Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิ่งที่คนสรรพากรต้องรู้ 500 ข้อ

สิ่งที่คนสรรพากรต้องรู้ 500 ข้อ

Published by audamnat.rd, 2020-06-24 03:38:22

Description: สิ่งที่คนสรรพากรต้องรู้ 500 ข้อ

Keywords: tax

Search

Read the Text Version

50 280. กรณีผเู้ สียภาษีเป็นบริษทั หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิติบคุ คลที่แจง้ เลิกกิจการและจดทะเบียนเสรจ็ การชำระบญั ชี แล้วแต่ยังไมเ่ กิน 2 ปีนับแต่วนั จดทะเบียนเสร็จการชำระบญั ชี ให้ออกหมายไปยังผู้ชำระบญั ชี ณ ภูมิลำเนาหรือ สำนกั งานของผชู้ ำระบญั ชตี ามที่ได้แจง้ ไว้กบั กระทรวงพาณิชย์ ใหห้ น่วยตรวจสอบรีบประเมินภาษีโดยเรว็ เนือ่ งจากต้องฟ้องเรียกหนีจ้ ากบริษทั หรอื หา้ งหุ้นส่วนนิติบคุ คลให้เสร็จภายใน 2 ปี นบั แตว่ ันจดทะเบียนเสร็จ การชำระบัญชี 281. วธิ ีการสง่ ตามมาตรา 8 แห่งประมวลรษั ฎากร 1. สง่ ทางไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรบั 2. เจา้ พนักงานสรรพากรนำส่ง 3. ปิดหมาย หนงั สอื แจง้ หรอื หนงั สืออืน่ 4. โฆษณาในหนงั สือพิมพ์ ให้ส่งตามวิธีที่ 1 และ 2 ก่อน ถ้าไมส่ ามารถส่งได้จงึ ใชว้ ิธีที่ 3 หรือ 4 282. เวลาและสถานทีส่ ง่ หมายเรียก 1. สง่ ณ ภูมิลำเนา หรอื ถิน่ ทีอ่ ยู่ หรอื สำนกั งานของบคุ คลนั้น 2. สง่ ในระหวา่ งเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตยต์ กหรอื ในเวลาทำการของบุคคลนั้น 283. บทบัญญัติแหง่ ประมวลรษั ฎากรทีใ่ ห้อำนาจการประเมิน มาตรา 20 แห่งประมวลรัษฎากร การประเมินภาษีอากรกรณีย่นื รายการไม่ถกู ต้อง มาตรา 21 แหง่ ประมวลรัษฎากร การประเมินกรณีไม่ปฏิบตั ิตามหมายเรียก ตามมาตรา 19 มาตรา 24 แห่งประมวลรษั ฎากร การประเมินกรณีไมย่ ื่นแบบแสดงรายการ มาตรา 25 แห่งประมวลรัษฎากร การประเมินกรณีไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกตามมาตรา 23 มาตรา 71(1) แห่งประมวลรัษฎากร การประเมินกรณี ไม่นำสง่ เอกสารหรอื นำส่งเอกสารไม่เพียงพอตอ่ การตรวจสอบ มาตรา 22 แห่งประมวลรษั ฎากร เบีย้ ปรับกรณียน่ื รายการไม่ถูกต้อง มาตรา 26 แหง่ ประมวลรัษฎากร เบยี้ ปรับกรณีไม่ยื่นรายการ มาตรา 27 แห่งประมวลรษั ฎากร(เงินเพิ่ม) มาตรา 67 ตรี แหง่ ประมวลรษั ฎากร (เงินเพิ่ม) มาตรา 88, 88/1(1)-(6) แหง่ ประมวลรษั ฎากร อำนาจประเมนิ ภาษีมลู ค่าเพิ่ม เบี้ยปรับและเงนิ เพิ่ม มาตรา 88/1 แห่งประมวลรัษฎากรการประเมินภาษีกรณีออกใบกำกบั ภาษีโดยไม่มีสิทธิออก มาตรา 88/6 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดระยะเวลาการประเมินภาษีมูลค่าเพิม่ มาตรา 91/1 ,91/16 แหง่ ประมวลรัษฎากร อำนาจเจา้ พนกั งานประเมินเกี่ยวกบั ภาษีธุรกิจเฉพาะ นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

51 มาตรา 114 แห่งประมวลรัษฎากร การเรียกเงินเพิม่ อากร 284. บทบัญญัติแหง่ ประมวลรษั ฎากรที่ให้อำนาจการออกหมายเรียก 1. มาตรา 19 แห่งประมวลรษั ฎากร มีเหตอุ ันควรเชือ่ วา่ ผู้ใดแสดงรายการตามแบบที่ยืน่ ไมถ่ ูกต้องตาม ความจริงหรอื ไม่บริบูรณ์ 2. มาตรา 23 แห่งประมวลรัษฎากร การออกหมายเรียกกรณีไม่ยื่นรายการ 3. มาตรา 88/4 แหง่ ประมวลรัษฎากร การออกหมายเรียกตรวจสอบเกีย่ วกบั ภาษีมลู ค่าเพิม่ 4. มาตรา 91/21(5) แหง่ ประมวลรษั ฎากร การออกหมายเรียกตรวจสอบเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ 5. มาตรา 123 แหง่ ประมวลรัษฎากร การออกหมายเรียกตรวจสอบเกี่ยวกบั อากรแสตมป์ 285. คณุ สมบัติผู้ขอรบั สิทธิประโยชน์ทางภาษี New start-up 1. จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ต.ค. 58 – 31 ธ.ค. 59 2. ทุนจดทะเบียน < 5 ลา้ น และรายได้ < 30 ล้านบาท 3. มรี ายได้โดยตรง รายได้จากการจำหน่ายทรพั ย์สิน หรอื รายได้อ่นื จากอตุ สาหกรรมเป้าหมายรวมกัน ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของรายได้ทั้งหมดในรอบบัญชีน้ัน 4. ยื่นคำร้องด้วยแบบคำขออนมุ ัตเิ ป็นผู้ประกอบการรายใหม่ (New start-up) หรือแบบ ร.ม.1 ผ่านทาง เวบ็ ไซต์ rd.go.th ภายในวนั ที่ 31 ธ.ค. 2560 และแนบไฟลอ์ ิเล็กทรอนิกส์ของหนังสือรับรองจากสำนักงาน พัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติแสดงว่าเป็นกิจการทีป่ ระกอบอุตสาหกรรมเป้าหมายซึง่ ใช้ เทคโนโลยีหลักเป็นฐานในกระบวนการผลติ และการให้บริการ 286. สทิ ธิประโยชน์ที่ได้รบั ของ New start-up 1. ยกเว้นภาษีเงนิ ได้นิติบุคคล 5 รอบระยะเวลาบญั ชนี บั ต้ังแต่รอบที่ยื่นคำร้องและได้รบั อนุมัติจากอธิบดี (ใช้สทิ ธิทนั ที) หรอื รอบระยะเวลาบญั ชที ี่เร่มิ ในหรอื หลังวนั ที่ยืน่ คำร้องและได้รบั อนมุ ตั จิ ากอธิบดี(ใช้สทิ ธิรอบ ถดั ไป) เลือกได้ใน ร.ม.1 2. กรณี New start-up ขาดคณุ สมบัติในรอบระยะเวลาบญั ชใี ด เช่น รายได้เกิน 30 ล้าน หรอื รายได้ อุตสาหกรรมเป้าหมายไมถ่ ึงรอ้ ยละ 80 ใหส้ ิทธิยกเว้นเฉพาะรอบบญั ชนี ้ัน (ตา่ งจาก SMEs ทีม่ รี ายได้เกิน 30 ล้าน แล้วจะกลบั ไปใช้สทิ ธิ SMEs อีกไมไ่ ด้) 287. สิทธิประโยชนก์ รณีจา้ งคนพิการทำงาน 1. หักได้ 2 เทา่ (ร้อยละร้อย) จากรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายเป็นค่าใชจ้ ่าย (เงินเดือน สวัสดิการ ฯลฯ) ในการจ้างคน พิการทำงานโดยมีบตั รประจำตวั คนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ (พรฎ.499) นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

52 2. หักได้ 3 เท่า(พรฎ.519 เพิม่ ข้ึนร้อยละร้อยจากสิทธิยกเว้นตาม พรฎ.499) โดยต้องรับคนพิการที่มบี ตั ร ประจำตัวคนพิการ เข้าทำงานเกินกว่ารอ้ ยละ 60 ของลูกจา้ งในสถานประกอบการและมีระยะเวลาจ้างเกิน 180 วัน ในรอบปีภาษีหรอื รอบบญั ชนี ั้น และต้องมหี นงั สือรบั รองจากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนษุ ย์ทีพ่ ิสจู น์ได้วา่ มีการจา่ ยค่าจา้ งคนพิการ โดยหนงั สอื ต้องระบุชื่อลกู จา้ งท้ังหมดและลกู จา้ งทีค่ นพิการ ทีม่ บี ัตรฯ และระยะเวลาการจา้ งงานของลูกจ้างนั้น ๆ โดยนายจ้างต้องมีสำเนาบตั รคนพิการและสำเนาสัญญา จา้ งแรงงานประกอบการออกหนงั สอื รับรอง 288. เช็คทีจ่ ะรับชำระภาษีอากรมี 4 ประเภท คือ 1. เชค็ ธนาคารแห่งประเทศไทย (เชค็ ประเภท ก.) 2. เชค็ ทีม่ ธี นาคารค้ำประกนั (เชค็ ประเภท ข.) 3. เชค็ ที่ธนาคารเซ็นส่ังจา่ ย (เชค็ ประเภท ค.) 4. เช็คที่ผมู้ ีหน้าที่ชำระเงินภาษีอากรเปน็ ผเู้ ซน็ ส่งั จ่ายและใช้ชำระโดยตรง (เช็คประเภท ง.) 289. เช็คที่จะรบั ชำระภาษีอากรจะต้องมีลกั ษณะและเงอ่ื นไข ดังต่อไปนี้ 1. มรี ายการถูกต้องครบถ้วนตามมาตรา 988 แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ 2. เป็นเช็คลงวนั ที่ที่เจ้าหน้าทีร่ บั ชำระเชค็ น้ัน หรอื กอ่ นวันน้ันไม่เกิน 15 วันสำหรับเช็คประเภท ก. ข. ค. หรอื กอ่ นวนั นั้นไมเ่ กิน 7 วัน สำหรับเชค็ ประเภท ง. หา้ มรบั เช็คลงวันที่ลว่ งหนา้ 3. เปน็ เช็คขีดครอ่ มและขดี ฆ่าคำว่า “ผู้ถือ” ออก โดยสงั่ จา่ ย ดังน้ี (1) กรณีหน่วยจดั เกบ็ เปิดบัญชีเงนิ ฝากธนาคารชื่อ “บัญชกี รมสรรพากรเพือ่ นำส่งคลังของ ...... (ช่อื หน่วยจดั เกบ็ ) ......” ไม่ว่าเป็นเชค็ ประเภทใด ให้สั่งจ่ายแก่ “กรมสรรพากร” (2) กรณีหนว่ ยจัดเกบ็ ทีไ่ มไ่ ด้เปิดบญั ชีเงนิ ฝากธนาคารเพื่อนำสง่ คลัง - ถ้าเปน็ เชค็ ประเภท ก. ข. ค. ให้ส่ังจ่ายแก่ “กระทรวงการคลังผ่านสำนกั งานคลงั จงั หวดั ........” - ถ้าเป็นเชค็ ประเภท ง. ให้สัง่ จา่ ยแก่ “กรมสรรพากร” 4. เปน็ เช็คทีม่ ิใชเ่ ชค็ โอนสลักหลัง 5. เปน็ เชค็ ทีส่ ามารถเรียกเก็บเงินได้เต็มตามจำนวนเงินทีร่ ะบไุ ว้ในเช็ค หากจะต้องเสียค่าธรรมเนียมหรอื คา่ บริการอ่นื ใดเกี่ยวกบั การเรียกเกบ็ เงินตามเช็คนน้ั ผู้ชำระภาษีอากรจะต้องรับภาระดังกล่าว 6. เชค็ ฉบับหนง่ึ จะรบั ชำระภาษีอากรประเภทเดียวหรอื หลายประเภทก็ได้ 7. ห้ามรบั เชค็ ทีม่ ีจำนวนเงินสงู กว่าจำนวนภาษีอากรทีจ่ ะต้องชำระ(เพราะต้องทอนเป็นเงินสด) 8. เชค็ ประเภท ง. ที่จะรบั ชำระภาษีอากรน้ัน จะต้องเปน็ เช็คทีผ่ ู้มีหน้าที่ชำระภาษีอากรสั่งจ่ายเอง หรอื เป็นเช็คสัง่ จ่ายของผู้ต้องรบั ผดิ เสียหรือนำส่งภาษีอากรรว่ มกนั ตามกฎหมาย นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

53 การรับชำระภาษีอากรเป็นเช็ค ใหร้ บั ชำระภาษีอากรได้ทุกประเภทแต่จะรบั เช็คประเภท ง. ชำระเป็นค่า ซอื้ แสตมป์อากรหรอื ค่าปรับภาษีอากร หรอื กรณีการชำระอากรเปน็ ตัวเงินไม่ได้ 290. การรบั ชำระภาษีอากรเป็นเชค็ ประเภท ง. ให้เจ้าหนา้ ที่รบั ได้ตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี 1. ให้รับเชค็ ที่ผเู้ สียภาษีอากรสง่ั จ่ายจากบญั ชีเงนิ ฝากทีเ่ ปิดไว้กบั ธนาคารหรือสาขาธนาคารซึ่งตงั้ อยูใ่ น ท้องที่ทีธ่ นาคารแหง่ ประเทศไทยระบุวา่ อยู่ในเขตสำนกั หกั บัญชเี ดียวกนั กบั ท้องที่ทอี่ ยู่ในความรบั ผดิ ชอบของ สำนกั งานสรรพากรพืน้ ทีส่ าขา เว้นแต่มเี หตุจำเปน็ ที่ต้องรับเช็คตา่ งเขตสำนกั หักบัญชใี ห้สรรพากรอำเภอ พิจารณาอนุมัติ 2. การรับเชค็ รายหนึง่ ๆ ให้รบั ได้ไมเ่ กิน 1,000,000 บาท เว้นแต่ในกรณีดงั ตอ่ ไปนี้ ให้รับได้โดยไมจ่ ำกัด วงเงิน (1) กรณีเป็นการชำระภาษีจากเงินสว่ นพระองค์พระมหากษตั รยิ ์ เงนิ งบองคมนตรี เงินปีพระบรมวงศา นวุ งศ์ (2) กรณีผู้ส่ังจ่ายเปน็ องค์การของรัฐบาล รฐั วิสาหกิจ องค์การบริหารส่วนท้องถิน่ อื่นรวมทั้งบริษทั ที่ รัฐบาลถือหุ้น (3) กรณีผสู้ ัง่ จ่ายเช็คเป็นบุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีม่ ฐี านะทางการเงินดี มีชือ่ เสียงเช่อื ถือได้ และเจ้าหน้าที่ ผรู้ บั เชค็ ได้พิจารณาด้วยความรอบคอบเป็นการเฉพาะรายแล้ว ไมป่ รากฏวา่ เคยใช้เชค็ ไม่มีเงนิ 291. การรับเชค็ ต่างเขตสำนกั หกั บัญชี ให้สรรพากรพื้นทีส่ าขาเรียกเก็บเงินสดจากผู้เสียภาษีกอ่ นออก ใบเสร็จรบั เงนิ เพือ่ ชำระค่าธรรมเนียมการเรยี กเก็บเชค็ ร้อยละ 0.10 ของจำนวนเงินตามเช็ค ขั้นต่ำฉบบั ละ 10 บาท หรอื ตามทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทยกำหนดเปลี่ยนแปลง 292. การรบั ชำระค่าจำหน่ายแสตมปอ์ ากรเป็นเชค็ ใหเ้ จา้ หน้าที่บนั ทึกชอ่ื ธนาคาร เลขที่/ประเภทของเชค็ จำนวนเงินในเชค็ และวันเดือนปีที่ออกเช็คไว้ในแบบขอซือ้ แสตมป์อากรด้วย 293. กฎกระทรวงฉบับที่ 309(พ.ศ.2558) ยกเว้นภาษีเงนิ ได้ใหก้ ับส่วนแบ่งกำไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรอื คณะบุคคลที่มใิ ช่นิติบุคคล 2 ประเภท คือ เงนิ ได้ทีไ่ ด้รับจากสว่ นแบง่ ของกำไรจากห้างหุ้นสว่ นสามัญหรอื คณะ บุคคลทีม่ ใิ ชน่ ิติบุคคล ที่ได้รบั จาก 1. การให้เช่าอสังหาริมทรัพยท์ ี่เป็นกรรมสทิ ธิ์รวมอันได้มาโดยทางมรดก หรอื ได้รบั จากการให้โดยเสน่หา 2. ดอกเบีย้ เงนิ ฝากตามมาตรา 40 (4) (ก) แหง่ ประมวลรษั ฎากร และถกู หกั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่าย ไว้แล้ว ท้ังนี้ เฉพาะกรณีทีผ่ ู้มเี งินได้ดังกลา่ วไมข่ อรบั เงนิ ภาษีที่ถูกหักไว้นนั้ คืนหรอื ไมข่ อเครดิตเงนิ ภาษีทีถ่ ูกหักไว้นนั้ ไม่ วา่ ทั้งหมดหรอื บางสว่ น นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

54 294. ความผดิ มลู ฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ ตามมาตรา 37 ตรี คอื ความผดิ ทีเ่ กี่ยวกับจำนวนภาษีอากรที่หลีกเลี่ยงหรอื ฉ้อโกงตั้งแต่ 10 ล้านบาทต่อปีภาษีข้ึนไป หรอื จำนวน ภาษีอากรที่ขอคืนโดยความเทจ็ โดยฉ้อโกงหรอื อุบาย ต้ังแต่ 2 ล้านบาทตอ่ ปีภาษีข้ึนไป และผู้มีหน้าที่เสียภาษี อากรหรอื นำส่งภาษีอากรดังกลา่ วได้กระทำในลกั ษณะทีเ่ ป็นกระบวนการหรอื เป็นเครือข่ายโดยสร้างธุรกรรม อนั เปน็ เทจ็ หรือปกปิดเงนิ ได้พึงประเมนิ หรอื รายได้ 295. คณะกรรมการตามมาตรา 37 ตรี คือ อธิบดี รองอธิบดีและทีป่ รึกษากรมสรรพากรทกุ คน 296. ผู้อำนวยการกองเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นผมู้ ีสทิ ธิในการเรียกดู ใช้ขอ้ มลู และแก้ไขปรบั ปรงุ ขอ้ มูลผเู้ สีย ภาษีซึ่งเปน็ บุคคลสำคัญท่วั ราชอาณาจักร 297. ประเภทหนงั สอื รบั รองภาษาอังกฤษที่ออกใหโ้ ดยกรมสรรพากร 1. หนงั สือรับรองการเสียภาษีเงนิ ได้หกั ณ ทีจ่ ่าย (Non – Resident Withholding Tax Certificate) 2. หนงั สอื รบั รองการเสียภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดาและนิตบิ คุ คลเปน็ ภาษาอังกฤษ (Income Tax Payment Certificate) 3. หนงั สือรบั รองการมถี ิน่ ที่อย่เู พื่อการรษั ฎากรในประเทศไทย (Certificate of Residence) 4. หนังสอื รบั รองการมสี ถานภาพเป็นผู้เสียภาษีมูลค่าเพิม่ (Statement on the Tax Status of the Business) 5. หนังสือรบั รองการมสี ถานภาพเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายไทย (Certificate of Status of Taxable Person) 6 หนังสือรบั ทราบการมเี งนิ ได้จากตา่ งประเทศ (Statement of Acknowledgement of foreign Income) 298. ประเทศไทยมีอนสุ ญั ญาภาษีซ้อนกับหลายประเทศ (61 ประเทศ)โดยทำกบั นอร์เวย์เปน็ ประเทศแรกในปี ค.ศ.1964 ส่วนในกลมุ่ อาเซียน ประเทศแรกคือสิงคโปร์ และทียังไม่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนคือบรไู น 299. RD Smart Tax คือแอพพลิเคชน่ั การให้บริการอำนวยความสะดวกให้ผู้เสียภาษีและบคุ คลท่ัวไป ในการ บริหารจัดการภาษี ดังนี้ 1. RD-NEWS ข่าวสรรพากร อพั เดทเรื่องราวกฎหมายใหม่จากสรรพากร 2. E-BOOK สื่อความรู้ ดาวนโ์ หลดวารสารความรู้ภาษีสรรพากร 3. E-FILING ยื่นแบบออนไลน์ 4. RD-MAP แผนที่สรรพากร นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

55 300. ศนู ยบ์ ริการข้อมลู สรรพากร (1161) เปลีย่ นชื่อเปน็ ศูนยส์ ารนเิ ทศสรรพากร (RD Intelligence Center) 301. ระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ประกอบด้วย 5 โครงการ คอื โครงการ 1 : ระบบการชำระเงินแบบ Any ID (PromptPay) โครงการ 2 : การขยายการใชบ้ ัตร โครงการ 3 : ระบบภาษีและเอกสารธรุ กรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ โครงการ 4 : e-Payment ภาครัฐ โครงการ 5 : การให้ความรู้และสง่ เสริมการใช้ธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ 302. ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์มีวัตถุประสงค์ คอื 1. ลดการจดั ส่งและเก็บเอกสารแบบกระดาษ 2. เชื่อมโยงระบบการชำระเงินกับระบบภาษีและการส่งเอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง 3. กรมสรรพากรได้รับข้อมลู ธุรกรรมทีเ่ กิดขึน้ ทันที และสามารถนำขอ้ มลู มาใช้ในการตรวจสอบตา่ ง ๆ ได้ 303. ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 3 โครงการ คอื 1. e-Tax Invoice / e-Receipt - รายใหญ/่ รายกลาง/สว่ นราชการ/องค์การหรือสถานสาธารณกศุ ล เข้าระบบ 1 ม.ค. 61 - รายเล็ก 1.8 ล้านบาท < รายได้  30 ลา้ นบาท เข้าระบบ 1 ม.ค. 63 - รายเลก็ มาก รายได้  1.8 ล้านบาท เข้าระบบ 1 ม.ค. 65 การออก e-Tax Invoice/e-Receipt นอกจากสง่ ให้คู่ค้าแล้ว จะต้องสง่ ใหก้ รมสรรพากรด้วย 2. e-Filing / e-Withholding Tax - รายใหญ/่ รายกลาง/สว่ นราชการ เข้าระบบ 1 ม.ค. 62 - รายเล็ก/รายเล็กมาก เข้าระบบ 1 ม.ค. 65 แก้ไขกฎหมายกำหนดวา่ ถ้าจ่ายเงนิ ผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ตอ้ งทำ e-Withholding Tax ธนาคารจะ สง่ ขอ้ มูล e-Withholding Tax และโอนเงนิ ให้กรมสรรพากรภายใน 5 วนั ทำการ 3. e-Payment กรณีมีการจ่าย VAT และ/หรอื หัก ณ ทีจ่ า่ ย พร้อมการชำระเงินทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ธนาคารจะส่งเงนิ และข้อมลู ให้คคู่ ้าและกรมสรรพากร 304. ค่าธรรมเนียมการโอนเงินในระบบ “พร้อมเพย”์ ไม่เกิน 5,000 บาท ฟรที กุ รายการ 5,001 – 30,000 บาท ไม่เกิน 2 บาท/รายการ 30,001 – 100,000 บาท ไมเ่ กิน 5 บาท/รายการ เกิน 100,000 บาท ไมเ่ กิน 10 บาท/รายการ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

56 305. ประเทศไทยยคุ 1.0 คือยคุ เกษตรกรรม 2.0 คืออุตสาหกรรมเบา 3.0 คืออุตสาหกรรมหนัก 4.0 คือยคุ นวตั กรรม 306. ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) วางกรอบยุทธศาสตร์ชาติไว้ 6 ด้าน คือ 1. ความมัน่ คง 2. การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 3. การลงทุนในทรัพยากรมนษุ ย์ 4. การสร้างโอกาสความเสมอภาคและการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม 5. การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม 6. การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 307. วิสยั ทศั นข์ องยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี คอื “ประเทศมคี วามม่นั คง มั่งค่ัง ย่ังยืน เปน็ ประเทศพัฒนา แล้วดว้ ยการพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 308. การบริหารราชการตามพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ต้องเปน็ ไปเพือ่ 1. ประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสมั ฤทธิต์ ่อภารกิจของรฐั 3. ความมปี ระสิทธิภาพ 4. ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแหง่ รฐั 5. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. การลดภารกิจและยบุ เลิกหนว่ ยงานที่ไมจ่ ำเปน็ 7. การกระจายภารกิจและทรัพยากรใหแ้ กท่ ้องถิ่น 8. การกระจายอำนาจตัดสินใจ 9. การอำนวยความสะดวก และ 10. การตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน ท้ังนี้ โดยมีผู้รบั ผดิ ชอบต่อผลของงาน 309. “ปฏิบัติราชการแทน” คือ การมอบอำนาจ กฎหมายมอบอำนาจให้ใครผนู้ ั้นต้องใชอ้ ำนาจเอง แตม่ ี ข้อยกเว้นอยูว่ า่ อำนาจทางปกครอง มีการมอบอำนาจต่อได้ การมอบอำนาจ ให้ \"ปฏิบตั ิราชการแทน\" เปน็ การมอบอำนาจให้เฉพาะกาลน้ัน ๆ ผไู้ ด้รับมอบอำนาจ ให้ ปฏิบตั ิราชการแทนแค่ไหนกท็ ำได้แคน่ ั้น การมอบอำนาจให้ทำเป็นหนังสอื นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

57 310. “การรกั ษาราชการแทน” คือ การที่ผู้มีอำนาจหนา้ ที่ตามกฎหมายไมส่ ามารถปฏิบตั ิหน้าทีไ่ ด้ กฎหมายให้ อำนาจหน้าทีใ่ ห้ผู้ใดผหู้ น่งึ เป็นผู้รกั ษาราชการแทน เพื่อให้การปฏิบัติราชการดำเนินต่อไปได้ การรักษาราชการแทน เป็นการทีก่ ฎหมายใหอ้ ำนาจแก่ผรู้ กั ษาราชการแทน ในกรณีทีผ่ ู้ดำรงตำแหนง่ ที่มี อำนาจหน้าที่นน้ั ไมส่ ามารถปฏิบัติหน้าทีไ่ ด้ ผู้รกั ษาราชการแทนจงึ มีอำนาจเทียบเทา่ กบั ผดู้ ำรงตำแหน่งนน้ั 311. “รกั ษาการในตำแหน่ง” พรบ.ข้าราชการพลเรอื น พ.ศ.2551 ได้กำหนดกรณีทีม่ ไิ ด้บัญญตั ิไว้ในกฎหมายว่า ด้วยระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน กรณีตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญว่างลงหรอื ไมส่ ามารถปฏิบัติ ราชการได้ ให้ผบู้ ังคบั บัญชามีอำนาจสั่งใหข้ ้าราชการพลเรือนที่เห็นสมควรรกั ษาการในตำแหน่งได้ 312. พรบ.ข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 กำหนดให้มีคณะกรรมการพิทกั ษร์ ะบบคณุ ธรรมคณะหน่งึ เรยี กโดย ย่อว่า “ก.พ.ค.” ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 7 คน 313. กรรมการ ก.พ.ค. มีวาระการดำรงตำแหนง่ 6 ปี นับแตว่ ันที่ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้ง และให้ ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว 314. ขา้ ราชการพลเรือนมี 2 ประเภท คือ 1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือน 2. ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ 315. ตำแหน่งขา้ ราชการพลเรือนสามัญมี4 ประเภท ดังต่อไปนี้ 1. ตำแหน่งประเภทบริหาร ได้แก่ ตำแหนง่ หวั หน้าสว่ นราชการและรองหัวหน้าสว่ นราชการระดับกระทรวง กรม 2. ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าสว่ นราชการทีต่ ่ำกว่าระดับกรม 3. ตำแหนง่ ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งทีจ่ ำเปน็ ต้องใชผ้ สู้ ำเรจ็ การศกึ ษาระดับปริญญาตามที่ ก.พ. กำหนดเพือ่ ปฏิบตั ิงานในหน้าที่ของตำแหน่งนน้ั 4. ตำแหน่งประเภททว่ั ไป ได้แก่ ตำแหนง่ ทีไ่ ม่ใชต่ ำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทอำนวยการและ ตำแหน่งประเภทวิชาการ 316. ตำแหนง่ ประเภทวิชาการ มีระดับดงั ต่อไปนี้ 1. ระดบั ปฏิบตั ิการ 2. ระดบั ชำนาญการ 3. ระดบั ชำนาญการพิเศษ 4. ระดบั เช่ยี วชาญ 5. ระดบั ทรงคุณวุฒิ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

58 317. ข้าราชการพลเรือนสามญั ต้องรกั ษาจรรยาข้าราชการตามทีส่ ่วนราชการกำหนดไว้โดยมงุ่ ประสงคใ์ ห้เปน็ ข้าราชการที่ดี มเี กียรตแิ ละศกั ดิ์ศรคี วามเป็นข้าราชการ โดยเฉพาะในเร่อื งดังต่อไปนี้ 1. การยึดมั่นและยืนหยัดทำในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง 2. ความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผดิ ชอบ 3. การปฏิบตั ิหน้าทีด่ ว้ ยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ 4. การปฏิบัติหนา้ ที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 5. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 318. ขา้ ราชการพลเรือนสามญั ต้องกระทำการอันเป็นข้อปฏิบตั ิดังตอ่ ไปนี้ (มาตรา 82) 1. ต้องปฏิบตั ิหน้าทีร่ าชการด้วยความซือ่ สัตย์ สจุ ริต และเที่ยงธรรม 2. ต้องปฏิบตั ิหน้าทีร่ าชการให้เปน็ ไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติของคณะรัฐมนตรี นโยบายของรฐั บาล และปฏิบตั ิตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ 3. ต้องปฏิบัติหนา้ ที่ราชการให้เกิดผลดีหรอื ความก้าวหน้าแกร่ าชการด้วยความตั้งใจอตุ สาหะ เอาใจใส่ และรกั ษาประโยชน์ของทางราชการ 4. ต้องปฏิบตั ิตามคำสั่งของผบู้ ังคบั บญั ชาซึ่งสั่งในหน้าทีร่ าชการ โดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของ ทางราชการ โดยไม่ขดั ขืนหรอื หลีกเลี่ยง แต่ถ้าเหน็ ว่าการปฏิบัติตามคำส่ังนน้ั จะทำให้เสียหายแก่ราชการ หรือ จะเป็นการไมร่ ักษาประโยชนข์ องทางราชการจะต้องเสนอความเห็นเป็นหนงั สือทันทีเพือ่ ให้ผู้บังคบั บญั ชา ทบทวนคำสั่งนั้น และเมอ่ื ได้เสนอความเหน็ แล้วถ้าผู้บังคบั บัญชายืนยนั ใหป้ ฏิบตั ิตามคำสัง่ เดิมผอู้ ยใู่ ต้บังคับ บัญชาต้องปฏิบัติตาม 5. ต้องอุทิศเวลาของตนให้แกร่ าชการ จะละทิง้ หรือทอดทงิ้ หน้าทีร่ าชการมไิ ด้ 6. ต้องรักษาความลบั ของทางราชการ 7. ต้องสภุ าพเรียบร้อย รกั ษาความสามคั คีและต้องช่วยเหลอื กันในการปฏิบตั ิราชการระหว่างข้าราชการ ด้วยกนั และผู้ร่วมปฏิบัติราชการ 8. ต้องต้อนรบั ให้ความสะดวก ให้ความเปน็ ธรรม และให้การสงเคราะห์แก่ประชาชนผตู้ ิดต่อราชการ เกี่ยวกับหนา้ ทีข่ องตน 9. ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมอื งในการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการและในการปฏิบตั ิการอ่นื ที่เกี่ยวข้องกบั ประชาชน กบั จะต้องปฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการว่าดว้ ยมารยาททางการเมืองของข้าราชการด้วย 10. ต้องรักษาชือ่ เสียงของตน และรกั ษาเกียรติศกั ดิ์ของตำแหน่งหน้าทีร่ าชการของตนมิให้เส่อื มเสีย 11. กระทำการอ่นื ใดตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

59 319. ขา้ ราชการพลเรือนสามัญต้องไมก่ ระทำการใดอันเป็นข้อห้าม ดังต่อไปนี้ (มาตรา 83) 1. ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บงั คบั บญั ชา การรายงานโดยปกปิดขอ้ ความซึ่งควรต้องแจง้ ถือว่าเป็นกา รายงานเท็จด้วย 2. ตองไม่ปฏิบตั ิราชการอันเป็นการกระทำการข้ามผู้บงั คบั บัญชาเหนือตน เว้นแตผ่ ู้บงั คบั บญั ชาเหนอื ตน ขนึ้ ไปเป็นผู้สง่ั ให้กระทำหรอื ได้รบั อนุญาตเปน็ พิเศษช่วั ครั้งคราว 3. ต้องไม่อาศัยหรอื ยอมให้ผอู้ ืน่ อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชนใ์ ห้แกต่ นเองหรือผู้อ่นื 4. ต้องไมป่ ระมาทเลินเลอ่ ในหนา้ ที่ราชการ 5. ต้องไมก่ ระทำการหรือยอมให้ผู้อน่ื กระทำการหาผลประโยชน์อันอาจทำใหเ้ สียความเที่ยงธรรมหรอื เสื่อมเสียเกียรตศิ กั ดิ์ของตำแหน่งหนา้ ทีร่ าชการของตน 6. ต้องไม่เป็นกรรมการผจู้ ัดการ หรือผจู้ ัดการ หรอื ดำรงตำแหน่งอืน่ ใดทีม่ ลี กั ษณะงานคล้ายคลึงกันน้ัน ในห้างหุ้นสว่ นหรอื บริษทั 7. ต้องไมก่ ระทำการอย่างใดทีเ่ ปน็ การกล่ันแกล้ง กดขี่ หรอื ข่มเหงกันในการปฏิบตั ิราชการ 8. ต้องไม่กระทำการอันเป็นการล่วงละเมิดหรอื คุกคามทางเพศตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. 9. ต้องไม่ดหู ม่นิ เหยียดหยาม กดขี่ หรอื ข่มเหงประชาชนผู้ติดต่อราชการ 10. ไม่กระทำการอื่นใดตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. 320. การกระทำผดิ วินัยในลักษณะดังตอ่ ไปนี้ เป็นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง (มาตรา 85) 1. ปฏิบตั ิหรอื ละเว้นการปฏิบตั ิหนา้ ทีร่ าชการโดยมิชอบเพือ่ ให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผหู้ น่ึง ผใู้ ด หรอื ปฏิบตั ิหรอื ละเว้นการปฏิบัติหน้าทีร่ าชการโดยทุจรติ 2. ละทิง้ หรอื ทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไมม่ ีเหตุผลอนั สมควรเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างรา้ ยแรง 3. ละทิง้ หนา้ ที่ราชการตดิ ต่อในคราวเดียวกนั เปน็ เวลาเกินสิบห้าวนั โดยไมม่ เี หตอุ ันสมควรหรอื โดยมี พฤติการณ์อนั แสดงถึงความจงใจไมป่ ฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ 4. กระทำการอนั ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติช่ัวอยา่ งรา้ ยแรง 5. ดหู ม่นิ เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรอื ทำร้ายประชาชนผู้ติดตอ่ ราชการอย่างรา้ ยแรง 6. กระทำความผดิ อาญาจนได้รับโทษจำคกุ หรอื โทษทหี่ นกั กวา่ โทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจ้ ำคกุ หรอื ให้รับโทษทีห่ นักกว่าโทษจำคกุ เว้นแต่เปน็ โทษสำหรับความผดิ ที่ได้กระทำโดยประมาทหรอื ความผิดลหุ โทษ 7. ละเว้นการกระทำหรือกระทำการใด ๆ อันเปน็ การไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 82 หรอื ฝ่าฝนื ข้อห้ามตาม มาตรา 83 อันเป็นเหตใุ ห้เสียหายแกร่ าชการอย่างร้ายแรง 8. ละเว้นการกระทำหรอื กระทำการใด ๆ อนั เปน็ การไม่ปฏิบัติตามมาตรา 80 วรรคสองและมาตรา 82 (11) หรอื ฝ่าฝนื ข้อหา้ มตามมาตรา 83 (10) ที่มกี ฎ ก.พ. กำหนดให้เปน็ ความผดิ วินัยอย่างรา้ ยแรง นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

60 321. โทษทางวินัยมี 5 สถาน ดงั ตอ่ ไปนี้ (มาตรา 88) 1. ภาคทณั ฑ์ 2. ตดั เงินเดือน 3. ลดเงินเดือน 4. ปลดออก 5. ไลอ่ อก 322. ผู้ใดถูกส่งั ลงโทษทางวินัย มีสทิ ธิอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ภายใน 30 วัน นบั แตว่ นั ทราบหรอื ถือว่าทราบคำสั่ง ในกรณีทีผ่ ู้อทุ ธรณไ์ มเ่ ห็นด้วยกับคำวนิ ิจฉยั อทุ ธรณข์ อง ก.พ.ค. ให้ฟอ้ งคดีต่อศาลปกครองสูงสดุ ภายใน 90 วนั นบั แตว่ ันที่ทราบหรือถือว่าทราบคำวินิจฉัยของ ก.พ.ค. 323. ขอ้ บงั คบั กรมสรรพากร ว่าดว้ ย จรรยาข้าราชการกรมสรรพากร พ.ศ. 2553 ประกอบด้วย 1. ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต และรบั ผดิ ชอบ 2. ความโปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบได้ 3. การยึดมน่ั และยืนหยดั ในสิง่ ที่ถกู ต้อง 4. การไมเ่ ลือกปฏิบัติอย่างไม่เปน็ ธรรม 5. การปฏิบัติหนา้ ที่ในฐานะพลเมืองที่ดีของประเทศ 6. การมุง่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน 7. การดำรงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 324. การบริหารทรพั ยากรบุคคลในราชการพลเรือนแนวใหมจ่ ะมีฐานทีว่ างอย่บู น “ส่เี สาหลกั ” คือ 1. หลักคณุ ธรรม 2. หลกั สมรรถนะ 3. หลกั ผลงาน 4. หลกั กระจายอำนาจ 325. Competency แบ่งออกได้เปน็ 3 กล่มุ ได้แก่ 1. Core Competency (CC) เป็นความสามารถหลกั ทีท่ กุ คนในองคก์ รต้องมีรว่ มกัน 2. Managerial Competency (MC) เปน็ ความสามารถทางการบริหารจดั การ แตกต่างตามบทบาทของ ระดับ ตำแหน่งงาน 3. Functional Competency (FC) เปน็ ความสามารถทางอาชีพในงานทางเทคนิคเฉพาะทางทีต่ ้องมีตาม ขอบเขตหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

61 326. สมรรถนะหลกั ของข้าราชการ 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation –ACH) หมายถึง ความมุ่งมนั่ จะปฏิบัติราชการให้ดีหรือให้ เกินมาตรฐาน รวมถึงการสร้างสรรคพ์ ัฒนาผลงานหรอื กระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทาย ชนิดที่อาจไมเ่ คยมีผู้ใดสามารถกระทำได้มากอ่ น 2. บริการทีด่ ี (Service Mind – SERV) หมายถึง ความตั้งใจและความพยายามของขา้ ราชการในการ ให้บริการเพือ่ สนองความต้องการของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง 3. การสง่ั สมความเชย่ี วชาญในงานอาชีพ (Expertise-EXP) หมายถึง ความขวนขวาย สนใจใฝ่รู้ เพื่อส่งั สม พัฒนาศักยภาพ ความรคู้ วามสามารถของตนในการปฏิบตั ิราชการ รวมทั้งรจู้ ักพัฒนา ปรบั ปรุง ประยุกต์ใช้ ความรเู้ ชิงวิชาการและเทคโนโลยีเข้ากบั การปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์ 4. จริยธรรม (Integrity – ING) การครองตนและประพฤติปฏิบัติถกู ต้องตามหลกั กฎหมาย คุณธรรม จรยิ ธรรม หลักวิชาชีพ โดยมงุ่ ประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน 5. การทำงานเป็นทีม (Teamwork –TW) ความต้ังใจที่จะทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น สร้างและดำรงรักษา สมั พันธภาพกบั สมาชิกในทีม โดยผู้ปฏิบตั ิงานมฐี านะเป็นสมาชิกในทีม มิใชใ่ นฐานะหัวหนา้ ทีม 327. คำส่ังทางปกครอง หมายความว่า 1. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มผี ลเป็นการสรา้ งนติ ิสมั พันธ์ขึ้น ระหวา่ งบคุ คลในอนั ที่จะ ก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงบั หรอื มีผลกระทบตอ่ สถานภาพของสทิ ธิหรอื หนา้ ทีข่ องบคุ คล ไมว่ า่ จะเป็น การถาวรหรอื ชวั่ คราว เช่น การสง่ั การ การอนุญาต การอนมุ ตั ิ การวินจิ ฉยั อุทธรณ์ การรับรอง และการรบั จด ทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ 2. การอ่นื ที่กำหนดในกฎกระทรวง 328. คำสั่งทางปกครองทีท่ ำเปน็ หนังสือและการยืนยันคำส่งั ทางปกครองเปน็ หนังสือตอ้ งจัดให้มีเหตุผลไว้ดว้ ย และเหตุผลนน้ั อยา่ งน้อยต้องประกอบด้วย 1. ข้อเทจ็ จริงอันเป็นสาระสำคญั 2. ข้อกฎหมายที่อา้ งองิ 3. ข้อพิจารณาและข้อสนบั สนุนในการใชด้ ุลพินิจ 329. เจา้ หน้าทีด่ ังต่อไปนี้ จะทำการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ 1. เป็นคกู่ รณีเอง 2. เป็นคู่หมน้ั หรอื คสู่ มรสของคู่กรณี 3. เป็นญาติของคู่กรณี คอื เป็นบุพการี หรอื ผู้สบื สนั ดานไมว่ ่าช้ันใด ๆ หรอื เป็นพี่น้องหรอื ลูกพีล่ กู น้อง นบั ได้เพียงภายในสามช้ัน หรอื เป็นญาตเิ กี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

62 4. เป็นหรือเคยเปน็ ผู้แทนโดยชอบธรรมหรอื ผพู้ ิทกั ษ์หรอื ผแู้ ทนหรอื ตัวแทนของคู่กรณี 5. เปน็ เจ้าหนี้ หรอื ลูกหน้ี หรอื เป็นนายจ้างของคู่กรณี 6. กรณีอืน่ ตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง 330. การส่งเสริมหลกั ธรรมาภบิ าลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสมั ฤทธิต์ อ่ ภารกิจของรฐั 3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ 4. ไม่มีขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจำเป็น 5. มีการปรับปรงุ ภารกิจของส่วนราชการให้ทนั ต่อเหตุการณ์ 6. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ และ 7. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ 331. หลกั การสำคญั 4 ประการ ของหลักธรรมาภบิ าลของการบริหารกิจการบ้านเมอื งทีด่ ี ได้แก่ 1. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) อันประกอบด้วย หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) และหลักการตอบสนอง (Responsiveness) 2. คา่ นยิ มประชาธิปไตย (Democratic Value) อันประกอบด้วยหลักภาระรับผิดชอบ/สามารถตรวจสอบ ได้ (Accountability) หลกั ความเปิดเผย/โปรง่ ใส (Transparency) หลกั นิตธิ รรม (Rule of Law) และหลักความ เสมอภาค (Equity) 3. ประชารัฐ (Participatory State) อนั ประกอบด้วย หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization) และ หลกั การมสี ่วนรว่ ม/การมุง่ เน้นฉนั ทามติ (Participation/Consensus Oriented) 4. ความรบั ผดิ ชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) อันประกอบด้วย หลกั คณุ ธรรม/ จรยิ ธรรม (Morality/Ethics) 332. ตาม พ.ร.บ.ข้อมลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย คือ 1. ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการที่อาจกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ (มาตรา 14) 2. ข้อมลู ข่าวสารของราชการที่เจ้าหน้าทีห่ รือหนว่ ยงานของรัฐอาจมคี ำส่งั มใิ ห้เปิดเผย โดยคำนึงถึง (1) การเปิดเผยจะกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายและความมัน่ คงของประเทศความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศ หรอื ความมนั่ คงในทางเศรษฐกิจหรอื การคลังของประเทศ (2) การเปิดเผยจะทำให้การบงั คับใช้กฎหมายเสือ่ มประสิทธิภาพหรอื ไมอ่ าจสำเรจ็ ตามประสงค์ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

63 (3) ความเห็นหรอื คำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด แต่ท้ังน้ไี ม่ รวมถึงรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริงหรอื ข้อมูลข่าวสารที่นำมาใช้ในการทำความเหน็ หรอื คำแนะนำ ภายในดังกล่าว (4) การเปิดเผยจะกอ่ ใหเ้ กิดอันตรายต่อชีวติ หรอื ความปลอดภยั ของบคุ คลหน่งึ บุคคลใด (5) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารสว่ นบุคคล ซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล (6) ขอ้ มลู ข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมใิ ห้เปิดเผยหรอื ข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มาโดยไม่ประสงค์ให้ ทางราชการนำไปเปิดเผยต่อผอู้ ืน่ (7) กรณีอ่นื ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา 333. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 นำหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปน็ ปรชั ญานำทางในการพัฒนาประเทศตอ่ เน่อื งจากแผนฯ ฉบับ ที่ 9 – 11 โดยมีหลักการสำคัญของแผนพฒั นาฯ ดงั นี้ 1. ยึด “หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมคิ ุ้มกนั และการบริหารจดั การความเสี่ยงที่ดี 2. ยึด “คนเป็นศนู ยก์ ลางการพฒั นา” มุ่งสร้างคุณภาพชีวติ และสุขภาวะที่ดีสำหรับคนไทย พฒั นาคนใหม้ ี ความเปน็ คนที่สมบูรณม์ วี ินัย ใฝร่ ู้ มีความรู้ มที กั ษะ มคี วามคิดสร้างสรรค์ มที ศั นคติทีด่ ี รับผิดชอบต่อสงั คม มี จรยิ ธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทกุ ชว่ งวัยและเตรยี มความพร้อมเข้าสูส่ ังคมผสู้ ูงอายุอยา่ งมคี ุณภาพ 3. ยึด “วสิ ยั ทัศนภ์ ายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศนป์ ระเทศไทยในแผนพัฒนา ฉบบั ที่ 12 วิสัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความมน่ั คง มง่ั คั่ง ยัง่ ยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรอื เปน็ คติพจน์ประจำชาติว่า “ม่นั คง มัง่ ค่ัง ย่งั ยืน” 4. ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579” ทีเ่ ปน็ เป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มาเปน็ กรอบใน การกำหนดเป้าหมายทีจ่ ะบรรลุใน 5 ปีแรก 5. ยึด “หลกั การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจทีล่ ดความเหล่อื มล้ำและขบั เคลือ่ นการเจริญเติบโตจากการ เพิ่มผลิตภาพการผลติ บนฐานของการใช้ภูมปิ ัญญาและนวตั กรรม” (ประเทศไทย 4.0) 6. ยึด “หลกั การนำไปสกู่ ารปฏิบตั ิให้เกิดผลสัมฤทธิใ์ น 5 ปีที่ตอ่ ยอดไปสูผ่ ลสมั ฤทธิ์ที่เปน็ เป้าหมายระยะ ยาว” 334. การนบั วนั ลาให้นับตามปีงบประมาณ 335. การขออนุญาตไปต่างประเทศซึ่งอยตู่ ิดเขตแดนประเทศไทย ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดอนุญาตได้ไม่เกิน 7 วนั นายอำเภอท้องที่ที่มอี าณาเขตติดต่อประเทศน้ันอนุญาตได้ไมเ่ กิน 3 วนั นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

64 336. การลาแบง่ ออกเป็น 11 ประเภท คือ 1. การลาป่วย 2. การลาคลอดบุตร 3. การลาไปชว่ ยเหลอื ภริยาทีค่ ลอดบตุ ร 4. การลากิจสว่ นตัว 5. การลาพกั ผ่อน 6. การลาอุปสมบทหรอื การลาไปประกอบพิธีฮจั ย์ 7. การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรอื เข้ารับการเตรียมพล 8. การลาไปศกึ ษา ฝกึ อบรม ปฏิบัติงานวิจยั หรอื ดูงาน 9. การลาไปปฏิบตั ิงานในองค์กรระหว่างประเทศ 10. การลาติดตามคู่สมรส 11. การลาไปฟืน้ ฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ 337. การลาคลอดบตุ ร จะลาในวันทีค่ ลอด ก่อนหรอื หลังคลอดกไ็ ด้ แตร่ วมแลว้ ต้องไม่เกิน 90 วัน 338. การลาไปช่วยเหลอื ภริยาที่คลอดบตุ ร (ที่ชอบด้วยกฎหมาย) เสนอใบลากอ่ นหรอื ในวันที่ลา ภายใน 90 วนั นบั แต่วันที่คลอดบุตร ลาคร้ังหนง่ึ ติดตอ่ กนั ไมเ่ กิน 15 วนั ทำการ 339. ลากิจส่วนตวั ตอ่ เนือ่ งจากลาคลอดบุตรได้ไมเ่ กิน 150 วันทำการ(โดยไมไ่ ด้รบั เงนิ เดือน) 340. กรมสรรพากรได้จดั ทำคู่มือเพือ่ อำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนจำนวน 14 เรื่อง 341. หมายเลขโทรศัพท์ของศูนยส์ ารนิเทศกรมสรรพากร (RD Intelligence Center) หรอื ทีน่ ยิ มเรียกกันส้ัน ๆ ว่า Call Center คือ : 1161 342. กรณีผมู้ ีเงนิ ได้เป็นผู้พิการจะได้รับยกเว้นเงนิ ได้ 190,000 บาท/ปีภาษี หากผู้พิการอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์ จะได้รบั ยกเว้นเงินได้ 190,000 บาท/ปีภาษี เพราะเหตสุ ูงอายุกรณีเดียว 343. ตารางอัตราภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดาแบบอตั ราก้าวหน้ามี 7 ขั้น คืออตั ราร้อยละ: 5 10 15 20 25 30 และ 35 344. อากรแสตมป์ตามบัญชีท้ายประมวลรัษฎากรมี 28 ลกั ษณะ (หากตราสารใดไม่ได้ถูกกำหนดไว้ใน 28 ลกั ษณะนี้ ไม่ต้องเสียอากร 345. แสตมป์อากรปจั จบุ ันนีม้ ีพมิ พ์ออกมาจำหน่าย 3 ราคา คือ ดวงละ 1 บาท(สีน้ำเงิน) ดวงละ 5 บาท(สี เขียว) และดวงละ 20 บาท(สีส้มออกแดง) นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

65 346. ประมวลกฎหมายรษั ฎากร ประกาศใช้เมอ่ื วันที่ 1 เมษายน 2482 347. กำหนดเวลาการยืน่ แบบแสดงรายการ หรอื แจ้งรายการต่าง ๆ กด็ ี กำหนดเวลาการอทุ ธรณก์ ด็ ี หรอื กำหนดเวลาการเสียภาษีทีก่ ำหนดไว้ในประมวลรษั ฎากรก็ดี ถ้าผู้มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกำหนดเวลาดังกลา่ ว มิได้อยู่ในประเทศไทย หรอื มีเหตุจำเปน็ จนไมส่ ามารถจะปฏิบัติตามกำหนดเวลาได้เมอ่ื พิจารณาเห็นเป็นการ สมควร อธิบดีกรมสรรพากรมีอำนาจสั่งให้ขยายได้เลือ่ นเวลาได้ 348. คณะกรรมการวินจิ ฉัยภาษีอากรประกอบด้วย ปลัดกระทรวงการคลัง เปน็ ประธาน กรรมการโดย ตำแหน่ง 5 คน ประกอบด้วย อธิบดีกรมสรรพากร อธิบดีกรมศุลกากร อธิบดีกรมสรรพสามิต ผู้อำนวยการ สำนกั งานเศรษฐกิจการคลัง เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา แลผทู้ รงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแตง่ ตั้งเป็น กรรมการ อีกจำนวน 3 คน (รวมเปน็ 9 คน) 349. กรรมการวินจิ ฉยั ภาษีอากรผทู้ รงคุณวุฒิซึง่ รัฐมนตรแี ต่งตั้ง มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี 350. ผมู้ ีอำนาจแต่งตง้ั เจ้าพนกั งานประเมิน คือ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั 351. ขายหนงั สอื พิมพ์ นิตยสาร ตำราเรียน ปีละ 2,000,000 บาท ไมต่ ้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเพราะ ได้รับการยกเว้นตามมาตรา 81 (ฉ) 352.ประกอบอาชีพโรคศลิ ป์ รกั ษาคนไข้มรี ายได้เกินปีละ 1.8 ล้านบาท ไมต่ ้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ เพราะได้รับการยกเว้นตามมาตรา 81(ฌ) 353.ขายยารกั ษาโรคทวั่ ไป มีรายได้เกินปีละ 1.8 ล้านบาท ต้องจดทะเบียนภาษีมลู คา่ เพิม่ เพราะขายยารกั ษา คน แต่ถ้าขายยารักษาสัตว์ ได้รับการยกเว้นตามมาตรา 81 (จ) 354. ในกรณีทีผ่ ู้ประกอบการจดทะเบียนซึง่ เปน็ บคุ คลธรรมดาถึงแกค่ วามตาย ให้ความเปน็ ผู้ประกอบการจด ทะเบียนของผู้ประกอบการจดทะเบียนดังกลา่ วสนิ้ สดุ ลง และให้ผู้ครอบครองทรัพยม์ รดกทีร่ บั ผดิ ชอบในการ ดำเนนิ กิจการของผตู้ ายมีสิทธิประกอบกิจการต่อไปได้อกี ไม่เกิน 60 วนั นบั แต่วันที่ผปู้ ระกอบการจดทะเบียน ถึงแกค่ วามตาย 355. ผปู้ ระกอบการที่ได้รบั แจง้ การเพิกถอนทะเบียนภาษีมลู คา่ เพิม่ เป็นหนังสอื ต้องสง่ คืนทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ สถานที่ที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ ภายใน 7 วันนบั แต่วนั ที่ได้รับการแจ้งการเพิกถอน 356.ถ้าผู้ประกอบการจดทะเบียนเปน็ นิติบคุ คล ถูกขีดชื่อออกจากทะเบียนภาษีมูลคา่ เพิ่ม อธิบดีกรมสรรพากร ต้องแจ้งการขดี ชื่อออกจากทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ตอ่ นายทะเบียนนิติบุคคลตามกฎหมายนั้น ๆ ภายใน 30 วัน 357. อตั ราภาษีธุรกิจเฉพาะมี 3 อตั รา คอื ร้อยละ 0.1, 2.5 และ 3.0 นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

66 358. การมอบอำนาจให้บุคคลคนเดียวหรอื หลายคนร่วมกระทำการมากกว่าครั้งเดียวเสียค่าอากรแสตมป์ 30 บาท 359. ใบแตง่ ตั้งทนายและใบมอบอำนาจซึง่ ทนายความให้แกเ่ สมียนของตนเพื่อเป็นตัวแทนดำเนินคดใี นศาล ยกเว้นไมต่ ้องเสียอากร 360. การหกั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายมีประโยชน์ คือ 1. บรรเทาภาระการเสียภาษีให้แก่ผู้รบั เงินได้ 2. รฐั บาลมีรายได้เข้าคลังก่อนเวลายืน่ แบบแสดงรายการภาษี 3. ลดการหลกี เลี่ยงหรอื หลบเลี่ยงการเสียภาษีอากร(เพราะถกู หักไว้เพียงพอหรอื ส่วนใหญ่ถูกหักไว้แลว้ ) 361. การอุทธรณ์ภาษีจะต้องอุทธรณก์ ารประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณเ์ สียกอ่ นภายใน 30 วัน นบั แตว่ ันได้รบั แจง้ การประเมินเรียกเก็บภาษีอากร (จะนำขนึ้ สศู่ าลทนั ทีไม่ได้) 362. ผมู้ ีหน้าทีใ่ นการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา คือ 1. ผู้มีเงินได้พงึ ประเมินถึงเกณฑ์ต้องยน่ื แบบแสดงรายการในปีภาษี 2. กรณีผมู้ ีเงินได้เปน็ ผู้เยาว์ ให้เปน็ หน้าทีข่ องผู้แทนโดยชอบธรรม 3. กรณีผู้มีเงินที่เป็นบุคคลที่ศาลส่ังให้เป็นคนไร้ความสามารถ ให้เป็นหน้าที่ของผอู้ นบุ าล 4. กรณีผู้มีเงินได้ทีเ่ ป็นบคุ คลที่ศาลสง่ั ให้เปน็ คนเสมอื นไร้ความสามารถ ให้เป็นหนา้ ทีข่ องผู้พิทักษ์ 5. ผมู้ ีเงนิ ได้ที่อยูใ่ นต่างประเทศ ให้เปน็ หน้าที่ของผจู้ ดั การ 6. กรณีผมู้ ีเงนิ ได้ทีเ่ ปน็ กองมรดก ให้เปน็ หน้าทีข่ องผจู้ ัดการมรดก หรอื ทายาท หรอื ผคู้ รอบครองทรัพย์ มรดก 7. กรณีผมู้ ีเงินได้ทีเ่ ป็นหา้ งหนุ้ ส่วนสามญั หรือคณะบคุ คลทีม่ ใิ ชน่ ิติบุคคล ให้เป็นหนา้ ทีข่ องผู้อำนวยการ หรอื จดั การ 363. กรณีสามีและภรยิ าอยู่ร่วมกันตลอดปีภาษีและต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ จะยื่นรายการและเสียภาษีรวมกนั หรอื แยกกันก็ได้ 364. กรณีสามีและภรยิ าอยู่รว่ มกนั ตลอดปีภาษีและมีเงนิ ได้ร่วมกนั ถ้าเป็นเงนิ ได้ตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5)(6) หรอื (7) ให้ถือว่าต่างฝ่ายตา่ งมเี งินได้ฝ่ายละกึ่งหนึ่ง 365. กรณีสามีและภรยิ าอยูร่ ว่ มกนั ตลอดปีภาษีและมีเงนิ ได้ตามมาตรา 48(8)ร่วมกัน ให้แบง่ เงินได้ตาม สดั สว่ นทีไ่ ด้ตกลงกนั แตต่ กลงกันไม่ได้ให้ถือวา่ ต่างฝ่ายตา่ งมีเงินได้ฝ่ายละกึง่ หนึง่ 366. สามีและภรยิ าจะแยกยืน่ แบบเฉพาะเงินได้ตามมาตรา 40(1) ของตน สว่ นเงนิ ได้ประเภทอื่น ๆ จะนำไป รวมคำนวณกบั อีกฝ่ายทั้งหมดก็ได้(แตต่ ้องยกไปท้ังหมด) นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

67 367. การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดาของคนตา่ งด้าวใช้แบบแสดงรายการ ภ.ง.ด. 95 368. ในการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ จำนวนปีทีถ่ ือครอง หมายถึง : จำนวนปีนับตั้งแตป่ ีที่ได้กรรมสทิ ธิ์ หรอื สิทธิครอบครองในอสงั หาริมทรัพย์ถึงปีที่โอนกรรมสิทธิ์ หรอื สิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์น้ัน(นับ ตามปีปฏิทิน) ถ้าเกินสิบปีใหน้ ับเพียงสิบปี และเศษของปีให้นับเป็นหนง่ึ ปี(เชน่ ได้ทรพั ย์มาเมือ่ 31 ธันวาคม 2561 นบั ปี 2561 เปน็ 1 ปี ขายไปเมื่อ 1 มกราคม 2562 นบั ปี 2562 เปน็ 1 ปี รวมถือครอง 2 ปี ทั้งที่ความ จรงิ ถือครองเพียง 2 วนั ) 369. กรณีทีผ่ ู้เสียภาษี ได้ถูกหกั ภาษีไว้ ณ ที่จ่ายและนำสง่ แลว้ เป็นจำนวนเงนิ เกินกว่าที่ควรตอ้ งชำระ การขอคืนภาษีให้ขอคนื ภายใน 3 ปี นบั แต่วันสดุ ท้ายกำหนดเวลายืน่ รายการภาษี หรอื นบั แต่วันที่ยื่นรายการ (กรณียื่นเกินกำหนดเวลา) หรอื นับแตว่ ันได้รับแจง้ คำวินิจฉยั อทุ ธรณ์ หรอื วนั ทีม่ คี ำพิพากษาถึงทีส่ ุดแล้วแต่ กรณี 370. แบบแสดงรายการภาษีทีใ่ ชเ้ ปน็ แบบขอคืนภาษีได้ คือ : ภ.พ. 30, ภ.ง.ด. 90 , ภ.ง.ด. 91 และ ภ.ง.ด 50 นอกจากนีต้ ้องขอคนื ด้วยแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด(แบบ ค.10) 371. กรณีผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ มสี ถานประกอบการหลายแห่งจะต้องจดั ทำใบกำกบั ภาษี เปน็ รายสถานประกอบการ 372. ในกรณีจดั ทำใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ต้องจดั ทำใบกำกบั ภาษีดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบบั จะประทับตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีดไม่ได้ 373. ผมู้ ีสทิ ธิออกใบกำกบั ภาษีอย่างย่อ คือ ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนทีป่ ระกอบกิจการขายสินค้าในลักษณะ ขายปลีก หรอื การให้บริการในลักษณะบริการรายยอ่ ยแกบ่ คุ คลจำนวนมากซึง่ เปน็ กิจการคา้ ปลีกมีสทิ ธิออก ใบกำกบั ภาษีอยา่ งย่อได้ และหากจะใช้เครื่องบนั ทึกการเก็บเงินออกใบกำกับภาษีอยา่ งยอ่ ต้องขออนุมัติตอ่ อธิบดีกรมสรรพากรกอ่ น 374. ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนที่ประกอบกิจการขายสินค้า หรอื ให้บริการรายย่อยไมต่ อ้ งจัดทำและออก ใบกำกับภาษีเปน็ รายคร้ังสำหรบั การขายสินค้าหรอื บริการทีม่ ีมลู ค่าไม่เกิน 1,000 บาท (เว้นแตผ่ ู้ซือ้ สินค้าหรอื รับบริการรอ้ งขอ 375. ภาษีซือ้ ที่เกิดขึน้ ในเดือนใดแต่มไิ ด้นำไปลงรายการในรายงานภาษีซือ้ ของเดือนน้ัน เพราะมีเหตุจำเปน็ ตามที่อธิบดีกำหนดให้มีสทิ ธินำไปลงรายงานภาษีซือ้ ของเดือนหลังจากนั้นได้ แตต่ ้องไมเ่ กิน 6 เดือน นับแต่ เดือนถดั จากเดือนที่ออกใบกำกบั ภาษี นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

68 376. ให้ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนจัดเกบ็ และรักษารายงานเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิม่ ไว้ ณ สถานประกอบการที่ จดั ทำรายงานนั้น หรอื สถานที่อื่นตามทีอ่ ธิบดีกำหนดเป็นเวลาไม่น้อยกวา่ 5 ปี นับแต่วันทีต่ ้องทำรายงาน 377. เมื่อมีการเลิกประกอบกิจการ ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนยังคงมหี น้าที่ตอ้ งจัดเกบ็ รักษารายงานเกีย่ วกบั ภาษีมลู ค่าเพิ่มต่อไปไม่น้อยกวา่ 2 ปีนับแต่วันเลิกประกอบกิจการ 378. กรณีบริษัทหรอื หา้ งหุ้นสว่ นนิตบิ คุ คลหรือนิตบิ ุคคลอืน่ เป็นผู้จ่ายรางวลั ส่วนลด หรอื ประโยชน์อ่นื ใด ๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขาย ให้ผู้ซือ้ ซึ่งมีวัตถปุ ระสงคห์ รอื ตามพฤติการณ์มีวตั ถุประสงคท์ ีจ่ ำนำไปขายต่อ ต้องหกั ภาษี ณ ที่จ่าย ไว้ในอตั ราร้อยละ 3.0 (ขายใหผ้ ู้บริโภคโดยตรงไมต่ อ้ งหัก) 379. กรณีขายสินค้าตามสัญญาให้เช่าซือ้ หรอื สัญญาซือ้ ขายผ่อนชำระทีก่ รรมสทิ ธิใ์ นสินคา้ ยงั ไมโ่ อนไปยงั ผซู้ ื้อ ความรบั ผดิ ของผขู้ ายจะเกิดขึน้ เมือ่ ถึงกำหนดชำระราคาตามงวดที่ถึงกำหนดชำระราคาในแตล่ ะงวด เว้นแต่ กรณีทีผ่ ู้ขายได้รบั ชำระราคาสินค้าหรือได้ออกใบกำกบั ภาษีก่อนที่จะถึงกำหนดชำระในแตล่ ะงวดก็ให้ความรับ ผดิ ในการเสียภาษีของผขู้ ายเกิดข้ึนตามใบกำกับภาษีที่ออก 380. กรณีการให้บริการ ความรับผิดในการเสียภาษีมูลคา่ เพิ่มของผใู้ ห้บริการเกิดขนึ้ เม่อื ได้รับชำระราคา คา่ บริการ เว้นแตก่ รณีทีผ่ ู้ใหบ้ ริการได้ออกใบกำกบั ภาษีให้แก่ลกู ค้ากอ่ นมีการชำระคา่ บริการ หรือได้ใชบ้ ริการ นั้นเอง ให้ความรบั ผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิม่ เกิดข้ึนตามส่วนของการกระทำนั้น ๆ 381. การขายกระแสไฟฟ้า น้ำประปา หรอื สินค้าที่มลี กั ษณะทำนองเดียวกัน ให้ความรับผดิ ในการเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ เกิดข้ึนเม่อื ได้รับชำระราคาสินค้า หรอื ได้มีการออกใบกำกับภาษีกอ่ นได้รบั ชำระราคาสนิ ค้า แล้วแตก่ รณี 382. การขายสินค้าที่ไม่มรี ูปร่าง เช่นสิทธิในสิทธิบตั ร กู๊ดวิลล์ เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สัมปทาน คา่ สิทธิ หรอื สินค้าที่มลี ักษณะทำนองเดียวกนั ให้ความรับผดิ ชอบในการเสียภาษีมูลค่าเพิม่ เกิดขึน้ เมือ่ ได้รับ ชำระราคาสนิ ค้า เว้นแตก่ รณีทีไ่ ด้มีการกระทำดังต่อไปนเี้ กิดข้ึนกอ่ นได้รบั ชำระราคาสินค้ากใ็ หค้ วามรับผดิ เกิดข้ึนเม่อื ได้มกี ารกระทำนั้น ๆ ด้วย 1. โอนกรรมสิทธิส์ นิ ค้า หรอื 2. ได้ออกใบกำกบั 383. การขายสินค้าหรอื การให้บริการดว้ ยเครือ่ งอัตโนมัติโดยการชำระราคาด้วยวิธีการหยอดเงิน เหรยี ญ บตั ร หรอื ด้วยวิธีการในลกั ษณะทำนองเดียวกนั ให้ความรบั ผดิ ในการเสียภาษีมูลคา่ เพิ่มทั้งหมดเกิดข้ึนเมื่อได้ นำเงิน เหรียญ บตั ร หรอื สิง่ อื่นในลกั ษณะทำนองเดียวกันออกจากเครื่องอัตโนมัติ นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

69 384. ฐานภาษีสำหรบั การขายสินค้าหรอื การใหบ้ ริการ ได้แก่ มูลค่าสิ่งทีไ่ ด้รบั หรือพึงได้รบั จากการขายสินค้า หรอื ให้บริการไมว่ ่าจะเป็น เงิน ทรัพยส์ ิน ค่าตอบแทน ค่าบริการหรือประโยชน์ใด ๆ ทีค่ ิดได้เป็นเงินรวมถึง ภาษีสรรพสามิต 385. ฐานภาษีสำหรับการขายสินค้าหรอื การใหบ้ ริการ ไม่รวมถึง 1. สว่ นลดหรอื คา่ ลดหยอ่ น 2. ค่าชดเชย หรอื เงินอดุ หนนุ 3. ภาษีขาย 386. วิธีการเสียอากรแสตมป์สำหรับการทำตราสาร เรียกวา่ ปิดแสตมป์บริบรู ณ์ หมายความวา่ 1. ใช้แสตมป์ปิดทบั แล้วขดี ฆ่า 2. ใช้แสตมป์ดุน 3. ใช้การชำระเปน็ ตัวเงนิ 387. เวลาทำการ RD Intelligence Center คือ เวลา 08.30 – 18.00 น.ในวนั ทำการ(แตฟ่ งั ขอ้ มูลอตั โนมัติและ รบั เอกสารทางโทรสารได้ทุกวนั ตลอด 24 ชวั่ โมง) 388. นิตบิ คุ คลจดทะเบียนต่างประเทศ มีสาขาในประเทศไทย มีรายได้และรายจ่ายในประเทศไทย ต้องเสีย ภาษีจากกำไรสุทธิเฉพาะจากรายได้ที่เกิดในประเทศไทย 389. บริษทั ฯ ได้จ่ายเงนิ ค่าตอ่ เติมอาคาร 50 ล้านบาทบริษทั ฯ จะถือจำนวนเงนิ ดังกล่าวเป็นรายจา่ ยในการ คำนวณกำไรสทุ ธิเพือ่ เสียภาษีเงนิ ได้นิตบิ ุคคลไมไ่ ด้ เพราะเปน็ รายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็นการลงทนุ 390. บริษัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิติบคุ คลทุกประเภทที่เสียภาษีจากฐานเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทยต้องใช้ แบบ ภ.ง.ด.54 ในการยื่นเสียภาษี : 391. การทางพิเศษแห่งประเทศไทย จำหน่ายคูปองสำหรับจา่ ยค่าทางดว่ น เพือ่ ใหผ้ ู้ใช้ทางจ่ายแทนเงินสด ความรับผดิ ภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นทนั ทีที่ลูกค้าซือ้ คูปอง 392. ความรับผดิ ในการเสียภาษีมลู ค่าเพิ่ม กรณีชำระราคาค่าบริการด้วยเชค็ เกิดขนึ้ ในวันที่ลงในเชค็ 393. ผปู้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั สิทธิเสียภาษีมลู คา่ เพิม่ อัตรา 0% คือ ผู้ประกอบการทีส่ ่งสินค้าออกนอกประเทศ, ผปู้ ระกอบการทีข่ ายสินค้าหรอื บริการให้กบั สถานทูต , ผปู้ ระกอบการทีข่ ายสินค้าโดยผา่ นพิธีการทางศุลกากร ให้กับกิจการในเขตอุตสาหกรรมส่งออก (EPZ) 394. บริษทั ฯ ขายทีด่ นิ ทีม่ ีไว้เพือ่ ใชใ้ นการประกอบกิจการ ซึ่งได้มาเป็น ระยะเวลา 10 ปี จะต้องเสียภาษี ธรุ กิจเฉพาะ เพราะเปน็ ทีด่ ินที่ใชใ้ นการประกอบกิจการ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

70 395. ยกเว้นภาษีสำหรบั เงินที่จา่ ยไปเพื่อซือ้ หน่วยลงทุนใน LTF สำหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รบั ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงวนั ที่ 31 ธนั วาคมพ.ศ. 2562 ท้ังนีม้ ีเงื่อนไขว่าต้องถือหนว่ ยลงทนุ ไว้ไมน่ ้อยกวา่ เจ็ดปี ปฏิทิน 396. เงินได้ทีไ่ ด้รับจากส่วนแบง่ ของกำไรจากห้างหนุ้ สว่ นสามัญหรอื คณะบุคคลที่มิใช่นิตบิ ุคคลที่จะได้รับ ยกเว้นภาษีเงนิ ได้ตามข้อ 89 แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 126 ต้องเปน็ เงินได้ทีไ่ ด้รับจาก 1. การให้เชา่ อสังหาริมทรัพย์ทีเ่ ปน็ กรรมสทิ ธิร์ วมอนั ได้มาโดยทางมรดก หรือได้รับจากการให้โดยเสน่หา ซึง่ ต้องเสียภาษีเงินได้ตามส่วน 2 หมวด 3 ลักษณะ 2 แหง่ ประมวลรัษฎากร 2. ดอกเบีย้ เงนิ ฝากตามมาตรา 40 (4) (ก) แห่งประมวลรัษฎากร และถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จา่ ย ตาม มาตรา 50 (2) แห่งประมวลรษั ฎากร ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ผู้มเี งินได้ดงั กล่าวไมข่ อรับเงินภาษีทีถ่ ูกหกั ไว้นน้ั คืน หรอื ไมข่ อเครดิตเงนิ ภาษีที่ถกู หกั ไว้นนั้ ไม่ว่าทั้งหมดหรอื บางส่วน 397. ตามยทุ ธศาสตร์ D2RIVE ของกรมสรรพากร อกั ษรย่อแต่ละตวั หมายถึง 1. D - Digital Transformation การปรับเปลี่ยนกระบวนงานเพือ่ นำไปส่กู ารเป็นองคก์ รดิจทิ ลั เน้นการ ปรบั ปรงุ บริการของกรมสรรพากรทีย่ ึดผเู้ สียภาษีเป็นศูนย์กลาง (Taxpayer - Centric Solutions) การเชอ่ื มโยง กบั หน่วยงานเจ้าของข้อมลู การลดหยอ่ นภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดาต่าง ๆ ผ่านระบบ Open API พฒั นาระบบ การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดาทางอิเล็กทรอนิกส์ 2. D - Data Analytics การเพิ่มประสิทธิภาพการวิเคราะห์ข้อมลู โดยเฉพาะข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) โดยเน้นการนำข้อมูลทั้งภายในและข้อมลู ภายนอกมาใช้ในการวิเคราะห์เพือ่ ให้การออกแบบนโยบายภาษีตรง กบั กลุ่มเป้าหมาย และการแยกผเู้ สียภาษีกล่มุ ดีและกลุ่มไม่ดี 3. R- Revenue Collection การเก็บภาษีอย่างมปี ระสิทธิภาพ ถูกต้อง และเป็นธรรม 4. I - Innovation การสร้างนวตั กรรม โดยมีการเลือกใช้กระบวนการ Design Thinking ในการจดั ทำ นวตั กรรม และมีการจัดตั้ง Tax Innovation Lab เพือ่ ให้มีการทดลองเทคโนโลยีใหม่ๆ ก่อนนำไปใช้จริง ใน ปัจจุบนั มกี ารศกึ ษาความเป็นไปได้ในการนำ Blockchain มาใช้กับระบบภาษีมลู ค่าเพิ่มและการคืน ภาษีมลู ค่าเพิ่มให้กบั นกั ท่องเที่ยว 5. V - Values การพัฒนากรมสรรพากรใหเ้ ปน็ องคก์ รคณุ ธรรม 6. E- Efficiency การยกระดับประสิทธิภาพของคนและงาน โดยการสร้างคนเก่ง คนดี และมีความสุข รวมท้ังการปรับปรงุ สภาพแวดล้อมในการทำงาน และ การปรบั ปรุงระบบงาน โดยการนำเทคโนโลยีมาใช้ ซึง่ จะช่วยลดระยะเวลาการทำงานให้มปี ระสิทธิภาพยิ่งข้ึน 398. อัตลกั ษณ์และจรยิ ปฏิบัติของกรมสรรพากร(HAS) ประกอบด้วย นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

71 1. H Honest ซื่อสัตย์ ใหเ้ จ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าทีด่ ้วยความซือ่ สัตย์ สุจรติ ปฏิบัติราชการตามกฎหมาย ระเบียบ และแนวทางปฏิบตั ิอย่างโปรง่ ใสและตรวจสอบได้ไมร่ บั ผลประโยชน์ใด ๆ อันมคิ วรได้โดยชอบ 2. Accountability รับผิดชอบตอ่ หน้าทีก่ ระตือรอื ร้นในการปฏิบตั ิงานและอุทิศเวลาให้แก่ทางราชการ มี วินยั และความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง องค์กรและสังคม 3. Service mind มอบใจบริการ เตม็ ที่ เต็มใจ ให้บริการอยา่ งเต็มความสามารถ ใหบ้ ริการด้วยมิตรภาพ อยา่ งมืออาชีพและเสมอภาค ทำงานเป็นทีม มนี ้ำใจและเปน็ ผมู้ ีจติ สาธารณะ 399. ถ้าประสงค์จะขอคืนเงินภาษีผ่านระบบพร้อมเพย์ ผู้ขอคนื ต้องขอเปิดบญั ชีพร้อมเพย์ได้ทุกธนาคาร โดย ผูกกับเลขบตั รประจำตัวประชาชน 400. อนสุ ัญญาภาษีซ้อนที่ประเทศไทยทำกบั ตา่ งประเทศลา่ สุดคือทำกบั ประเทศกมั พูชา(มีผลบังคบั ใช้ ตั้งแต่ วนั ที่ 26 ธนั วาคม 2560 โดยผู้เสียภาษีจะสามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้ ต้ังแตว่ ันที่ 1 มกราคม 2561 เป็นต้นไป) 401. กรณีผปู้ ระกอบการจดทะเบียน ได้แจ้งเลิกการประกอบกิจการ แตไ่ ด้มกี ารขายสินค้าหรอื ใหบ้ ริการไป แล้วกอ่ นวนั ทีย่ ื่นแบบเพือ่ แจง้ เลิกการประกอบกิจการ และได้นำภาษีขายไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีมลู ค่าเพิ่ม ตามมาตรา 82/3 แห่งประมวลรษั ฎากรแล้ว ตอ่ มาถ้ามีเหตกุ ารณอ์ ย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา 82/9 และ มาตรา 82/10 แหง่ ประมวลรัษฎากรเกิดขนึ้ อนั เป็นเหตุใหภ้ าษีขายที่คำนวณจากมลู ค่าของสินค้าหรอื บริการมี จำนวนเพิม่ ขึน้ หรอื ลดลงไม่วา่ ท้ังหมดหรอื บางสว่ น ผปู้ ระกอบการดงั กล่าวยงั คงมีสิทธิ์ออกใบเพิม่ หน้ีตาม มาตรา 86/9 หรอื ใบลดหนี้ตามมาตรา 86/10 แหง่ ประมวลรษั ฎากรให้แก่ผซู้ ือ้ สินค้าหรอื ผรู้ บั บริการหรอื ไม่? ตอบ : ยังคงมสี ิทธิ์ แต่ทั้งน้ีจะต้องออกใบเพิม่ หน้ี หรอื ใบลดหนี้ แล้วแต่กรณี ภายใน 60 วันนับแต่วันถดั จาก วันทีย่ ื่นแบบเพือ่ แจ้งเลิกการประกอบกิจการ 402. กรณีผปู้ ระกอบการจดทะเบียนซึง่ ได้แจง้ เลิกการประกอบกิจการ ได้ซือ้ สินค้าหรอื รบั บริการไปแล้วก่อน วนั ทีย่ ืน่ แบบเพื่อแจ้งเลิกการประกอบกิจการ แตไ่ ด้รับใบกำกับภาษีสำหรบั การซื้อสินค้าหรอื รบั บริการดังกล่าว นบั แตว่ นั ถดั จากวันทีย่ ื่นแบบเพื่อแจ้งเลิกการประกอบกิจการ ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนมสี ิทธิ์นำภาษีซือ้ ตาม ใบกำกับภาษีนนั้ มาหกั ในการคำนวณภาษีตามมาตรา 82/3 แหง่ ประมวลรัษฎากรได้หรือไม?่ ตอบ : ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนมสี ิทธิน์ ำภาษีซือ้ ตามใบกำกบั ภาษีนนั้ มาหกั ในการคำนวณภาษีตาม มาตรา 82/3 แห่งประมวลรัษฎากรได้ 403. กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียน ซึง่ ได้แจ้งเลิกการประกอบกิจการ ได้มกี ารขายสินค้าหรอื ให้บริการไป แล้วก่อนวนั ที่ยืน่ แบบเพื่อแจง้ เลิกการประกอบกิจการ แตค่ วามรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิม่ และในการออก ใบกำกับภาษียงั ไมเ่ กิดข้ึน หากความรับผดิ ในการเสียภาษีมลู คา่ เพิ่มสำหรับการขายสินค้าหรอื การให้บริการ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

72 ดังกลา่ วได้เกิดขึน้ นับแตว่ ันถัดจากวนั ทีย่ ืน่ แบบเพือ่ แจง้ เลิกการประกอบกิจการ ผู้ประกอบการจดทะเบียน ดังกล่าวมสี ิทธิอ์ อกใบกำกบั ภาษีสำหรับการขายสินค้าหรอื การให้บริการนั้นตามมาตรา 86 แห่งประมวล รัษฎากรหรอื ไม่? ตอบ : ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนดังกลา่ วมสี ิทธิ์ออกใบกำกับภาษีสำหรับการขายสินค้าหรอื การให้บริการนนั้ ภายใน 60 วันนับแตว่ ันถัดจากวนั ที่ยื่นแบบเพื่อแจ้งเลิกการประกอบกิจการ 404. การให้บริการรับเหมากอ่ สร้าง และได้มกี ารเรียกเกบ็ เงินจา่ ยล่วงหน้าจากผู้ว่าจา้ ง โดยมีขอ้ ตกลงต้องคนื เงินดังกล่าวให้ผวู้ ่าจา้ ง โดยยอมใหผ้ วู้ า่ จา้ งหักเงนิ ดังกลา่ วออกจากเงินคา่ งานที่ผรู้ ับจา้ งจะได้รับในแตล่ ะงวด เพือ่ ชดเชยกับเงินจ่ายล่วงหน้าที่รบั ไปจนกวา่ จะครบถ้วน พร้อมท้ังหกั เงินคา่ ประกันผลงานของผรู้ บั จ้างไว้อีก ส่วนหนึ่ง และจะคืนเงินประกันผลงานใหแ้ ก่ผู้รบั จ้างเม่ือหมดระยะเวลาประกนั ผลงาน จะมีภาระภาษีอย่างไร? ตอบ : จะมีภาระภาษีดงั นี้ (1) เงนิ จ่ายล่วงหน้า (ADVANCE PAYMENT) (ก) ผู้รับจ้างจะต้องนำเงินจ่ายลว่ งหน้ามารวมคำนวณเป็นรายได้เพื่อเสียภาษีเงนิ ได้นติ ิบคุ คล (ข) บริษทั หรอื หา้ งหนุ้ ส่วนนิตบิ คุ คลผู้ว่าจา้ ง เมื่อจ่ายเงนิ ลว่ งหน้า มีหน้าที่ตอ้ งหักภาษีเงนิ ได้ ณ ทีจ่ า่ ย ใน อตั ราร้อยละ 3.0 ของเงนิ ล่วงหนา้ เมือ่ มีการจา่ ยค่างวดงานแต่ละงวดให้แก่ผู้รับจ้าง ผวู้ ่าจา้ งมีหน้าทีห่ ักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 3.0 ของเงนิ ค่างวดงานหลงั หักเงินจ่ายล่วงหน้าในแต่ละงวดออกแล้ว (ค) ผู้รับจ้างต้องนำเงินจ่ายลว่ งหน้ามารวมคำนวณเป็นมลู ค่าของฐานภาษี ตามมาตรา 79 แห่งประมวล รษั ฎากร โดยถือวา่ ความรบั ผดิ ในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากการใหบ้ ริการเกิดข้ึนในขณะได้รับชำระเงิน ดังกลา่ ว ตามมาตรา 78/1(1) แห่งประมวลรษั ฎากร (2) เงนิ ประกันผลงาน (RETENTION) (ก) เม่อื ผวู้ า่ จ้างจา่ ยเงินคา่ จา้ งแต่ละงวดใหผ้ ู้รับจา้ งโดยหกั เงินประกันผลงานไว้ ถือเป็นรายได้ของผรู้ บั จ้าง เตม็ จำนวนมลู ค่าของงานที่แล้วเสรจ็ ในแตล่ ะงวด(เสมือนว่าไม่ได้ถูกหกั เงินประกันผลงานไว้) และเมื่อผวู้ ่าจา้ ง จ่ายคืนเงินประกันผลงานให้แกผ่ รู้ ับจ้าง ผวู้ า่ จา้ งไม่มีหน้าที่หกั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ายอีก (ข) ผรู้ บั จ้างตอ้ งนำเงินประกันผลงานทีถ่ กู ผู้ว่าจ้างหักจากเงนิ คา่ จา้ งแต่ละงวดมารวมคำนวณเป็นมลู ค่า ของฐานภาษีภาษีมูลค่าเพิ่มเสมือนไมไ่ ด้ถกู หกั ไว้ และเมื่อมีการจ่ายเงนิ ประกนั ผลงานคืนให้แกผ่ รู้ ับจ้าง ผู้รบั จา้ งไมต่ ้องนำเงินประกนั ผลงานดงั กล่าวมาเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอกี 405. การคำนวณรายได้ และรายจา่ ยของบริษัทหรอื ห้างหุ้นสว่ นนิติบคุ คล ซึง่ ประกอบกิจการให้เช่าทรพั ย์สิน บริษัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิติบคุ คลน้ัน ต้องนำรายได้ทีเ่ รียกเกบ็ หรอื พึงเรยี กเก็บในลกั ษณะเป็นเงนิ ก้อนเพือ่ ตอบ แทนการให้เช่าทรัพย์สินมาคำนวณเปน็ รายได้อย่างไร? นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

73 ตอบ : ต้องนำรายได้ทีเ่ รียกเก็บหรอื พึงเรยี กเก็บในลกั ษณะเปน็ เงนิ ก้อนเพื่อตอบแทนการให้เชา่ ทรัพยส์ ินท้ัง จำนวน ไมว่ า่ จะเรียกเกบ็ ในลักษณะเงินจ่ายล่วงหน้า เงินประกัน เงนิ มัดจำ เงนิ จอง หรอื เงินอืน่ ที่เรยี กเก็บใน ลกั ษณะทำนองเดียวกนั มารวมคำนวณเปน็ รายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีทีเ่ ริ่มใหเ้ ชา่ ทรพั ยส์ ิน หรอื จะนำ รายได้นนั้ มาเฉลีย่ ตามส่วนแหง่ จำนวนปีตามสัญญา และนำมารวมคำนวณเปน็ รายได้ในแตล่ ะรอบระยะเวลา บญั ชนี ับแต่รอบระยะเวลาบัญชที ี่เรม่ิ ให้เช่าทรพั ย์สินก็ได้ 406. กิจการอย่างใดทีไ่ มเ่ ข้าลกั ษณะเป็นการให้บริการเชา่ อสงั หาริมทรพั ย์? ตอบ : ผปู้ ระกอบการซึง่ ประกอบกิจการดังตอ่ ไปนี้ ไมเ่ ข้าลักษณะเปน็ การให้บริการเชา่ อสังหาริมทรพั ย์ แตถ่ ือ เปน็ การให้บริการและมีหน้าที่ตอ้ งเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (1) การให้บริการเก็บรักษาสินค้าในคลงั สินค้า (2) การให้บริการเช่าโครงเหลก็ หรอื การใหบ้ ริการเช่าสังหาริมทรพั ยอ์ ื่นทีม่ ลี กั ษณะทำนองเดียวกัน (3) การให้บริการโฆษณาบนโครงเหล็กหรอื บนสังหาริมทรพั ย์อื่นทีม่ ลี ักษณะทำนองเดียวกนั (4) การให้บริการโฆษณาบนป้ายทีต่ ั้งอยูบ่ ริเวณที่พกั โดยสารรถประจำทาง หรอื ต้ังอยู่ ณ บริเวณ สถานที่ที่มลี กั ษณะทำนองเดียวกนั (5) การให้บริการโฆษณาที่ปรากฏบนรถโดยสารประจำทางหรอื บนรถโดยสารอ่ืนทีม่ ลี ักษณะทำนอง เดียวกัน 407. กรณีผู้ประกอบการจัดงานแสดงสินค้าโดยเชา่ พื้นทีจ่ ากผู้ใหเ้ ช่าแล้วนำพืน้ ที่ดังกลา่ วมาจดั แบง่ ตามขนาด และความเหมาะสมของประเภทธุรกิจที่จะจดั ให้มกี ารแสดงสินคา้ (บธู ) โดยผู้ประกอบการจะจัดใหม้ ีบริการ ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ เครื่องปรบั อากาศ รกั ษาความสะอาด รกั ษาความปลอดภัย และประชาสัมพนั ธด์ ้วย ต้องเสียภาษีอย่างไร? ตอบ : ถือเป็นการให้บริการตามมาตรา 77/1(10) แห่งประมวลรษั ฎากร ผปู้ ระกอบการมหี น้าที่ตอ้ งเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ ตามมาตรา 77/2 แห่งประมวลรษั ฎากร 408. ผปู้ ระกอบการซึ่งประกอบกิจการให้เช่าอาคารเพื่อเปน็ ที่อยอู่ าศัย โดยให้บริการอน่ื เพิ่มเติม เช่น ใหเ้ ช่า เฟอร์นิเจอรแ์ ละสิง่ อำนวยความสะดวกอื่น ๆ มีภาระภาษีอย่างไร? ตอบ : การให้เช่าอาคารเพื่อเปน็ ที่อยู่อาศยั ได้รับยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิ่ม แต่การให้บริการอ่นื เพิม่ เติมไม่ได้รับ ยกเว้น 409. เม่ือมีการขายคืนกองทุน LTF จะต้องปฏิบตั ิอย่างไร? ตอบ : เงนิ ได้ทีผ่ ู้ลงทนุ ได้รับจากการขายคืนหนว่ ยลงทุนกองทนุ LTF ถือเปน็ เงินได้ในมาตรา 40(8) โดยจะกรอก ในข้อ 5. เงินส่วนต่างกรณีราคาขายมากกว่าราคาทนุ ถ้าเปน็ การขายคืนถกู ต้องตามเงอ่ื นไขให้กรอกตวั เลข “กำไรที่ได้รับจากการขายคืน”ในช่อง ยกเว้น ถ้าเปน็ การขายคืนทีไ่ ม่ถกู ต้องตามเง่ือนไข นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

74 ให้กรอกตัวเลข \"กำไรทีไ่ ด้รบั จากการขายคืน\" ในช่อง ไม่ยกเว้น 410. การถือครองกองทุน RMF LTF มีหลกั เกณฑอ์ ย่างไร? ตอบ : การถือครองกองทุน RMF ผลู้ งทนุ จะต้องลงทุนในกองทนุ RMF ทกุ ปี หรอื ปีเว้นปี ในจำนวนไม่น้อย กว่า 3% ของเงนิ ได้ที่ได้รับในแตล่ ะปี หรอื มีจำนวนไมน่ ้อยกว่า 5,000 บาทตอ่ ปี และสงู สุดไม่เกิน 15 % ของ เงินได้ทีต่ อ้ งเสียภาษี เมอ่ื รวมกบั เงินสะสมที่ผู้ลงทนุ จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลยี้ งชีพ (Provident Fund) หรอื กองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ (กองทุนกบข.) ต้องมีจำนวนเงินไม่เกิน 500,000 บาท ผลู้ งทนุ จะต้องลงทนุ ในกองทนุ RMF และต้องถือหนว่ ยลงทนุ ในกองทนุ ดังกลา่ วไว้ไมน่ ้อยกว่า 5 ปี นบั ตั้งแต่วนั ซอื้ หนว่ ยลงทนุ คร้ังแรกและถือจนกระท่งั อายุ ไม่ตำ่ กว่า 55 ปีบริบูรณ์ การถือครองกองทนุ LTF ผลู้ งทุนซือ้ หนว่ ยได้ไมเ่ กิน 15 % ของเงนิ ได้ทีต่ ้องเสียภาษี และไม่เกิน 500,000 บาท ไม่ได้บงั คับว่าผลู้ งทุนจะต้องลงทนุ ทกุ ปีหรอื ไม่ โดยเงนิ ลงทุนในแต่ละปี ผลู้ งทนุ จะต้องถือหนว่ ย ลงทุนน้ันไว้ตอ่ เนือ่ งกันเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 7 ปีปฏิทิน 411. การขายคืนกองทนุ RMF แบบถกู ต้องครบตามเงอ่ื นไขการลงทนุ จะต้องทำอย่างไร? ตอบ : ผลู้ งทนุ จะต้องลงทุนในกองทุน RMF ทกุ ปี หรอื ปีเว้นปี และต้องถือหน่วยลงทนุ ในกองทุนดงั กล่าวไว้ไม่ น้อยกวา่ 5 ปี นบั ต้ังแต่วันซือ้ หน่วยลงทนุ ครั้งแรกและถือจนกระท่งั อายุ ไมต่ ่ำกว่า 55 ปีบริบูรณ์ จึงจะสามารถ ขายคืนหนว่ ยลงทุนได้แบบถกู ต้องตามเง่อื นไข 412. วธิ ีการนบั อายุกองทุนเพื่อขายคืนสำหรบั กองทุน RMF, LTF นบั อย่างไร? ตอบ : การนับอายุกองทุน RMF จะนับอายุจากวนั แรกที่ได้มกี ารลงทนุ ในกองทุน RMF และนบั แบบวนั ชนวนั โดยปีที่ไม่ได้มกี ารลงทนุ จะไมไ่ ด้นบั อายุในปีนน้ั การนบั อายุกองทุน LTF จะนับเปน็ ปีปฏทิ ิน โดยในปีแรกที่ลงทนุ จะนบั เป็นปีที่ 1 และต้องมกี ารลงทุนไป จนครบ 7 ปี จงึ จะขายคืนหน่วยลงทุนได้ การขายคืนหนว่ ยลงทนุ จะใช้หลกั First in First out คือซือ้ มากอ่ น จะ ขายคืนออกไปกอ่ น หากผู้ลงทุนมีการขายคืนหนว่ ยลงทุนกองทุน LTF กอ่ นทีจ่ ะครบ 7 ปีปฏิทิน จะถือวา่ ปฏิบัติ ผดิ เงื่อนไขในการลงทุน 413. ผู้ได้รับเงินจากกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ(PVD) มีสทิ ธิประโยชนท์ างภภาษีอย่างไร? ตอบ : ถ้ามีระยะเวลาทำงานตั้งแต่ 5 ปีขนึ้ ไป สามารถเลือกเสียภาษีโดยไมต่ ้องนำไปรวมคำนวณภาษีกับเงิน ได้ประเภทอื่น โดยมีสิทธิ์หกั ค่าใชจ้ ่ายเทา่ กบั 7,000 บาท คูณด้วยจำนวนปีทีท่ ำงาน เหลอื เท่าใดให้หัก ค่าใชจ้ ่ายอีกร้อยละ 50 ของเงินที่เหลือแล้วคำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงนิ ได้ ทั้งน้ี จำนวนวนั ทำงานต้ังแต่ 183 วันขึน้ ไป นับเป็น 1 ปี น้อยกว่า 183 ให้ปัดทิง้ ในกรณีเกษียณอายุตามข้อบงั คบั ลกู จา้ งมอี ายุไมต่ ำ่ กวา่ 55 ปีบริบูรณ์ และเป็นสมาชิกกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพไมน่ ้อยกวา่ 5 ปีตอ่ เนื่อง จะได้รบั การยกเว้นภาษี นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

75 414. ผมู้ ีเงินได้ทีจ่ ะหกั คา่ ลดหยอ่ นค่าอุปการะเลี้ยงดูคนพิการหรอื คนทพุ พลภาพได้คนละ 60,000 บาท ตอ้ งมี ความสัมพนั ธ์กนั เชน่ ใด? ตอบ : ความสมั พนั ธ์กับผู้มีเงินได้ (1) เป็นบิดามารดาของผมู้ ีเงนิ ได้ (2) เปน็ บิดามารดาของสามีหรอื ภริยาของผู้มเี งนิ ได้ (3) เปน็ สามหี รอื ภรยิ าของผมู้ ีเงินได้ (4) เปน็ บุตรชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบญุ ธรรมของผมู้ ีเงินได้ (5) เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีหรอื ภรยิ าของผมู้ ีเงินได้ (6) เปน็ บคุ คลอืน่ ทีไ่ ม่ได้มีความสัมพนั ธ์กบั ผมู้ ีเงนิ ได้ตาม (1) - (5) แต่ผมู้ ีเงินได้เปน็ ผู้อุปการะเลี้ยงดู ผมู้ ี เงินได้นำมาลดหย่อนได้ 1 คน 415. หลกั เกณฑ์และองค์ประกอบการหักลดหยอ่ นคา่ อุปการะเลี้ยงดูคนพิการมอี ย่างไร? ตอบ : หลักเกณฑก์ ารเป็นคนพิการที่ผู้มเี งินได้จะหกั ลดหยอ่ นค่าอุปการะเลี้ยงดูคนพิการได้ (1) คนพิการต้องมีบัตรประจำตัวคนพิการตามกฎหมายวา่ ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คน พิการ (3) เปน็ บุคคลทีม่ คี วามสมั พนั ธ์กับผมู้ ีเงินได้ตามทีก่ ำหนด (3) ผู้มเี งินได้เปน็ ผู้อุปการะเลี้ยงดู และมีชื่อเป็นผดู้ แู ลคนพิการในบตั รประจำตวั คนพิการ (4) คนพิการมเี งนิ ได้พึงประเมินไม่เกิน 30,000 บาท ในปีภาษีที่ผู้มเี งินได้ใช้สทิ ธิหักลดหย่อน (ไม่รวม เงินได้ที่ได้รับยกเว้นตามมาตรา 42) (5) คนพิการต้องมเี ลขประจำตวั ประชาชน 13 หลัก (6) กรณีคนพิการมีผู้อุปการะเลี้ยงดูหลายคน ใครเป็นผมู้ ีสทิ ธิหกั ลดหยอ่ นนั้น ให้ดูวา่ ผู้มเี งนิ ได้คนใดมี ชือ่ เปน็ ผดู้ ูแลในบตั รประจำตัวคนพิการ ผมู้ ีเงินได้คนน้ันเป็นผู้มสี ิทธิหกั ลดหย่อน 416. การขอลดหย่อนค่าอปุ การะเลี้ยงดคู นพิการหรอื ทพุ พลภาพตอ้ งแนบหลกั ฐานใด? ตอบ : คนพิการต้องแนบหลักฐานดังน้ี (1) ภาพถ่ายบัตรประจำตวั คนพิการ โดยแนบในสว่ นที่แสดงว่า ผู้มเี งนิ ได้เป็นผู้ดูแลด้วย (2) หนงั สอื รับรองการเปน็ ผู้อปุ การะเลี้ยงดคู นพิการ (แบบ ล.ย.04) คนทุพพลภาพต้องแนบหลกั ฐานดังน้ี (1) มใี บรบั รองแพทย์ทีไ่ ด้ตรวจ และแสดงความเห็นวา่ บุคคลนั้น มีภาวะจำกดั หรอื ขาดความสามารถ ในการประกอบกิจวัตรหลกั อันเปน็ ปกติเยีย่ งบคุ คลทัว่ ไปอนั เนือ่ งมาจาก สาเหตุทางปัญหาสขุ ภาพ หรอื ความ เจ็บป่วยทีเ่ ปน็ ตอ่ เน่ือง มาไม่นอ้ ยกวา่ 180 วัน หรอื ทพุ พลภาพ มาแล้วไมน่ ้อยกว่า 180 วัน นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

76 (2) หนังสอื รับรองการเปน็ ผู้อุปการะเลี้ยงดูคนทุพพลภาพ (แบบ ล.ย.04-1) (ข้อสงั เกต ผู้พิการจะมีบตั รประจำตวั คนพิการ ส่วนคนทุพพลภาพตอ้ งใช้ใบรับรองแพทย์ สว่ นหนังสือ รบั รอง คนพิการคือแบบ ล.ย.04 คนทพุ พลภาพคือแบบ ล.ย.04-1) 417. การใชส้ ิทธิหกั ลดหย่อนคา่ อปุ การะเลี้ยงดูคนพิการ หรอื ทุพพลภาพ มีเงื่อนไขอยา่ งไร? ตอบ : ใช้สทิ ธิได้ตามเง่ือนไข ดงั น้ี (1) การหักค่าอุปการะเลี้ยงดคู นพิการ หรอื คนทุพพลภาพใหห้ กั ได้ตลอดปีภาษี ไม่วา่ กรณีทีจ่ ะหักได้ นั้น จะมีอย่ตู ลอดปีภาษีหรือไม่ (2) กรณีผู้มเี งินได้มไิ ด้เปน็ ผอู้ ยู่ในประเทศไทย ให้หกั ลดหยอ่ นค่าอปุ การะเลี้ยงดูคนพิการหรอื คนทพุ พลภาพได้เฉพาะคนพิการ หรือคนทพุ พลภาพทีเ่ ปน็ ผู้อยใู่ นประเทศไทย (3) กรณีผู้มเี งินได้หักลดหยอ่ นค่าอปุ การะเลี้ยงดคู นพิการ และคนพิการดงั กลา่ วก็ยงั เปน็ ผทู้ ุพพลภาพด้วยการใชส้ ิทธิหกั คา่ ลดหย่อน ใหห้ ักได้ในฐานะเป็นคนพิการฐานะเดียว 418. กรณีสามีและภริยาเป็นผู้มเี งินได้และความเปน็ สามีภริยาได้มีอยู่ตลอดปีแยกยื่นแบบแสดงรายการ ผมู้ ี สิทธิหักลดหยอ่ นค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึง่ เปน็ คนพิการหรอื คนทพุ พลอย่างไร? ตอบ : ให้สามีภริยาตา่ งฝ่ายตา่ งหักลดหยอ่ นได้คนละ 30,000 บาท ต่อบตุ รทีพ่ ิการ หรอื ทุพพลภาพนั้น 419. กรณีหกั ลดหย่อนคนทุพพลภาพ นอกจากหลกั ฐานใบรบั รองแพทยแ์ ล้ว ผมู้ ีเงินได้ต้องมีหนังสอื รับรอง การเปน็ ผู้อปุ การะเลี้ยงดคู นทุพพลภาพ ผใู้ ดเป็นผู้ออกหนังสอื รบั รองนั้น? ตอบ : ผรู้ ับรองตอ้ งมีความสมั พันธ์กับคนทุพพลภาพดังน้ี - สามี ภริยา - บุตรชอบด้วยกฎหมาย บุตรบุญธรรม หรือหลาน - บิดามารดา - พี่นอ้ งร่วมบิดามารดาเดียวกัน หรอื รว่ มบิดาหรอื รว่ มมารดาเดียวกนั - ปู่ยา่ ตายาย - ลุงป้าน้าอา ผรู้ บั รองอาจเป็นบุคคลอืน่ กไ็ ด้ซึ่งได้แก่ - กำนันผู้ใหญบ่ ้าน ในท้องที่ทีบ่ คุ คลทพุ พลภาพอย่อู าศยั - บุคคลทีเ่ ป็นสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในท้องที่ทีบ่ คุ คลทุพพลภาพอยู่อาศยั 420. ตามหลักการ CRM การกำหนดผลลัพธส์ ูงสุดของการบริหารจดั เกบ็ ภาษีอากรและ การใชเ้ ครื่องมอื บริหารความเสี่ยง คอื การพัฒนาระดับ compliance ของผู้เสียภาษี ซึง่ ประกอบด้วยมิตอิ ะไรบ้าง? ตอบ : ประกอบด้วย 4 มติ ิ ดงั น้ี นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

77 มิติที่ 1 การเข้าสู่ระบบ มิติที่ 2 การยืน่ แบบแสดงรายการภาษีภายในกำหนดเวลา มิติที่ 3 การเสียภาษีถกู ต้อง มิติที่ 4 การชำระภาษีภายในกำหนดเวลา 421. เครือ่ งมอื บริหารความเสีย่ งทีใ่ ชก้ ับผเู้ สียภาษี สามารถแบง่ ได้ 2 ประเภทหลกั คือ เครื่องมอื ป้องกันและ เครื่องมือปราบปราม เคร่อื งมอื ท้ังสองประเภทมีรายละเอียดอย่างไร? ตอบ : เครือ่ งมอื ทั้งสองประเภทมีรายละเอียดดงั นี้ 1. เครื่องมอื ป้องกัน เปน็ เครื่องมอื ในลักษณะการให้บริการ ใหค้ วามรู้ ให้คำแนะนำกับกลุม่ ผเู้ สียภาษีที่มที ศั นคตทิ ีด่ ตี อ่ การ เสียภาษีและปฏิบัติตามกฎหมายและมีพฤติกรรมที่น่าไว้วางใจ แตอ่ าจยงั มีข้อผิดพลาดทีท่ ำให้การปฏิบัติหนา้ ที่ ทางภาษีอากรไมถ่ ูกต้องในบางมติ ิ เป้าหมายของเครื่องมอื ป้องกนั คือ การลดความเสีย่ งที่จะเกิดข้ึน(Risk reduction) จากพฤติกรรมผู้เสียภาษีใน 3 ลักษณะ ดังนี้ 1.1 ลดโอกาสที่จะทำให้ผเู้ สียภาษีทำผดิ (Limiting opportunities) เคร่อื งมอื ทีส่ ร้างข้ึน เชน่ การแก้ไขข้อ กฎหมาย การผอ่ นปรนขอ้ บังคับทางกฎหมายสาหรบั ผเู้ สียภาษีบางกลุม่ การให้ความรู้ การให้รางวัล และการ ให้บริการ ยื่นแบบแสดงรายการภาษีทางอเิ ล็กทรอนิกส์ เปน็ ต้น 1.2 ป้องกนั ผเู้ สียภาษีที่ทำผิดโดยไม่ตั้งใจ(Reducing unintentional errors) ตัวอยา่ งของเครอ่ื งมอื นี้ เช่น ออกหนังสอื ซ้อมความเข้าใจ การปรับปรงุ แบบแสดงรายการภาษีให้มีวธิ ีการกรอกข้อมลู ที่งา่ ย การ ประชาสัมพนั ธ์ ในประเดน็ ทีพ่ บความผดิ บอ่ ย การให้คำปรึกษาผเู้ สียภาษี เป็นต้น 1.3 ป้องกันผเู้ สียภาษีที่อาจทำผดิ ด้วยความตงั้ ใจ (Reducing intentional errors) โดยอาจสรา้ งบุคคลที่ สาม ซึ่งเป็นตัวกลางระหว่างผู้เสียภาษี และหน่วยงานจัดเกบ็ ภาษี ให้เข้ามาร่วมรบั ผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ ทางภาษี อากร ตัวอยา่ งเช่น Tax Agent, Certified Public Tax Accountant (CPTA), Tax Advisor และ Tax Auditor (TA) เป็นต้น 2. เครอ่ื งมอื ปราบปราม เป็นเครือ่ งมอื บริหารความเสี่ยงที่มงุ่ เน้นใช้กับผเู้ สียภาษีกลุ่มทีม่ พี ฤติกรรมไมน่ ่าไว้วางใจ ใช้ประโยชน์ จากชอ่ งว่างของกฎหมายหรอื ร้ายแรงถึงขนั้ เจตนาหลีกเลี่ยงภาษีและพร้อมทีจ่ ะเสี่ยงต่อการจับได้หรอื ถกู ลงโทษ ดังนั้นจุดมุ่งหมาย ของเครือ่ งมอื ปราบปราม คอื การรับมือกบั ความเสีย่ งที่เกิดข้ึนจากการกระทำของ ผเู้ สียภาษี (Risk covering) โดยวิธีการตรวจสอบ การบังคบั ใช้กฎหมาย และการกำหนดบทลงโทษที่รุนแรง โดย ระดบั ของเครื่องมอื ปราบปรามที่ใช้จะรนุ แรงขึ้นตามความร้ายแรงของพฤติกรรมผเู้ สียภาษี ทั้งนีเ้ พือ่ ให้เกิดผล ทางดา้ นจติ วิทยากับผเู้ สียภาษี นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

78 422. เอกสารที่ต้องยืน่ พร้อมกบั แบบฟอรม์ คำขอย่นื แบบฯ ผา่ นอินเทอร์เน็ต (ภ.อ.01) ประกอบด้วยอะไรบ้าง? ตอบ : “เอกสารที่ตอ้ งยื่น” พร้อมกบั แบบฟอรม์ คำขอยืน่ แบบฯ ผ่านอินเทอรเ์ นต็ (ภ.อ.01) ประกอบด้วย 1. ขอ้ ตกลงในการยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ซึง่ กรรมการผมู้ ีอำนาจ ได้ลงลายมอื ชื่อ และประทับตรานิตบิ คุ คล (ถ้ามี) 2. กรณีผู้เสียภาษีเป็นบุคคลธรรมดาและเปน็ ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมลู คา่ เพิม่ ตอ้ งแนบ ภาพถ่ายบตั รประจำตัวประชาชนของผเู้ สียภาษี พร้อมท้ังรบั รองความถูกต้องของเอกสาร 3. กรณีผเู้ สียภาษีเป็นนิติบุคคล ต้องแนบ 3.1 ภาพถา่ ยหนงั สอื รับรองของนายทะเบียนหนุ้ ส่วนบริษัทฉบับปัจจบุ ัน ที่มรี ะยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่นายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทได้ลงลายมอื ชื่อ 3.2 ภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชน หรอื ใบสำคัญคนตา่ งด้าวของผมู้ ีอำนาจลงนามผูกพนั นิติ บคุ คลนั้นโดยใหผ้ มู้ ีอำนาจรับรองความถกู ต้องของเอกสารดังกล่าว 4. กรณีมอบอำนาจให้ผอู้ ื่นทำการแทน ต้องใช้เอกสารดงั ตอ่ ไปนี้ 4.1 หนังสอื มอบอำนาจที่ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วน (10 บาท) 4.2 ภาพถา่ ยบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจ พร้อมทั้งรบั รองความถูกต้องของเอกสาร 4.3 ภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชนของผู้รบั มอบอำนาจ พร้อมท้ังรบั รองความถกู ต้องของเอกสาร กรณีผเู้ สียภาษีมคี วามประสงคจ์ ะยื่นแบบฯ และชำระภาษีผา่ นอินเทอร์เนต็ ของทั้งสำนกั งานใหญ่ และ สำนักงานสาขาในคราวเดียวกนั ใหใ้ ช้เอกสารแนบเพียงชุดเดียว 423. หลังจากยื่นคำขอยื่นแบบฯ ผ่านอินเทอร์เน็ตแลว้ จะสามารถยื่นแบบแสดงรายการได้เมื่อใด? ตอบ : กรณีสถานประกอบการตงั้ อยูใ่ นกรงุ เทพมหานคร หลงั จากนำส่งเอกสารให้แก่ สำนกั บริหารการเสีย ภาษีทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือ สำนักงานสรรพากรพืน้ ที่กรงุ เทพมหานครที่สถานประกอบการตง้ั อยู่ โดยที่ เอกสารถกู ต้องครบถ้วน ผเู้ สียภาษีจะได้รบั “หมายเลขผใู้ ช้” และ “รหสั ผา่ น” ในวันทีน่ ำสง่ เอกสาร ตอ่ จากนั้น ภายในประมาณ 7 วันทำการ จะได้รบั อนุมตั สิ ิทธิ์ให้เขา้ ใช้บริการย่นื แบบฯ ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ กรณีสถานประกอบการตั้งอยนู่ อกกรุงเทพมหานคร หลังจากนำส่งเอกสารให้แก่สำนักงานสรรพากร พืน้ ที่ (จังหวดั ) โดยที่ เอกสารถกู ต้อง และครบถ้วน จะได้รบั แจง้ ผลการอนุมตั สิ ิทธิใ์ ห้เขา้ ใช้บริการ พรอ้ มท้ัง ได้รบั “หมายเลขผใู้ ช้” และ “รหัสผา่ น” ทางอเี มล์ ตามทีไ่ ด้ลงทะเบียนไว้ใน ภ.อ.01 และสามารถเข้าใช้บริการ ยืน่ แบบฯ ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ทันที 424. เงินได้ที่นายจา้ งจา่ ยเพราะเหตอุ อกจากงานมอี ะไรบ้าง? ตอบ : ประเภทเงินได้ตา่ ง ๆ ที่นายจ้างจ่ายเพราะเหตุออกจากงานมดี ังน้ี 1. เงนิ ชว่ ยเหลอื ผซู้ ึ่งออกจากราชการตามมาตรการปรับปรงุ อตั รากำลังของส่วนราชการ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

79 2. เงนิ ทีจ่ ่ายจากกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ(กบข.) 3. เงนิ ที่จ่ายจากกองทุนสำรองเลยี้ งชพี 4. เงินชว่ ยเหลอื ตามระเบียบของธนาคาร 5. เงนิ บำเหน็จชราภาพจากกองทุนประกนั สังคม 6. เงนิ ประโยชนท์ ดแทนที่ผู้ประกนั ตนได้รบั จากกองทุนประกนั สังคม 7. เงินบำเหน็จดำรงชีพ 8. เงนิ ค่าชดเชยที่คำนวณตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 9. เงนิ ชดเชยตามดฎหมายแรงงาน 10. สินจา้ งแทนการบอกกลา่ วลว่ งหน้า 11. คา่ จา้ งสำหรับวนั หยดุ พักผอ่ นประจำปีทีไ่ มไ่ ด้ใช้ 12. เงนิ คา่ ตอบแทนพิเศษ 425. เงอ่ื นไขที่ผู้มเี งนิ ได้ที่ได้รับเงนิ ได้เพราะเหตอุ อกจากงานจะเลือกเสียภาษีแยกตา่ งหากจากเงนิ ได้อืน่ (ใช้ใบ แนบ) ตอบ : เงื่อนไขทีผ่ ู้มเี งินได้จะเลือกเสียภาษีแยกตา่ งหากจากเงนิ ได้อืน่ (ใช้ใบแนบ) 1. ตอ้ งมีระยะเวลาการทำงานไมน่ ้อยกวา่ 5 ปีเตม็ 2. แยกคำนวณได้เฉพาะเงินได้ทีม่ กี ารจ่ายในปีภาษีแรกเทา่ นั้น 3. ตอ้ งไมน่ ำเงินได้ดงั กล่าวไปรวมคำนวณภาษีตามมาตรา 48(1) และ(2) ไม่วา่ ทั้งหมดหรอื บางส่วน 426. ตามประมวลรัษฎากร เงนิ ได้พึงประเมินที่นายจ้างจา่ ยใหค้ รั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน มีความหมาย อย่างไร? ตอบ : เงินได้พึงประเมินทีน่ ายจ้างจา่ ยใหค้ รั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน หมายถึงเงินได้ดงั น้ี ก. เงินได้ทีค่ ำนวณตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการเช่นเดียวกบั การคำนวณบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ข. เงนิ ทีจ่ ่ายจากกองทุนสำรองเลีย้ งชพี หรอื กองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ ค. เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ง. เงินได้ที่จา่ ยใหค้ รั้งเดียวเพราะเหตอุ อกจากงานทีม่ ีวิธีคำนวณแตกต่างไปจาก ก. 427. เงินได้ที่นำมาเปน็ ฐานในการคำนวณคา่ ใช้จ่ายกรณีมเี งินได้ทีจ่ า่ ยใหค้ รั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานคือ? ตอบ : จำนวนเงินได้ทีน่ ำมาเป็นฐานในการคำนวณค่าใช้จ่าย 1. ถ้าได้รบั เงินได้ตาม ก.,ข.และ ค. ให้นำเงินได้ทั้งหมดมาเป็นฐานในการคำนวณ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

80 2. ถ้าได้รับเงินได้ตาม ง. ใหเ้ ปรียบเทียบ เงนิ เดือนเดือนสดุ ท้ายคูณจำนวนปีทีท่ ำงานกับเงินเดือนถวั เฉลี่ย 12 เดือนสดุ ท้ายบวกร้อยละ 10 คูณจำนวนปีที่ทำงาน จำนวนใดน้อยกว่าให้ใชจ้ ำนวนนั้นเปน็ ฐานในการ คำนวณค่าใช้จ่าย 3. กรณีได้รับเงนิ ท้ัง 1.และ 2. ให้นำเงินได้ตาม 1.ท้ังหมดรวมกบั เงินได้ตาม 2.ทีเ่ ป็นจำนวนน้อยกวา่ เปน็ ฐานในการคำนวณค่าใช้จ่าย หมายเหตุ การนับจำนวนปีทีท่ ำงาน ถ้ามีเศษของปีถึง 183 วันให้นบั เปน็ หนง่ึ ปี ถ้าไมถ่ ึงให้ปดั ทงิ้ 428. เงนิ บำเหน็จดำรงชีพซึง่ พนกั งานการท่าเรือ พนกั งานการรถไฟ พนักงานธนาคารออมสินและเจ้าหน้าที่ สภากาชาดไทยได้รบั ถือเป็นเงินได้ประเภทใด? ตอบ : เงินบำเหน็จดำรงชีพสว่ นทีเ่ กิน 200,000 บาท ซึ่งพนกั งานการทา่ เรือ พนักงานการรถไฟ พนกั งาน ธนาคารออมสินและเจ้าหน้าทีส่ ภากาชาดไทยได้รับ ถือเปน็ เงินได้เพราะเหตอุ อกจากงานประเภท 1.(ง)(สว่ นที่ ไมเ่ กิน 200,000 บาท เปน็ เงนิ ได้ที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องนำมารวมคำนวณภาษี) 429. นาย ณ.เณร ออกจากงานเพราะเหตสุ นิ้ สุดสญั ญาจา้ ง ได้รบั เงนิ ชดเชย 500,000 บาท นาย ณ.เณร ทำงานมา 10 ปี ได้รับเงินเดือน 12 เดือนสดุ ท้ายดังน้ี มกราคม - มิถุนายน เดือนละ 30,000 บาท เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม เดือนละ 40,000 บาท นาย ณ.เณร จะเสียภาษีตามใบแนบเท่าใด? ตอบ : ข้ันตอนการคำนวณภาษี 1. หาฐานในการคำนวณคา่ ใช้จ่ายโดยเปรียบเทียบระหว่างเงนิ เดือน เดือนสดุ ท้าย กับเงินเดอื นเฉลีย่ 12เดือน สุดท้ายบวกร้อยละสิบ จำนวนใดน้อยกว่าให้นำจำนวนน้ันเป็นตวั ต้ังแล้วคูณด้วยจำนวนปีทีท่ ำงาน ตามตวั อย่าง เงินเดือน เดือนสุดท้ายของนาย ณ.เณร เท่ากับ 40,000 บาท ส่วนเงินเดือนเฉลีย่ 12 เดือน สดุ ท้ายบวกร้อยละสิบเท่ากบั (30,000X6)+(40,000 X 6) = 35,000 บาท 12 ร้อยละสิบของ 35,000 เท่ากับ 3,500 รวมเป็น 38,500 บาท ซึ่งนอ้ ยกวา่ เงนิ เดือน เดอื นสุดท้ายของนาย ณ.เณร จึงตอ้ งใช้เงนิ ส่วนนีเ้ ปน็ ตวั ต้ังในการคำนวณหาค่าใช้จ่าย ดังนน้ั ฐานในการคำนวณหาคา่ ใช้จ่ายของนาย ณ.เณร คือ 38,500 X 10 = 385,000 บาท 2. ค่าใช้จ่ายส่วนแรก คือ 7,000 X จำนวนปีทีท่ ำงาน = 7,000 X 10 = 70,000 บาท 3. คา่ ใช้จา่ ยส่วนทีส่ อง คือ ฐานในการคำนวณค่าใช้จ่าย - ค่าใช้จ่ายส่วนแรก แล้วหารด้วยสอง ตามตัวอย่าง คือ (385,000-70,000)/2 = 157,500 บาท 4. รวมค่าใช้จ่ายท้ังหมด = 70,000 + 157,500 = 227,500 บาท การคำนวณภาษี นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

81 นำเงินได้ทีไ่ ด้รับจริงหกั ด้วยค่าใช้จ่ายที่คำนวณไว้ เหลือเท่าใดนำไปคณู กับอัตราภาษีตามบญั ชอี ตั ราภาษีเงนิ ได้ ตามตัวอย่างคอื 500,000 - 227,500 = 272,500 บาท นาย ณ.เณร ต้องเสียภาษีเท่ากบั 272,500 X 5% = 13,625 บาท หมายเหตุ การคำนวณภาษีกรณีนีไ้ มไ่ ด้รับยกเว้นภาษีสำหรบั เงินได้สุทธิส่วนที่ไมเ่ กิน 150,000 บาทแรก เพราะ ไมใ่ ชก่ ารคำนวณตามมาตรา 48(1)หรอื (2) (ตาม พรฏ.(ฉบับที่ 470) พ.ศ.2551) 430. ในการโอนกรรมสทิ ธิ์หรอื สิทธิครอบครองในอสงั หาริมทรพั ยโ์ ดยไม่มคี ่าตอบแทนต้องเสียภาษีหรอื ไม่ ถ้า ต้องเสียภาษี ผใู้ ดเปน็ ผู้มีหน้าที่รับภาระภาษีนน้ั ? ตอบ : ในกรณีการโอนกรรมสิทธิ์หรอื สิทธิครอบครองในอสงั หาริมทรพั ยโ์ ดยไม่มคี ่าตอบแทน ให้ผโู้ อนหกั ภาษี และนำส่ง โดยถือว่าผโู้ อนเปน็ ผู้จา่ ยเงินได้ 431. ผสู้ ูงอายุได้ใชส้ ิทธิขอยกเว้นเงนิ ได้ทีไ่ มต่ ้องนำมารวมคำนวณภาษีดว้ ยเหตุมีอายเุ กิน 65 ปี ในการคำนวณ ภาษีในอตั ราร้อยละ 0.5 ต้องนำเงินจำนวนใดมาคำนวณ? ตอบ : เงินได้พึงประเมินหลังจากหักเงินได้ทีไ่ ด้รบั การยกเว้น 190,000 บาทแล้ว 432. กรมสรรพากรได้ขยายกำหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการภาษี การชำระภาษีและการนำสง่ ภาษีผา่ น ระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ออกไปถึงเม่อื ใด? ตอบ : กรมสรรพากรได้ขยายกำหนดเวลาออกไปอีก 8 วัน นบั แตว่ ันพ้นกำหนดเวลาการยืน่ แบบแสดงรายการ ภาษีตามทีก่ ฎหมายกำหนดสำหรับการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2564 (ประกาศกระทรวงการคลัง ลงวันที่ 28 มกราคม 2562) 433. ผู้ลงทนุ ซอื้ หนว่ ยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลีย้ งชีพ (RMF) หลายกองทุน จะมีหลกั เกณฑ์อย่างไร เพือ่ ทีจ่ ะได้รบั สิทธิประโยชน์ทางภาษี? ตอบ : กรณีผลู้ งทนุ มีการซื้อหนว่ ยลงทนุ ในกองทุนรวมเพื่อการเลีย้ งชีพ (RMF) หลายกองทุน จะได้รบั สิทธิ ประโยชน์ทางภาษีโดยพิจารณาจากตัวบคุ คลเป็นเกณฑ์ในการได้รับสิทธิ กล่าวคือ ในแตล่ ะปีผลู้ งทุนจะต้อง ลงทุนในหน่วยลงทนุ ฯ รวมกนั ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3 ของเงนิ ได้หรอื ไม่น้อยกว่า 5,000 บาท แต่หากมีการไถ่ ถอนหนว่ ยลงทุนฯ ในบางกองทนุ จนทำให้ยอดรวมการลงทุนในปีดังกล่าวต่ำกวา่ เกณฑ์ทีก่ ำหนด ถือว่ามีการ ลงทนุ ทีผ่ ิดเงอ่ื นไขที่กฎหมายกำหนดไว้ 434. “สินค้า”ในความหมายของภาษีมูลค่าเพิม่ หมายถึง? ตอบ : หมายความว่า ทรัพย์สินทีม่ รี ูปรา่ ง และไม่มีรูปร่าง ทีอ่ าจมรี าคาและถือเอาได้ไม่ว่าจะมีไว้เพื่อขาย เพื่อ ใช้ หรอื เพือ่ การใด ๆ และใหห้ มายความรวมถึงสง่ิ ของทุกชนิดที่นำเข้า (มาตรา 77/1 (9)) ดังนั้น สินค้าในทาง ภาษีมลู ค่าเพิ่มอาจจำแนกได้ดงั น้ี นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

82 (1) สนิ ค้าสำเร็จรปู (Finished Goods) (2) วตั ถุดิบ (Raw Material) (3) งานระหว่างทำ (Work in Process) (4) ทรัพยส์ ินถาวรที่มีรูปร่าง (Tangible Fixed Asset) เช่น เคร่อื งจกั ร เครือ่ งมือ เคร่ืองใช้ ยานพาหนะ (5) ทรัพย์สินถาวรที่ไมม่ ีรูปรา่ ง (Intangible Fixed Asset) เชน่ ลิขสิทธิ์ หรอื สิทธิอย่างอ่นื สทิ ธิการเช่า สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า สตู ร กรรมวิธี (6) ทรัพย์สินอน่ื ใดที่ผู้ประกอบการมไี ว้เพื่อให้หรอื เพื่อการใด ๆ เช่น ส่งิ ของที่ซือ้ มาเพือ่ ใช้เป็นรางวลั หรอื เพือ่ แจกใหแ้ ก่พนกั งานหรอื บุคคลใด ๆ เปน็ ต้น อย่างไรก็ตาม การขายสินค้าที่อยู่ในขา่ ยต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ ตอ้ งเปน็ การขายทรัพยส์ ินในประเภท สังหาริมทรพั ย์ หรือทรัพย์ที่เคลือ่ นที่ได้เท่าน้ัน ทั้งนี้ เน่ืองจากการขายอสังหาริมทรัพยท์ ีใ่ ชใ้ นการประกอบ กิจการเป็นกิจกรรมที่อยูใ่ นต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ไม่ว่าผปู้ ระกอบการจะเป็นบคุ คลธรรมดา หรอื บริษัทหรือ หา้ งหนุ้ สว่ นนิตบิ คุ คล 435. การใหบ้ ริการในทางธุรกิจหรอื วิชาชีพในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ หมายความว่าอย่างไร? ตอบ : หมายความว่า การกระทำใด ๆ อันอาจหาประโยชนอ์ นั มีมลู ค่าซึ่งมิใช่เปน็ การขายสินค้า และให้ หมายความรวมถึง การใช้บริการของตนเองไม่ว่าประการใด ๆ แตท่ ้ังน้ี ไม่รวมถึง (ก) การใชบ้ ริการหรอื การนำสินค้าไปใช้เพื่อประกอบกิจการของตนเองโดยตรง ได้แก่ การนำสินค้าไปใช้ ในการผลิตสินค้า การให้บริการ การบริหารของกิจการหรอื เพือ่ ประโยชนข์ องทรัพย์สินทีม่ ไี ว้ในการประกอบ กิจการให้บริการของตนเอง ท้ังน้ี ต้องเป็นการใชใ้ นกิจการทีอ่ ยู่ในบงั คับที่ต้องเสียภาษีมลู คา่ เพิ่ม อนึ่ง การให้บริการดังกล่าวต้องมิใชเ่ พื่อการรับรอง หรือเพือ่ การอนั มลี ักษณะทำนองเดียวกนั (ประกาศ อธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีมลู คา่ เพิ่ม (ฉบับที่ 2)) (ข) การนำเงินไปหาผลประโยชนโ์ ดยการฝากธนาคาร หรอื ซือ้ พนั ธบัตร หรอื หลกั ทรัพย์ (ค) การกระทำตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด โดยอนุมตั ริ ฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการคลัง (ใน ปจั จบุ ันยงั ไม่มี) 436. “การให้บริการในราชอาณาจักร” หมายถึง กรณีใด? ตอบ : หมายถึง กรณีดังตอ่ ไปนี้ (ก) การให้บริการทีท่ ำในราชอาณาจกั รและได้มกี ารใช้บริการนน้ั ในราชอาณาจักร (ข) การให้บริการทีท่ ำในราชอาณาจกั รและได้มกี ารใช้บริการนนั้ ในต่างประเทศ เช่น การให้บริการนำ เทีย่ วในต่างประเทศ นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

83 (ค) การให้บริการที่ทำในต่างประเทศ และได้มกี ารใชบ้ ริการนน้ั ในราชอาณาจกั ร ให้ถือวา่ เปน็ การ ให้บริการทีก่ ระทำในราชอาณาจกั รด้วย 437. ผปู้ ระกอบการจดทะเบียน ซึ่งเสียภาษีมลู ค่าเพิ่มในอตั ราร้อยละ 7.0 ประสงค์จะถอนทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิม่ จะกระทำได้ในกรณีใด? ตอบ : กระทำได้เฉพาะในกรณีทีผ่ ู้ประกอบการจดทะเบียนน้ัน ๆ มีมูลค่าของฐานภาษีต่อปีไม่เกิน 1,800,000 บาท ตดิ ต่อกนั เปน็ เวลา 3 ปี 438. ในการนำสินค้าเข้ามาจากต่างประเทศ ผู้นำเข้าต้องรบั ผดิ ชอบภาษีมลู ค่าเพิม่ อยา่ งไร? ตอบ : ในการนำสินค้าเข้ามาจากตา่ งประเทศ ไม่ว่าผู้นำเข้าจะเปน็ ผปู้ ระกอบการ หรอื บคุ คลอืน่ กต็ าม มีหน้าที่ ต้องเสียภาษมี ูลคา่ เพิม่ ในอัตราร้อยละ 7.0 ของฐานภาษีจากการนำเข้า ณ ด่านศลุ กากร 439. ฐานภาษีสำหรบั การขายสินค้าโดยการส่งออกได้แก่อะไรบ้าง? ตอบ : ได้แก่ มลู ค่าของสินค้าสง่ ออก โดยให้ใช้ราคา F.O.B. ของสนิ ค้าบวกด้วยภาษีสรรพสามิต และภาษีและ คา่ ธรรมเนียมอ่ืนตามทีจ่ ะได้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา แต่ท้ังน้ีไม่ใหร้ วมอากรขาออก ราคา F.O.B. ได้แก่ ราคาสินค้า ณ ด่านศลุ กากรสง่ ออกโดยไม่รวมค่าประกันภยั และค่าขนส่งจากดา่ น ศุลกากรสง่ ออกไปต่างประเทศ 440. ฐานภาษีสำหรบั การใหบ้ ริการขนส่งระหวา่ งประเทศมอี ะไรบ้าง? ตอบ : ในกรณีรบั ขนคนโดยสาร ได้แก่ มูลค่าของคา่ โดยสาร ค่าธรรมเนียม และประโยชนอ์ น่ื ใดทีเ่ รยี กเกบ็ ใน ราชอาณาจกั รก่อนหกั รายจ่ายใด ๆ เนือ่ งในการรบั ขนคนโดยสารนั้น ในกรณีรบั ขนสินค้า ได้แก่ มลู ค่าของคา่ ระวาง ค่าธรรมเนียม และประโยชน์อื่นใดทีเ่ รยี กเกบ็ ไม่วา่ ใน หรอื นอกราชอาณาจักรกอ่ นหักรายจ่ายใด ๆ เนื่องในการรบั ขนสินค้านั้นออกนอกราชอาณาจักร 441. ฐานภาษีสำหรับการนำเข้าสินค้า มีหลักเกณฑ์อย่างไร? ตอบ : ฐานภาษีสำหรับการนำเข้าสินค้าทุกประเภท ได้แก่ มลู คา่ ของสนิ ค้านำเข้า โดยใหใ้ ช้ราคา C.I.F. ของ สินค้าบวกด้วยอากรขาเข้า ภาษีสรรพสามิต ค่าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการสง่ เสริมการลงทนุ และภาษีและค่าธรรมเนียมอืน่ ตามที่จะได้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา การนำเข้าสินค้าที่ผนู้ ำเข้าได้รับยกเว้นหรอื ลดหย่อนอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าดว้ ยการส่งเสริมการ ลงทนุ หรือตามกฎหมายอืน่ ให้นำอากรขาเข้าซึง่ ได้รบั ยกเว้นหรอื ลดหย่อนดังกลา่ วมารวมเป็นมลู ค่าของฐาน ภาษี ราคา C.I.F. ได้แก่ ราคาสินค้าบวกด้วยคา่ ประกันภยั และค่าขนส่งถึงด่านศุลกากรทีน่ ำสินค้านั้นเข้าใน ราชอาณาจักร เว้นแต่ นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

84 (ก) ในกรณีทีอ่ ธิบดีกรมศุลกากรประกาศให้ราคาในท้องตลาด สำหรับของประเภทใดประเภทหนึง่ ที่ ต้องเสียอากรตามราคาเป็นรายเฉลี่ยตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อตั ราศลุ กากร ให้ถือราคานั้นเป็นราคาสินค้าใน การคำนวณราคา C.I.F. (ข) ในกรณีทีเ่ จ้าพนักงานศลุ กากรได้ทำการประเมินราคาเพื่อเสียอากรขาเข้าใหม่ตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากร ให้ถือราคานั้นเปน็ ราคาสินค้าในการคำนวณราคา C.I.F. ฐานภาษีสำหรับการนำเข้าสินค้าทีจ่ ำแนกประเภทไว้ในภาควา่ ด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมาย ว่าดว้ ยพิกดั อัตราศลุ กากร ซึง่ ได้รับยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิ่มตามมาตรา 81 (2) (ค) ถ้าภายหลังสนิ ค้านั้นต้องเสีย อากรตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอตั ราศุลกากร อนั ทำให้ผทู้ ี่มคี วามรับผิดตามกฎหมายดังกล่าวหรอื ผู้รับโอน สินค้าทีม่ หี น้าที่ตอ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพิ่มตามมาตรา 82/1 (3) ฐานภาษีสำหรับสินค้านั้น ได้แก่ มลู ค่าตามสภาพ หรอื ปริมาณของสินค้าทีเ่ ป็นอยู่ในวันที่ความรับผดิ เกิดขนึ้ 442. ในการขายทอดตลาดทรพั ย์สินของผปู้ ระกอบการจดทะเบียน ผู้ใดมีหนา้ ทีน่ ำสง่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม? ตอบ : ให้ผทู้ อดตลาดซึ่งขายทอดตลาดทรพั ย์สินของผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าทีน่ ำส่งภาษีมูลคา่ เพิ่มที่ ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนมีหนา้ ที่ตอ้ งเสีย ตามแบบ ภ.พ.36 ณ สำนกั งานสรรพากรพืน้ ทีส่ าขาทีส่ ถาน ประกอบ การตั้งอยู่ หรือยื่นรายการข้อมลู ตามแบบ ภ.พ.36 ผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ 443. ให้ผจู้ ่ายเงนิ คา่ ซือ้ สินค้า หรือคา่ บริการมหี น้าที่นำสง่ เงนิ ภาษีมูลเพิ่มทีผ่ ปู้ ระกอบการมหี น้าที่เสียภาษี ตามแบบ ภ.พ.36 ในกรณีใดบ้าง? ตอบ : ผจู้ ่ายเงนิ มีหนา้ ที่นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อจ่ายเงินให้ (1) ผู้ประกอบการทีอ่ ยนู่ อกราชอาณาจักรซึง่ ได้เข้ามาประกอบกิจการขายสินค้า หรอื ให้บริการใน ราชอาณาจกั รเป็นการช่ัวคราว และไมไ่ ด้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นการชวั่ คราวตามมาตรา 85/3 (2) ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศ และได้มีการใชบ้ ริการนนั้ ในราชอาณาจักร (3) ผู้ประกอบการอ่ืนตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา 444. มาตรา 88/3 แห่งประมวลรัษฎากรใหอ้ ำนาจเจ้าพนกั งานประเมินอย่างไรบ้าง? ตอบ : เจ้าพนกั งานประเมินมีอำนาจในการตรวจปฏิบัติการเกี่ยวกับการปฏิบตั ิหนา้ ที่ในระบบภาษีมลู ค่าเพิ่ม ของผู้ประกอบการดังต่อไปนี้ (1) สำรวจ (Canvassing) (2) แนะนำ (Educational Visit) (3) ตรวจปฏิบตั ิการ (Routine Control Visit) (ก) ตรวจปฏิบตั ิการท่วั ไป (ข) ตรวจปฏิบตั ิการกอ่ นคืนภาษีมลู ค่าเพิ่ม นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

85 (ค) ตรวจปฏิบัติการนับสินค้าคงเหลือ (ง) สอบยนั ใบกำกับภาษี (สอบยนั ทว่ั ไป และสอบยันรายใหญ)่ (จ) ตรวจปฏิบัติการเฉพาะประเดน็ 445. กรณีใดทีผ่ ู้ประกอบการจดทะเบียนต้องเสียเบีย้ ปรับอีกร้อยละสองของจำนวนเงินภาษีตามใบกำกับภาษี? ตอบ : ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนต้องเสียเบยี้ ปรบั อีกร้อยละสองของจำนวนเงินภาษีตามใบกำกับภาษีในกรณี (1) มไิ ด้เกบ็ สำเนาใบกำกับภาษี ในกรณีภาษีขายไว้ตามทีก่ ฎหมายกำหนด (2) มไิ ด้เกบ็ ใบกำกับภาษีในกรณีภาษีซือ้ ที่ใชเ้ ครดิตภาษี ในการคำนวณภาษีไว้ตามที่กฎหมายกำหนด 446. ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนกระทำความผดิ กรณีใดต้องเบยี้ ปรับอีกสองเทา่ ของเงนิ ภาษีทีต่ อ้ งเสียในเดือน ภาษี? ตอบ : ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษี หรอื บุคคลตามมาตรา 86/13 เสียเบยี้ ปรับอีกสองเท่าของเงินภาษีที่ตอ้ งเสียใน เดือนภาษีในกรณีดังน้ี (ก) ประกอบกิจการโดยมิได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ หรอื ประกอบกิจการเม่ือถูกส่งั เพิกถอนใบ ทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิ่ม แต่ต้องไม่น้อยกว่าหน่งึ พนั บาทต่อเดือนภาษี (ข) มิได้ยืน่ แบบแสดงรายการภาษีหรอื แบบนำสง่ ภาษีภายในกำหนดเวลา (ค) มไิ ด้จดั ทำใบกำกบั ภาษี และส่งมอบใหแ้ ก่ผซู้ ือ้ สินค้าหรอื ผรู้ ับบริการตามที่กฎหมายกำหนด (ง) ออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหน้ี หรอื ใบลดหนี้ โดยไม่มสี ิทธิทีจ่ ะออกตามกฎหมาย (จ) นำใบกำกบั ภาษีปลอม ไมว่ า่ ท้ังหมดหรอื บางส่วนมาใช้ในการคำนวณภาษี (ฉ) มไิ ด้ทำรายงานภาษีขาย รายงานภาษีซือ้ รายงานสินค้าและวัตถดุ ิบหรอื มีสนิ ค้าขาดจากรายงาน สินค้าและวัตถุดิบ 447. ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนกระทำความผดิ กรณีใดต้องเบีย้ ปรบั อีกหนง่ึ เทา่ ของเงนิ ภาษีทีต่ อ้ งเสียในเดือน ภาษี? ตอบ : ให้ผมู้ หี น้าที่เสียภาษี หรอื บคุ คลตามมาตรา 86/13 เสียเบยี้ ปรบั อีกหนง่ึ เทา่ ของเงนิ ภาษีที่ตอ้ งเสียใน เดือนภาษีในกรณีดังน้ี (ก) ยื่นแบบแสดงรายการภาษีหรอื แบบนำสง่ ภาษีไว้ไม่ถกู ต้องหรือมีข้อผดิ พลาดเป็นเหตุให้จำนวนภาษี ทีต่ อ้ งเสียหรอื นำสง่ ในเดือนภาษีคลาดเคลือ่ นไป (ข) ยืน่ แบบแสดงรายการภาษีไว้ไมถ่ ูกต้อง หรอื มีขอ้ ผดิ พลาดอนั เปน็ เหตุให้จำนวนภาษีขายหรอื จำนวน ภาษีซือ้ ในเดือนภาษีที่แสดงไว้คลาดเคลือ่ นไป 448. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มมกี ีก่ รณี อะไรบ้าง? ตอบ : การยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิ่มแบ่งออกเปน็ 6 กรณี คือ นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

86 1. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรบั การขายสินค้าที่มใิ ช่การส่งออก และการให้บริการ 1.1 การขายสินค้าเกษตรทีเ่ ปน็ ผลผลิตจากเกษตรกรรม ปศสุ ตั ว์ และการประมง ท้ังน้ี เฉพาะที่ยงั มิได้แปรรปู หรอื แปรรปู เบือ้ งตน้ (1) การขายพืชผลทางการเกษตรดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) การขายส่วนต่างของพืชไม่ว่าจะเปน็ ลำต้น กิง่ ใบ เปลือก หนอ่ รากเหง้า ดอก หวั ฝกั เมลด็ หรอื สว่ นอื่น ๆ ของพืช และวตั ถุพลอยได้จากพืช ท้ังนี้ ที่อยใู่ นสภาพสด หรอื รกั ษาสภาพไว้เพือ่ มใิ ห้เสีย เป็นการชั่วคราวในระหว่างขนสง่ ด้วยการแชเ่ ยน็ แชเ่ ยน็ จนแข็ง หรือด้วยการจดั ทำหรอื ปรุงแต่งโดยวิธีการอ่ืน หรอื รักษาสภาพไว้เพือ่ มใิ ห้เสีย เพื่อการขายปลีกหรอื ขายส่งด้วยวิธีการแชเ่ ย็น แชเ่ ยน็ จนแข็ง ทำให้แหง้ บด ทำ ให้เปน็ ชนิ้ หรือด้วยวิธีอ่นื (ข) การขายข้าวสาร หรอื ผลติ ภัณฑ์ทีไ่ ด้จากการสีขา้ วสาร ทั้งนี้ ไม่รวมถึงไม้ซงุ ฟืน หรอื ผลิตภัณฑท์ ี่ได้จากการเลือ่ ยไม้ หรือผลติ ภณั ฑ์อาหารที่บรรจุ กระป๋อง ภาชนะ หรอื หบี ห่อทีท่ ำเป็นอุตสาหกรรม ได้แก่ การผนึกในลักษณะมนั่ คง (2) การขายสัตวด์ ังต่อไปนี้ (ก) การขายสัตว์ที่มชี ีวติ (ข) การขายสัตวท์ ีไ่ มม่ ชี ีวติ และสว่ นต่าง ๆ ของสตั ว์ ไม่ว่าจะเป็น เน้ือ ไข่ น้ำนม และวัตถุ พลอยได้จากสัตว์ ท้ังน้ี ที่อยใู่ นสภาพสด หรอื รักษาสภาพไว้เพือ่ มใิ ห้เสียเปน็ การชั่วคราวในระหว่างการขนสง่ ด้วยการแช่เย็น แชเ่ ยน็ จนแขง็ หรอื ด้วยการจดั ทำ หรอื ปรงุ แตง่ โดยวิธีการอน่ื หรอื รักษาสภาพไว้มใิ ห้เสียเพือ่ การขายปลีกหรอื ขายส่งด้วยวิธีการแช่เย็น แชเ่ ยน็ จนแขง็ ทำให้แหง้ บด ทำให้เป็นชิ้นหรอื ด้วยวิธีอ่นื ทั้งนี้ ไม่รวมถึงผลิตภัณฑอ์ าหารที่บรรจกุ ระป๋อง ภาชนะ หรอื หบี ห่อ ที่ทำเป็นอุตสาหกรรม ได้แก่ การผนึกในลกั ษณะมนั่ คง เว้นแต่ นมสด(รสจดื )ที่มไิ ด้มีการปรุงแต่ง รส กลิ่น และสี 1.2 การขายสินค้าทีเ่ กี่ยวเนื่องกับการเกษตร ได้แก่ (1) การขายปุ๋ย (2) การขายปลาป่น อาหาร (3) การขายยา หรือเคมีภัณฑท์ ี่ใช้สำหรับพืชหรอื สัตว์เพื่อบำรุง รักษา ป้องกัน ทำลาย หรอื กำจัด ศตั รูหรอื โรคของพืชหรอื สตั ว์ 1.3 การขายหนังสอื พิมพ์ นิตยสาร หรอื ตำราเรียน “ตำราเรียน” หมายถึง ส่งิ พิมพ์ใด ๆ ที่จดั ทำขนึ้ เพื่อการอา่ น 1.4 การให้บริการทีจ่ ำเปน็ ต่อการครองชีพและบริการทีเ่ ปน็ สวัสดิการสงั คม ได้แก่ (1) การให้บริการการศกึ ษาของสถานศกึ ษาของทางราชการ สถานศกึ ษาตามกฎหมายว่าด้วย สถาบันอุดมศกึ ษาเอกชนหรอื โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน(ไม่รวมโรงเรยี นกวดวิชา) นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

87 (2) การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาล ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล (3) การให้บริการขนส่งในราชอาณาจกั ร (4) การให้บริการขนสง่ ระหวา่ งประเทศ ซึง่ มใิ ชเ่ ป็นการขนส่งโดยอากาศยานหรอื เรือเดินทะเล (5) การให้บริการการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ที่รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลังกำหนดโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ได้แก่ (ก) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (ข) เนติบัณฑิตยสภา 1.5 การใหบ้ ริการทีเ่ ป็นสือ่ วฒั นธรรม และพลานามัย ได้แก่ (1) การให้บริการห้องสมุด พิพิธภณั ฑ์ สวนสัตว์ (2) การให้บริการจัดแขง่ ขันกีฬาสมคั รเลน่ (3) การให้บริการที่งานทางศลิ ปะ และวฒั นธรรมในสาขาดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) สาขานาฏศิลป์ หมายถึง การแสดงศิลปะการร่ายรำประเภทต่าง ๆ ได้แก่ การแสดง พืน้ เมือง ระบำ ละคร และโขน (ข) ดุริยางคศิลปแ์ ละคีตศิลป์ หมายความถึง เฉพาะการแสดงดนตรไี ทยหรือการขบั ร้องเพลง ไทยประกอบเครือ่ งดนตรี ท้ังนี้ ผู้ประกอบการจะต้องมิได้เรียกเกบ็ ค่าบริการโดยตรงจากผู้ชมหรอื ผฟู้ ัง 1.6 การให้บริการที่มีลกั ษณะคล้ายการใชแ้ รงงานและปัจจัยการผลติ ได้แก่ (1) การให้บริการประกอบโรคศลิ ปะ การสอบบญั ชี การว่าความ หรือการประกอบวิชาชีพอิสระอืน่ ตามทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกำหนด (2) การให้บริการวิจยั หรอื การให้บริการทางวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่มใิ ช่ เป็นการกระทำในทางธรุ กิจ และผปู้ ระกอบการให้บริการดงั กลา่ ว ต้องเปน็ บคุ คลธรรมดา หรอื คณะบคุ คลที่ มิใช่นิตบิ ุคคล หรอื มูลนิธิ (3) การให้บริการตามสญั ญาจ้างแรงงาน (4) การให้บริการของนกั แสดงสาธารณะทีเ่ ปน็ นักแสดงละคร ภาพยนตร์ วิทยุหรือโทรทศั น์ นกั ร้อง นกั ดนตรี นกั กีฬาอาชีพ หรือนักแสดงเพื่อความบันเทิงใด ๆ ท้ังนี้ ไมว่ ่าจะแสดงเดีย่ วเป็นหมูห่ รอื คณะ (5) การให้บริการเช่าอสังหาริมทรพั ย์ 1.7 การขายสินค้า หรอื การให้บริการอืน่ ๆ ได้แก่ (1) การให้บริการของราชการส่วนท้องถิน่ ทั้งน้ไี ม่รวมถึงบริการที่เปน็ การพาณิชย์ของราชการส่วน ท้องถิน่ หรอื เป็นการหารายได้หรอื ผลประโยชน์ไม่ว่าจะเปน็ กิจการสาธารณปู โภคหรอื ไมก่ ็ตาม นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

88 (2) การขายสินค้า หรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม ซึง่ สง่ รายรับทั้งส้ินให้แกร่ ฐั โดยไม่ หักรายจ่าย (3) การขายสินค้า หรอื การให้บริการเพือ่ ประโยชน์แก่การศาสนา หรอื การสาธารณกุศล ภายในประเทศ ซึ่งไมน่ ำกำไรไปจ่ายในทางอน่ื (4) การขายสินค้าตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบบั ที่ 239) พ.ศ. 2534 ดังน้ี) (ก) การขายบหุ ร่ซี ิกาแรตที่ผลติ โดยผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมยาสูบ ทีเ่ ปน็ องคก์ ารของ รัฐบาล ได้แก่ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง โดยผขู้ ายมิใช่ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมยาสบู ที่ผลิตสินค้า ดงั กลา่ ว (ข) การขายสลากกินแบ่งของรฐั บาล สลากออมสินของรัฐบาล และสลากบำรงุ กาชาดของ รฐั บาล (ค) การขายแสตมปไ์ ปรษณีย์ แสตมปอ์ ากร หรอื แสตมป์อืน่ ของรัฐบาล องคก์ ารของรฐั บาล หรอื องคก์ ารบริหารราชหารสว่ นท้องถิน่ ท้ังน้ี เฉพาะที่ยังมิได้ใชแ้ ละในราคาทีไ่ ม่เกินมูลค่าที่ตราไว้ (ง) การบริจาคสินค้าให้แก่องค์การสาธารณกศุ ลดงั ต่อไปนี้ 1) สถานพยาบาล และสถานศกึ ษาของทางราชการ 2) สถานพยาบาล และสถานศกึ ษาขององค์การของรัฐบาล 3) สภากาชาดไทย 4) วดั วาอาราม (ไมว่ ่าในศาสนาใด ๆ) 5) มลู นธิ ิหรอื สมาคม หรือกองทนุ ตามทีร่ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการ คลงั ประกาศ กำหนดให้เปน็ องค์การสาธารณกศุ ล 6) โรงเรียนเอกชนทีป่ ระกอบกิจการโดยบริษทั หรอื หา้ งหุ้นส่วนนิติบุคคล หรอื สถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน (5) การให้บริการตามทีก่ ำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบบั ที่ 239) พ.ศ. 2534 ดังนี้ (ก) การให้บริการสขี ้าว (ข) การให้บริการการส่อื สารทางวทิ ยุเกีย่ วกับการบินระหว่างประเทศระหว่างสถานีพ้ืนดนิ หรอื ระหว่างอากาศกับพืน้ ดินและการสอ่ื สารวิทยเุ กี่ยวกบั งานอตุ นุ ิยม ตลอดจนการบริการอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ท้ังน้ี เฉพาะส่วนที่บริษทั หรอื หา้ งหุ้นส่วนนิติบคุ คลซึง่ ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้จัดบริการดงั กลา่ ว (6) การนำเงินไปหาผลประโยชน์โดยการฝากธนาคาร หรอื ซือ้ พนั ธบัตรหรือหลกั ทรพั ย์ ข้อสงั เกต กิจการขายสินค้าตามรายละเอียดดังกลา่ วข้างตน้ กำหนดให้ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะกรณี ที่เปน็ การขายสินค้าในราชอาณาจกั รเท่าน้ัน หากเป็นกรณีส่งออกซึง่ สินค้าน้ัน ๆ จะไมไ่ ด้รับยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิม่ แตอ่ ย่างใด นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

89 449. การขอคืนภาษีมลู ค่าเพิ่มสำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการมีกำหนดเวลาอยา่ งไร? ตอบ : การขายสินค้าหรือการให้บริการในกรณีที่มีภาษีตอ้ งคนื ให้ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนมสี ิทธิยืน่ คำรอ้ ง ขอคืนภาษีภายในสามปีนับแตว่ ันพ้นกำหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการภาษีสำหรับเดือนภาษีนนั้ การขายสินค้าหรอื การให้บริการในกรณีอื่น ให้ยื่นคำร้องขอคืนภายในสามปีนบั แตว่ นั ที่ได้ชำระภาษี 450. ในกรณีใช้พ้ืนที่อาคารร่วมกับกิจการอน่ื ผปู้ ระกอบการตอ้ งแจง้ ประมาณการการใชพ้ ืน้ ทีอ่ าคารเพือ่ การ เฉลีย่ ภาษีซือ้ ตามพนื้ ทีก่ ารใชอ้ าคารอย่างไร? ตอบ : ภายใน 30 วนั นับแต่วันเริ่มกอ่ สร้างหรือได้รบั อนมุ ัตใิ ห้ก่อสร้างอาคาร โดยใช้แบบ ภ.พ.05.1 451. กิจการอพาร์ตเมนท์หรอื การให้เช่าหอ้ งพักต้องเสียภาษีอย่างไร? ตอบ : การให้บริการเช่าหอ้ งพกั เป็นรายเดือนและหรอื รายปี ไมเ่ ข้าลกั ษณะเปน็ การบริการให้ที่พักสำหรับคน เดินทางเป็นการชัว่ คราว จึงมิใช่เป็นกรณีประกอบกิจการลักษณะเดียวกนั กบั กิจการโรงแรม หากการให้เช่า ดงั กลา่ วเป็นการให้เชา่ เฉพาะตัวห้องพัก เข้าลกั ษณะเป็นการให้บริการเชา่ อสังหาริมทรัพย์ ซึง่ ได้รบั ยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 81(1)(ต) แหง่ ประมวลรัษฎากร 452. บริษทั ฯ ประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ นำเงินทนุ เงนิ กู้ยืม เงินเพิ่มทุน หรอื เงนิ อ่ืนที่ เหลืออยู่ไปฝากธนาคารหรือซอื้ ต๋ัวเงนิ ของสถาบันการเงนิ อ่ืน โดยได้รบั ดอกเบีย้ ตามอตั ราปกติ ต้องนำดอกเบยี้ ที่ได้รับมาเสียภาษีธรุ กิจเฉพาะหรอื ไม่? ตอบ : ไมถ่ ือวา่ ดอกเบีย้ น้ันเปน็ รายรับที่ตอ้ งเสียภาษีธรุ กิจเฉพาะ แมว้ า่ บริษัทหรอื หา้ งหนุ้ ส่วนนิตบิ คุ คลน้ันจะ ประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชยก์ ต็ าม 453. นาย ก. มีเงนิ เดือนทั้งปี จำนวน 2,000,000 บาท และจ่ายเงนิ สะสมกองทนุ สำรองเลยี้ งชีพ 200,000 บาท นาย ก. มสี ิทธิซอื้ หนว่ ยลงทุนในกองทนุ รวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) เพือ่ ให้ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงนิ ได้ จำนวนเท่าใด? ตอบ : นาย ก. มสี ิทธิซือ้ หนว่ ยลงทุนในกองทนุ รวม RMF ได้จำนวน 300,000 บาท โดยมีวธิ ีการคำนวณดังน้ี ค่าซือ้ หน่วยลงทนุ ในกองทุนรวม RMF = ไมเ่ กินรอ้ ยละ 15 ของเงนิ ได้ท้ังปี (2,000,000 X 15 % = 300,000) เม่อื รวมกับเงินสะสมกองทนุ สำรองเลีย้ งชีพ แล้วตอ้ งไมเ่ กิน 500,000 บาท(ในกรณีน้เี ท่าวงเงนิ พอดี) 454. นาย ข. มเี งินเดอื นท้ังปี จำนวน 2,000,000 บาท และมีเงินค่าขายกองทุนรวม RMF ที่ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้ จำนวน 1,000,000 บาท โดยมีส่วนตา่ งระหวา่ งราคาขายกบั ราคาทุน จำนวน 200,000 บาท ในปีภาษี เดียวกัน นาย ข. ตอ้ งการซื้อหน่วยลงทนุ ในกองทุนรวม RMF ใหม่ นาย ข. มีสทิ ธิซือ้ หน่วยลงทนุ ในกองทุนรวม RMF เพือ่ ให้ได้รบั ยกเว้นภาษีเงนิ ได้ในจำนวนเท่าใด? นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

90 ตอบ : นาย ข. มสี ิทธิซือ้ หน่วยลงทนุ ในกองทุนรวม RMF ได้จำนวน 330,000 บาท โดยฐานเงนิ ได้พึงประเมินที่ นำมาคำนวณเพื่อซอื้ หนว่ ยลงทนุ ในกองทนุ รวม RMF ได้แก่ เงนิ เดือน และเงินได้ที่เป็นสว่ นต่างระหว่างราคา ขายกบั ราคาทุนจากการขาย RMF ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ 455. การซื้อหน่วยลงทุนในกองทนุ รวมหนุ้ ระยะยาว (LTF) โดยไม่ใช้สทิ ธิยกเว้นค่าซือ้ หนว่ ยลงทุน เนอ่ื งจาก คาดว่า จะขายหน่วยลงทนุ นีก้ อ่ นครบ 5 ปี แต่ไม่ได้ขาย จนกระท่งั ถือครบ 5 ปีปฏิทิน จงึ ขายคืนกองทนุ รวม LTF และมีกำไรจากการขาย เงนิ ได้ดังกล่าวได้รบั ยกเว้นภาษีเงนิ ได้บุคลธรรมดาหรือไม่? ตอบ : เงินค่าขายกองทนุ รวม LTF ที่ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้ ตอ้ งเปน็ เงินหรอื ผลประโยชน์ใด ๆ ทีไ่ ด้รบั เนอื่ งจาก การขายหน่วยลงทนุ คืนให้แกก่ องทนุ รวมหุ้นระยะยาวตามกฎหมายวา่ ด้วยหลกั ทรัพย์และตลาดหลักทรพั ย์ ท้ังนี้ เงนิ หรอื ผลประโยชน์ดังกลา่ ว ต้องคำนวณมาจากเงนิ ได้พึงประเมินที่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงนิ ได้คา่ ซือ้ หนว่ ยลงทุนฯ ดังน้ัน แม้ได้ถือกองทุนรวมดังกล่าว ครบ 5 ปีปฏิทิน แตม่ ไิ ด้ใชส้ ิทธิยกเว้นค่าซือ้ หน่วยลงทุนฯ กำไรทีไ่ ด้รบั จากการขายคืน เข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมนิ ตามมาตรา 40(8) แหง่ ประมวลรษั ฎากร ไมไ่ ด้ รบั ยกเว้นภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา และให้แสดงรายการในข้อ 7 ของแบบ ภ.ง.ด.90 เงนิ ค่าขายหน่วยลงทุนใน กองทนุ รวมหนุ้ ระยะยาว หัก ราคาทนุ เงนิ ส่วนต่างกรณีราคาขายมากกว่าราคาทุน ในชอ่ งไม่รบั ยกเว้น 456. นาย ก. มีเงนิ ได้ท้ังปี 10 ลา้ นบาท ซือ้ หนว่ ยลงทนุ ไว้ในกองทุนรวม RMF 500,000 บาท และซือ้ หน่วย ลงทุนไว้ในกองทนุ รวม LTF อีก 500,000 บาท นาย ก. มีสทิ ธินำเงนิ ในการซื้อหน่วยลงทนุ ไปลดหยอ่ นภาษีได้ เท่าใด? ตอบ : ลดหย่อนค่าซอื้ หน่วยลงทุนในกองทนุ รวม RMF ได้ 500,000 บาท และลดหยอ่ นค่าซือ้ หน่วยลงทนุ ไว้ใน กองทุนรวม LTF อีก 500,000 บาท 457. จากข้อ 56. ในปีภาษีเดียวกนั ถ้านาย ก. จ่ายเงนิ สะสมเข้ากองทุนสำรองเลยี้ งชีพ 200,000 บาท นาย ก. มีสทิ ธิหักลดหย่อนภาษีได้อย่างไร? ตอบ : ลดหยอ่ นเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลีย้ งชีพ 200,000 บาท ลดหย่อนค่าซือ้ หนว่ ยลงทนุ ในกองทนุ รวม RMF ได้ 300,000 บาท (ค่าลดหยอ่ นรวมสูงสดุ - เงินสะสมกองทนุ สำรองเลีย้ งชีพ = 500,000 - 200,000 บาท คงเหลอื 300,000 บาท) และลดหยอ่ นค่าซือ้ หน่วยลงทนุ ไว้ในกองทนุ รวม LTF ได้อกี 500,000 บาท 458. นายชพี กับนางล่ันทม เปน็ สามีภรรยากนั รว่ มกันประกอบกิจการร้านอาหารโดยตกลงแบ่งรายได้กันคน ละคร่งึ ในปีภาษี 2562 กิจการมรี ายได้ 1,900,000 บาท นายชพี กับนางลั่นทมมีภาระทางภาษีอย่างไร? ตอบ : นายชีพกบั นางลั่นทมมีรายได้คนละ 950,000 บาท ต่างคนต่างยื่นภาษีเงนิ ได้ในนามตนเอง และเมือ่ มี รายได้ทั้งปี เกินกวา่ 1,800,000 บาท ต้องจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ รว่ มกนั โดยถือเป็นหน่วยภาษีเดียวกนั ใน นามของสามีและภรยิ าทั้งสองฝ่าย ตามมาตรา 77/1 (5) มาตรา 77/2 มาตรา 82 และ มาตรา 85/1 แห่ง ประมวลรษั ฎากร นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

91 459. ดอกเบีย้ ทีผ่ ู้ให้เช่าซอื้ เรียกเกบ็ สำหรับงวดที่ผิดนัด ตอ้ งนำมาเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรอื ไม่? ตอบ : ดอกเบีย้ สำหรบั งวดที่ผิดนัด ถือเปน็ คา่ เสียหายจากการผดิ สญั ญาใหเ้ ช่าซือ้ ผู้ให้เช่าซือ้ ไมต่ ้องนำมูลค่า ของดอกเบีย้ ดังกลา่ วมารวมคำนวณเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 460. มหาวิทยาลัยฯ จัดตั้งขึน้ ตามพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยฯ ได้รบั ดอกเบยี้ จากบัญชเี งินฝากธนาคาร และ ธนาคารได้หกั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายไว้ กรณีนีม้ หาวิทยาลัยมีหน้าทีท่ างภาษีอย่างไร? ตอบ : มหาวิทยาลยั ฯ จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยฯ มฐี านะเป็นหน่วยงานของรฐั ที่เปน็ นิติบคุ คล จงึ ไมเ่ ข้าลกั ษณะเปน็ บริษัทหรอื ห้างหุ้นสว่ นนิติบุคคล ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร จึงไมอ่ ย่ใู นบังคับ ต้องเสียภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล ดงั นน้ั เม่อื ธนาคารจ่ายดอกเบีย้ เงนิ ฝากใหแ้ กม่ หาวิทยาลัยฯ ธนาคารจงึ ไม่มี หนา้ ที่ตอ้ งหกั ภาษี เงินได้ ณ ที่จ่ายแตอ่ ย่างใด หากมหาวิทยาลยั ฯ ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ไว้โดยไมม่ ีหนา้ ที่ตอ้ งเสียภาษีเงนิ ได้ มหาวิทยาลยั ฯ มสี ิทธิขอ คืนภาษีที่ถูกหักและนำส่งแล้ว ภายใน 3 ปี นับแต่วันสุดท้ายแหง่ กำหนดเวลายืน่ รายการนำสง่ ภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย โดยการยื่นคำร้อง ขอคืนภาษีตามแบบ ค.10 ณ สำนักงานสรรพากรพืน้ ทีท่ ีม่ หาวิทยาลัยฯ มภี มู ิลำเนา ตาม มาตรา 27 ตรี แหง่ ประมวลรัษฎากร 461. ร้านสะดวกซือ้ ตกลงใหธ้ นาคาร ก. เชา่ พืน้ ที่ 4 ตารางเมตร บริเวณด้านหน้าของสถานประกอบการ เพือ่ ใช้เป็นที่ตดิ ตั้งเครือ่ งรบั ฝาก-ถอนเงนิ อตั โนมตั ิ (ATM) โดยมีอตั ราค่าเช่า 6,000 บาทตอ่ เดือน ระยะเวลาการ เช่า 3 ปี เป็นเงินค่าเช่าท้ังส้ิน 216,000 บาท ได้รบั ยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ หรือไม่? ตอบ : หาก ไมม่ กี ารส่งมอบการครอบครองพ้ืนทีใ่ ห้แก่ธนาคารฯ โดยเด็ดขาด และธนาคารฯ ไม่มีสทิ ธิหวงกัน พืน้ ที่ที่เช่าได้ ผใู้ ห้เช่ายังคงเปน็ ผู้ควบคมุ ดูแลบริเวณทีเ่ ช่าตลอดจนอำนวยความสะดวกให้กบั ธนาคารฯ กรณี ดงั กลา่ ว เข้าลักษณะเป็นการให้บริการในทางธุรกิจหรอื วิชาชีพตามมาตรา 77/1(10) แหง่ ประมวลรษั ฎากร ต้องนำค่าบริการทีไ่ ด้รับไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีมลู คา่ เพิม่ 462. บริษัทฯ เป็นนิติบคุ คลจดั ตั้งขึน้ ตามกฎหมายไทย ได้นำเครือ่ งจกั รมาใช้ในการประกอบกิจการ โดยใช้เปน็ เครือ่ งจกั รตวั อย่างให้ลูกค้าทดสอบการทำงานของเครื่อง โดยบริษทั ฯ ได้โอนเครื่องจักรดงั กล่าวเปน็ สินทรัพย์ ถาวรของบริษัทฯ และคิดค่าสึกหรอและค่าเสือ่ มราคาของทรพั ยส์ ินในอตั ราร้อยละ 10 ตอ่ ปี บริษัทฯ ต้องนำ สินค้าทีม่ ไี ว้เพือ่ ขายมาใช้เพื่อการประกอบกิจการดังกล่าวมาถือเป็นภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม หรอื ไม่? ตอบ : กรณีบริษัทฯ นำเครื่องจกั รที่มไี ว้เพื่อขายมาใช้ในการประกอบกิจการของตนเองโดยตรง ไม่ถือเป็นการ ขายสินค้า บริษัทฯ จงึ ไม่ต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิ่ม และให้บริษัทฯ ตัดบัญชอี อกจากรายงานสินค้าและวตั ถดุ ิบ กรณีบริษทั ฯ ได้โอนมาเป็นสินทรพั ยถ์ าวรของบริษัทฯ เครือ่ งจักรดงั กล่าวจึงไมเ่ ป็นสินคา้ ที่มไี ว้เพื่อขาย และถือเป็นทรพั ยส์ ินที่มลี ักษณะเปน็ การลงทนุ ตอ้ งหา้ มนำไปหกั เปน็ รายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิตาม นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

92 มาตรา 65 ตร(ี 5) แห่งประมวลรัษฎากร แต่ให้คำนวณหกั คา่ สึกหรอและค่าเสือ่ มราคาของทรัพย์สินในการ คำนวณกำไรสทุ ธิและขาดทุนสทุ ธิได้ตามมาตรา 65 ทวิ(2) แหง่ ประมวลรัษฎากร 463. บริษทั ฯ ประกอบกิจการให้เช่าพืน้ ที่ภายในอาคารศูนยก์ ารค้า และให้บริการน้ำประปา ไฟฟ้า ก๊าซหุงต้ม และรกั ษา ความปลอดภยั เป็นต้น เม่อื ผเู้ ช่าพื้นที่ซึง่ เปน็ บริษัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิติบุคคล จ่ายค่าบริการตาม สัญญาบริษัทฯ ผู้จ่ายมีหน้าทีห่ กั ภาษี ณ ที่จา่ ยอยา่ งไร? ตอบ : คา่ เชา่ ตามสัญญาเช่าสถานที่ ซึ่งบริษัทฯ ได้แบ่งเป็นหอ้ งให้เช่า มกี ารกำหนดเลขทีห่ ้องและเนือ้ ทีโ่ ดย ชดั เจน โดยบริษทั ฯ ได้มกี ารสง่ มอบการครอบครองพ้ืนที่โดยเด็ดขาด เป็นการให้เช่าอสังหาริมทรพั ย์ต้องหกั ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยในอตั ราร้อยละ 5 ค่าน้ำประปาและกระแสไฟฟ้า โดยบริษัทฯ เรียกเกบ็ ตามจำนวนทีม่ ีการใช้จรงิ ในแต่ละเดือน เข้า ลกั ษณะเป็นการขายสินค้าไม่มรี ูปรา่ ง ตามมาตรา 77/1(8) และ (9) แห่งประมวลรัษฎากร ท้ังนี้ ไมร่ วมถึงค่า บำรงุ รกั ษามาตรวัด ผู้จา่ ยค่าน้ำประปาและกระแสไฟฟ้าดงั กลา่ ว ไม่มหี น้าทีต่ อ้ งหักภาษี ณ ที่จ่ายแต่อย่างใด การให้บริการพ้ืนทีส่ ่วนกลาง เชน่ บริการเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย บริการรักษาความสะอาด บริการหอ้ ง สุขาและน้ำประปา บริการไฟฟ้าและแสงสว่าง เป็นต้น เข้าลกั ษณะเปน็ การให้บริการ เมอ่ื ผใู้ ช้บริการซึ่งเป็นบริษทั หรือห้างหนุ้ ส่วนนิติบคุ คลจ่ายคา่ บริการดงั กล่าว ผจู้ ่ายคา่ บริการมหี น้าที่หกั ภาษี ณ ที่ จ่ายในอัตราร้อยละ 3 464. นติ ิบคุ คลอาคารชดุ ก. ได้นำเอาทรัพย์สินส่วนกลางของอาคารชุด คือผนงั ด้านนอกอาคารตกึ ไปให้ บุคคลภายนอกเช่าติดสตกิ เกอร์ สื่อภาพโฆษณา โดยไมต่ อ้ งมี โครงเหลก็ กรอบเหล็กมารองรบั ต้องเสียภาษี อย่างไร? ตอบ : นิตบิ คุ คลอาคารชุด ไมเ่ ข้าลกั ษณะเปน็ บริษัทหรอื หา้ งหุ้นสว่ นนิติบคุ คล ตามบทนิยามในมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่มีหน้าทีต่ อ้ งยืน่ แบบแสดงรายการเสียภาษีเงนิ ได้นิติบคุ คล ผู้จ่ายเงนิ จึงไมม่ ีหน้าที่ ต้องหัก ณ ทีจ่ า่ ย การประกอบกิจการให้เชา่ ผนงั ติดสติกเกอรส์ ือ่ ภาพโฆษณา เข้าลกั ษณะเป็นการประกอบกิจการ ให้บริการในทางธุรกิจหรอื วิชาชีพ หากนิติบุคคลฯ มีรายรบั จากการให้บริการเช่าผนงั เกินกวา่ 1,800,000 บาท ตอ่ ปี นิตบิ ุคคลอาคารชุด ต้องจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ และฃมีหน้าทีต่ อ้ งเสียภาษีมลู คา่ เพิ่ม 465. บริษทั เปน็ นิติบุคคลจัดตั้งขึน้ ตามกฎหมายไทย ได้ทำสัญญาว่าจา้ งบริษทั จดั ตั้งขนึ้ ตามกฎหมายฮอ่ งกง ไม่ มีสถานประกอบการในประเทศไทย ให้มหี นา้ ทีเ่ ปน็ ตวั กลางในการติดตอ่ จัดหาผู้ขายวตั ถุดิบในประเทศต่าง ๆ ท้ังนี้ ผู้รับจ้างฯ ไม่ได้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพือ่ ธุรกรรมดังกล่าว เมอื่ ผวู้ ่าจา้ งฯ จา่ ยค่าตอบแทนดังกล่าว ต้องหักและนำส่งภาษีมลู คา่ เพิม่ หรอื ไม่? นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

93 ตอบ : เข้าลักษณะเปน็ การจา่ ยคา่ บริการให้แก่ผปู้ ระกอบการนอกราชอาณาจักร เนื่องจากการให้บริการใน ตา่ งประเทศ ผวู้ ่าจ้างฯ ไม่มีหนา้ ที่ตอ้ งนำส่งภาษีมลู ค่าเพิม่ ตามมาตรา 83/6 แห่งประมวลรัษฎากร 466. บริษัทประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมนั เชือ้ เพลิง การจำหน่ายน้ำมนั เช้อื เพลิงให้แก่ลกู ค้า บริษัทได้จดั ให้มนี ้ำดืม่ ซึ่งระบขุ ้อความที่ขวดน้ำดืม่ ว่า สนิ ค้าแถมหา้ มจำหนา่ ย เปน็ ของแถมให้แกล่ กู ค้า บริษัทต้องนำมูลค่า น้ำดืม่ ดงั กล่าว มารวมคำนวณเปน็ มูลค่าของฐานภาษีเพือ่ เสียภาษีมูลค่าเพิม่ หรอื ไม่? ตอบ : การแถมสินค้าพร้อมกบั การขายสินค้าหรอื ให้บริการไมว่ า่ สินค้าทีแ่ ถมนั้น จะเปน็ สินคา้ ประเภทและ ชนิดเดียว กบั สินค้าหรอื บริการทีข่ ายหรือไม่ หากมลู ค่าของสนิ ค้าทีแ่ ถมไม่เกินมลู ค่าของสินค้าทีข่ ายหรอื มลู ค่า ของการใหบ้ ริการ มลู ค่าของสนิ ค้าทีแ่ ถมไม่ต้องนำมารวมคำนวณเปน็ มูลค่าของฐานภาษีแต่อย่างใด 467. บริษทั ฯ ประกอบกิจการผลิตและจำหน่ายไอศกรีม โดยมีการกระจายสินค้าผ่านทางตัวแทนจำหน่ายซึ่ง ซือ้ สินค้าเพื่อนำไปขายตอ่ หากตวั แทนจำหน่ายรายใดมียอดซือ้ สินค้าตามเป้าที่กำหนดไว้จะได้รับรางวลั เป็น สินค้าของบริษทั ไม่เกินมูลคา่ ของสินค้าที่ขาย บริษทั ต้องนำมูลคา่ ของสนิ ค้าที่ให้เป็นรางวัลมารวมคำนวณเป็น มลู คา่ ของฐานภาษีมลู ค่าเพิ่มหรอื ไม่? ตอบ : กรณีบริษทั จัดกิจกรรมส่งเสรมิ การขาย โดยการให้รางวลั เปน็ สินค้าของบริษัท เมอ่ื ตัวแทนจำหน่ายมี ยอดซอื้ สินค้าตามเป้าที่กำหนดไว้ ไม่ใช่การแถมสินคา้ แต่เข้าลกั ษณะเป็นการขายสินค้า ตามมาตรา 77/1 (8) แหง่ ประมวลรัษฎากร บริษัทจะต้องนำมูลค่าของสนิ ค้าที่ให้เปน็ ของรางวลั ดังกล่าวมารวมคำนวณเปน็ มูลค่า ของฐานภาษี สำหรับการขายสินค้า ตามมาตรา 79 แห่งประมวลรัษฎากร 468. นายแพทย์ ก. ได้รับเงินเดือนและได้รับเงินจากการตรวจรกั ษาผปู้ ว่ ยที่ คลินิกพิเศษนอกเวลาราชการของ โรงพยาบาล โดยมีหนังสือข้อตกลงการประกอบโรคศลิ ปะ ซึ่งแพทย์เป็นผู้เรยี กเกบ็ คา่ ตรวจรกั ษาจากผู้ ป่วย และมีการตกลงแบง่ รายได้จากค่าตรวจรกั ษาให้โรงพยาบาลตามอตั ราส่วนทีก่ ำหนด เงนิ รายได้จากการตรวจ รักษาผปู้ ว่ ยทีค่ ลินกิ พิเศษนอกเวลาราชการดังกล่าวถือเป็นเงินได้ประเภทใด? ตอบ : หากนายแพทย์ ก. ทำสัญญาหรือข้อตกลงกับโรงพยาบาลเพื่อขอใช้สถานที่ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ เพื่อ ประกอบโรคศลิ ปะในนามของนายแพทย์ ก. และมีขอ้ ตกลงแบ่งคา่ ตรวจรักษาที่ได้รับจากผู้ป่วย เงินได้ที่ นายแพทย์ ก.เรียกเกบ็ จากผปู้ ่วยท้ังจำนวนเปน็ เงินได้พึงประเมนิ ตามมาตรา 40(6) แหง่ ประมวล รัษฎากร มใิ ช่ เฉพาะเงินสว่ นแบง่ ทีเ่ หลอื หลังจากหักส่วนแบ่งของโรงพยาบาลออกแล้ว 469.บริษทั ประกอบกิจการขายสินค้าพร้อมบริการติดต้ัง อยากทราบวา่ ในการจา่ ยเงินคา่ สินค้า ผจู้ า่ ยเงินได้มี หนา้ ที่หกั ภาษีเงนิ ได้ ณ ทีจ่ ่าย ในกรณีใดบ้าง? ตอบ : การขายสินค้าพร้อมบริการตดิ ตั้งโดยออกใบกำกับภาษีหรอื ใบแจ้งหน้คี ่าสินค้าพร้อมบริการตดิ ต้ังรวม เป็นยอดเดียวกัน ถือเป็นการขายสินค้า ผู้จา่ ยเงินได้ ไม่อยใู่ นบังคับต้องหักภาษีเงนิ ได้ ณ ทีจ่ ่าย นนท์ เศรษฐวิวฒั น์

94 การขายสินค้าพร้อมบริการตดิ ตั้ง โดยออกใบกำกบั ภาษีหรอื ใบแจ้งหน้ีคา่ สินค้าและค่าบริการตดิ ตั้ง แยกออกจากกันเปน็ 2 ฉบบั เฉพาะคา่ บริการที่แยกออกจากราคาสินค้าเข้าลกั ษณะเปน็ เงินได้จากการรับจ้าง ทำของผู้จ่ายเงินได้มีหน้าทีห่ ักภาษีเงนิ ได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 3 การให้บริการซอ่ มแซมบำรุงรักษา โดยออกใบกำกับภาษีหรอื ใบแจง้ หนี้ ค่าอุปกรณแ์ ละบริการตดิ ตั้ง ฉบบั เดียวกันแตแ่ ยกราคาค่าอุปกรณ์และคา่ บริการออกจากกนั เข้าลกั ษณะเปน็ เงินได้จากการรบั จา้ งทำของ ผู้ จ่ายเงนิ ได้จะต้องหักภาษี เงินได้ ณ ที่จา่ ย จากยอดรวมมลู คา่ สนิ ค้าและคา่ ซอ่ มแซมในอตั ราร้อยละ 3 470. โรงเรียนนานาชาติ มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ จัดการเรียนการสอนหลักสูตรภาษาองั กฤษ ภาคพิเศษให้กับ นกั เรียนของโรงเรยี นในสังกดั องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดฯ จำนวน 2 โรงเรียน ได้รับยกเว้นภาษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คล และภาษีมลู ค่าเพิม่ หรอื ไม่? ตอบ : การประกอบกิจการโรงเรียนนานาชาติ จะได้รบั สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นติ ิบุคคลสำหรบั กำไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรยี นเอกชน แต่ไม่รวมถึงรายได้จากการขาย ของ การรบั จ้างทำของหรอื การให้บริการอน่ื ใดทีไ่ ด้รบั จากผู้ซึง่ มิใช่นักเรียนของโรงเรียน การทำสัญญาว่าจ้างจัดการศกึ ษาระหว่างองค์การฯ กบั โรงเรียนนานาชาติ เปน็ การสอนให้แก่ บคุ คลภายนอกที่มใิ ชน่ ักเรียนของโรงเรียนนานาชาติ ดังน้ัน เงินค่าจ้างที่โรงเรียนนานาชาติ ได้รับ ไมถ่ ือเปน็ เงิน ได้จากการประกอบกิจการโรงเรยี นเอกชนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงเรยี นเอกชน อันจะได้รับยกเว้นภาษีเงนิ ได้นิติ บคุ คล จึงต้องนำรายได้ดังกล่าว มารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คล และการประกอบกิจการดังกล่าว ไม่เข้าลักษณะเปน็ การให้บริการการศึกษาของโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายวา่ ด้วยโรงเรยี นเอกชน ดังน้ัน รายรบั จากการประกอบกิจการดังกลา่ ว เข้าลกั ษณะเปน็ การให้บริการอยใู่ นบังคบั ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 471. นาย ธ.ธง มีสญั ญาจา้ งงานเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรจำนวนรวม 2,000,000 บาท แต่ได้รบั เงินเป็นงวด ในปี แรกรบั เงนิ จำนวน 1,500,000 บาท ปีตอ่ มาได้รับอีก 500,000 บาท นาย ธ.ธง ต้องจดทะเบียนภาษีมลู คา่ เพิม่ หรอื ไม่? ตอบ : เกณฑ์การคำนวณวันที่มูลคา่ ของฐานภาษีสำหรับการให้บริการเกิน 1,800,000 บาทต่อปีหรอื ไม่ ต้อง ถือมลู คา่ ของฐานภาษีในวนั ทีค่ วามรบั ผดิ ในการเสียภาษีมลู ค่าเพิ่มเกิดข้ึน ตามมาตรา 79/3 แหง่ ประมวล รัษฎากร ดังนั้นหากนาย ธ.ธง มีมูลค่าของฐานภาษี ในปีนนั้ ๆ ไมเ่ กิน 1,800,000 บาท ก็ไม่มีหน้าที่ต้องจด ทะเบียน 472. นาย ก.ไก่ มีเงินได้จากการเป็นพิธีกรในการเปิดตวั สินคา้ ใหม่จากบริษทั หา้ งร้านต่าง ๆ กบั กรณีเงินได้จาก การเปน็ ผู้ดำเนินรายการทางโทรทศั น์ ทั้งสองกรณีเข้าลักษณะเป็นเงินได้ของนักแสดงสาธารณะ ตามคำส่ัง กรมสรรพากร ที่ ป.102/2544 หรือไม่? นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

95 ตอบ : เงินได้จากการเปน็ ผู้ดำเนนิ รายการทางโทรทัศน์ เข้าลักษณะเปน็ เงินได้ของนักแสดงสาธารณะ สำหรบั กรณีเงินได้จากการเป็นพิธีกรในการเปิดตวั สินคา้ ใหมจ่ ากบริษัทหา้ งร้านต่าง ๆ ไมเ่ ข้าลักษณะเปน็ เงินได้ของ นกั แสดงสาธารณะ แตเ่ ปน็ เงินได้จากการรับทำงานให้ซึ่งเปน็ เงนิ ได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) แหง่ ประมวล รษั ฎากร 473. บริษัทเพิ่งจดทะเบียนจดั ตง้ั ยังขอสินเชื่อจากธนาคารไม่ได้ จึงขอกู้ยืมเงินจากผถู้ ือหนุ้ เพือ่ จะได้นำเงินมา บริหารกิจการของบริษัท ดอกเบีย้ ที่บริษทั จา่ ยใหแ้ ก่ผใู้ ห้กู้ยืมเงนิ ต้องเสียภาษีหรือไม่? ตอบ : บริษัทจ่ายดอกเบีย้ เงนิ กู้ยืมให้แก่บุคคลผใู้ ห้กู้ยืม บริษัทมีหน้าทีต่ ้องหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ณ ที่ จา่ ย ในอตั ราร้อยละ 15 ตามมาตรา 50 (2) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร(นำสง่ โดยภ.ง.ด.2) บคุ คลธรรมดาผไู้ ด้นำเงินของตนเองมาให้บริษัทกู้ยืม หากมิได้มีการประกอบอาชีพให้กู้ยืมเงินมากอ่ น และการใหก้ ู้ยืมเงนิ ดังกล่าวมิได้มกี ารกู้ยืมเงินจากที่อ่นื มา การให้กู้ยืมเงนิ ดังกลา่ วไม่เข้าลกั ษณะเปน็ การ ประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ตามมาตรา 91/2 (5) แห่งประมวลรัษฎากร จึงไมต่ ้อง เสียภาษีธุรกิจเฉพาะแต่อย่างใด สญั ญากู้ยืมเงนิ ดังกล่าวตอ้ งเสียอากรแสตมปต์ ามลักษณะแห่งตราสาร 5.แหง่ บัญชอี ัตราอากรแสตมป์ หากเป็นการกู้ยืมเงินมา เพือ่ ใช้ในการประกอบกิจการของบริษัทฯ บริษัทฯ ย่อมนำมาถือเป็นรายจา่ ยใน การคำนวณภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลได้ไม่ต้องหา้ มตามมาตรา 65 ตรี (13) แห่งประมวลรัษฎากร 474. บริษัทฯได้ให้ผอู้ ื่นกู้ยืมเงนิ และได้รบั ดอกเบีย้ จากการให้กู้ยืมเงนิ ดังกล่าว บริษัทมีภาระภาษีอากร อย่างไร? ตอบ : 1. ภาษีเงนิ ได้นิติบคุ คล ดอกเบีย้ ทีบ่ ริษทั ฯ ได้รบั จากการให้ผอู้ ืน่ กู้ยืมเงิน ถือเป็นรายได้เน่ืองจากการ ประกอบกิจการ บริษัทฯต้องนำดอกเบีย้ จากการให้ผู้อื่นกู้ยืมเงนิ มารวมกบั รายได้อืน่ เพือ่ คำนวณกำไรสทุ ธิ เพือ่ เสียภาษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คล สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชที ี่มีรายได้ นั้น 2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ บริษทั ให้ผู้อน่ื กู้ยืมเงนิ ถือเป็นการประกอบกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์อยู่ในบงั คับ ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามมาตรา 91/2(5) แห่งประมวลรัษฎากร 3. อากรแสตมป์ สัญญากู้ยืมเงนิ ของบริษทั เปน็ ตราสารที่ระบไุ ว้ในบญั ชีอัตราอากรแสตมป์ จงึ ต้องปิด แสตมป์ตามอตั ราที่กำหนดไว้ในบัญชี 475. บริษทั ฯ ประกอบกิจการโรงแรม เมือ่ ได้รบั ค่าเช่าหอ้ งพัก บริษทั ฯ มีหน้าทีห่ กั ภาษี ณ ที่จา่ ยหรอื ไม่? ตอบ : กิจการโรงแรม เปน็ กิจการให้บริการที่อยใู่ นบงั คบั ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ แต่ไมอ่ ยใู่ นบังคับต้องหกั ภาษี เงินได้ ณ ทีจ่ ่าย ตามมาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรษั ฎากร นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

96 476. บริษัท ก. เปน็ หุ้นสว่ นอยู่ในบริษทั ข. ร้อยละ 25 ของหุ้นท้ังหมดที่มสี ิทธิออกเสียงในบริษทั ข. เป็นเวลา เวลาหกเดือน ต่อมาบริษทั ก. ขาดสภาพคล่องจึงได้ขอกู้ยืมเงนิ จาก บริษทั ข. ดอกเบีย้ ที่ บริษัท ก. จ่ายให้ บริษทั ข. น้ัน ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะหรอื ไม่? ตอบ : กรณีบริษทั ในเครือเดียวกนั ให้กู้ยืมเงนิ กันเอง ไม่ว่าจะนำเงนิ ของตนหรือนำเงินที่กู้ยืมจากบคุ คลอื่นมา ให้กู้ยืมในระหว่างกันเอง และไมว่ า่ จะคิดดอกเบยี้ ในอัตราเทา่ ใดกต็ าม ดอกเบยี้ ทีเ่ กิดขึน้ จากการกู้ยืมเงนิ ใน กรณีเชน่ น้ี ไม่ต้องนำมารวมคำนวณเปน็ รายรับเพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ คำว่า “บริษทั ในเครือเดียวกนั ” หมายความวา่ บริษัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิติบุคคลต้ังแต่สองนิตบิ คุ คลขึ้น ไปซึ่งมีความสมั พันธ์กนั โดยบริษทั หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิติบคุ คลใดถือหนุ้ หรอื เปน็ หนุ้ ส่วนอยู่ในบริษัทหรอื หา้ ง หนุ้ ส่วนนิตบิ ุคคลอีกแหง่ หนึ่งไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นท้ังหมดที่มีสทิ ธิออกเสียงในบริษทั หรอื หา้ งหนุ้ ส่วน นิตบิ คุ คลน้ันเปน็ เวลาไม่น้อยกวา่ หกเดือนกอ่ นวนั ทีม่ ีการกู้ยืม 477. การจ่ายเงนิ ค่าจ้างทำของให้แกผ่ ู้รบั จ้างที่ผู้ว่าจา้ งจะต้องคำนวณหักภาษีเงนิ ได้ ณ ที่จ่าย และนำส่งใน อตั ราร้อยละ 5 ของยอดเงินคา่ จ้างที่จ่าย คือการจา่ ยเงนิ ให้ผู้ใด? ตอบ : คือการจา่ ยเงนิ คา่ จ้างทำของให้แก่ (1) ผู้รบั จ้างที่เป็นบริษัทหรอื หา้ งหนุ้ ส่วนนิติบคุ คลทีต่ ง้ั ขึน้ ตามกฎหมายของต่างประเทศประกอบกิจการ ในประเทศไทย (2) การประกอบกิจการในประเทศไทย ของผู้รบั จา้ งตาม (1) จะต้องมิใชก่ รณีที่ผู้รับจา้ งมสี ำนกั งาน สาขาตั้งอยเู่ ปน็ การถาวรในประเทศไทย 478. บริษทั หรอื หา้ งหุ้นสว่ นนิติบุคคลได้แสดงประมาณการกำไรสทุ ธิขาดไปเกินร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิใน รอบระยะเวลาบญั ชโี ดยไม่มีเหตุอันสมควร บริษทั หรอื หา้ งหนุ้ ส่วนนิตบิ คุ คลนั้นต้องรับผดิ อยา่ งไร? ตอบ : ต้องเสียเงนิ เพิ่มอีกร้อยละ 20 ของภาษีทีช่ ำระขาด ตามมาตรา 67 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร 479. นาย ก. มีเงินได้จากการขายของเบด็ เตล็ด ยื่นแบบ ภ.ง.ด.94 โดยหักค่าใช้จา่ ยเหมาในอตั ราร้อยละ 60 เมือ่ ถึงกำหนดเวลายืน่ แบบ ภ.ง.ด.90 จะหกั ค่าใช้จ่ายตามความจำเปน็ และสมควร ได้หรอื ไม่? ตอบ : กรณีผมู้ ีเงินได้จากการขายของโดยมิได้เปน็ ผู้ผลิต สามารถยืน่ แบบ ภ.ง.ด.94 โดยหักคา่ ใช้จ่ายเป็นการ เหมา และยืน่ แบบ ภ.ง.ด.90 โดยหกั ค่าใช้จา่ ยตามความจำเป็นและสมควรได้ หากมีหลกั ฐานและพสิ ูจน์ได้วา่ มี คา่ ใชจ้ ่ายมากกว่าค่าใช้จา่ ยเหมาตามทีก่ ำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วย การยกเว้นรัษฎากร (ฉบบั ที่ 11) พ.ศ.2502 480. ยน่ื แบบ ภ.ง.ด.94 ผมู้ ีเงินได้สามารถหักลดหย่อนเบยี้ ประกนั ชีวติ ได้เท่าใด? นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

97 ตอบ : ผมู้ ีเงินได้สามารถหักลดหยอ่ นเบีย้ ประกนั ชีวติ ได้กึง่ หน่งึ ของจำนวนทีจ่ ่ายจริงสำหรบั ส่วนที่ไม่เกิน 10,000 บาท(คือไม่เกิน 5,000 บาท)ตามมาตรา 56 ทวิ วรรคสาม แหง่ ประมวลรษั ฎากร สว่ นทีเ่ กิน 10,000 บาท ให้ได้รับยกเว้นอกี ไม่เกิน 90,000 บาท สำหรับคูส่ มรสไมม่ ีเงนิ ได้ แตท่ ำประกนั ชีวติ ไว้ ผมู้ ีเงินได้ยงั ไมส่ ามารถนำเบยี้ ประกันของค่สู มรสมาหัก ลดหยอ่ นได้ เนือ่ งจากความเป็นสามีภริยายังมิได้อย่ตู ลอดปีภาษี เมือ่ ถึงกำหนดเวลายื่นแบบ ภ.ง.ด.90 และ ความเปน็ สามภี ริยาได้มีอยู่ตลอดปีภาษี จงึ จะนำเบยี้ ประกันชีวติ ของคสู่ มรสที่ไมม่ ีเงินได้มาหักลดหยอ่ นได้ ตามที่จ่ายจริง แต่ไมเ่ กิน 10,000 บาท 481. บคุ คลธรรมดามีเงินได้จากการขายทีด่ นิ หกั ค่าใช้จ่ายเหมาตามจำนวนปีที่ถือครอง คงเหลอื เงินได้สทุ ธิ คำนวณภาษีตามอตั ราภาษีเงนิ ได้ จะได้รับยกเว้นเงินได้สุทธิ 150,000 บาท แรกหรือไม่? ตอบ : ไมไ่ ด้รบั ยกเว้นเงนิ ได้สทุ ธิ 150,000 บาทแรก เน่ืองจากเปน็ การคำนวณภาษีตามมาตรา 48(4) แหง่ ประมวลรษั ฎากร มิใชก่ ารคำนวณภาษีตามมาตรา 48(1) แห่งประมวลรัษฎากร ภ82. ผเู้ สียภาษีได้รบั ใบแจ้งการประเมนิ ภาษี แตม่ เี งินไมเ่ พียงพอทีจ่ ะชำระได้ทั้งหมด จึงขอชำระเพียงบางส่วน มีหลักการปฏิบัติอย่างไร? ตอบ : กรณีชำระภาษีอากรบางส่วนตามใบแจ้งภาษีอากร แบบแสดงรายการภาษี หรอื ใบแจ้งการค้างชำระ ภาษีอากร (บ.ช.35) ให้นำไปหกั จากภาษีก่อน ส่วนทีเ่ หลือ(ถ้ามี)จงึ ให้นำไปหักจากเงนิ เพิม่ ใหม่ เงนิ เพิม่ ที่ คำนวณไว้ตามใบแจ้งภาษีอากร แบบแสดงรายการภาษีหรอื ใบแจ้งการค้างชำระภาษีอากร(บ.ช.35) และเบีย้ ปรบั ตามลำดบั 483. การประกอบธรุ กิจบตั รเครดิตเปน็ กิจการเฉพาะอย่างทีเ่ กี่ยวเนื่องโดยตรงกับกิจการทีอ่ ยใู่ นบงั คับต้องเสีย ภาษีธุรกิจเฉพาะ ซึง่ กฎหมายกำหนดให้เปน็ กิจการทีต่ ้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ รายได้ประเภทใดของธรุ กิจบัตร เครดิตที่ตอ้ งเสียภาษีมูลคา่ เพิม่ ? ตอบ : มลู คา่ ของฐานภาษีที่ตอ้ งนำไปรวมคำนวณ เสียภาษีมลู ค่าเพิ่ม ตวั อย่าง เช่น (1) คา่ ธรรมเนียมการเข้าเป็นสมาชิกบตั รเครดิตของผู้ถือบตั ร เช่น คา่ ธรรมเนียมแรกเข้า (Membership fee) ค่าธรรมเนียมรายปี (Annual fee) คา่ ทำบตั รใหม่ (2) ค่าธรรมเนียมการขอเอกสารเกีย่ วกับบัตรเครดิต (3) ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จา่ ยใด ๆ ในการใหบ้ ริการเบิกถอนเงินสดผา่ นบตั รเครดิต (4) ค่าบริการใช้เครื่องรดู บัตรทีเ่ รียกเกบ็ จากผู้ประกอบธุรกิจบตั รเครดิตรายอื่น (5) ส่วนลด (Discount revenue) ที่ได้รับจากร้านค้าสมาชิกในประเทศและต่างประเทศ (6) ค่าตอบแทนทีไ่ ด้รับจากผู้รบั บตั รเนื่องจากการจดั รายการส่งเสริมการขายรว่ มกนั (7) ค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดจากการติดตามทวงถามการชำระหนีจ้ ากบัตรเครดิตที่เรียกเกบ็ จากผู้ถือบตั ร นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

98 (8) คา่ ธรรมเนียมการชำระเงินจากบัตรเครดิตที่เรียกเก็บจากผู้ถือบัตร (9) สว่ นแบ่งรายได้จากการใชบ้ ตั รเครดิต (Billing credit) 484. ผปู้ ระกอบธรุ กิจบัตรเครดิต ในราชอาณาจกั ร มีหน้าที่ตอ้ งเสียภาษีธรุ กิจเฉพาะ ตามมาตรา 91/2 แห่ง ประมวลรษั ฎากร ในอัตราร้อยละ 3 ของรายรับตามมาตรา 91/6 แห่งประมวลรษั ฎากร รายรับทีต่ อ้ งนำไปรวม คำนวณเสียภาษีธุรกิจเฉพาะมีอะไรบ้าง? ตอบ : รายรบั ทีต่ ้องนำไปรวมคำนวณเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ตวั อย่าง เช่น (1) ดอกเบีย้ ในหน้ีค้างชำระ (Interest rate) หรอื ดอกเบยี้ ในระหว่างเวลาผดิ นัดชำระหน้ี หรอื ค่าปรับใน การชำระหน้ีล่าช้ากวา่ กำหนด (Late payment penalties) หรอื คา่ ธรรมเนียมหรือค่าบริการอน่ื ใดทีม่ ลี กั ษณะ ทำนองเดียวกันซึง่ เรียกเกบ็ จากผู้ถือบัตร (2) ดอกเบีย้ หรือคา่ ธรรมเนียมที่เรียกเกบ็ จากผู้ถือบัตรจากการให้ผถู้ ือบตั รผอ่ นชำระเป็นงวด (3) ดอกเบีย้ การเบิกถอนเงินสดผ่านบัตรเครดิตจากผู้ถือบัตร (Interest on cash advance) (4) คา่ ธรรมเนียมการโอนเงนิ ระหว่างผปู้ ระกอบธรุ กิจบัตรเครดิต (Interchange fee) 485. ด.ช.บุญน้อย เป็นบตุ รของนายดำและนางขาว ซึง่ ตา่ งเป็นผู้มีเงินได้ ต่อมานายดำและนางขาวหยา่ ขาด จากกัน นายดำไปสมรสใหมก่ บั นางเขียว ส่วนนางขาวสมรสใหม่กับนายแดง ทั้งนางเขียวและนายแดงต่างกม็ ี เงินได้ ผใู้ ดหักลดหยอ่ น ด.ช.บญุ น้อย ในฐานะบุตรได้? ตอบ : ท้ังนายดำ,นางขาว,นางเขียวและนายแดง หักลดหย่อน ด.ช.บุญน้อย ในฐานะบตุ รได้ 486. นาย ก. เปน็ ผู้จดั การธนาคารไทย ประจำสาขาในตา่ งประเทศ ได้รับเงินเดอื นจากสาขาธนาคารใน ต่างประเทศ นาย ก.ต้องนำเงินได้ที่ได้รับมาเสียภาษีในประเทศไทยหรือไม?่ ตอบ : หากนาย ก.อย่ใู นประเทศไทยถึง 180 วัน และนำเงินได้เข้ามาในประเทศไทยในปีภาษีที่ได้รับ นาย ก.มี หนา้ ทีเ่ สียภาษีในประเทศไทย 487. นายพลายกับนางพลอยคสู่ มรส มีอาชีพเปน็ นักแสดง มีบุตรสองคนคือ ด.ญ.แพง กับ ด.ญ.เพื่อน ถ้านาย พลายและนางพลอยประสงค์จะแยกยื่นแบบแสดงรายการภาษี จะหกั คา่ ลดหย่อนบุตรอยา่ งไร? ตอบ : ตา่ งฝ่ายต่างหักลดหย่อนบตุ รได้เตม็ จำนวน คอื หกั บุตรด้ท้ัง 2 คน ๆ ละ 30,000 บาท รวมหักได้ ท้ังสิน้ 60,000 บาท 488. นางออ้ ยได้ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลเอกชนแหง่ หนึ่ง เมอ่ื วันที่ 1 ธนั วาคม 2560 เป็นเงิน 30,000 บาท และได้ไปทำคลอดเมอ่ื วันที่ 1 มกราคม 2561 จ่ายคา่ ทำคลอดไป 45,000 บาท แตเ่ มือ่ คลอดแล้วบตุ ร เสียชีวติ นางออ้ ยได้ตงั้ ครรภ์ใหม่เม่อื วนั ที่ 1 มีนาคม 2561 จงึ ไปฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลของทางราชการ เปน็ เงิน 20,000 บาท และคลอดเม่อื 15 พฤศจกิ ายน 2561 จ่ายค่าทำคลอดไป 30,000 บาท ค่าหอ้ ง นนท์ เศรษฐวิวัฒน์

99 พิเศษ 15,000 บาท ค่าอาหารระหว่างพักฟืน้ ในโรงพยาบาล 5,000 บาท ในการตงั้ ครรภ์และคลอดในคร้ัง ทีส่ องนีน้ างออ้ ยได้สมคั รเข้าเป็นสมาชิกกองทุนประกนั สังคมและใช้สทิ ธิเบิกเงินสวสั ดิการจากกองทนุ ได้ 15,000 บาท ในการคำนวณภาษีเงนิ ได้ปีภาษี 2561 นางออ้ ยจะนำคา่ ฝากครรภ์และค่าคลอดบุตรไปหกั ลดหย่อนได้เท่าใด? ตอบ : หลกั ของการหักลดหย่อนค่าฝากครรภแ์ ละคลอดบตุ ร คือ ให้หกั ได้สำหรบั บตุ รที่เกิดในหรอื หลงั วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ตามทีจ่ ่ายจรงิ และเมื่อรวมกบั เงินสวสั ดิการที่ได้รับจากทางอืน่ แล้วหักลดหยอ่ นได้คราวละไม่ เกิน 60,000 บาท ค่าฝากครรภแ์ ละคา่ คลอดบตุ รน้ีให้รวมถึงค่าห้อง คา่ อาหาร ในระหว่างคลอดด้วย จากข้อเท็จจรงิ ครรภ์แรกนางออ้ ย ได้ฝากครรภ์เมือ่ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2560 จงึ หักลดหย่อนไม่ได้ คง หกั ได้เพียงคา่ ทำคลอดในวันที่ 1 มกราคม 2561 เป็นเงิน 45,000 บาท ครรภท์ ีส่ อง นางออ้ ยเสียคา่ ใชจ้ า่ ยในการฝากครรภ์ ค่าทำคลอดบุตร ค่าหอ้ งพิเศษ และค่าอาหาร รวม 70,000 บาท แต่นางอ้อยจะหกั ลดหยอ่ นได้สงู สุดเพียง 60,000 บาท และเมื่อหกั เงนิ สวสั ดิการทีไ่ ด้รบั จากกองทนุ ประกันสังคมไป 15,000 บาท คงเหลอื หกั ลดหยอ่ นได้ 45,000 บาท ดังน้ัน ในปีภาษี 2561 นางออ้ ยจะหักลดหยอ่ นค่าฝากครรภ์และคลอดบุตรได้สองคราว ๆ ละ 45,000 บาท รวมหักลดหย่อนได้ท้ังส้ิน 90,000 บาท 489. นายสมชายและนางสมหญิงจดทะเบียนสมรสถกู ต้องตามกฎหมาย ในปี 2561 นายสมชายจ่ายค่าฝาก ครรภ์และคลอดบุตรให้ภรรยาไป 60,000 บาท ในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีนายสมชายและนางสมหญิง ต่างฝ่ายต่างยืน่ แบบแสดงรายการ นายสมชายและนางสมหญิงจะหักลดหยอ่ นค่าฝากครรภแ์ ละคลอดบตุ รได้ เทา่ ใด? ตอบ : หากตา่ งฝ่ายต่างมเี งินได้และแยกยืน่ แบบแสดงรายการให้ฝา่ ยหญิงหกั ลดหยอ่ นคา่ ฝากครรภ์และคลอด บุตรได้ฝา่ ยเดียว 490. บคุ คลธรรมดาถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้ แต่ไมม่ ีหน้าทีต่ อ้ งยืน่ แบบแสดงรายการภาษี ตอ้ งขอคืนภายใน กำหนดเวลาใด? ตอบ : ภายใน 3 ปี นบั แต่วนั ที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป(ถ้าเปน็ กรณีมีหน้าที่ยืน่ แบบแสดงรายการภาษีตอ้ งขอ คืนภายใน 3 ปี นบั แตว่ นั ทีส่ ุดท้ายแห่งกำหนดเวลายื่นรายการภาษี) 491. นายแตงกวากับนางแตงโมภรรยาซึ่งไม่มีเงนิ ได้ ร่วมกู้ยืมเงนิ เพือ่ ปลูกสร้างที่อยู่อาศยั ในรอบปีภาษีที่แล้ว มานายแตงกวากบั นางแตงโมได้จ่ายดอกเบยี้ เงนิ กู้ยืมไปเป็นเงิน 10,000 บาท นายแตงกวาจะหักลดหยอ่ น สำหรับดอกเบีย้ เงนิ กู้ยืมได้เท่าใด? ตอบ : หกั ได้เต็มจำนวน 10,000 บาท(กรณีรว่ มกันกู้ยืม ฝ่ายที่มเี งินได้หกั ลดหย่อนได้เทา่ ที่จ่ายจริงแตไ่ ม่เกิน 10,000 บาท) นนท์ เศรษฐวิวฒั น์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook