ้ งมีความร้คู วามเข้าใจในการทาชุดการสอน 2) การใหผ้ เู้ รยี นหมนุ เวียนเรยี นตามศนู ย์การเรยี นแต่ละศูนย์ อาจไม่เปน็ ไปตามลาดบั ขัน้ ของ หลักสตู ร 33 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญฯ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ย์การเรยี น

การจัดศนู ย์การเรยี นจะทาให้ครูสามารถสอนผเู้ รียนเป็นกลุม่ เลก็ หรือใหค้ วามสนใจผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลได้ โดยจดั แบง่ ใหผ้ ู้เรยี นเป็นกลมุ่ รว่ มกนั ทางานหรอื ศกึ ษาในเรอ่ื งที่ผู้เรยี นสนใจ ซึ่งผูเ้ รยี นจะมี ความรู้ หรอื มีความสนกุ สนานในเร่อื งทต่ี นเองสนใจดว้ ย การเรยี นการสอนโดยใชศ้ นู ย์การเรยี น ผู้สอน จะเร่ิมจากการบรรยายให้ความรใู้ นเนอ้ื หาวิชาทั้งหมดโดยสรปุ กอ่ น รวมทั้งสงิ่ ท่ีผ้เู รยี นจะสามารถเรียนรู้ เพิ่มเติมได้ในศนู ย์การเรยี น แล้วจึงให้ผ้เู รยี นไดศ้ ึกษาในศนู ย์การเรยี น ซง่ึ ศนู ย์การเรียนจะประกอบด้วย สอ่ื ประสมชนิดต่าง ๆ ในแต่ละศนู ย์ความรู้ ในแต่ละศนู ย์ความรขู้ องศนู ย์การเรียนจะมสี ื่อการสอน และคาแนะนาในการใช้ ซึง่ ผู้เรียนจะ สามารถศึกษาและใช้สื่อการสอนตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง ในกรณีทผี่ เู้ รยี นศกึ ษาในศนู ยต์ ่าง ๆ เสร็จแล้ว ก่อนเวลากาหนด จะสามารถมาศึกษาในศูนย์สารอง ซ่ึงศูนยส์ ารองจะเปน็ ศูนย์ทีเ่ สริมความรู้ ความถนดั และความสามารถของผู้เรยี น อาจจะประกอบดว้ ยงานศิลปะ เกม หนังสือ หรือกิจกรรมที่ผเู้ รยี นสามารถ เรียนดว้ ยความสนุกสนานก่อนท่จี ะเขา้ ศึกษาในศนู ย์อน่ื ๆ ตอ่ ไป การจดั การสอนในลกั ษณะของศนู ยก์ ารเรียน ผสู้ อนจะตอ้ งกาหนดกฎ กติกา สาหรบั การศึกษา ในแต่ละศูนย์ความรู้ รวมทั้งกาหนดระยะเวลาของการศกึ ษาในแตล่ ะศนู ยค์ วามรดู้ ว้ ย เช่น ผู้เรียนจะ สามารถศกึ ษาในแต่ละศนู ย์ความร้ไู ม่เกิน 20 นาที แล้วจึงเปล่ียนไปศึกษาในศูนยอ์ ื่นต่อไป ซง่ึ ในแตล่ ะ ศูนย์ความรู้ ผ้สู อนสามารถเขียนระเบยี บปฏบิ ัติสาหรับให้ผเู้ รียนเขา้ ใจก่อนเขา้ ศกึ ษาในแตล่ ะศูนยค์ วามรู้ เชน่ ให้ผ้เู รยี นหยบิ บัตรคิวก่อนเข้าศนู ย์ ลงลายมอื ช่อื ฯลฯ การจัดศูนย์การเรยี นสาหรบั ผูเ้ รียนในแตล่ ะระดบั ความรู้ อาจจะแตกตา่ งกนั ขึ้นอยูก่ ับเนือ้ หา ความรู้ และสือ่ การสอนต่าง ๆ ท่ผี ู้สอนจดั ไวใ้ นศูนย์ความรู้ ซึง่ เนอ้ื หาความรใู้ นแต่ละศนู ยค์ วามรูท้ ่ีผู้เรยี น ศกึ ษาจะตอ้ งแตกตา่ งกนั เช่น มีหัวขอ้ เรือ่ งต่างกนั หรอื วิชาต่างกันก็ได้ และในบางครงั้ อาจจะจดั ให้มแี ต่ ส่ือการสอนทแ่ี ตกต่างกัน โดยท่ผี ู้สอนเปน็ เพยี งผู้ควบคมุ ช้ีแนะในการทางานของผ้เู รยี น อยา่ งไรก็ตาม ศนู ยค์ วามรูท้ ุกศูนย์ในศูนยก์ ารเรยี น ควรจะมีสือ่ การสอนทด่ี ึงดูดความสนใจของผูเ้ รยี น มคี าแนะนาใน การใชศ้ นู ย์ ซ่งึ ผู้เรียนสามารถดาเนินการไดด้ ว้ ยตนเอง รวมท้งั มแี บบประเมนิ ความร้ขู องผเู้ รยี นเม่ือศึกษา ในแต่ละศูนย์ความรแู้ ลว้ การจัดศนู ยก์ ารเรียน เป็นวิธีการสอนทผี่ ูส้ อนสามารถนามาปรบั ใช้สาหรบั ผเู้ รียนในระดบั ประถมศึกษา หรอื ในระดบั มธั ยมศกึ ษา โดยพิจารณาความเหมาะสมในด้านการใช้ส่ือการเรียนการสอน ในแตล่ ะศูนยค์ วามรู้ให้สอดคล้องกับวัย วุฒิภาวะ ความสนใจของผเู้ รียน และเน้ือหาวิชาทีก่ าหนดใน หลักสูตรดว้ ย ซงึ่ การเรียนในลักษณะของศูนย์การเรียน จะทาใหผ้ ้เู รยี นมปี ระสบการณ์ในรปู แบบตา่ ง ๆ ทีผ่ สู้ อนจัดให้ 34 แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรแู้ บบศูนยก์ ารเรียน

5. สรุปผลการวิจัย การวิจยั ครงั้ น้มี ีวัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื 1) พฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ของ ครู กศน.ในเขต ภาคเหนือ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรียน 2) ศึกษาความคดิ เห็นของครูตอ่ การนา รูปแบบการจดั การเรียนร้แู บบศูนยก์ ารเรยี นไปปฏิบัติ 3) ศกึ ษาความพึงพอใจของครตู ่อการจัด กระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนร้แู บบศนู ยก์ ารเรยี น 4) ศึกษาความพึงพอใจของผเู้ รียน ต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี น 5) เปรยี บเทยี บความพึง พอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรยี นระหวา่ งครแู ต่ละ กลมุ่ ศนู ย์ 6) เปรยี บเทยี บความพึงพอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ แบบศูนยก์ ารเรียนระหว่างผู้เรยี นแต่ละกลุ่มศนู ย์ และ 7) เปรยี บเทยี บความพงึ พอใจของต่อการจัด กระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรูแ้ บบศนู ย์การเรียนระหวา่ งครูกบั ผเู้ รียน ประชากรท่ี ใช้ในการศึกษาครัง้ นี้ ได้แก่ ขา้ ราชการครู ครอู าสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล และนกั ศกึ ษา กศน. ในเขต ภาคเหนือ ผรู้ ายงานได้ดาเนินการ เลือกกล่มุ ตวั อย่าง โดยการเลอื กแบบเจาะจง จากข้าราชการครู ครู อาสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล และนกั ศึกษา กศน. ในเขตภาคเหนือ 4 กลุ่มศนู ย์ ๆ ละ 1 อาเภอ ๆ ละ 5 คน จาแนกออกเป็น 1) ข้าราชการครูหรอื ครอู าสาสมัครฯท่รี บั ผดิ ชอบงานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน จานวน 1 คน และ 2) ครู กศน.ตาบล จานวน 4 คน ประกอบด้วย 1) กลมุ่ ศูนยห์ ลา่ ยดอย ไดแ้ ก่ กศน.อาเภอวงั เหนือ จังหวัดลาปาง จานวน 5 คน 2) กลุ่มศนู ยอ์ งิ ดอย ได้แก่ กศน.อาเภอเมอื งแพร่ จังหวัดแพร่ จานวน 5 คน 3) กลุม่ ศนู ย์อู่ข้าวอู่นา้ ไดแ้ ก่ กศน.อาเภอเมอื งพิจติ ร จงั หวดั พิจิตร จานวน 5 คน และ 4) กล่มุ ศูนย์หา้ ขุนศึก ได้แก่ กศน.อาเภอเมอื งอุตรดติ ถ์ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ จานวน 5 คน และนักศกึ ษา กศน.ที่ ลงทะเบียนเรยี นในภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2558 ของ กศน.อาเภอท่สี ่งครเู ขา้ รับการอบรมฯ จานวน 248 คน เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการ วจิ ยั ครงั้ นี้ ประกอบดว้ ย 1) แบบสอบถามความคดิ เหน็ ของครูต่อการจัด กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรยี น โดยแยกเปน็ ระดบั ปฏิบัติ (ความ คดิ เหน็ ของครตู ่อการนารูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบศนู ย์การเรยี นไปปฏบิ ตั ิ) และระดับความพงึ พอใจ (ความพึงพอใจของครตู อ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรยี น) เปน็ แบบมาตราประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ และปลายเปิด 2) แบบสอบถามความพงึ พอใจของ ผเู้ รียนต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนร้แู บบศนู ย์การเรียน เป็นแบบมาตรา ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั และปลายเปิด และ 3) แบบสงั เกตการจัดกระบวนกระบวนการ เรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรยี น เปน็ แบบตรวจสอบรายการ (check-list) ผลการวิจยั พบวา่ 1. ครมู คี วามคิดเหน็ ตอ่ การนารปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี นไปปฏบิ ัติ อยใู่ น ระดบั มาก โดยมีคา่ เฉล่ยี ( X ) 4.23 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.603 35 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญฯ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศนู ย์การเรยี น

2. ครูมีความพงึ พอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นร้แู บบ ศูนยก์ ารเรียน อยใู่ นระดับมาก โดยมคี ่าเฉลี่ย( X ) 4.33 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.579 3. ผ้เู รยี นมีความพึงพอใจต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นรูแ้ บบ ศนู ย์การเรียน อยู่ในระดบั มาก โดยมีค่าเฉลยี่ ( X ) 4.27 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.750 4. ความพงึ พอใจต่อการจดั กระบวนการเรยี นรูโ้ ดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การ เรยี นระหวา่ งครแู ตล่ ะกลมุ่ ศูนย์ ไมแ่ ตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05 5. ความพึงพอใจต่อการจดั กระบวนการเรยี นรูโ้ ดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศูนยก์ าร เรียนระหวา่ งผเู้ รียนแต่ละกลมุ่ ศูนย์ ไม่แตกตา่ งกัน อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 6. ความพึงพอใจต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนยก์ าร เรยี นระหว่างครกู บั ผ้เู รียน ไมแ่ ตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 จากการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการทดลองใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรแู้ บบศนู ย์การ เรยี นในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในพื้นทที่ ดลอง 4 แห่ง ไดแ้ ก่ 1) กลมุ่ ศูนยห์ ลา่ ยดอย กศน.อาเภอวังเหนือ จงั หวัดลาปาง 2) กลมุ่ ศูนย์อิงดอย กศน.อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 3) กลุ่มศนู ย์หา้ ขนุ ศึก กศน.อาเภอเมอื งอตุ รดิตถ์ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ และ 4) กลุ่มศูนยอ์ ่ขู า้ วอ่นู ้า กศน.อาเภอเมอื งพจิ ติ ร จังหวัดพจิ ิตร โดยใช้แบบสังเกตการจัด กระบวนกระบวนการเรยี นรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น เป็นแบบตรวจสอบ รายการ (check-list) พบว่า ครูส่วนใหญ่ได้จัดกระบวนการเรียนร้ไู ด้ครบขั้นตอนกระบวนการของการ จดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรยี น นอกจากนี้ยงั พบวา่ ครูและผู้เรียนส่วนใหญม่ คี วามพึงพอใจต่อการจดั กระบวนการเรียนรูใ้ นรปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรียนและต้องการใหน้ ารูปแบบการจัดการ เรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียนไปใชใ้ นรายวชิ าอื่น ๆ อกี ด้วย 6. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย จากการรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูลการการวจิ ัยเพ่อื พัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยใช้ รูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศนู ยก์ ารเรียน ในพื้นที่วิจยั 4 แหง่ ได้แก่ 1) กศน.อาเภอวังเหนอื จงั หวัด ลาปาง 2) กศน.อาเภอเมืองแพร่ จงั หวัดแพร่ 3) กศน.อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จงั หวัดอุตรดิตถ์ และ 4) กศน.อาเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวดั พิจิตร มขี ้อเสนอแนะในการนารปู แบบจดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน ไปปรับใช้ในการจัดการเรยี นรู้ ดงั นี้ 6.1 ด้านครูผู้สอน 1) การนาเข้าสูบ่ ทเรียนทใ่ี ช้สอื่ วิดีทัศน์ ควรผ่านสือ่ ท่สี ามารถมองเห็นได้ชดั เจน เชน่ จอ LCD ทม่ี ีขนาดใหญ่ หรือโปรเจคเตอร์ 2) ครูควรกระตนุ้ ให้ผเู้ รยี นมกี ารพดู คยุ แลกเปล่ียนความคิดเห็นซึง่ กันและกัน 36 แนวทางการจัดกระบวนการเรยี นร้ทู ีเ่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญฯ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนร้แู บบศนู ย์การเรยี น

3) ครคู วรจดั เตรียมบตั รเนื้อหา บตั รคาส่ัง ในชุดการสอนแต่ละศนู ยค์ วามรใู้ หเ้ พยี งพอกับ จานวนผ้เู รยี น 4) ครคู วรแบ่งกลุม่ ผู้เรยี นให้คละความสามารถ เชน่ เพศ วัย ความรู้พื้นฐาน (อาจดูจาก คะแนนทดสอบกอ่ นเรียน) 5) ครูควรช้ีแจงกจิ กรรมการเรยี นรู้แตล่ ะศนู ยค์ วามรูใ้ หผ้ ู้เรียนเขา้ ใจอย่างชดั เจนก่อนให้ เขา้ ศึกษาในศนู ย์ 6) กรณีผู้เรยี นมาไม่พร้อมเพ่ือน ครคู วรดาเนนิ การให้ผเู้ รียนทดสอบกอ่ นเรียนก่อนจัดให้ ผ้เู รียนเข้าเรียนร้รู ่วมกับเพื่อนในศูนยค์ วามรทู้ ่ีกาลังจะเรม่ิ เรยี น และใหผ้ เู้ รยี นท่มี าทหี ลงั เรยี นร้ใู นศูนย์ ความรอู้ ่นื ๆ ทีเ่ พื่อเรียนผ่านมาแลว้ ให้ครบทกุ ศูนยค์ วามรู้ 6.2 ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1) การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นร้แู บบศนู ย์การเรียนให้กัน ผเู้ รยี น กศน. สามารถจัดได้ 2 กรณี ดงั นี้ สามารถจดั การเรยี นรไู้ ดต้ ามข้นั ตอน (1) กรณีท่ีผู้เรยี นเข้าเรยี นพร้อมกัน กระบวนการของการจัดการเรยี นรแู้ บบศนู ยก์ ารเรียน ดังนี้  ครชู แี้ จงกจิ กรรมการเรียนร้แู ตล่ ะศนู ย์ความรูใ้ ห้ผเู้ รียนได้เขา้ ใจอยา่ งชัดเจน กอ่ นใหผ้ เู้ รียนเขา้ ศึกษาในศนู ย์การเรยี น  ครทู าการทดสอบก่อนเรยี น  ครนู าเขา้ สู่บทเรียนประมาณ 5-10 นาที เพ่ือดึงดูดความสนใจของผ้เู รียน  ครูจดั แบ่งกลุ่มผเู้ รยี น ก่อนใหผ้ ้เู รยี นเข้าศกึ ษาในศนู ยก์ ารเรียน  ครคู อยให้คาปรกึ ษาและอานวยความสะดวกแกผ่ เู้ รยี นในระหวา่ งการเรยี นรู้ แตล่ ะศนู ยค์ วามรู้  เมอ่ื ผู้เรียนทุกกลุ่มประกอบกิจกรรมจนครบทุกศูนยแ์ ล้ว ครใู หผ้ ้เู รยี นแตล่ ะ กลุ่มสรุปองคค์ วามรู้ และนาเสนอหน้าชนั้ เรียน  ครผู ู้สอนจะสรปุ บทเรยี นอีกครั้งเพอ่ื ให้ผูเ้ รียนเกดิ ความเขา้ ใจชดั เจนขน้ึ  ครใู หผ้ ู้เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นเพอื่ วดั ผลการเรียน  ครูให้ผเู้ รยี นแลกกนั ตรวจกระดาษตอบ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นทราบผลการประเมิน การเรยี นรูข้ องตนเองยอ้ นกลับในทันที (2) กรณีที่ผเู้ รียนเขา้ เรยี นไมพ่ รอ้ มกนั สามารถจัดการเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียนได้ โดยชแ้ี จงกิจกรรมการเรยี นรู้แตล่ ะศนู ย์ความร้ใู หผ้ ู้เรียนไดเ้ ขา้ ใจอยา่ งชัดเจนก่อนให้ผู้เรยี นเขา้ ศึกษาใน ศนู ย์การเรยี นและทาการทดสอบกอ่ นเรยี น จากน้นั จัดใหผ้ ้เู รยี นเข้าเรยี นในศนู ย์ความรูท้ ก่ี าลงั เปลีย่ นศนู ย์ และเริ่มเรยี นในศนู ยค์ วามรใู้ หม่จนครบทุกศูนย์ หลงั จากน้นั จึงใหผ้ เู้ รยี นทม่ี าเขา้ เรียนช้า เขา้ เรยี นในศนู ย์ 37 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรูท้ ่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรียน

ความรู้ที่ยังไมไ่ ดเ้ ข้าเรียน แต่เพอ่ื นในกลมุ่ ได้เรียนผ่าน มาแล้วจนครบทกุ ศูนย์ ทาให้ผ้เู รียนที่มาเรียนไม่ พรอ้ มเพ่อื นไดเ้ รียนครบเนอื้ หาเทา่ กบั เพือ่ นคนอน่ื ๆ เมอื่ ผูเ้ รียนจนครบทุกศนู ยแ์ ล้วใหผ้ ้เู รียนทา แบบทดสอบหลงั เรียนเพ่อื วัดผลการเรยี น 2) ผ้เู รียนส่วนใหญ่ไม่กล้าแสดงออก ไม่กลา้ ออกมานาเสนองาน ครูควรใชเ้ ทคนคิ การ สอนในการกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นกล้าแสดงความคิดเหน็ เชน่ การใชเ้ ทคนคิ Roundtable โดยใหผ้ เู้ รียนแต่ละ คนจะเสนอความคดิ เห็น หรือตอบคาถาม โดยการเขียนบนกระดาษ เมือ่ เขียนเสร็จแลว้ จะใหส้ ง่ กระดาษ ให้แก่ผทู้ ีอ่ ยู่ดา้ นซา้ ยมือของตนเอง เม่ือเขยี นเสรจ็ แล้วจะใหส้ ง่ กระดาษให้แก่ผทู้ อ่ี ย่ดู ้านซ้ายมอื ของตนเอง แต่ถ้าใหผ้ เู้ รียนเสนอความคดิ เหน็ หรอื ตอบคาถามโดยการพูด จะเรยี กกจิ กรรมนRวี้ oา่ und Robin เปน็ ต้น 3) การจัดกิจกรรมของศูนยส์ ารอง ควรจดั หลากหลายกจิ กรรม เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนทีก่ ลับมาใช้ ศูนย์สารองมากกว่าหน่ึงคร้งั ไม่เกดิ ความเบอื่ หนา่ ยกบั กิจกรรมเดิมทไ่ี ด้ปฏิบัติไปแล้ว เชน่ เกมต่อภาพ กจิ กรรมผา่ นส่อื ออนไลน์ ส่อื วดิ ีทศั น์ เป็นตน้ 4) ครคู วรจดั กิจกรรมหลากหลายรูปแบบในแตล่ ะศูนยค์ วามรู้ เพ่ือกระตุน้ ความสนใจ ผู้เรยี น ใหม้ คี วามกระตอื รือร้นในการเรยี นรู้ เชน่ การใชส้ อื่ วีดทิ ัศน์ ส่อื ICT สอื่ บคุ คล (ภูมิปัญญา) สมารท์ โฟน ฯลฯ โดยยกตัวอยา่ งการจัดศูนยก์ ารเรยี นทีจ่ ดั กิจกรรมหลากหลายรูปแบบในแตล่ ะศนู ย์ ความรู้ ดงั ภาพ ศนู ยท์ ่ี 1 ศนู ยท์ ่ี 2 เรียนรจู้ ากบตั รเนอ้ื หา เรียนรผู้ ่าน ICT ศนู ย์สารอง กิจกรรมหลากหลายมากกว่า 1 กจิ กรรม ศนู ย์ที่ 3 ศูนยท์ ่ี 4 เรยี นรจู้ ากบัตรภาพ/บตั รคา เรียนรจู้ ากภูมิปญั ญาหรอื สื่อวดิ ที ัศน์ ตัวอยา่ งการจัดศูนย์การเรียนทจี่ ดั กจิ กรรมหลากหลายรูปแบบในแตล่ ะศูนยค์ วามรู้ 38 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผ้เู รียนเปน็ สาคญั ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรยี น

6.3 ดา้ นบรรยากาศการจดั การเรียนรู้ 1) การจดั ศนู ยค์ วามรู้ ควรมรี ะยะห่างให้เหมาะสม ไม่ควรจัดชดิ กนั เกนิ ไป เพราะจะเกดิ เสียงรบกวนสมาชิกกลุม่ อ่ืน 2) ครคู วรจดั ที่นัง่ ใหเ้ พยี งพอต่อจานวนผูเ้ รยี นในแตล่ ะศูนย์ความรู้ 3) ครูควรจัดป้ายศูนย์ความรแู้ ตล่ ะศนู ยใ์ ห้ชดั เจน รวมทง้ั ป้าศนู ย์สารองดว้ ย 6.4 ด้านประโยชนท์ ี่ได้รับจากการจดั การเรยี นรู้ 1) ครคู วรใหผ้ ูเ้ รยี นรับทราบคะแนนเป็นรายบุคคล เนื่องจากผเู้ รยี นเปน็ ผใู้ หญ่อาจเกิดความ อาย หรอื บอกคะแนนใหท้ ราบโดยภาพรวม เชน่ คะแนนสงู สดุ /ต่าสดุ 2) ครคู วรแจง้ คะแนนพัฒนาการด้วย (ผลต่างระหว่างคะแนนกอ่ นเรียนและหลังเรยี น 39 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญฯ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นรแู้ บบศูนยก์ ารเรียน

บรรณานุกรม ระววิ รรณ ศรีครา้ มครัน. (2545). เทคนิคการสอน. พิมพ์ครง้ั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง. วฒั นาพร ระงับทกุ ข์. (2542). แผนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง. พมิ พ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษทั แอล ที เพลส จากัด. สคุ นธ์ ภูรเิ วทย์. (2544). การออกแบบการสอน. พมิ พค์ รั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. อรนุช ลมิ ตศิริ. (2546). นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการเรยี นการสอน. พิมพค์ รั้งท่ี 3. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพม์ หาวิทยาลัยรามคาแหง. 40 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ฯ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนร้แู บบศนู ยก์ ารเรียน

คณะผูจ้ ัดทา ท่ีปรึกษา ผูอ้ านวยการสถาบนั กศน.ภาคเหนือ นายประเสรฐิ หอมดี รองผ้อู านวยการสถาบัน กศน.ภาคเหนอื นางนาถยา ผิวมั่นกจิ คณะทางาน นายนริ นั ดร์ ยงไสว ครู ชานาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื นางอรวรรณ ฟังเพราะ ครู ชานาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื นางรสาพร หม้อศรใี จ ครู ชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื นายพีระชัย มาลนิ ีกุล ครู ชานาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื นางดวงทพิ ย์ แกว้ ประเสรฐิ ครู ชานาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ นายธรี ศกั ดิ์ ลอยลม ครู ชานาญการ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื นางแกว้ ตา ธรี กลุ พศิ ุทธิ์ ครู ชานาญการ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื นางวราพรรณ พูลสวสั ด์ิ ครู ชานาญการ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื นายเสถียรพงศ์ ใจเยน็ ครผู ู้ช่วย สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นายธนากร หน่อแกว้ ครูผู้ช่วย สถาบนั กศน.ภาคเหนอื นางสาวสมพร เอย่ี มสาอางค์ ศกึ ษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัดลาปาง นางสาวยรุ ยั ยา อินทรวจิ ติ ร ครู ชานาญการพเิ ศษ กศน.อาเภอเมอื งลาปาง นางสาวสมุ าลี อริยะสม ครู ชานาญการพิเศษ กศน.อาเภอห้างฉตั ร คณะบรรณาธกิ าร ครู ชานาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นายพีระชยั มาลินีกลุ ครู ชานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางอรวรรณ ฟังเพราะ ครู ชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื นางรสาพร หมอ้ ศรใี จ ครู ชานาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื ผูร้ วบรวม/เรยี บเรยี ง/เขียน นางอรวรรณ ฟังเพราะ ผู้ออกแบบปก ครผู ้ชู ว่ ย สถาบนั กศน.ภาคเหนือ นายเสถียรพงศ์ ใจเยน็ เอกสารวิชาการลาดบั ท่ี 033/2558 กนั ยายน 2558 41 แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ฯ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook