Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

บทที่ 4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

Published by varaphorn914, 2017-10-09 09:12:49

Description: บทที่ 4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

บทที่ 4การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีเพ่อื การเรียนรู้

เน้อื หา นิยาม/ความหมาย/ความสาคญั บทบาทของเทคโนโลยตี อ่ การศกึ ษา IT ทีส่ ามารถนามาประยุกตท์ างการศกึ ษา ปัญหาและแนวทางแกไ้ ขในการนาไอทมี าใช้เพ่อื การศกึ ษา

ความหมายของ “เทคโนโลยสี ารสนเทศ” เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology : IT) เปน็ เทคโนโลยีทเ่ี นน้ ถงึ การจัดการในกระบวนการดาเนินงานสารสนเทศ หรือสารนเิ ทศในข้ันตอนตา่ ง ๆ ต้ังแตก่ ารแสวงหา การวิเคราะห์ การจดั เกบ็ การจัดการเผยแพร่ หรอื เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ ความถูกต้อง ความ แม่นยา และความรวดเร็ว เพื่อใหท้ ันตอ่ การนามาใชป้ ระโยชน์

สว่ นประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ (Computer Technology)การนาเขา้ ข้อมลู การประมวลผลข้อมูล การแสดงผลขอ้ มลู เทคโนโลยโี ทรคมนาคม (Communication Technology)

ความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจานวนมหาศาลของแตล่ ะวนั ช่วยเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิตสารสนเทศ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไวใ้ นรปู ท่ีสามารถเรยี กใชไ้ ดส้ ะดวก ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมตั ิ จัดเกบ็ ประมวลผล และเรียกใช้ ชว่ ยในการเขา้ ถงึ สารสนเทศได้อยา่ งรวดเร็ว มีประสิทธภิ าพ ชว่ ยในการสอื่ สารไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ลดอปุ สรรคเก่ียวกับเวลา และระยะทาง

การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  สานกั งาน  อตุ สาหกรรม  การเงนิ และการพาณิชย์  การบริการการส่อื สาร  สาธารณสุข  ฝกึ อบรมและการศกึ ษา

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การศกึ ษา เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตวั สามารถ เช่อื มโยงขอ้ มูลและผคู้ นหลายสบิ ล้าน คนทว่ั โลกเข้าดว้ ยกัน ทาใหเ้ กดิ การ ไหลเวียนของขอ้ มูลขา่ วสารในเวลาอัน ส้นั การศกึ ษาหาขอ้ มูลและการเรียนรู้ สงิ่ ตา่ งๆ เพยี งแต่ปลายน้ิวสัมผัส โดย อาศัยเครือข่ายอินเตอรเ์ น็ต (Internet) เกิดเป็นชมุ ชนบนเครือข่ายขน้ึ

แนวคดิ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ พฒั นาการศกึ ษา \"การใชส้ ื่อสาร แบบประสม\"

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศตอ่ การศกึ ษา เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มามี สว่ นช่วยเรื่องการเรยี นรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มา สนับสนนุ การจดั การศึกษา โดยเฉพาะการจัดการศกึ ษา สมยั ใหม่ เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การ สือ่ สารระหวา่ งบุคคล

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การศกึ ษาสาหรับคนพิการ 1. การยอมรับของคนพกิ าร หมายถึง การยอมรับ เทคโนโลยี หรือพยายาม ปรับตวั เข้ารับเทคโนโลยี หรือพยายามปรับตัวเข้ารับ เทคโนโลยี รวมถงึ ความ ต้งั ใจจริงยอมรับการฝึ กหัด ยอมอดทนฝึ กฝนการใช้ เทคโนโลยนี ้ันจนชานาญ และเกดิ ผลประโยชน์แก่ตน

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การศกึ ษาสาหรบั คนพิการ 2 . การจดั สรรเทคโนโลยีท่ี เหมาะสม หมายถึง การ ทร่ี ัฐหรือหน่วยงาน สามารถจดั เทคโนโลยี เหลา่ นั้นใหค้ นพกิ ารได้ อยา่ งเหมาะสมมีคณุ ภาพ และเพียงพอ

เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การศกึ ษาสาหรบั คนพิการ 3. การมนี กั วชิ าการสอน เทคโนโลยี หมายถึง คนที่ สอนเทคนคิ การใช้หรอื ทา หน้าทป่ี รับได้เพ่ือคนพิการ จนคนพิการใชไ้ ด้ผลดี สามารถสอนจนคนพกิ าร สามารถเรยี นรู้ได้ เมือ่ กล่าวถึงเทคโนโลยี สารสนเทศท่สี อดคล้องกับ คนพิการ อาจจาแนกได้ ดงั ต่อไปนี้

เทคโนโลยเี พ่อื ความเท่าเทียม https://www.youtube.com/watch?v=PWK5QgtI7x4

คอมพิวเตอรป์ ระยกุ ต์ทางการศกึ ษาคอมพวิ เตอรบ์ ริหารและจดั การ คอมพิวเตอร์ศึกษา คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ อปุ กรณ์ คอมพวิ เตอร์ช่วยการเรียน ทางการศึกษา การศกึ ษา การสอนบริหารงานบุคคล เรยี นรู้คอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ควบคุมใน Computer Assisted เครอื่ งมือต่าง ๆ Instruction : CAIบรหิ ารงานคลงั และ เรียนภาษาคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์ งบประมาณ ววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ ในหุ่นยนต์ บริหารงานพสั ดุ งานอาคารสถานท่ี การจัดการและการบริการ คอมพิวเตอรใ์ น งานทะเบียนนกั ศึกษา คอมพิวเตอร์ เคร่ืองมือการทดลองงานแนะแนวและทนุ การศกึ ษา ฯลฯ คอมพิวเตอร์ เป็นอปุ กรณส์ ื่อการสอนงานหลกั สตู รและการสอน, งานห้องสมุด,งาน ฯลฯ 14 ประชาสมั พันธ์, งานกิจกรรมนักศึกษา

การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การศึกษา คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน Computer-Assisted Instruction หรือเรยี กยอ่ ๆ ว่า ซีเอไอ (CAI) มกั อยู่ในรปู ของส่อื ประสม (Multimedia) หมายถงึ นาเสนอได้ทั้งภาพ ขอ้ ความ เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหวฯลฯ เหมาะกบั การศึกษาดว้ ยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นสามารถ โต้ตอบกบั บทเรียนไดต้ ลอด จนมีผลป้อนกลับเพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนรู้ บทเรียนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และเขา้ ใจในเนอื้ หาวชิ าของบทเรยี นน้ันๆ

คุณลกั ษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนทีส่ มบรู ณ์ มีคณุ ลกั ษณะสาคัญ 4 ประการ ดงั น.้ี .. 1. Information 2. Individualization 3. Interaction 4. Immediate Feedback

e-learning (Electronic Learning ) \"การเรียนผ่านทางสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สซ์ ึ่งใช้ การ นาเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ในรูป ของส่ือมัลติมีเดียไดแ้ ก่ ขอ้ ความ อเิ ลคทรอนิกส์ ภาพนงิ่ ภาพกราฟกิ วดิ โี อ ภาพเคล่ือนไหว ภาพสามมิติฯลฯ\" เรยี นตามความร้คู วามสามารถของผเู้ รียน เอง และ การตอบสนองใน ความแตกตา่ ง ระหว่างบคุ คล การเรยี นจะกระทาผ่านส่ือบนเครอื ข่าย อนิ เตอรเ์ น็ต World Wide Web

e-learning (Electronic Learning ) แบบ Real-time ได้แกก่ าร สนทนาในลกั ษณะของการพมิ พ์ ขอ้ ความแลกเปลย่ี นขา่ วสารกนั หรือ ส่งในลกั ษณะของเสยี ง จาก บริการของ Chat room แบบ Non real-time ได้แก่การสง่ ข้อความถึงกันผา่ นทางบรกิ าร อิเลคทรอนคิ เมลล์ WebBoard News-group เป็นตน้

ห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom ) การเรยี นการสอนทผ่ี า่ นระบบเครอื ข่าย ศ. ดร. ครรชิต มาลยั วงศ์ คอมพวิ เตอร์ที่เชือ่ มโยงคอมพิวเตอรข์ อง ผเู้ รียน เข้าไวก้ ับเครื่องคอมพวิ เตอรข์ องผู้ ให้บรกิ ารเครือข่าย (File Server) และ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ผูใ้ ห ้ บริการเวบ็ (Web Server) อาจเปน็ การเชือ่ มโยง ระยะใกลห้ รือระยะไกล ผ่านทางระบบ การสื่อสารและอินเทอร์เนต็ ด้วย

หอ้ งเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom ) กระบวนการสอนผูส้ อนจะออกแบบระบบ ศ. ดร. ครรชิต มาลยั วงศ์ การเรียนการสอนไวโ้ ดยกาหนด กิจกรรม การเรียนการสอน สอ่ื ตา่ งๆ นาเสนอผา่ น เวบ็ ไซตป์ ระจาวชิ า จัดสร้างเวบ็ เพจในแต่ ละส่วนให้ สมบรู ณ์ ผู้เรียนจะเข้าสู่ เว็บไซตป์ ระจาวชิ าและดาเนินการเรียนไป ตามระบบการเรียน ท่ีผูส้ อนออกแบบไว้ ในระบบเครอื ข่ายมีการจาลอง สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ ในลกั ษณะเป็น หอ้ งเรยี นเสมือน

หอ้ งเรยี นเสมือนจรงิ (Virtual Classroom ) บญุ เก้อื ควรหาเวช ไดก้ ลา่ วถึง หอ้ งเรยี นเสมือนวา่ (Virtual Classroom) หมายถึง การ จดั การเรียนการสอนที่ ผเู้ รียน จะเรยี นทีไ่ หนกไ็ ด้ เชน่ ทบ่ี า้ น ทีท่ างาน โดยไม่ตอ้ งไปนงั่ เรียน ในหอ้ ง เรยี นจริงๆ ทาให้ ประหยัดเวลา คา่ เดินทาง และ คา่ ใชจ้ า่ ยอืน่ ๆ อีกมากมาย

หอ้ งเรียนเสมอื นจรงิ (Virtual Classroom ) รจุ โรจน์ แกว้ อไุ ร การจดั การเรยี นการ สอนทางไกลเต็ม รปู แบบ โดยมอี งคป์ ระกอบครบ ได้แก่ ตวั ผเู้ รยี น ผ้สู อน และเพ่ือนร่วมชนั้ เข้าสู่ กระบวนการเรียนการสอนพรอ้ มๆ กัน มี ส่ือการสอนท้ังภาพและเสยี ง ผูเ้ รียน สามารถร่วมกจิ กรรมกล่มุ หรือตอบโต้ แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กบั ผสู้ อนหรอื กบั เพือ่ นรว่ มชั้นได้เต็มท่ี (คลา้ ยกับ chat room) สว่ นผสู้ อนสามารถต้งั โปรแกรม ตดิ ตามพัฒนาการ ประเมินผลการเรยี น รวมท้งั ประสิทธิภาพของหลกั สูตรได้ ทงั้ นี้ไมจ่ ากดั เรื่องสถานท่ี แต่ผู้เรียนในชน้ั และผสู้ อนจะต้องนัดเวลาเรียนอย่างพรอ้ ม เพรยี ง

ประเภทของห้องเรยี นเสมือนจริง จัดการเรยี นการสอนในหอ้ งเรียนธรรมดา แตม่ กี ารถ่ายทอดสดภาพและเสียงเกีย่ วกับ บท เรียน โดยอาศยั ระบบโทรคมนาคม และเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรไ์ ปยงั ผูเ้ รียนทีอ่ ยู่ นอกห้องเรยี นนักศึกษากส็ ามารถรับฟัง และตดิ ตามการสอนของผสู้ อนได้จาก เครอ่ื งคอมพวิ เตอรข์ องตนเองอีกท้งั ยัง สามารถโตต้ อบกับอาจารย์ผูส้ อน หรอื เพื่อ นักศึกษาในชั้นเรียนได้ หอ้ งเรยี นแบบนย้ี ัง อาศยั ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีเป็นจริง ซง่ึ เรยี กวา่ Physical Education Environment

ประเภทของห้องเรยี นเสมือนจรงิ การจัดหอ้ งเรยี นจากโปรแกรม คอมพวิ เตอรส์ ร้างภาพเสมอื นจริง เรยี กว่า Virtual Reality โดยใช้สอ่ื ที่เปน็ ตัวหนงั สือ (Text-Based) หรอื ภาพกราฟกิ (Graphical-Based) สง่ บทเรยี นไปยังผเู้ รยี น โดยผา่ นระบบโทรคมนาคมและเครอื ขา่ ย คอมพวิ เตอร์ ห้องเรียนลกั ษณะนีเ้ รียกวา่ Virtual Education Environment

รูปแบบของหอ้ งเรียนเสมอื นจรงิ บทเรยี นและแบบฝึกหดั ตา่ ง ๆ อาจจะสง่ ให้ผูเ้ รยี นในรปู วดี ที ศั น์ หรอื วีดิทศั นผ์ สมกับ Virtual Classroom หรือ CD-ROM ทมี่ ีส่ือ ประสมทั้งภาพ เสยี ง การเคล่ือนไหว โดยผ่านระบบสญั ญาณเครอื ขา่ ย คอมพวิ เตอร์ ดาวเทียม โทรทศั น์ โทรสาร หรอื ทางเมลล์ ตามความ ตอ้ งการของ ผูเ้ รยี น

รปู แบบของหอ้ งเรยี นเสมือนจริง ผ้เู รียนจะติดตอ่ สอ่ื สารกับอาจารยผ์ ้สู อนได้ โดยตรง ในขณะสอนกไ็ ด้หากเป็นการ เรยี นท่ี Online ซงึ่ จะเป็นแบบของการ สื่อสารสองทาง (Two-way Communication) ท่โี ตต้ อบโดย ทนั ทที นั ใดระหวา่ งผเู้ รยี นและผสู้ อนหรอื ระหวา่ งผเู้ รียนดว้ ยกนั (Synchronous Interaction) เชน่ การ Chat หรอื อาจใช้ การโต้ตอบแบบไมท่ ันทีทันใด (Asynchoronous Interaction) เช่น การ ใช้ E-mail, การใช้ Web- board เปน็ ต้น

virtual classroom (e-Prof) https://www.youtube.com/watch?v=gqYSdflvfQk

รูปแบบของห้องเรยี นเสมอื นจริง การทดสอบ ทาได้หลายวธิ ี เชน่ ทดสอบแบบ Online หรอื ทดสอบโดยผ่านทางโทรสาร ทาง E-mail และทาง ไปรษณยี ์ธรรมดา บางแหง่ จะ มีผูจ้ ดั สอบโดยผ่านตวั แทน ของมหาวิทยาลยั ในท้องถิ่นท่ี นกั ศกึ ษาอาศยั อยู่ การเรียน ทางไกลโดยผ่านเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ เป็นการเปดิ โอกาสให้ ผเู้ รยี นเลอื กเรียน วิชาทีต่ นสนใจไดต้ ลอดเวลา

การศึกษาทางไกล (Distance Learning) การศึกษาทางไกลเปน็ การเปดิ โอกาสทางการศกึ ษาให้แก่ผใู้ ฝร่ ู้และใฝเ่ รียนท่ไี ม่ สามารถสละเวลาไปรับการศึกษาจากระบบการศกึ ษาปกตไิ ด้

What is Distance Learning? https://www.youtube.com/watch?v=r6dHK2cXatM

หลักสำคัญของกำรศึกษำทำงไกล ผู้เรียนและผสู้ อนอยูห่ า่ งจากกัน เนน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลางการเรียน ใช้สอ่ื และเทคโนโลยเี ป็นเครื่องมอื ในการบริหารและบรกิ าร ดาเนินงานและควบคุมคุณภาพในรปู องค์กรคณะบคุ คล การจดั การศึกษาอยา่ งมีระบบ กระบวนการเรียนการสอนทางไกลไดร้ ับการออกแบบขึน้ อย่างเป็นระบบ มีการใช้สอ่ื ประเภทต่าง ๆ หลากหลาย แทนส่อื บคุ คล สอ่ื ที่ใช้แตกต่างกันไปตามเนื้อหา เน้นด้านการผลิตและจัดส่งสื่อการสอนมากกวา่ การทาการสอนโดยตรง มีการจัดต้ังหน่วยงานและโครงสร้างข้ึนเพื่อสนับสนนุ การสอนและการบรกิ ารผเู้ รยี น ใชก้ ารสอ่ื สารติดตอ่ แบบสองทางในการจัดการศึกษาทางไกล

หลักการของการสร้างคอมพิวเตอร์ช่วยสอน1. เริ่มจากสงิ่ ท่ีรู้ไปสสู่ ่งิ ท่ีไม่รู้ จัดเน้ือหาเรยี ง ไปตามลาดับจากงา่ ยไปสยู่ าก2. การเพม่ิ เน้ือหาใหก้ บั ผ้เู รยี นตอ้ งค่อยๆ เพม่ิ ทีละนอ้ ย3. แต่ละเนื้อหาต้องมีการแนะนาความรใู้ หม่ เพยี งอย่างเดยี วไมใ่ หท้ ีล่ ะมากๆ4. ในระหวา่ งเรยี นต้องให้ผเู้ รียนมีส่วนรว่ มกบั บทเรยี น5. การตอบคาถามท่ผี ิด ตอ้ งมีคาแนะนาหรือ ทบทวนบทเรยี นเก่าอีกครง้ั6. ในการเสนอบทเรยี นต้องมีการสรปุ ทา้ ย บทเรียน7. ทกุ บทเรียนตอ้ งมีการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ ไว้ใหช้ ดั เจน

ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน1. นักเรียนได้มสี ่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนมากข้นึ2. นกั เรยี นสามารถเลือกเรียนได้หลายแบบตามความถนัดของแต่ละ บคุ คล3. ไมเ่ ปลืองสมองในการท่องจาสงิ่ ทไ่ี มค่ วรจะต้องจา4. สามารถปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงการเรียนการสอน ไดเ้ หมาะสมกับแตล่ ะบคุ คล5. ผูเ้ รยี นมอี ิสรภาพในการเรียน ไม่ตอ้ งคอยครู อาจารย์ ผูเ้ รียนสามารถเรยี นรูไ้ ดท้ กุ เวลาที่ ต้องการ6. ผู้เรยี นสามารถสรปุ หลักการ เนื้อหา สาระของบทเรยี นแตล่ ะ บทเรียนได้

ประเภทของคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน1. คอมพิวเตอร์ใช้เพอื่ การสอน (Tutoring)2. คอมพิวเตอร์ใช้เพ่อื การฝกึ (Drill and Practice)3. คอมพวิ เตอรใ์ ช้เพื่อสรา้ งสถานการณ์จาลอง (Simulation)4. คอมพิวเตอร์ใช้เพ่อื เปน็ เกมในการเรียนการ สอน5. คอมพิวเตอรใ์ ชเ้ พอ่ื การทดสอบ (Testing)6. คอมพวิ เตอร์ใช้เพอ่ื การไตถ่ ามข้อมูล (Inguiry)

ประเภทของสือ่ ที่ใชใ้ นการเรยี นการสอนโดยใช้เวบ็ เปน็ หลัก 1. เวลิ ด์ ไวดเ์ วบ็ (World Wide Web) 2. อเี มลล์ (E-mail) 3. กระดานขา่ ว (webboard) 4. แชท (Chat) 5. คอนเฟอเรนซ์ (Conference) 6. การบ้านอเิ ลก็ ทรอนิกส์

ปญั หาในการนาไอทมี าใชเ้ พ่ือการศกึ ษา 1. บคุ ลากรท่มี ีความร้คู วามสามารถซึ่งมจี านวนที่ไมเ่ พยี งพอ 2. การขาดการผสมผสานไอทเี ข้ากับหลกั สูตร 3. ขาดการศึกษาวจิ ัย 4. การขาดแหลง่ กลางในการแลกเปล่ียนความรู้ 5. การขาดการสนบั สนุนในด้านงบประมาณ อย่างตอ่ เนอื่ ง 6. การขาดการเผยแพร่ความรู้อย่างถูกวิธี

แนวทางแกไ้ ข1. ภาครฐั ต้องกาหนดนโยบายให้ชดั2. จดั ตงั้ องค์กรกลางสาหรับดาเนินงานสง่ เสรมิ3. เร่งจัดฝกึ อบรมครอู าจารย์ให้มคี วามรพู้ ื้นฐานทางด้านคอมพิวเตอรแ์ ละทางด้านการใชไ้ อทีเพื่อการเรยี นการสอน4. เร่งจดั หาอปุ กรณไ์ อทที จ่ี าเป็นสาหรบั สถาบันการศกึ ษาทุกระดบั5. ดาเนินการศึกษาและวิจยั การนาไอทีมาใชเ้ พ่อื การศกึ ษาอย่างต่อเนอ่ื ง

กจิ กรรม จดั กลุม่ 3 คน นาเสนอ “นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศกับการศกึ ษาใน อนาคต” กลมุ่ ละ 5 นาที


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook