Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการเศรษฐกิจพอเพียง-สวนนงนุช 2563

โครงการเศรษฐกิจพอเพียง-สวนนงนุช 2563

Description: โครงการเศรษฐกิจพอเพียง-สวนนงนุช 2563

Search

Read the Text Version

1 รำยงำนผล โครงกำรน้อมนำหลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียงสูช่ ุมชน (สวนนงนุช) วันท่ี 16 กรกฎำคม 2563 ณ สวนนงนชุ อำเภอสตั หบี จังหวัดชลบรุ ี กศน.ตำบลสตั หบี ศูนย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยอำเภอสัตหบี สำนักงำนสง่ เสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั จงั หวดั ชลบรุ ี

2 -ก- บทสรุปผบู้ รหิ ำร โครงการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสชู่ ุมชน (สวนนงนุช) ใหก้ บั ประชาชนอาเภอสตั หีบ ในวันท่ี 16 กรกฎาคม 2563 ตง้ั แตเ่ วลา 09.00 - 15.00 น. ณ นงนชุ เทรดดิชั่นเซน็ เตอร์ ตาบลนาจอมเทียน อาเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบรุ ี ผู้เข้ารว่ มโครงการน้อมนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสูช่ มุ ชน (สวนนงนชุ ) จานวน 6 คน ณ กศน.ตาบลสัตหบี ตาบลสัตหบี อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบรุ ี ผลการดาเนินงานและการวเิ คราะหข์ อ้ มูล กศน. ตาบลสัตหบี ผลปรากฏอยู่ในระดับ มาก เนอ้ื หาของหลกั สตู ร ตรงกับความต้องการของผู้รบั บรกิ าร เปน็ อนั ดบั ท่ี 1 รองลงมาคือ ผรู้ บั บรกิ ารมีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ ต่อ การจดั ทาหลักสูตร, ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้รบั บริการต่อการเขา้ รว่ มกิจกรรม, วทิ ยากรมคี วามรคู้ วามสามารถ ในการจดั กจิ กรรม ,วิทยากรมีการใช้ส่อื ท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกบั กจิ กรรม, ผรู้ ับบริการสามารถนาความรู้ไปปรับ ใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ และต่อมา กจิ กรรมทจ่ี ัดสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงคข์ องหลักสตู ร,การจัดกจิ กรรมทาให้ ผูร้ บั บรกิ ารสามารถคิดเป็นทาเป็นแก้ปัญหาเปน็ , ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสมเทคนคิ /กระบวนในการจดั กจิ กรรมของวทิ ยากร, บคุ ลิกภาพของวิทยากร, สถานทใี่ นการจัดกิจกรรมเหมาะสมสอื่ /เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม ตามลาดบั ซง่ึ สอดคล้องและเก่ียวขอ้ งกบั งานวิจยั ของ กานตช์ นิต ต๊ะนยั (2551) วิจยั เรื่อง เศรษฐกิจพอเพยี ง มี วตั ถุประสงคเ์ พื่อผเู้ ข้ารว่ มอบรมมคี วามรดู้ ้านปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและนอ้ มนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั และสร้างรายได้ ลดรายจ่ายให้กับตนเองและครอบครัวได้ เกบ็ ข้อมูลจากประชากร จานวน 7 คน มีเน้อื หาในการศกึ ษา 4 ด้าน คือ ด้านการวางแผน การลงมือปฏิบตั ิ การตรวจสอบผลการ ปฏบิ ตั ิงานและการแก้ไข ปรับปรุง และศกึ ษาผลการนอ้ มนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏิบตั ิในโรงเรยี น โดย เครอื่ งมือท่ีใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประมาณค่า และแบบปลายเปิด วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการหาคา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า การนอ้ มนาแนวคิดโครงการนอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสชู่ มุ ชน (สวนนงนุช) ตาบลพลตู าหลวง จังหวดั ชลบุรี ท้ัง 4 ดา้ น พบวา่ ด้านการวางแผน การลงมอื ปฏบิ ตั ิการตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน และการแก้ไข ปรับปรงุ ในภาพรวมอยูใ่ นระดบั ปานกลาง

3 คำนำ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอสัตหีบ ไดจ้ ัดทาแผนการปฏบิ ตั งิ านประจาปี งบประมาณ 2563 โดยได้จดั โครงการน้อมนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสูช่ ุมชน (สวนนงนชุ ) ใหก้ ับประชาชน อาเภอสตั หีบ ในวนั ที่ 16 กุมภาพนั ธ์ 2563 ตั้งแต่เวลา 09.00 - 15.00 น. ณ นงนุชเทรดดชิ ่นั เซน็ เตอร์ ตาบลนาจอม เทียน อาเภอสัตหบี จังหวัดชลบุรี ผเู้ ข้าร่วมโครงการน้อมนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ชุมชน (สวนนงนุช) จานวน 6 คน โครงการดงั กล่าวไดด้ าเนนิ เสรจ็ สิ้นไปดว้ ยดี ซึง่ รายละเอยี ดผลการดาเนนิ งานต่างๆ ตลอดจนปญั หาอปุ สรรค ไดส้ รุปไวแ้ ลว้ เพอ่ื รวบรวมกระบวนการดาเนนิ งาน ผลทไ่ี ด้รบั และการนาไปใช้ ตลอดจนการพัฒนาเพือ่ ใหส้ อดคล้อง กับผเู้ ขา้ รว่ มอบรม และการตอบสนองความตอ้ งการของผูเ้ ขา้ รว่ มอบรม การนาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ ริง และต้องขอขอบคณุ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบรุ ี ท่ีใหก้ ารสนับสนนุ งบประมาณ ตลอดจนคาปรกึ ษาแนะนาในการจดั กจิ กรรมดังกลา่ ว กศน.ตาบลสัตหีบ กันยายน 2563

4 สำรบัญ บทท่ี หน้ำ 1 บทนำ 1 ความเปน็ มา 1 1 วตั ถปุ ระสงค์ 2 เปา้ หมาย 2 ผลลพั ธ์ ดชั นชี วี้ ัดผลสาเรจ็ 2 เอกสำรกำรศกึ ษำและรำยงำนท่เี ก่ียวขอ้ ง 3 9 นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 15 แนวทาง/กลยทุ ธก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอสัตหบี 2563 เอกสาร/งานทเี่ กี่ยวขอ้ ง 3 วธิ ีกำรดำเนนิ งำน 28 ประชุมบุคลากรกรรมการสถานศึกษาและตัวแทนนักศึกษา 28 28 จัดตั้งคณะทางาน 28 ประสานงานหนว่ ยงานและบุคลท่ีเกยี่ งขอ้ ง 28 ดาเนินตามแผนงาน วัดผล/ประเมนิ ผล/สรุปผลและรายงาน 4 ผลกำรดำเนนิ งำนและกำรวิเครำะห์ข้อมูล 30 ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู สว่ นตัวของผตู้ อบแบบสอบถามของผูเ้ ขา้ รับการอบรมโครงการ 31 ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ความคิดเห็นท่มี ขี องผู้เข้าร่วมโครงการ 33 5 สรปุ ผลกำรดำเนนิ กำร อภิปรำย และข้อเสนอแนะ 33 33 ผลที่ปรากฎ 33 สรุปผลการดาเนินงาน อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ

สำรบัญตำรำง 5 ตำรำงท่ี หนำ้ 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามเพศ 30 2 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอาชีพ 30 3 แสดงค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอายุ 30 4 ผลการประเมินโครงการ 31

6 บทที่ 1 บทนำ โครงการนอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสูช่ มุ ชน (สวนนงนชุ ) ทมี่ ำและควำมสำคัญ ปัจจุบัน เศรษฐกิจในประเทศไทยมีแนวโน้มเร่ืองการใช้จ่ายสูง ประชาชนจึงต้องเริ่มตระหนักเรื่อง ค่าใช้จ่ายมากขึ้นในเร่ืองการสร้างรายได้ลดรายจ่ายให้กับตนเองและครอบครัว จึงได้นาโครงการน้อมนาปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน (สวนนงนุช) โดยมีวัตถุประสงค์ผู้เข้าร่วมอบรมนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและมี รายได้ ลดรายจ่ายให้กบั ตนเองและครอบครัวซึ่งเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ การปฏบิ ัตใิ นระดับสถานศึกษาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ซึ่งกาหนด ทิศทางในการพัฒนาประเทศกาหนดข้ึนบนพื้นฐานของการเสริมสร้างทุนของประเทศทั้งทุนสังคม เศรษฐกิจและ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมให้เข้มแข็งอย่างต่อเนื่องซ่ึงยึด คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและน้อมนาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางปฏิบัติเพ่ือมุ่งสู่สังคมท่ีมีความสุขอย่างยั่งยืนขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการ สง่ เสรมิ เรียนรูข้ องประชาชน และพัฒนาอาชีพตอ่ ไปเพื่อน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้กับ ชวี ิตประจาวนั ไปใช้ไดจ้ ริงทบี่ า้ น ดว้ ยการปลูกผกั ปลอดสารพษิ ไว้รบั ประทานทบี่ า้ นเป็นการลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว หากมีผกั เหลือจากการบริโภคสามารถแบ่งปนั ให้เพอ่ื นบ้าน หรือจาหน่ายเพม่ิ รายได้อีกทางหน่ึง เป็นการใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ และการปลกู ผกั เปน็ การสรา้ งสมดุลสู่ส่ิงแวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อนอกี ทางหนึ่ง ตลอดจนเพื่อเสริมสร้าง ภูมคิ ุม้ กันและช่วยให้สงั คมไทยสามารถยืนหยดั อย่ไู ด้อย่างม่ันคงเกดิ ภมู คิ ุ้มกันและมกี ารบริหารจัดการความเส่ียงอย่าง เหมาะสมส่งผลให้การพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดลุ เพอ่ื ให้การดาเนินงานสนับสนุนแนวทางในการเผยแพร่องค์ความรู้ ตามหลกั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งหลักการทรงงาน เพ่ือสร้างสานึกความหวงแหนสถาบันหลักของ ชาตผิ า่ นกลไกทางการศกึ ษาของ กศน. ไปสู่ประชาชนในอาเภอสัตหีบ จึงได้จัดทำโครงการน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงสูช่ มุ ชน (สวนนงนชุ ) วตั ถปุ ระสงค์ ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมมีความรดู้ ้านปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและน้อมนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมา ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวันและสรา้ งรายได้ ลดรายจา่ ยใหก้ ับตนเองและครอบครัวได้ เป้ำหมำย เชงิ ปริมำณ จานวน 6 คน ประชาชนในตาบลสัตหีบ เชงิ คณุ ภำพ เขา้ อบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจและสามารถนอ้ มนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั และสรา้ งรายได้ ลดรายจ่ายให้กับตนเองและครอบครวั ได้

7 ตวั ชวี้ ดั ผลสำเรจ็ 1 ตวั ช้วี ดั ผลผลติ (Output) - มผี ู้เข้ารว่ มโครงการ ไม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมาย - ผู้เขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากข้นึ ไปไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 2 ตวั ชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้เขา้ รว่ มโครงการร้อยละ 80 ไดร้ ับความรู้ มคี วามเขา้ ใจของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ น้อมนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั และสรา้ งรายได้ ลดรายจา่ ยใหก้ ับตนเองและครอบครัว ได้

8 บทที่ 2 เอกสำรกำรศึกษำและรำยงำนทเี่ กี่ยวขอ้ ง ในการจัดทารายงานคร้งั นไ้ี ดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เนือ้ หาจากเอกสารการศึกษาและรายงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2. แนวทาง/กลยุทธ์การดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของกศน.อาเภอสตั หบี 3 .หลักการพฒั นาสงั คม ชุมชน 4. เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง นโยบำยและจุดเนน้ กำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน. ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 วิสัยทัศน์ คนไทยไดร้ ับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ สามารถดารงชวี ติ ท่ีเหมาะสม กับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทกั ษะทจ่ี าเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 พันธกจิ 1. จดั และส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพื่อยกระดบั การศึกษา พฒั นา ทักษะการเรยี นรขู้ องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายใหเ้ หมาะสมทกุ ชว่ งวัย พร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงบรบิ ททางสงั คม และสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ 2 ส่งเสรมิ สนบั สนุน และประสานภาคเี ครือขา่ ย ในการมีส่วนร่วมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั และการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ รวมทั้งการดาเนินกจิ กรรมของศนู ย์การเรยี นและแหล่งการเรยี นรอู้ น่ื ในรูปแบบ ตา่ ง ๆ 3. สง่ เสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการ จัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหก้ ับประชาชนอยา่ งทั่วถงึ 4. พัฒนาหลักสตู ร รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื และนวตั กรรม การวดั และประเมินผลในทกุ รูปแบบ ให้สอดคล้องกับบรบิ ทในปจั จุบนั 5. พัฒนาบคุ ลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธภิ าพ เพื่อมงุ่ จัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ท่ีมี คณุ ภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เป้ำประสงค์ 1. ประชาชนผูด้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมท้งั ประชาชนทัว่ ไปได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและทว่ั ถงึ เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการของแตล่ ะ กลุ่มเป้ำหมำย 2. ประชาชนได้รบั การยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมอื ง อนั นาไปสกู่ ารยกระดบั คณุ ภาพชีวติ และเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ใหช้ ุมชน เพือ่ พฒั นาไปสู่ความมนั่ คงและยัง่ ยืน ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม 3. ประชาชนไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรู้ และมเี จตคติทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสามารถคดิ วเิ คราะห์ และประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั รวมทงั้ แกป้ ัญหาและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ได้อย่างสร้างสรรค์

9 4. ประชาชนได้รบั การสรา้ งและส่งเสริมให้มนี ิสยั รักการอ่านเพอื่ การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง 5. ชุมชนและภาคเี ครอื ข่ายทกุ ภาคส่วน รว่ มจดั ส่งเสริม และสนับสนนุ การดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทัง้ การขับเคลอื่ นกจิ กรรมการเรียนรขู้ องชุมชน 6. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพฒั นา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยดี จิ ิทัล มาใชใ้ นการยกระดับคุณภาพ ในการจดั การเรยี นรู้และเพม่ิ โอกาสการเรยี นร้ใู ห้กบั ประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศกึ ษาพฒั นาส่อื และการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพอ่ื แกป้ ัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลย่ี นแปลงบรบิ ทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตรแ์ ละสง่ิ แวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบทห่ี ลากหลาย 8. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจัดการทีเ่ ป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล 9. บคุ ลากรของหนว่ ยงานและสถานศึกษาไดร้ ับการพัฒนาเพ่ือเพิม่ สมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตวั ช้วี ัด ตัวชีว้ ัดเชงิ ปริมำณ 1. จานวนผเู้ รียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาช้ันพื้นฐานทีไ่ ดร้ บั การสนบั สนุนค่าใช้จา่ ยตามสิทธทิ ่ี กาหนดไว้ 2. จานวนของคนไทยกลมุ่ เปา้ หมายต่าง ๆ ทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนร/ู้ เขา้ รบั บรกิ ารกิจกรรมการศกึ ษา ตอ่ เนือ่ ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ที่สอดคลอ้ งกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ 3. รอ้ ยละของกาลงั แรงงานท่ีสาเร็จการศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นขึน้ ไป 4. จานวนภาคเี ครอื ขา่ ยทเ่ี ข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/สง่ เสริมการศกึ ษา (ภาคีเครอื ขา่ ย : สถานประกอบการ องคก์ ร หน่วยงานทม่ี าร่วมจัด/พฒั นา/ส่งเสริมการศึกษา) 5. จานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพน้ื ท่สี งู และชาวไทยมอแกน ในพนื้ ที่ 5 จังหวัด 11 อาเภอ ได้รบั บริการการศกึ ษาตลอดชีวติ จากศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนสังกดั สานักงาน กศน. 6. จานวนผู้รับบรกิ ารในพ้นื ทเ่ี ปา้ หมายไดร้ ับการส่งเสรมิ ด้านการร้หู นังสอื และการพฒั นาทักษะชวี ิต 7. จานวนนกั เรียนนกั ศกึ ษาทไ่ี ดร้ ับบริการตวิ เข้มเตม็ ความรู้ 8. จานวนประชาชนทีไ่ ดร้ ับการฝกึ อาชพี ระยะสัน้ สามารถสร้างอาชีพเพอ่ื สรา้ งรายได้ 9. จานวน ครู กศน. ตาบล จากพนื้ ที่ กศน.ภาค ไดร้ บั การพฒั นาศักยภาพดา้ นการจดั การเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 10. จานวนประชาชนที่ได้รบั การฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพ่อื การสือ่ สารดา้ นอาชพี 11. จานวนผสู้ ูงอายุภาวะพ่งึ พงิ ในระบบ Long Term Care มีผูด้ ูแลที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 12. จานวนประชาชนทผ่ี ่านการอบรมจากศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน 13. จานวนศูนย์การเรียนชมุ ชน กศน. บนพื้นที่สูง ในพนื้ ท่ี 5 จังหวัด ท่สี ่งเสริมการพฒั นาทักษะการฟงั พดู ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร รว่ มกนั ในสถานศึกษาสังกดั สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จานวนบุคลากร กศน. ตาบลท่ีสามารถจัดทาคลงั ความรไู้ ด้ 15. จานวนบทความเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ในระดบั ตาบลในหัวขอ้ ตา่ ง ๆ 16. จานวนหลกั สตู รและสอ่ื ออนไลน์ท่ใี ห้บริการกับประชาชน ทั้งการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตวั ชวี้ ัดเชิงคุณภำพ 1. รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET)

10 ทกุ รายวิชาทกุ ระดับ 2. ร้อยละของผ้เู รยี นท่ีไดร้ บั การสนบั สนุนการจดั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเทยี บกบั คา่ เป้าหมาย 3. รอ้ ยละของประชาชนกลมุ่ เป้าหมายทล่ี งทะเบยี นเรยี นในทุกหลกั สตู ร/กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งเทยี บกับ เปา้ หมาย 4. รอ้ ยละของผูผ้ ่านการฝึกอบรม/พฒั นาทกั ษะอาชพี ระยะส้นั สามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ หรอื พัฒนางานได้ 5. รอ้ ยละของผู้เรยี นในเขตพนื้ ท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใต้ทีไ่ ด้รบั การพัฒนาศกั ยภาพ หรอื ทักษะดา้ นอาชีพ สามารถมีงานทาหรอื นาไปประกอบอาชีพได้ 6. ร้อยละของผู้จบหลกั สตู ร/กจิ กรรมทส่ี ามารถนาความรคู้ วามเขา้ ใจไปใชไ้ ดต้ ามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สตู ร กิจกรรม การศกึ ษาตอ่ เนื่อง 7. รอ้ ยละของประชาชนทไ่ี ด้รับบริการมคี วามพงึ พอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นร้กู ารศกึ ษา ตามอธั ยาศัย 8. รอ้ ยละของประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายท่ไี ดร้ ับบริการ/ขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ีมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ/เจตคติ ทกั ษะ ตามจดุ มงุ่ หมายของกจิ กรรมที่กาหนด ของการศึกษาตามอัธยาศัย 9. รอ้ ยละของนักเรียน/นกั ศกึ ษาท่ีมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาท่ีไดร้ ับบริการตวิ เข้มเตม็ ความรู้ เพิม่ สูงข้ึน 10. ร้อยละของผสู้ ูงอายุท่ีเปน็ กลุ่มเปา้ หมาย มีโอกาสมาเข้ารว่ มกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชวี ิต นโยบำยเร่งดว่ นเพือ่ ร่วมขับเคลื่อนยทุ ธศำสตรก์ ำรพัฒนำประเทศ 1.ยุทธศำสตรด์ ำ้ นควำมมนั คง 1.1 พัฒนาและเสรมิ สรา้ งความจงรักภักดีต่อสถาบนั หลกั ของชาติ โดยปลกู ฝงั และสร้างความตระหนักรู้ถึง ความสาคัญของสถาบนั หลักของชาติ รณรงคเ์ สริมสร้างความรักและความภาคภมู ใิ จในความเป็นคนไทยและชาตไิ ทย นอ้ มนาและเผยแพรศ่ าสตร์พระราชา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถงึ แนวทางพระราชดาริต่าง ๆ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ ง และการมีส่วนร่วมอย่างถกู ต้องกบั การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ในบรบิ ทของไทย มคี วามเป็นพลเมอื งดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาเพือ่ ป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาภยั คุกคามในรปู แบบใหม่ ท้ังยาเสพ ติด การค้ามนษุ ย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพิบตั ิจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ 1.4 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและสรา้ งเสรมิ โอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษา การพัฒนาทกั ษะ การสร้างอาชพี และการใช้ชีวิตในสงั คมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพ้นื ท่ี ชายแดนอน่ื ๆ 1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพอ่ื นบ้านยอมรับและ เคารพในประเพณี วฒั นธรรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ และชาวต่างชาตทิ ม่ี คี วามหลากหลาย ในลกั ษณะพหสุ ังคมท่ีอยู่ รว่ มกนั 2 ยทุ ธศำสตร์ดำ้ นกำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน 2.1 เรง่ ปรับหลักสตู รการจัดการศึกษาอาชพี กศน. เพอ่ื ยกระดบั ทักษะดา้ นอาชพี ของประชาชน ให้เปน็ อาชีพท่รี องรบั อุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณา การความรว่ มมือในการพฒั นาและเสริมทักษะใหม่ด้านอาชพี (Upskill & Reskill) รวมถึงมุง่ เนน้ สร้างโอกาส

11 ในการสรา้ งงาน สร้างรายได้ และตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาดแรงานทั้งภาคอตุ สาหกรรมและการบรกิ าร โดยเฉพาะในพื้นทเ่ี ขตระเบยี งเศรษฐกิจ และเขคพัฒนาพเิ ศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศสาหรับพ้ืนที่ปกติให้ พฒั นาอาชีพท่เี น้นการต่อยอดศักยภาพและตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี 2.2 จัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาพ้ืนทภี่ าคตะวันออก ยกระดับการศกึ ษาให้กับประชาชนให้จบการศกึ ษาอยา่ ง นอ้ ยการศกึ ษาภาคบังคับ สามารถนาคณุ วุฒทิ ไี่ ดร้ ับไปต่อยอดในการประกอบอาชพี รวมทง้ั พัฒนาทกั ษะในการ ประกอบอาชพี ตามความต้องการของประชาชน สร้างอาชีพ สรา้ งรายได้ ตอบสนองต่อบริบทของสังคมและชมุ ชน รวมท้ังรองรบั การพัฒนาเขตพ้ืนทร่ี ะเบยี บเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและสง่ เสริมประชาชนเพอ่ื ตอ่ ยอดการผลิตและจาหนา่ ยสนิ คแ้ ละผลติ ภัณฑ์ออนไลน์ 1) เร่งจดั ตั้งศนู ย์ใหค้ าปรกึ ษาและพฒั นาผลิตภัณฑ์ Brand กศน. เพือ่ ยกระดบั คุณภาพของสนิ คแ้ ละ ผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการท่ีครบวงจร (การผลิต การตลาด การสง่ ออก และสร้างช่องทางจาหนา่ ย) รวมทั้งส่งเสรมิ การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยดี ิจิทัลในการเผยแพรแ่ ละจาหน่ายผลิตภัณฑ์ 2) พฒั นาและคดั เลือกสุดยอดสนิ ค้าและลิตภณั ฑ์ กศน. ในแตล่ ะจงั หวดั พร้อมท้งั ประสานความร่วมมอื กบั สถานบี รกิ ารน้ามันในการเป็นซอ่ งทางการจาหน่ายสดุ ยอดสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.ใหก้ วา้ งขวางย่ิงขึน้ 3 ยทุ ธศำสตร์กำรพัฒนำและเสรมิ สร้ำงศกั ยภำพทรัพยำกรมนุษย์ 3.1 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการจัดกจิ กรรมและการเรยี นรู้ เป็นผู้เช่ือมโยงความร้กู ับ ผู้เรียนและผู้รับบริการ มคี วามเปน็ \"ครมู อื อาชีพ\" มีจิตบริการ มคี วามรอบรแู้ ละทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงของสงั คมและ เปน็ \"ผ้อู านวยการการเรยี นร\"ู้ ทีส่ ามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการเรยี นรู้ทด่ี ี 1) เพมิ่ อตั ราข้าราชการครใู ห้กบั กศน. อาเภอทุกแห่ง โดยเร่งดาเนนิ การเร่อื งการหาอตั ราตาแหน่ง การสรรหา บรรจุ และแตง่ ต้ัง ข้าราชการครู 2) พัฒนาขา้ ราชการครใู นรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สตู รท่ีเชอ่ื มโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตาบลให้สามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ โดยเน้นเร่อื งการพัฒนาทกั ษะการ จดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏบิ ัติการนิเทศไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทกุ ระดับทุกประเภทให้มีทกั ษะความรูเ้ รื่องการใชป้ ระโยชนจ์ ากดจิ ทิ ัลและ ภาษาตา่ งประเทศที่จาเป็น 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ มคี วามพร้อมในการใหบ้ รกิ าร กิจกรรมการศกึ ษาและการเรยี นรู้ เปน็ แหล่งสารสนเทศสาธารณะท่ีงยตอ่ การเข้าถึง มบี รรยากาศที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ เป็นคาเพ่พ้นื ทกี่ ารเรียนรสู้ าหรบั คนทุกชว่ งวัย มสี ่ิงอานวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมชี วี ิต ทดี่ ึงดดู ความ สนใจ และมีความปลอดภยั สาหรับผู้ใช้บรกิ าร 1) เรง่ ยกระดับ กศน.ตาบลนาร่อง 928 แหง่ (อาเภอละ 1 แหง่ ) ใหเ้ ป็น กศน.ตาบล 5 ดี พรีเมย่ี ม ที่ประกอบด้วย ครดู ี สถานทด่ี ี (ตามบริบทของพ้นื ที)่ กจิ กรรมดี เครอื ขา่ ยดี และมนี วตั กรรมการเรยี นร้ทู ีด่ มี ปี ระโยชน์ 2) จัดให้มศี ูนยก์ ารเรยี นรูต้ น้ แบบ กศน. เพ่อื ยกระดับการเรียนรู้ ใน 6 ภมู ิภาค เปน็ พื้นทก่ี ารเรยี นรู้ (Co - Learning Space) ท่ที ันสมยั สาหรบั ทุกคน มคี วามพร้อมในการให้บริการต่าง ๆ อาทิ พื้นท่ีสาหรับการทางาน/ การเรียนรู้ พื้นท่ีสาหรับกิจกรรมต่าง ๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมทั้งทางานร่วมกับห้องสมุดประชาชนในการ ให้บรกิ ารในรูปแบบหอ้ งสมุดดจิ ิทัล บริการอนิ เทอรเ์ นต็ สือ่ มัลติมเี ดยี เพอ่ื รองรับการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning 3) พฒั นาหอ้ งสมุดประชชน \"เฉลิมราชกมุ ารี\" ให้เปน็ Digital Library โดยใหม้ ีบริการหนงั สือ ในรูปแบบ e - Book บรกิ ารคอมพวิ เตอร์ และอินเทอร์เน็ตความเรว็ สงู รวมทัง้ Free Wifi เพื่อการสบื คน้ ขอ้ มูล 3.3 สง่ เสริมการจัดการเรียนรูท้ ท่ี ันสมัยและมปี ระสทิ ธภิ าพ เออื้ ตอ่ การเรียนร้สู าหรบั ทุกคน สามารถ เรียนไดท้ ุกท่ที กุ เวลา มกี จิ กรรมทหี่ ลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชมุ ชน เพอ่ื พฒั นาศักยภาพ

12 การเรยี นรู้ของประชาชน รวมทงั้ ใชป้ ระโยชน์จากประชาชนในชมุ ชนในการร่วมจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พือ่ เชอ่ื มโยง ความสัมพันธข์ องคนในชมุ ชนไปสกู้ ารจัดการความรขู้ องชมุ ชนอยา่ งย่ังยนื 1) สง่ เสริมการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีปลูกฝงั คุณธรรม สรา้ งวนิ ัย จติ สาธารณะ ความรับผดิ ชอบ ต่อสว่ นรวม และการมจี ติ อาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมลกู เสือ กศน. กจิ กรรมจติ อาสา ตลอดจน สนบั สนนุ ให้มกี ารจัดกจิ กรรมเพอื่ ปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรมใหก้ บั บคุ ลากรในองค์กร 2) จัดให้มีหลกั สตู รลูกเสือมคั คเุ ทศก์ โดยให้สานกั งาน กศน.จงั หวดั ทุกแหป่ กทม. จัดต้งั กองลกู เสอื ทล่ี ูกเสอื มีความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เป็นลกู เสือมคั คเุ ทศกจ์ ังหวดั ละ 1 กอง เพอ่ื สง่ เสรมิ ลกู เสือจติ อาสาพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในแตล่ ะจังหวดั 3.4 เสริมสรา้ งความรว่ มมอื กับภาคีเครอื ข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมอื ภาคเี ครือขา่ ย ท้งั ภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน รวมท้ังส่งเสริมและสนบั สนนุ การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนเพ่ือสร้างความ เข้าใจ และให้เกดิ ความร่วมมอื ในการส่งเสริม สนับสนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ให้กับประชาชนอยา่ งมี คุณภาพ 1) เรง่ จัดทาทาเนยี บภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ในแตล่ ะตาบล เพื่อใชป้ ระโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างการ เรยี นร้จู ากองคค์ วามรู้ในตวั บุคคลใหเ้ กดิ การถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญา สร้างคุณคา่ ทางวฒั นธรรมอยา่ งยั่งยนื 2) สง่ เสรมิ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ส่กู ารจัดการเรยี นรชู้ มุ ชน 3) ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อการขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ให้เขา้ ถงึ กลุ่มเปา้ หมายทกุ กลุม่ อย่างกว้างขวางและมีคณุ ภาพ อาทิ กลุ่มผสู้ ูงอายุ กลุ่ม อสม. 3.5 พัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษาเพ่อื ประโยชนต์ ่อการจัดการศกึ ษาและกลุ่มเป้าหมาย 1) พฒั นาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน. ทงั้ ในรูปแบบของการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน การพฒั นาทกั ษะ ชวี ิตและทกั ษะอาชีพ การศึกษาตามอธั ยาศัย รวมท้ังการพฒั นาช่องทางการค้าออนไลน์ 2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ 3) สง่ เสริมให้มกี ารใช้การวจิ ยั อย่างงา่ ยเพือ่ สรา้ งนวตั กรรมใหม่ 3.6 พฒั นาศักยภาพคนดา้ นทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความร้แู ละทักษะเทคโนโลยดี ิจิทลั ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพอื่ พฒั นา รูปแบบกำรจดั กำรเรียนกำรสอน 2) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล เพือ่ ใหป้ ระชาชนมีทกั ษะความเขา้ ใจและ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทส่ี ามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั รวมทง้ั สร้างรายได้ให้กบั ตนเองได้ 3.7 พฒั นาทักษะภาษาตา่ งประเทศเพื่อการส่ือสารของประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ อย่างเปน็ รปู ธรรม โดยเนน้ ทกั ษะภาษาเพื่ออาชีพ ทัง้ ในภาคธรุ กิจ การบริการ และการท่องเที่ยว รวมทัง้ พฒั นาส่ือการเรียนการสอนเพือ่ สง่ เสริมการใช้ภาษาเพ่อื การส่อื สารและการพฒั นาอาชพี 3.8 เตรียมความพรอ้ มการเขา้ สู่สังคมผ้สู ูงอายุทีเ่ หมาะสมและมีคุณภาพ 1) สง่ เสริมการจดั กิจกรรมใหก้ ับประชาชนเพอื่ สร้างความตระหนกั ถึงการเตรยี มพรอ้ มเข้าสู่ สังคมผสู้ งู อายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวยั รวมทัง้ เรียนร้แู ละมีส่วนร่วมในการดแู ล รับผิดชอบผสู้ ูงอายุในครอบครัวและชุมชน 2) พัฒนาการจดั บรกิ ารการศกึ ษาและการเรียนรสู้ าหรบั ประชาชนในการเตรียมความพรอ้ ม เข้าสู่วยั สงู อายทุ ่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ 3) จัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ติ สาหรบั ผู้สูงอายภุ ายใต้แนวคิด \"Active Aging\" การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพชวี ติ และพฒั นาทกั ษะชวี ิต ให้สามารถดูแลตนเองทงั้ สุขภาพกายและสขุ ภาพจิต และรู้จักใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี

13 4) สรา้ งความตระหนักถึงคุณค่าและศักด์ิศรีของผู้สงู อายุ เปิดโอกาสให้มกี ารเผยแพรภ่ ูมปิ ัญญา ของผู้สูงอายุ และใหม้ ีส่วนรว่ มในกิจกรรมดา้ นตา่ ง ๆ ในชุมชน เช่น ดา้ นอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จดั การศกึ ษาอาชีพเพอื่ รองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง ในทกุ ระดับ 3.9 การส่งเสริมวิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษา 1) จดั กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์เชิงรุก และเน้นให้ความรู้วิทยาศาสตร์อยา่ งงา่ ยกับประชาชนในชุมชน ทัง้ วิทยาศาสตร์ในวถิ ีชวี ิต และวทิ ยาศาสตร์ในชีวติ ประจาวัน 2) พฒั นาส่ือนทิ รรศการเละรูปแบบการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตรใ์ หม้ ีความทันสมัย 3.10 สง่ เสรมิ การรภู้ าษาไทยใหก้ ับประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้ืนที่สูง ใหส้ ามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใช้ชวี ิตประจาวันได้ 4 ยุทธศำสตร์ตน้ กำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสงั คม 4.1 จัดตัง้ ศูนยก์ ารเรียนรูส้ าหรบั ทกุ ช่วงวยั ทเี่ ป็นศูนย์การเรียนรตู้ ลอดชีวิตที่สามารถให้บรกิ าร ประชาชนได้ทุกคน ทกุ ช่วงวยั ทีม่ กี ิจกรรมทหี่ ลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการเรียนร้ใู นแต่ละวยั และเปน็ ศนู ยบ์ รกิ ารความรู้ ศูนยก์ ารจัดกิจกรรมที่ครอบคลุมทุกชว่ งวยั เพอื่ ใหม้ ีพฒั นาการเรียนรทู้ เ่ี หมาะสม และมคี วามสขุ กับการเรียนรตู้ ามความสนใจ 1) เร่งประสานกับสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพือ่ จดั ทาฐานขอ้ มูลโรงเรยี นท่ถี กู ยุบรวม หรอื คาดว่าน่าจะถูกยบุ รวม 2) ใหส้ านักงาน กศน.จังหวดั ทุกแหง่ ท่อี ยใู่ นจังหวดั ทมี่ ีโรงเรียนทถ่ี ูกยบุ รวม ประสานขอใชพ้ ื้นทเ่ี พ่ือจัดตง้ั ศูนย์ การเรยี นรู้สาหรบั ทุกชว่ งวัย กศน. 4.2 ส่งเสริมและสนบั สนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับกลุ่มเป้าหมายผูพ้ ิการ 1) จดั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชวี ิตและทกั ษะอาชพี และการศึกษาตามอธั ยาศัย โดย เน้นรปู แบบการศกึ ษาออนไลน์ 2) ให้สานกั งาน กศน.จังหวัดทกุ แห่ง/กทม. ทาความร่วมมอื กับศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัด ในการใช้ สถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑด์ ้านการศึกษา เพอื่ สนบั สนนุ การจดั การศึกษาและการเรยี นรสู้ าหรบั กลุ่มเป้าหมาย ผูพ้ ิการ 4.3 ยกระดบั การศึกษาให้กบั กลุ่มเปา้ หมายทหารกองประจาการ รวมทง้ั กลมุ่ เป้าหมายพิเศษอนื่ ๆ อาทิ ผู้ต้องขัง คนพิการ เดก็ ออกกลางคัน ประชากรวยั เรียนทอี่ ยู่นอกระบบการศึกษาใหจ้ บการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน สามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปพฒั นาตนเองได้อยา่ งต่อเนื่อง 4.4 พฒั นาหลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชพี ระะสนั้ ให้มีความหลากหลาย ทนั สมยั เหมาะสมกับบรบิ ทของ พ้นื ท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ 5. ยุทธศำสตร์ดำ้ นกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพชวี ิตทเ่ี ปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อม 5.1 สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารให้ความรู้กบั ประชาชนในการรับมือและปรบั ตัวเพื่อลดความเสยี หายจากภัยธรรมชาติ และผลกระทบท่ีเกี่ยวข้องกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 5.2 สร้างความตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการสร้างสงั คมสีเขยี ว ส่งเสรมิ ความรูใ้ ห้กับประชาชนเก่ียวกบั การ คัดแยกต้ังแตต่ น้ ทาง การกาจดั ขยะ และการนากลบั มาใช้ช้า เพอื่ ลดปรมิ าณและตน้ ทุนในการจัดการขยะของเมอื ง และสามารถนาขยะกลับมาใช้ประโยชนไ์ ดโ้ ดยงา่ ย รวมทงั้ การจดั การมลพษิ ในชุมชน 5.3 ส่งเสรมิ ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาใชพ้ ลงั งานท่ีเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม รวมทง้ั ลดการใช้ทรพั ยากรที่ สง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยดั ไฟฟา้ เป็นต้น 6. ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนกำรปรับสมดุลและพฒั นำระบบหำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ

14 6.1 พฒั นาและปรบั ระบบวิธกี ารปฏบิ ตั ิราชการให้ทันสมยั มีความโปรง่ ใส ปลอดการทุจริต บรหิ ารจัดการบน ขอ้ มูลและหลักฐานเชงิ ประจักษ์ มุง่ ผลสมั ฤทธิม์ คี วามโปรง่ ใส 6.2 นานวตั กรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทางานท่เี ปน็ ดจิ ิทัลมาใช้ในการบริหารและพฒั นางานสามารถ เชอื่ มโยงกบั ระบบฐานขอ้ มลู กลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พร้อมทัง้ พฒั นาโปรแกรมออนไลน์ท่สี ามารถเชื่อมโยง ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทีท่ าให้การบริหารจัดการเปน็ ไปอย่างตอ่ เนอ่ื งกันตง้ั แตต่ ้นจนจบกระบวนการและให้ประชาชน กล่มุ เปา้ หมายสามารถเข้าถงึ บริการได้อยา่ งทนั ที ทกุ ทแ่ี ละทุกเวลา 6.3 สง่ เสรมิ การพัฒนาบุคลากรทกุ ระดับอย่างตอ่ เน่ือง ใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ใหต้ รง กับสายงาน ความชานาญ และความต้องการของบคุ ลากร 2. แนวทำง/กลยทุ ธ์กำรดำเนินงำนกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยของ กศน.อำเภอสัตหบี วสิ ัยทัศน์ “ภายในปี 2564 ผ้เู รียน/ผ้รู ับบรกิ าร ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ใช้แหล่งเรียนรู้ ภมู ปิ ัญญา สอ่ื เทคโนโลยี ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดย เครือขา่ ยมีส่วนร่วม” พันธกจิ 1. ออกแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกบั หลกั สตู ร 2. จัดระบบสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้และการบรหิ ารการศกึ ษา 3. พฒั นาบคุ ลากรด้านการออกแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้/สอื่ /การประเมนิ ผล 4. สง่ เสริมและสนบั สนนุ การมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายและชุมชนในการจัดกจิ กรรมการศกึ ษา เป้ำประสงค์ ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทางการศึกษาใน รปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพ อยา่ งเท่าเทียมและทว่ั ถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแตล่ ะ กลมุ่ เป้ำหมำย 1. ประชาชนได้รบั การยกระดบั การศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ความม่ันคงและยั่งยืน ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่งิ แวดลอ้ ม 2. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน รวมท้งั แกป้ ญั หาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 3. ประชาชนได้รบั การสร้างและสง่ เสริมให้มีนิสยั รักการอ่านเพื่อการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง 4. ชมุ ชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้งั การขับเคล่ือนกจิ กรรมการเรียนรขู้ องชุมชน 5. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพฒั นา เทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชใ้ นการยกระดับคุณภาพ ในการจัดการเรียนรูแ้ ละเพมิ่ โอกาสการเรียนรู้ใหก้ ับประชาชน

15 6. หนว่ ยงานและสถานศึกษาพฒั นาส่ือและการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และส่ิงแวดล้อม รวมท้ังตามความต้องการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบทหี่ ลากหลาย 7. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจัดการท่ีเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 8. บคุ ลากรของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาได้รับการพัฒนาเพือ่ เพิ่มสมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ ตวั ชี้วัด ตวั ช้ีวัดเชิงปริมำณ 1. จานวนผเู้ รยี นการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาชนั้ พ้นื ฐานทไี่ ด้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายตามสิทธทิ ่ี กาหนดไว้ 2. จานวนของคนไทยกลุ่มเปา้ หมายต่าง ๆ ทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนร/ู้ เขา้ รับบริการกจิ กรรมการศึกษา ตอ่ เนื่อง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่สอดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ 3. ร้อยละของกาลงั แรงงานทส่ี าเร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้นขึน้ ไป 4. จานวนภาคเี ครอื ข่ายทีเ่ ข้ามามีส่วนรว่ มในการจัด/พัฒนา/สง่ เสริมการศึกษา (ภาคีเครอื ขา่ ย : สถานประกอบการ องค์กร หน่วยงานท่มี าร่วมจดั /พัฒนา/สง่ เสริมการศกึ ษา) 5. จานวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพืน้ ทสี่ งู และชาวไทยมอแกน ในพ้นื ที่ 5 จงั หวดั 11 อาเภอ ได้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตลอดชีวิตจากศูนย์การเรียนชมุ ชนสังกดั สานักงาน กศน. 6. จานวนผรู้ ับบรกิ ารในพื้นทเ่ี ป้าหมายไดร้ บั การส่งเสรมิ ด้านการรูห้ นงั สอื และการพัฒนาทกั ษะชีวิต 7. จานวนนักเรียนนกั ศึกษาท่ีได้รับบริการติวเขม้ เตม็ ความรู้ 8. จานวนประชาชนท่ไี ดร้ บั การฝึกอาชพี ระยะสน้ั สามารถสรา้ งอาชีพเพอื่ สร้างรายได้ 9. จานวน ครู กศน. ตาบล จากพนื้ ที่ กศน.ภาค ได้รับการพฒั นาศักยภาพด้านการจัดการเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่อื สาร 10. จานวนประชาชนทีไ่ ด้รบั การฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารดา้ นอาชพี 11. จานวนผสู้ งู อายุภาวะพง่ึ พงิ ในระบบ Long Term Care มผี ูด้ ูแลท่มี คี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จานวนประชาชนทีผ่ ่านการอบรมจากศนู ยด์ ิจิทัลชุมชน 13. จานวนศนู ย์การเรียนชมุ ชน กศน. บนพ้นื ทสี่ งู ในพนื้ ท่ี 5 จงั หวัด ท่ีสง่ เสริมการพัฒนาทกั ษะการฟัง พูด ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร ร่วมกนั ในสถานศึกษาสังกดั สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จานวนบคุ ลากร กศน. ตาบลท่สี ามารถจัดทาคลังความรไู้ ด้ 15. จานวนบทความเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ในระดับตาบลในหัวข้อต่าง ๆ 16. จานวนหลักสูตรและสอื่ ออนไลนท์ ใ่ี ห้บรกิ ารกับประชาชน ท้ังการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตวั ช้ีวัดเชิงคุณภำพ 1. ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศกึ ษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวิชาทกุ ระดับ 2. ร้อยละของผเู้ รยี นทไ่ี ด้รบั การสนับสนุนการจดั การศึกษาข้ันพื้นฐานเทียบกบั ค่าเป้าหมาย 3. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายที่ลงทะเบยี นเรยี นในทกุ หลกั สูตร/กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เน่อื งเทียบกับ เป้าหมาย

16 4. รอ้ ยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พฒั นาทักษะอาชีพระยะสั้นสามารถนาความรูไ้ ปใช้ในการประกอบอาชพี หรือพฒั นางานได้ 5. รอ้ ยละของผูเ้ รียนในเขตพน้ื ท่จี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ที่ไดร้ ับการพัฒนาศกั ยภาพ หรือทกั ษะด้านอาชีพ สามารถมงี านทาหรอื นาไปประกอบอาชพี ได้ 6. ร้อยละของผจู้ บหลกั สูตร/กจิ กรรมทส่ี ามารถนาความรคู้ วามเขา้ ใจไปใชไ้ ด้ตามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สตู ร กิจกรรม การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง 7. รอ้ ยละของประชาชนที่ไดร้ บั บริการมคี วามพงึ พอใจต่อการบรกิ าร/เขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรูก้ ารศกึ ษา ตามอัธยาศยั 8. ร้อยละของประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายทไ่ี ดร้ บั บริการ/ขา้ รว่ มกิจกรรมที่มีความร้คู วามเขา้ ใจ/เจตคติ ทกั ษะ ตามจดุ มุ่งหมายของกิจกรรมทก่ี าหนด ของการศกึ ษาตามอัธยาศยั 9. ร้อยละของนักเรยี น/นกั ศึกษาทม่ี ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นในวิชาทไ่ี ดร้ ับบริการตวิ เขม้ เตม็ ความรู้เพมิ่ สูงข้ึน 10. รอ้ ยละของผสู้ งู อายุทีเ่ ป็นกลมุ่ เปา้ หมาย มีโอกาสมาเข้ารว่ มกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวติ นโยบำยเรง่ ดว่ นเพอื่ รว่ มขับเคลื่อนยุทธศำสตรก์ ำรพัฒนำประเทศ 1.ยทุ ธศำสตร์ดำ้ นควำมมนั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึง ความสาคญั ของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสรมิ สรา้ งความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งรวมถึงแนวทางพระราชดาริตา่ ง ๆ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ทั้งยา เสพตดิ การคา้ มนษุ ย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติ โรคอุบตั ิใหม่ ฯลฯ 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา การพัฒนาทักษะ การสร้างอาชพี และการใช้ชีวติ ในสงั คมพหุวฒั นธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่ ชายแดนอ่นื ๆ 1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านยอมรับและ เคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุ และชาวต่างชาติท่ีมีความหลากหลาย ในลักษณะพหุสังคมท่ีอยู่ ร่วมกนั 2 ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน 2.1 เร่งปรบั หลักสตู รการจัดการศกึ ษาอาชีพ กศน. เพือ่ ยกระดับทักษะด้านอาชีพของประชาชนให้เป็นอาชีพ ทร่ี องรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบรู ณาการความร่วมมือในการ พัฒนาและเสริมทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุ่งเน้นสร้างโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความตอ้ งการของตลาดแรงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพ้ืนที่เขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขคพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศสาหรับพ้ืนที่ปกติให้พัฒนาอาชีพท่ีเน้นการต่อยอด ศกั ยภาพและตามบริบทของพ้ืนที่ 2.2 จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบการศึกษาอย่าง น้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนาคุณวุฒิท่ีได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รวมทั้งพัฒนาทักษะในการ ประกอบอาชีพตามความต้องการของประชาชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนองต่อบริบทของสังคมและชุมชน รวมทัง้ รองรับการพัฒนาเขตพน้ื ท่รี ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC)

17 2.3 พฒั นาและส่งเสริมประชาชนเพื่อต่อยอดการผลิตและจาหนา่ ยสนิ คแ้ ละผลิตภณั ฑ์ออนไลน์ 1) เร่งจัดต้ังศูนย์ให้คาปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Brand กศน. เพื่อยกระดับคุณภาพของสินค้าและ ผลิตภณั ฑ์ การบริหารจัดการทค่ี รบวงจร (การผลิต การตลาด การสง่ ออก และสรา้ งช่องทางจาหน่าย) รวมทั้งส่งเสริม การใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการเผยแพร่และจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ 2) พฒั นาและคัดเลือกสุดยอดสินค้าและลิตภัณฑ์ กศน. ในแต่ละจังหวัด พร้อมท้ังประสานความร่วมมือกับ สถานีบรกิ ารนา้ มันในการเป็นซอ่ งทางการจาหนา่ ยสุดยอดสนิ ค้าและผลติ ภัณฑ์ กศน.ให้กว้างขวางยิง่ ขน้ึ 3 ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำและเสรมิ สร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์ 3.1 พัฒนาครูและบคุ ลากรที่เกี่ยวข้องกบั การจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เชอื่ มโยงความรู้กบั ผเู้ รยี นและผ้รู ับบริการ มีความเป็น \"ครูมอื อาชพี \" มจี ติ บรกิ าร มีความรอบรแู้ ละทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ เปน็ \"ผูอ้ านวยการการเรยี นรู้\" ที่สามารถบรหิ ารจดั การความรู้ กจิ กรรม และการเรยี นรู้ทด่ี ี 1) เพิม่ อัตราขา้ ราชการครใู ห้กับ กศน. อาเภอทุกแห่ง โดยเร่งดาเนนิ การเร่ืองการหาอตั ราตาแหนง่ การสรรหา บรรจุ และแตง่ ตง้ั ขา้ ราชการครู 2) พฒั นาข้าราชการครใู นรปู แบบครบวงจร ตามหลักสตู รที่เชือ่ มโยงกับวทิ ยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตาบลให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะการ จัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 4) พฒั นาศกึ ษานิเทศก์ ให้สามารถปฏิบตั กิ ารนิเทศได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทกุ ระดับทุกประเภทใหม้ ีทกั ษะความรู้เร่อื งการใชป้ ระโยชน์จากดจิ ทิ ลั และ ภาษาต่างประเทศทจ่ี าเปน็ 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนร้ใู หม้ บี รรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการให้บริการ กิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที่งยต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ เป็นคาเพ่พื้นที่การเรียนรู้สาหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ดึงดูดความ สนใจ และมีความปลอดภัยสาหรับผใู้ ชบ้ ริการ 1) เร่งยกระดบั กศน.ตาบลนารอ่ ง 928 แห่ง (อาเภอละ 1 แหง่ ) ใหเ้ ป็น กศน.ตาบล 5 ดี พรีเมี่ยม ท่ปี ระกอบด้วย ครดู ี สถานทดี่ ี (ตามบริบทของพืน้ ท่)ี กิจกรรมดี เครอื ขา่ ยดี และมีนวัตกรรมการเรยี นรู้ที่ดมี ีประโยชน์ 2) จัดใหม้ ีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพือ่ ยกระดบั การเรียนรู้ ใน 6 ภูมภิ าค เปน็ พ้นื ทีก่ ารเรียนรู้ (Co - Learning Space) ทท่ี ันสมัยสาหรบั ทกุ คน มีความพรอ้ มในการให้บริการต่าง ๆ อาทิ พ้ืนท่ีสาหรับการทางาน/ การเรียนรู้ พ้ืนที่สาหรับกิจกรรมต่าง ๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมทั้งทางานร่วมกับห้องสมุดประชาชนในการ ให้บรกิ ารในรปู แบบหอ้ งสมุดดิจิทัล บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็ สอ่ื มัลตมิ เี ดีย เพื่อรองรบั การเรียนร้แู บบ Active Learning 3) พฒั นาหอ้ งสมุดประชชน \"เฉลิมราชกมุ ารี\" ให้เปน็ Digital Library โดยใหม้ บี รกิ ารหนงั สอื ในรปู แบบ e - Book บริการคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สูง รวมทั้ง Free Wifi เพื่อการสบื ค้นขอ้ มูล 3.3 ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรู้ทที่ ันสมัยและมปี ระสิทธิภาพ เอื้อตอ่ การเรียนร้สู าหรับทกุ คน สามารถ เรยี นได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา มกี ิจกรรมทีห่ ลากลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพ การเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเช่ือมโยง ความสมั พันธข์ องคนในชุมชนไปสู้การจัดการความรู้ของชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยืน 1) ส่งเสริมการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ปี ลูกฝงั คณุ ธรรม สร้างวินยั จิตสาธารณะ ความรับผดิ ชอบ ตอ่ ส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนบั สนนุ ให้มีการจดั กิจกรรมเพ่อื ปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหก้ บั บคุ ลากรในองคก์ ร 2) จดั ใหม้ หี ลกั สูตรลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ โดยใหส้ านักงาน กศน.จังหวดั ทุกแหป่ กทม. จดั ต้ังกองลูกเสือ ท่ีลูกเสือมีความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เป็นลูกเสือมัคคุเทศก์จังหวัดละ 1 กอง เพื่อส่งเสริมลูกเสือจิต อาสาพฒั นาการท่องเท่ียวในแตล่ ะจังหวดั

18 3.4 เสริมสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคีเครอื ข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐเอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสร้างความ เข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับประชาชนอย่างมี คณุ ภาพ 1) เรง่ จดั ทาทาเนียบภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ในแต่ละตาบล เพอื่ ใชป้ ระโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างการ เรียนร้จู ากองคค์ วามรใู้ นตวั บคุ คลให้เกดิ การถา่ ยทอดภูมิปัญญา สร้างคุณคา่ ทางวฒั นธรรมอย่างยงั่ ยืน 2) สง่ เสริมภมู ิปัญญาท้องถนิ่ สู่การจัดการเรยี นรชู้ ุมชน 3) ประสานความรว่ มมือกบั ภาคีเครอื ข่ายเพอ่ื การขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยให้เข้าถงึ กลุ่มเป้าหมายทกุ กลมุ่ อย่างกว้างขวางและมคี ณุ ภาพ อาทิ กล่มุ ผ้สู งู อายุ กล่มุ อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพอื่ ประโยชนต์ อ่ การจัดการศึกษาและกลมุ่ เป้าหมาย 1) พฒั นาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ท้งั ในรูปแบบของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะ ชวี ิตและทักษะอาชพี การศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้งั การพัฒนาช่องทางการค้าออนไลน์ 2) สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการปฏบิ ตั ิงาน การบริหารจดั การ และการจดั การเรยี นรู้ 3) สง่ เสริมใหม้ ีการใชก้ ารวจิ ัยอยา่ งง่ายเพื่อสร้างนวตั กรรมใหม่ 3.6 พัฒนาศักยภาพคนดา้ นทกั ษะและความเขา้ ใจในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Literacy) 1) พฒั นาความรู้และทกั ษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพอื่ พัฒนารปู แบบการจดั การ เรยี นการสอน 2) สง่ เสริมการจดั การเรียนรูด้ ้านเทคโนโลยีดิจทิ ัล เพ่อื ให้ประชาชนมีทกั ษะความเขา้ ใจและ ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ที่สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั รวมทั้งสรา้ งรายได้ให้กบั ตนเองได้ 3.7 พฒั นาทักษะภาษาต่างประเทศเพือ่ การสื่อสารของประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นทกั ษะภาษาเพ่อื อาชีพ ทั้งในภาคธรุ กิจ การบรกิ าร และการท่องเทย่ี ว รวมทงั้ พัฒนาสอื่ การเรียนการสอนเพือ่ สง่ เสรมิ การใช้ภาษาเพ่อื การส่อื สารและการพัฒนาอาชพี 3.8 เตรียมความพรอ้ มการเขา้ สสู่ งั คมผ้สู งู อายุท่เี หมาะสมและมีคุณภาพ 1) ส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมใหก้ ับประชาชนเพอ่ื สร้างความตระหนักถงึ การเตรยี มพร้อมเขา้ ส่สู ังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มคี วามเขา้ ใจในพฒั นาการของชว่ งวยั รวมทั้งเรยี นรแู้ ละมสี ่วนรว่ มในการดแู ลรับผดิ ชอบผู้สูงอายใุ น ครอบครวั และชุมชน 2) พฒั นาการจดั บรกิ ารการศกึ ษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความพรอ้ ม เขา้ สู่วยั สูงอายุทเี่ หมาะสมและมคี ณุ ภาพ 3) จดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตสาหรับผูส้ ูงอายภุ ายใต้แนวคดิ \"Active Aging\"การศึกษาเพ่ือพัฒนา คณุ ภาพชีวติ และพัฒนาทกั ษะชวี ติ ให้สามารถดูแลตนเองทัง้ สุขภาพกายและสขุ ภาพจิตและร้จู กั ใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนักถงึ คณุ ค่าและศักด์ิศรขี องผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภมู ปิ ัญญาของผู้สงู อายุ และให้มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมด้านตา่ ง ๆ ในชมุ ชน เชน่ ดา้ นอาชพี กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม 5) จดั การศึกษาอาชพี เพื่อรองรับสงั คมผู้สูงอายุ โดยบรู ณาการความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง ในทุก ระดบั 3.9 การส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษา 1) จดั กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรเ์ ชิงรุก และเนน้ ให้ความรู้วทิ ยาศาสตร์อยา่ งง่ายกบั ประชาชนในชมุ ชนทง้ั วิทยาศาสตร์ในวิถีชวี ติ และวิทยาศาสตร์ในชวี ติ ประจาวัน 2) พฒั นาส่ือนิทรรศการเละรปู แบบการจัดกิจกรรมทางวทิ ยาศาสตรใ์ หม้ ีความทันสมัย

19 3.10 ส่งเสรมิ การรูภ้ าษาไทยให้กบั ประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้นื ที่สูงใหส้ ามารถ ฟงั พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพอ่ื ประโยชในการใชช้ วี ติ ประจาวนั ได้ 4 ยทุ ธศำสตร์ตน้ กำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม 4.1 จดั ต้ังศูนยก์ ารเรยี นรสู้ าหรับทกุ ชว่ งวยั ท่ีเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ที่สามารถใหบ้ รกิ ารประชาชนได้ ทกุ คน ทุกชว่ งวยั ที่มกี ิจกรรมท่หี ลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการในการเรียนรูใ้ นแตล่ ะวัยและเป็นศูนย์บรกิ าร ความรู้ ศูนยก์ ารจดั กิจกรรมท่ีครอบคลุมทุกชว่ งวัย เพ่ือใหม้ พี ัฒนาการเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมและมคี วามสขุ กับการเรยี นรู้ ตามความสนใจ 1) เร่งประสานกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เพื่อจัดทาฐานข้อมลู โรงเรยี นทีถ่ กู ยุบรวม หรือคาดวา่ นา่ จะถกู ยุบรวม 2) ใหส้ านกั งาน กศน.จังหวดั ทกุ แห่งท่ีอย่ใู นจงั หวัดท่ีมโี รงเรยี นทีถ่ กู ยบุ รวม ประสานขอใชพ้ น้ื ที่เพ่อื จดั ตัง้ ศนู ย์ การเรียนรูส้ าหรบั ทุกช่วงวัย กศน. 4.2 สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจดั การศึกษาและการเรียนรสู้ าหรบั กลมุ่ เป้าหมายผ้พู กิ าร 1) จัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะชวี ิตและทักษะอาชีพ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดย เนน้ รปู แบบการศกึ ษาออนไลน์ 2) ให้สานักงาน กศน.จงั หวัดทุกแหง่ /กทม. ทาความรว่ มมอื กับศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ในการใช้ สถานท่ี วัสดอุ ุปกรณ์ และครภุ ณั ฑด์ ้านการศกึ ษา เพ่อื สนบั สนนุ การจดั การศึกษาและการเรยี นร้สู าหรบั กลุ่มเปา้ หมาย ผู้พิการ 4.3 ยกระดับการศกึ ษาใหก้ ับกลมุ่ เปา้ หมายทหารกองประจาการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอนื่ ๆ อาทิ ผ้ตู ้องขัง คนพกิ าร เด็กออกกลางคัน ประชากรวยั เรียนทอี่ ยนู่ อกระบบการศกึ ษาให้จบการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สามารถนาความรทู้ ไ่ี ด้รับไปพัฒนาตนเองไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง 4.4 พัฒนาหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาอาชพี ระะสัน้ ให้มีความหลากหลาย ทันสมยั เหมาะสมกับบรบิ ทของ พน้ื ที่ และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผู้รบั บรกิ าร 5. ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคณุ ภำพชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดล้อม 5.1 ส่งเสรมิ ให้มกี ารใหค้ วามรกู้ บั ประชาชนในการรับมือและปรบั ตัวเพอ่ื ลดความเสยี หายจากภยั ธรรมชาติ และผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสงั คมสเี ขียว สง่ เสริมความรู้ให้กับประชาชนเกย่ี วกบั การ คัดแยกตงั้ แตต่ ้นทาง การกาจดั ขยะ และการนากลบั มาใช้ช้า เพื่อลดปรมิ าณและต้นทนุ ในการจัดการขยะของเมอื ง และสามารถนาขยะกลับมาใชป้ ระโยชน์ได้โดยงา่ ย รวมท้ังการจัดการมลพษิ ในชมุ ชน 5.3 ส่งเสริมให้หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาใชพ้ ลังงานทเี่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม รวมท้ังลดการใช้ทรัพยากรท่ี ส่งผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม เช่น รณรงคเ์ รื่องการลดการใช้ถงุ พลาสตกิ การประหยดั ไฟฟ้า เป็นตน้ 6. ยทุ ธศำสตรด์ ำ้ นกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบหำรบรหิ ำรจัดกำรภำครัฐ 6.1 พฒั นาและปรบั ระบบวิธกี ารปฏบิ ัตริ าชการให้ทนั สมัย มีความโปรง่ ใส ปลอดการทุจริต บริหารจัดการบน ขอ้ มลู และหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ มงุ่ ผลสัมฤทธ์มิ คี วามโปรง่ ใส 6.2 นานวตั กรรมและเทคโนโลยีระบบการทางานทเ่ี ป็นดิจิทัลมาใชใ้ นการบรหิ ารและพัฒนางานสามารถ เช่ือมโยงกับระบบฐานขอ้ มูลกลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พรอ้ มทง้ั พัฒนาโปรแกรมออนไลนท์ ี่สามารถเช่อื มโยง ข้อมลู ตา่ ง ๆ ท่ีทาให้การบรหิ ารจัดการเปน็ ไปอย่างตอ่ เน่ืองกันตง้ั แต่ต้นจนจบกระบวนการและใหป้ ระชาชน กล่มุ เป้าหมายสามารถเขา้ ถงึ บริการไดอ้ ยา่ งทันที ทกุ ท่ีและทุกเวลา 6.3 ส่งเสรมิ การพัฒนาบคุ ลากรทุกระดบั อยา่ งต่อเนือ่ ง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตาแหนง่ ให้ตรง กับสายงาน ความชานาญ และความต้องการของบุคลากร

20 ตำมหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง กำรพัฒนำตำมหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาท่ตี ้งั อยู่บนพนื้ ฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรา้ งภมู ิคุม้ กันทด่ี ใี นตวั ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และ คณุ ธรรม ประกอบ การวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มหี ลกั พจิ ารณาอยู่ 5 สว่ น ดงั นี้ 1. กรอบแนวคิด เปน็ ปรัชญาทชี่ ้ีแนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏบิ ตั ิตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยมพี ้ืนฐานมา จากวิถีชีวิตดง้ั เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้ได้ตลอดเวลา และเปน็ การมองโลกเชิงระบบทีม่ กี าร เปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา มงุ่ เนน้ การรอดพน้ จากภัย และวิกฤต เพ่ือความมั่นคงและความย่งิ ยนื ของการพฒั นา 2. คณุ ลกั ษณะ เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้กับการปฏิบตั ิตนไดใ้ นทุกระดบั โดยเนน้ การปฏิบัติ บนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นข้ันตอน 3. คำนยิ ำม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบด้วย 3 คณุ ลกั ษณะ พร้อม ๆ กัน ดังน้ี 3.1 ควำมพอประมำณ หมายถงึ ความพอดี ท่ไี ม่นอ้ ยเกินไปและไมม่ ากเกินไปโดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเอง และผ้อู ื่น เช่น การผลติ และการบรโิ ภคท่ีอย่ใู นระดับพอประมาณ 3.2 ควำมมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเก่ยี วกับระดับของความพอเพยี งนั้น จะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งมี เหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเกยี่ วขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกดิ ขึน้ จากการกระทาน้นั ๆ อยา่ ง รอบคอบ 3.3 กำรมีภมู ิคุ้มกันทีด่ ีในตวั หมายถึง การเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปล่ยี นแปลงด้าน ต่าง ๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยคานึงถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดวา่ จะเกิดขึ้นในอนาคตท้ังใกล้และไกล 4. เงอ่ื นไข การตัดสนิ ใจและการดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ย่บู นระดับพอเพยี งนัน้ ตอ้ งอาศัยทั้งความรู้ และ คณุ ธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคอื 4.1 เงือ่ นไขควำมรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรูเ้ กยี่ วกบั วิชาการตา่ ง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น ความ รอบคอบทจ่ี ะนาความร้เู หลา่ นน้ั มาพิจารณาให้เช่ือมโยง เพ่ือประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขนั้ ปฏบิ ัติ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตอ้ งเสรมิ สรา้ งประกอบดว้ ย มคี วามตระหนักในคุณธรรม มคี วามซ่ือสตั ย์ สุจริตและมีความอดทน มีความเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดาเนนิ ชีวิต เอกสำร/งำนท่เี กย่ี วขอ้ ง เศรษฐกิจพอเพยี งกบั กำรพฒั นำท่ียงั่ ยืน เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ช้ีถึง แนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนให้ดาเนินไปในทางสายกลางของ ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา การบริหาร ประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาสงั คมและเศรษฐกจิ เพ่อื ใหก้ า้ วทันโลกในยุคโลกาภิวัฒน์ เพื่อนามาซ่ึงความเจริญเป็น สิ่งที่ทุกสังคมปรารถนา และพยายามหาหนทางไปสู่เป้าหมายด้วยวิธีการต่างๆตามระบบความคิด ความเชื่อ และ กาหนดอุดมการณ์ เป้าหมาย นโยบาย และกลยุทธ์การพัฒนาท่ีมีผลสืบเน่ืองไปถึงวิถีการดารงชีวิตต่างๆ ของคนใน สังคม แนวคิดเร่ือง วำทกรรมกำรพัฒนำ ( Discourse of Development ) เป็นแนวคิดท่ีพยายามอธิบายให้ เห็นถงึ การเกดิ ขึ้น การดารงอยู่ การเปลย่ี นแปลงกระบวนทัศน์ เพ่ือเชื่อมไปถึงสาเหตุและทางออก ของปัญหาการ

21 พัฒนา เพ่ืออธิบายว่าสิ่งต่างๆที่กล่าวข้างต้น เริ่มจากผู้มีอิทธิพลใช้อานาจท่ีมีอยู่วางระบบกฎเกณฑ์ รูปแบบ ตา่ งๆ เช่นความรู้ ความจริง หรือตัวตนท่ีเกดิ ขึ้น ต่อมาจึงใช้ภาษา จารีตปฏิบัติ ความคิดความเชื่อ คุณค่า รวมทั้ง สถาบนั ตา่ งๆในสังคม เปน็ เครื่องมือในการสรา้ ง หรอื ให้ความหมายต่อสิ่งนั้นตามต้องการ เพราะฉะน้ันการพัฒนาจึง เปน็ เรอ่ื งของอานาจ ท่ถี ูกใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการจดั สรรสิง่ มีคณุ ค่าทางสงั คม จุดเปล่ียนสังคมไทยเมื่อย้อนไปมองในอดีตจะพบว่า สังคมด้ังเดิมเป็นสังคมที่มีวิถีชีวิตแบบเรียบง่าย มี เศรษฐกจิ แบบพน้ื ฐานเป็นการผลิตเพื่อยังชีพสาหรับบริโภคใช้สอยในครัวเรือนและในชุมชนมิใช่เพื่อการแลกเปล่ียน วตั ถุดบิ ในการผลิตสาหรับการยังชีพ แต่ได้มาจากสภาพธรรมชาติที่อยู่รอบตัว ปัจจัยเหล่าน้ี ทาให้ชาวชนบทมีความ ใกลช้ ิดผูกพนั และตระหนักในส่ิงแวดล้อมซ่ึงแสดงออกในรูปความเชื่อและพิธีกรรมที่ยกย่องต่อการรักษาสมดุลของ ธรรมชาติ นอกจากน้ันความความสมั พนั ธ์ในระบบเครอื ญาตแิ ละความสมั พนั ธ์ทางสายเลือด จึงสอดคล้องต่อการใช้ ทรัพยากรร่วมกันทงั้ การแบ่งปันผลผลิต การพึง่ พาอาศัยในด้านตา่ งๆ ลกั ษณะทั้งหมดนจ้ี งึ ทาให้สังคมไทยในอดีตดารง อยู่อย่างสงบ พึ่งพาตนเองได้ และมคี วามพอเพียงต่ออัตภาพ โดยสามารถสืบทอดเอกลักษณ์ดังกล่าวต่อเนื่องอย่าง ไม่ขาดสายตลอดมาเป็นเวลาหลายร้อยปี การเปลีย่ นแปลงครงั้ ใหญ่ของสงั คมเกิดขน้ึ เมอ่ื สงั คมไทยเขา้ สกู่ ระบวนการพัฒนาไปสคู่ วามทันสมยั ภายหลัง สงครามโลก คร้งั ที่ 2 สนิ้ สุดลง ปรากฏการณ์ดังกล่าว เร่ิมตน้ เม่อื ประเทศมหาอานาจใชอ้ านาจทัง้ ในรูปแบบความรู้ ทางวชิ าการ โครงการความชว่ ยเหลอื ต่างๆเขา้ มาครอบงา การกาหนดวาทกรรม เพอ่ื สร้างความหมายใหมข่ องสงิ่ ท่ี เป็นคตู่ รงขา้ มกบั คาว่า เศรษฐกจิ พอเพียง คอื คาว่า พัฒนา (Development) และ ดอ้ ยพัฒนาพฒั นา (Underdevelopment) ออกเปน็ ประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ และ ประเทศทีย่ งั ดอ้ ยพฒั นา ตอ่ มาได้แพรข่ ยายความหมายสู่ กลุ่มประเทศในเอเชยี ละตนิ อเมริกา แอฟรกิ า รวมทัง้ ประเทศไทย ซ่งึ ถกู ใหค้ วามหมายว่าเปน็ ประเทศด้อยพฒั นา ประเทศหนงึ่ ทาให้เกดิ กระแส ความต้องการพฒั นาไปสู่ความทนั สมัยตามแบบประเทศตะวันตก จนในทส่ี ุดได้ ผลักดนั ใหเ้ กิดการพฒั นาอย่างชัดเจนเปน็ คร้งั แรกคือ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตฉิ บบั ท่ี 1 พุทธศักราช 2504 ฉะนน้ั จึงมกี ารให้ความหมายสังคมทพ่ี ฒั นาวา่ เปน็ สังคมทีม่ คี วามทันสมยั ตามแบบสงั คมตะวันตก ซึ่งสามารถ ก ร ะ ท า ไ ด้ ด้ ว ย วิ ธี ก า ร มุ่ ง พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ รู ป โ ค ร ง ส ร้ า ง สั ง ค ม ต่ า ง ๆ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ท า ง ด้ า น การเมอื ง การศกึ ษา ความเชื่อ ให้สอดคล้องกับแนวคิดของความทันสมัย( Westernization ) อย่างเต็มที่ เหตุผล ดังกล่าวจึงมีผลทาให้เป้าหมายและแนวทางการพัฒนาประเทศในอดีตมุ่งไปสู่การทาให้สังคมไทยทันสมัย ตามแบบ สังคมตะวันตก ไม่ว่าจะเป็นการมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจในลักษณะของวิถีการผลิตแบบทุนนิยม โดยการ ส่งเสริมการขยายตัวของอุตสาหกรรมและการค้า การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยพร้อมๆกับการปฏิรูป การเมือง การศึกษา ศาสนา เพ่ือให้โครงสร้างสังคมมีการแบ่งแยกหน้าที่เฉพาะด้าน มีผลทาให้เกิดความ ชานาญ สามารถเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการทางานให้สูงข้ึน และเอื้อต่อการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวย่อมทาให้วิถีชีวิต โลกทัศน์ ระบบความเช่ือ และคุณค่าต่างๆของคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นสังคมเมืองหรือ สงั คมในชนบทผนั แปรไปจากเดิม

22 ผลของการพัฒนาในด้านบวก ได้แก่ การเพิ่มข้ึนของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทาง วัตถุ และสาธารณูปโภคตา่ งๆ ระบบสอื่ สารที่ทันสมยั หรือการขยายปริมาณและการกระจายการศึกษาอย่างท่ัวถึง แตผ่ ลบวกเหล่านี้ กย็ งั คงกระจายไปสคู่ นในสงั คมชนบทหรือด้อยโอกาสได้น้อย ซึ่งส่วนมากจะเป็นการกระจุกอยู่ใน เมืองหลวงหรือตัวจังหวัดท่ีสาคัญ ในขณะท่ีผลลบก็คือ เกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรม การส่งเสริมการเกษตร แผนใหม่ เพื่อการค้าและส่งออก และจากการขยายตัวของภาครัฐไปสู่ชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดการอ่อนแอใน หลายด้าน ท้ังการต้องพึง่ พงิ ของตลาดและพ่อค้าคนกลาง โดยเฉพาะความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และ ระบบนเิ วศน์วทิ ยา ระบบความสัมพันธแ์ บบเครือญาติ และการรวมกลมุ่ กันตามประเพณี เพ่ือการจัดการทรัพยากร ท่มี ีอยู่แตกสลายลง รวมทงั้ ภูมิปญั ญาทีเ่ คยส่ังสมกันมาเริ่มถูกลมื เลือนสูญหายไป วิกฤติเศรษฐกิจเมื่อ ปีพุทธศักราช 2540 ทีเ่ กดิ จากปญั หาเศรษฐกจิ ขยายตวั แบบฟองสบู่ และปญั หาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาสังคมอื่นๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ลว้ นแล้วแตเ่ ปน็ ขอ้ พิสูจน์และยืนยันปรากฏการณ์น้ีได้เป็นอย่างดี ผลท่ีเกิดขึ้นก่อให้เกิดคาถามและข้อสงสัย ต่อแนวทางการพฒั นาไปส่คู วามทันสมัยตามแบบตะวันตก ( Development through Westernization ) ที่มีความ เชื่อกันก่อนหน้าว่า ถูกต้องและเหมาะสมนั้น จะเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทยต่อไปอีกหรือไม่ จึงเกิดแนวคิด ทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาท่ีโต้แย้งทฤษฏีความทันสมัยเช่น ทฤษฏีพึ่งพิง ( Dependency Theory) แนวคิด การพัฒนาการแบบยงั่ ยนื หรือแนวคิดวฒั นธรรมชุมชน เป็นตน้ ควำมเปน็ มำของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นความตอ้ งการของมนุษย์ โดยภาพรวม มี 2 ระดับ คือ 1. ความตอ้ งการทางกายภาพ เปน็ ความต้องการพ้นื ฐานของชีวิต เปน็ ความต้องการเพ่ือให้ชีวิตดารงอยู่ ตามควรแกเ่ อกตั ภาพ หากพจิ ารณาในทางพุทธศาสนา คอื ความต้องการปจั จยั เพือ่ ความมีอยู่ เปน็ อยู่ ได้แก่ ปจั จยั 4 คอื อาหาร เครอื่ งนุ่งหม่ ทอ่ี ยอู่ าศัย และยารักษาโรค เปน็ ความต้องการอันมขี อบเขตจากัดตอ่ คณุ ภาพชวี ิต 2. ความต้องการทางจิตภาพ เปน็ ความต้องการทางจิตใจในวิถีสงั คม เพอ่ื ตอบสนองสิ่งทน่ี อกเหนอื จาก กายภาพ มที ัง้ ภาวตณั หา คอื ความอยากมี อยากเปน็ และวิภาวตัณหา ความไม่อยากมี ไม่อยากเป็น เชน่ ความ ต้องการดา้ นความรกั ความสุขทีต่ นเองคาดหวงั การมชี ่ือเสียงเกยี รตยิ ศ เพอ่ื ให้สงั คมยอมรบั เปน็ ความต้องการเสพส่ิง ปรนเปรอ ที่ไมม่ ขี อบเขตหรือไม่จากดั ตลอดจนการปฏิเสธสงิ่ ที่ตนเองไม่ตอ้ งการ เช่น ไม่ตอ้ งการอยูอ่ ย่างโดด เด่ียว ไมต่ อ้ งการความลม้ เหลวในชีวติ ไมต่ อ้ งการใหใ้ ครมาดูถกู ดหู ม่ิน เป็นตน้ ประเทศไทยและสงั คมไทยทีผ่ า่ นมาจนปัจจุบนั นับวา่ มคี วามโชคดีอย่างมหาศาล ที่มพี ระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ ัวทรงเป็นปราชญ์ท่มี อี จั ฉรยิ ภาพ ในหลาย ๆ ด้าน ประเทศไทย ณ วันนี้ พระเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี 9 ทรงเปน็ พระอัจฉริยะกษตั รยิ ์ในทุก ๆ ดา้ น โดยเฉพาะทางด้านการเกษตร เศรษฐกิจ และสงั คม พระองคท์ รงเล็งเหน็ ระบบทุน นิยมท่ีจะเขา้ ทาลายสังคม โลก และสงั คมไทย สดุ ทเี่ ยียวยาในเร็ววนั กอปรด้วยพระองค์ได้เสดจ็ พระราชดาเนินเยยี่ ม เยยี นพสกนิกรในที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะในชนบทตลอดมา การเสดจ็ ของพระองค์นอกจากเพือ่ เป็นมงิ่ ขวัญแกเ่ หล่าอาณา ประชาราษฎรแ์ ลว้ พระองค์ยงั ไดท้ รงศกึ ษาปัญหาดา้ นต่าง ๆ จนทรงเข้าพระทยั อยา่ งถ่องแท้ แลว้ หาวธิ แี ก้ไขได้อย่าง เหมาะสม ตามข้อเท็จจริงและสภาพสังคมอย่างดียิ่ง ดว้ ยพระอจั ฉรยิ ภาพในการวิเคราะห์ปัญหาอย่างลกึ ซงึ้ และถ่องแท้ พระองค์จึงทรงกาหนดยทุ ธศาสตรใ์ นการ แก้ไขปญั หาเศรษฐกจิ ของไทย เป็น 2 ลักษณะสาคญั คือ

23 1. ยุทธศาสตร์การสรา้ งแบบจาลอง เป็นยุทธศาสตรท์ างเศรษฐกจิ ที่มีความสอดคลอ้ งกับสภาพความเป็นอยู่ ความเป็นจริง ตามศกั ยภาพของเมอื งไทยและสงั คมไทย โดยการวเิ คราะห์ และสังเคราะห์ นาไปแกไ้ ขปญั หา 2. ยทุ ธศาสตร์แบบโครงการ เปน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ีสะทอ้ นออกมาในลักษณะศึกษาค้นควา้ ทดลอง วิจัย จนเกิด เป็นโครงการตามแนวพระราชดาริมากมายนบั พันโครงการ ยทุ ธศาสตร์ท้ัง 2 ระบบดังกล่าว ต่างเออ้ื ซ่ึงกนั และกัน แตพ่ ระองค์ทรงใหค้ วามสาคญั ในยุทธศาสตร์แบบจาลองเปน็ หลกั พื้นฐาน เพราะผสู้ รา้ ง ผรู้ กั ษา ผูใ้ ช้ คอื ประชาชนทกุ คน จากที่ทรงเล็งเหน็ ความสาคัญแห่งยทุ ธศาสตร์ แบบจาลองนเ้ี อง พระองค์ได้ทรงพยายามอธิบายและใช้แนวพระราชดารินพ้ี ัฒนาเรื่อยมาในลักษณะ “ทฤษฎีใหม่” หรอื “โครงการพัฒนาพน้ื ทีเ่ กษตรนา้ ฝนอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ” มีสาระสาคญั เกย่ี วกบั การทาไร่นาสวนผสม อัน เกิดจากทรงคดิ ข้ึนจากภูมิปญั ญาชาวบ้าน ซ่ึงจะช่วยให้ชาวชนบทมีความเข้มแขง็ สามารถพึง่ พาตนเองได้ โดยใช้ ศักยภาพและทรพั ยากรท่มี อี ยูใ่ ห้ได้ประโยชน์สงู สุดและคมุ้ ค่า ทั้งทางดา้ นการพัฒนาการเกษตร เศรษฐกิจ วถิ ชี วี ิต ชุมชน ความม่นั คง วทิ ยาศาสตร์ ธรรมชาติ การปกครอง ครอบครวั และจิตสานกึ ทฤษฎีใหม่ ทีพ่ ระองค์ทรงคิดค้น ได้รบั ความสนใจทง้ั จากรัฐบาลและประชาชน ในระดบั หน่ึง แต่กย็ งั ไม่ แพร่หลาย และจริงจังจากทกุ สว่ นฝา่ ยมากนักแต่ พระองคท์ รงเล็งเห็นว่าน้ีคอื ทางไปสูค่ วามม่นั คง เข้มแข็ง และยัง่ ยนื อย่างแทจ้ รงิ ในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยเกดิ วิกฤตทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ภาษาชาวบ้านเรยี กขานกนั ว่า “ฟองสบู่ แตก” กล่าวคอื ดูภายนอกแลว้ เศรษฐกิจไทยเดินไปอยา่ งสวยงาม นา่ ทึ่งแตข่ าดพน้ื ฐานยดึ เกาะใด ๆ เมอื่ ถูก กระแทกจากภาวะภายนอก ฟองสบู่ท่ีดูสวยงาม ก็แตกสลายอย่างสิน้ เชิง เพราะไรร้ ากฐาน ทเ่ี ขม้ แข็งพอ การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับตอน ตอ้ งสร้างพ้ืนฐานคอื ความพอมพี อกิน พอใชข้ องประชาชน ส่วนใหญเ่ ป็นเบอ้ื งต้นกอ่ น เม่ือได้พื้นฐานม่นั คงพรอ้ มพอควรและปฏบิ ตั ไิ ด้แล้ว จงึ คอ่ ยสรา้ ง ค่อยเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกจิ ชน้ั ทส่ี ูงขน้ึ โดยลาดบั ตอ่ ไป เศรษฐกิจพอเพยี ง ไมใ่ ช่เทคนิค แตม่ คี วามหมายกว้างมาก เพราะตอ้ งรวมเอา 1) อดุ มการณบ์ างอย่าง 2) โลกทัศน์บางอย่าง 3) ความสมั พันธ์บางอยา่ ง 4) ค่านยิ มบางอยา่ ง จงึ จะนบั ได้วา่ เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งทีแ่ ทจ้ รงิ ทง้ั 4 ประการ ทจ่ี ะกล่าวถึงนี้ คอื สว่ นทเี่ รารูจ้ กั กนั วา่ วัฒนธรรมน่นั เอง ถ้าไมเ่ ขา้ ใจเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามความหมายเชน่ นี้ เศรษฐกจิ พอเพียงจะมคี วามเปน็ ไปไดแ้ ก่คนจานวนนอ้ ยเทา่ นนั้ คือ เกษตรกรทม่ี ีท่ีดินของตนเอง ในปริมาณเพยี งพอจะผลติ เพื่อพอบริโภคหรือทารายได้ พอสาหรับครัวเรอื น เท่าน้ัน ฉะนน้ั เศรษฐกจิ พอเพยี งจึงนิยมกันไวเ้ พยี งวา่ เศรษฐกิจพอเพียงคือวฒั นธรรม ไมใ่ ช่เทคนคิ การเพาะปลกู หรอื ศลี ธรรม ความไมล่ ะโมบ และการประหยดั เท่านนั้ แม้ว่าเป็นส่วนทีข่ าดไม่ไดข้ องเศรษฐกจิ พอเพียงก็ตาม เศรษฐกิจพอเพยี ง หมายถงึ พอเพียงในอย่างน้อย 7 ประการด้วยกัน ไดแ้ ก่ 1. พอเพยี งสาหรบั ทกุ คน ทกุ ครอบครัว ไม่ใช่เศรษฐกิจแบบทอดท้ิงกัน 2. จิตใจพอเพียง ทาใหร้ กั กัน และเอื้ออาทรคนอื่นได้ คนทไี่ ม่พอจะรกั คนอน่ื ไมเ่ ป็น และทาลายมาก

24 3. สงิ่ แวดลอ้ มพอเพียง การอนรุ กั ษแ์ ละเพ่มิ พนู สงิ่ แวดลอ้ มทาให้ยังชพี และทามาหากนิ ได้ เช่น การทาเกษตร ผสมผสาน ซง่ึ ได้ทัง้ อาหารไดท้ ้ังสิง่ แวดลอ้ ม และได้ท้งั เงนิ 4. ชุมชนเข้มแข็งพอเพยี ง การรวมตวั กนั เป็นชมุ ชนทเ่ี ขม้ แข็ง จะทาให้สามารถแก้ปญั หาต่าง ๆ ได้ เช่น ปัญหา สังคม ปญั หาความยากจน หรอื ปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม 1. ปญั หาพอเพียง มีการเรยี นรู้ร่วมกนั ในการปฏิบตั ิ และปรบั ตวั ไดอ้ ย่างต่อเนื่อง 2. อยบู่ นพนื้ ฐานวัฒนธรรมเพยี งพอ วัฒนธรรม หมายถึง วถิ ีชีวิตของกลุม่ ชนทส่ี ัมพันธ์อย่กู ับ สง่ิ แวดล้อมท่ีหลากหลาย ดังน้ัน เศรษฐกิจจงึ ควรสัมพันธ์อย่แู ละเตบิ โตขน้ึ จากฐานทางวัฒนธรรม จงึ จะมั่นคง เช่น เศรษฐกิจของจังหวดั ตราด ขณะน้ี ไม่กระทบกระเทอื นจากฟองสบู่แตก ไมม่ ีคนตกงาน เพราะอยูบ่ นพืน้ ฐานของ สงิ่ แวดล้อมและวัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน ทเ่ี อื้อต่ออาชพี การทาสวนผลไม้ ทาการประมงและการท่องเทยี่ ว 3. มีความมั่นคงพอเพียง ไมใ่ ช่วบู วาบ เด๋ียวจนเดย๋ี วรวยแบบกะทนั หนั เดีย๋ วตกงานไม่มีกนิ ไม่มใี ช้ ถา้ เป็นแบบน้ันประสาทมนษุ ย์คงทนไม่ไหวตอ่ ความผันผวนทเ่ี รว็ เกิน จึงสุขภาพจิตเสยี เครยี ด เพี้ยน รุนแรง ฆ่าตวั ตาย ติดยา เศรษฐกิจพอเพยี งท่ีมน่ั คงจึงทาใหส้ ขุ ภาพจิตดีเม่ือทกุ อย่างพอเพยี งกเ็ กดิ ความสมดลุ ความสมดลุ คอื ความเป็น ปกติ และยง่ั ยนื ซ่ึงเราอาจเรยี กเศรษฐกจิ พอเพียงในชอ่ื อืน่ ๆ เชน่ - เศรษฐกจิ พื้นฐาน - เศรษฐกจิ สมดุล - เศรษฐกจิ บรู ณาการ - เศรษฐกิจศีลธรรม และนีแ่ หละ คือเศรษฐกิจทางสายกลาง หรอื เศรษฐกจิ แบบมัชฌมิ าปฏิปทา เพราะเช่อื มโยงทกุ เร่ืองเข้าดว้ ยกนั ทั้ง เศรษฐกจิ จติ ใจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอ้ ม ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง อาจมองได้เปน็ 2 ดา้ น คอื มองอย่างวตั ถวุ ิสยั และมองแบบจิตวิสยั 1. มองอยา่ งวัตถุวสิ ัย มองภายนอก คือ ตอ้ งมีกินมีใช้ มปี จั จยั สเ่ี พียงพอ ทเ่ี ราพดู วา่ พอสมควรกบั อตั ภาพ ซ่ึง ใกลเ้ คยี งกบั คาวา่ พง่ึ ตนเอง ไดใ้ นทุกเศรษฐกจิ 2. สว่ นความหมายดา้ นจิตวสิ ัย หรอื ด้านจติ ใจภายใน คือ คนจะมีความรสู้ กึ เพียงพอไมเ่ ทา่ กัน บางคนมีเป็นลา้ น ก็ไม่พอ บางคนมีนดิ เดียวก็พอ เป็นการเพียงพอทางจติ ดงั นั้น คาว่า เศรษฐกิจพอเพียง โดยนยั คือวถิ ชี วี ติ ทีพ่ อเพียง และสมดลุ ระหว่างคนกับคน และคนกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ทง้ั ทางกายภาพและจติ ภาพ โดยมติ ผิ ูกพนั ในสว่ นของบุคคล พอเพยี งทางเศรษฐกจิ คอื พอกินพอใจ อย่างมน่ั คง และ พอเพยี งทางจิตพสิ ยั ทง้ั อุดมการณ์ โลกทัศน์ คา่ นิยมและต่อสงั คมมิติ ในสว่ นของสงั คม คอื พื้นฐานทางสังคมท่ี พอเพยี งสมดลุ เขม้ แข็ง ของชมุ ชน ทัง้ ทางเศรษฐกจิ ส่ิงแวดล้อม การบูรณาการและวัฒนธรรม หลกั พจิ ำรณำปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. กรอบแนวคดิ เปน็ ปรัชญาท่ีช้แี นะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปน็ โดยมพี น้ื ฐานมา จากวถิ ีชีวิตด้งั เดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเปน็ การมองโลกเชิงระบบทม่ี ี การเปล่ยี นแปลงอย่ตู ลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพน้ จากภัยและวกิ ฤตเพือ่ ความมนั่ คงและความย่งั ยืนของการ พัฒนา

25 2. คุณลกั ษณะ เศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใชก้ ับการปฏบิ ัตติ นไดใ้ นทกุ ระดบั โดยเนน้ การปฏบิ ตั ิ บนทางสายกลาง และการพัฒนาอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน 3. คานยิ าม ความพอเพียง จะต้องประกอบด้วย 3 คุณลกั ษณะพร้อม ๆ กัน ดงั น้ี 3.1ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ่ไี ม่นอ้ ยเกินไป และไมม่ ากเกินไป โดยไม่เบยี ดเบียนตนเอง และ ผูอ้ ื่น เช่น การผลติ และการบริโภคท่ีอยู่ในระดบั พอประมาณ 3.2 ความมเี หตุผล หมายถงึ การตดั สินใจเก่ียวกับระดบั ความพอเพยี งน้ัน จะต้องเป็นไปอยา่ งมเี หตุผล โดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกย่ี วข้อง ตลอดจนคานงึ ถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดขน้ึ จากการกระทานั้น ๆ อยา่ งรอบคอบ 3.3การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พร้อมรบั ผลกระทบ และการเปลย่ี นแปลงดา้ นต่าง ๆ ที่จะเกิดข้นึ โดยคานงึ ถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณต์ ่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึน ในอนาคตทง้ั ใกลแ้ ละไกล 4.เง่ือนไข การตัดสินใจและการดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพียงน้นั ต้องอาศัยทั้งความรูแ้ ละ คณุ ธรรมเปน็ พนื้ ฐาน กล่าวคอื 4.1เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วยความรอบรเู้ กย่ี วกับวิชาการตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบ ทจ่ี ะนาความรู้เหล่านั้นมาพจิ ารณาใหเ้ ช่ือมโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน และมคี วามระมดั ระวงั ในขน้ั ปฏิบัติ 4.2เงอ่ื นไขที่จะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง ประกอบด้วยมคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มคี วามซ่อื สตั ยส์ ุจรติ และมีความ อดทน มีความเพยี รใช้สติปญั ญาในการดาเนนิ ชีวติ 5.แนวทางปฏบิ ัติ / ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใช้ คอื การพฒั นาท่ี สมดุลและยงั่ ยนื พรอ้ มรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกดา้ น ทั้งดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม ความรแู้ ละเทคโนโลยี ดงั นนั้ คาวา่ เศรษฐกิจพอเพียง โดยนัย คือวถิ ีชีวิตทีพ่ อเพยี ง และสมดลุ ระหวา่ งคนกบั คน และคนกบั ส่งิ แวดล้อม ท้ัง ทางกายภาพและจติ ภาพ โดยมิตผิ กู พนั ในสว่ นของบคุ คล พอเพยี งทางเศรษฐกจิ คอื พอกินพอใจ อยา่ งมั่นคง และ พอเพยี งทางจติ พิสยั ทัง้ อดุ มการณ์ โลกทัศน์ ค่านิยมและต่อสงั คมมติ ิ ในสว่ นของสังคม คือ พื้นฐานทางสงั คมที่ พอเพยี งสมดลุ เขม้ แข็ง ของชมุ ชน ทง้ั ทางเศรษฐกจิ ส่ิงแวดล้อม การบูรณาการและวฒั นธรรม กำรปรบั ตัวของเศรษฐกิจพอเพียงภำยใตก้ ำรปรบั เปลยี่ นของสังคมไทย ปรากฏการณท์ างสงั คม เปน็ เรอื่ งทีซ่ บั ซ้อนและเช่อื มโยงกนั ในหลายๆมติ ิ การจะบูรณาการ มโนทัศนต์ า่ ง ๆ เพ่ือทาความเข้าใจปรากฏการณ์สังคมจงึ เป็นสิ่งสาคญั เพ่ือวิเคราะห์ถึงโครงสร้างวฒั นธรรมซงึ่ เปน็ วถิ ีชวี ิตทั้งหมดของ มนุษย์ จึงจาเปน็ ต้องพิจารณา 3 องคป์ ระกอบไปพรอ้ มกนั คือ 1.ระบบการผลิต หรือ ระบบการทามาหากิน การต่อสู้เพ่ือให้ชีวิตอยู่รอดของมนุษย์ทาให้เกิดระบบการ ผลติ เกดิ การคดิ คน้ และพฒั นาเทคโนโลยีต่างๆซึ่งในสังคมดั้งเดิมของมนุษย์อาศัยพึ่งพาธรรมชาติเป็นหลัก ทาให้คน รูจ้ ักจดั การระบบความสัมพนั ธก์ ับธรรมชาติโดยสร้างความเช่ือต่างๆขึ้นจนทาให้เกิดเป็นระบบคุณค่า เกิดการนับถือ ศาสนาและพธิ ีกรรมต่างๆ นอกจากนัน้ การทมี่ นษุ ยไ์ ด้อยรู่ ว่ มกนั เปน็ กลุม่ จึงจาเปน็ ตอ้ งจดั ระบบความสัมพันธ์ในการ อยรู่ ว่ มกันนี้ใหเ้ หมาะสม ทาใหเ้ กิดจารีตประเพณี ระบบกฎเกณฑ์ และพิธีกรรมต่างๆเป็นแนวทางและบรรทัดฐาน ให้สมาชกิ ของชมุ ชนทง้ั รนุ่ ปัจจุบันและรุ่นต่อไปได้ถือปฏิบัติ ระบบกฎเกณฑ์และประเพณีต่างๆจะถูกถ่ายทอดโดยมี การเปล่ียนแปลงและพัฒนาเพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพสิ่งแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไป จึงทาให้บางส่วนท่ีไม่เหมาะสม กับสภาพสิง่ แวดล้อมใหม่ ต้องยกเลกิ ไปไม่มีถือปฏิบตั ิกันอีก

26 2.ระบบการอยู่ร่วมสัมพันธ์กัน เช่น ครอบครัว เครือญาติและชุมชนรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่าง ชุมชน แนวคิดดังกล่าว แสดงความเกี่ยวพันและเช่ือมโยงระหว่างระบบความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ระบบคุณค่า และโลกทัศน์ กับความสัมพันธ์ทางสังคมต่างๆ ว่าการเปลี่ยนแปลงประเทศไปสู่ความทันสมัยตามแบบทุนนิยม การค้า ที่เน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจพร้อมๆกับการจัดระเบียบสังคมใหม่ เพ่ือให้เอ้ือต่อความทันสมัย น้ัน แม้ว่าผลท่ีเกิดขึ้น คือ ความทันสมัยทาให้คุณภาพชีวิตส่วนหน่ึงของคนดีข้ึน แต่ในขณะเดียวกันในอีกด้านหน่ึง กลับพบว่า การพัฒนาด้านวัตถุและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางสังคมแบบใหม่น้ี ได้ทาลายสายสัมพันธ์ทาง สังคมและวัฒนธรรมตั้งเดิมซึ่งเป็นรากฐานของความสุข ความม่ันคง และความเข้มแข็งของชุมชนลง ผลกระทบ สาคญั อีกประการหนึ่งก็คือ ศกั ยภาพในการรกั ษาอานาจเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง รวมท้ังการรักษาสม ดลุ ยภาพระหวา่ งมนษุ ยก์ บั ธรรมชาติ มนุษยก์ ับมนษุ ย์ และกายกบั จติ ของมนษุ ย์ อนั เป็นพ้ืนฐานของความสัมพันธ์ที่ จะทาใหเ้ กดิ ความพอเพียงต้องถูกกระทบกระเทือน จึงมีผลทาให้แต่ละชุมชนต้องพยายามหาหนทางเพ่ือปรับตัวให้ สามารถดารงอยู่ได้ แต่ด้วยความท่ีแตกต่างกัน อาทิ ลักษณะกายภาพ สภาพภูมิศาสตร์ ทรัพยากรของแต่ละ ชุมชน ทาใหเ้ กดิ การแสวงหาทางออกเพอื่ รกั ษาความพอเพียง ซ่งึ เป็นทางรอดของแต่ละชุมชน มีระดับลักษณะและ รูปแบบที่แตกต่างกันออกไป เช่น บางชุมชนรักษาความพอเพียงไว้ด้วยการสร้างระบบความสัมพันธ์ท่ีไม่พยายาม พง่ึ พิงผู้อ่ืน โดยทาการผลิตเพื่อผู้บริโภคของตนเอง และใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้มากท่ีสุด ไม่เน้นการผลิตแบบการค้า หรือหากจะต้องมบี ้างกส็ ามารถสร้างระบบการจดั การที่เอ้ือใหเ้ กิดการบูรณาการแลกเปล่ียนสินค้า รวมท้งั กจิ กรรมทาง เศรษฐกิจอ่ืนๆให้ดารงอยู่ในบริบทเดียวกัน หรือในบางชุมชนก็เลือกวิธีการอยู่รอด โดยการผนวกตนเองเข้าไปกับ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมการค้า ด้วยการสร้างกระบวนการจัดระเบียบสังคมใหม่ ที่เอื้อให้เกิดความเป็นประชาสังคม (Civil Society) เพือ่ รกั ษาความเปน็ ศกั ยภาพแห่งความพอเพียง และอานาจตอ่ รองกับเศรษฐกิจภายนอก ไมว่ ่าจะเป็น การสรา้ งความสัมพนั ธ์ทางสังคม ท่อี ยู่บนพ้นื ฐานของความไว้วางใจตอ่ กัน ซึง่ ถือวา่ เปน็ ทนุ ทางสงั คมท่ีสาคัญ สามารถ ช่วยให้ชุมชนรวมกลุ่มกันเพ่ือการจัดการปัญหาต่างๆ รวมทั้งกาหนดแนวทางการพัฒนาของตนเอง อันเป็นเง่ือนไข สาคัญของการดารงอยู่ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ระบบความเช่ือ อันประกอบด้วย ระบบคุณค่าทางวัฒนธรรม ความไว้วางใจทางสังคมน้ีเกิดข้ึนได้โดย เง่ือนไขสาคัญ 2 ประการ คือ ประการแรก ด้วยการสร้างบรรทัดฐานแบบพ่ึงพาอาศัยกันที่ต้ังอยู่บนพื้นฐานและ กฎเกณฑก์ ติกาของความสมั พันธแ์ บบเท่าเทียมกนั ขนึ้ มา พร้อมท้งั พัฒนากระบวนการบงั คับทางสงั คมและการขัดเกลา ทางสงั คม เพ่อื ใหบ้ รรทัดฐานดังกลา่ วเปน็ ที่ยอมรับอย่างกว้างขวางและย่ังยืน ประการท่ีสอง การสร้างเครือข่ายที่ทา ให้บุคคลมาสัมพันธ์กันในเร่ืองเก่ียวกับชุมชน เช่น การพัฒนาความสัมพันธ์แบบวิสาสะ (Association) และ ความสมั พันธ์แบบแนวราบ (Cooperation) เพือ่ ให้สมาชิกได้สรา้ งนสิ ัยของความรว่ มมือกนั ทาให้สามารถผลึกกาลัง กันดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ได้ รวมท้ังปลกู ฝงั ใหเ้ กดิ จิตสานึกสาธารณะและความไว้วางใจกัน จนในที่สุดสามารถพัฒนา ไปสู่ความเปน็ ชมุ ชน แบบประชาสังคม (Civic Community) ซึ่งมศี กั ยภาพตอบสนองความต้องการของตนเองได้เป็น อย่างดี และทาให้สามารถสร้างระบบการจัดการในการรักษาความพอเพียงของตนเองไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยน บรบิ ทแวดลอ้ มไปอย่างไร ทาใหเ้ กิดเป็นคณุ ค่าทางความเช่อื ร่วมกนั จนนาไปสรู่ ะบบคุณคา่ ทางวัฒนธรรมอน่ื ๆตามมา องคป์ ระกอบทงั้ สามสว่ นมคี วามสมั พนั ธก์ นั อย่างใกลช้ ดิ เมอื่ เกิดการเปลยี่ นแปลงขน้ึ ในระบบใดระบบหน่ึง ก็จะส่งผล ต่อเนอื่ งทาใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงขึน้ ในระบบอืน่ ๆด้วย ซง่ึ ในที่สดุ ก็จะทาให้โครงสร้างสังคมหรอื วัฒนธรรมทง้ั หมด เปลี่ยนแปลงเป็นพลวัต และมคี วามหลากหลายไม่คงที่

27 สรปุ ไดว้ ่า เง่ือนไขสาคัญของการดารงอยูข่ องเศรษฐกจิ พอเพียงภายใต้บรบิ ททเ่ี ปลีย่ นแปลงไปสู่ความทันสมัยและ ความสมั พันธท์ างการผลิตแบบทุนนยิ มการค้า กค็ ือ ศักยภาพของชมุ ชนในการจดั ระเบยี บทางสงั คมใหม่ทมี่ ีผลต่อการ เปลยี่ นแปลงโลกทัศน์ ระบบคุณคา่ และบรรทดั ฐานทท่ี าให้ชุมชนสามารถสรา้ งศกั ยภาพในการปรับตัวอย่างมีอานาจ ตอ่ รองและดารงความสามารถในการตอบสนองความต้องการของตนเองไว้ได้ ทา่ มกลางบรบิ ทที่เปลย่ี นแปลงไป นน่ั เอง เศรษฐกจิ พอเพียงทงั้ ส่วนบคุ คลและสังคม สามารถนามารวมประสานใหเ้ กดิ ความเข้มแขง็ เป็นรูปธรรมจาก การปรับวถิ ที างวฒั นธรรมท่มี อี ยู่ในลกั ษณะภมู ปิ ัญญาท้งั ทางกายภาพด้านวตั ถุพิสัยและจิตภาพดา้ นจิตพสิ ยั ให้เกิด ความเหมาะสม เพื่อใหบ้ คุ คลและสังคมดารงอยูอ่ ยา่ งสันติสุข ตามเอกกตั บุคคลและสังคมอย่างมั่นคง รวมขึ้นเปน็ วฒั นธรรมพอเพียง เป็นชีวติ ท่ีพอเพยี ง โดยมแี นวคิด ดังน้ี 1. ชีวิตทพี่ อเพียง หมายถึงชีวิตท่ีเพียงพอแล้ว โดยสามารถใช้พลงั แหง่ ความทะเยอทะยานนาพา โดยไมเ่ กิน ขดี ความสามารถที่จะไปถงึ มฉิ ะนนั้ จะพบความหายนะ 2. ชวี ิตที่พอเพยี ง ไม่ใช่ชีวิตที่สนั โดษ ไรค้ วามฝนั แตค่ ือใฝ่ฝนั ตามศกั ยภาพ ไมใ่ ชเ่ พ้อฝันโดยการกา้ วไปอย่าง มสี ติ 3. ชวี ิตทพ่ี อเพยี ง จะเปน็ ตวั กาหนดวิถีชวี ติ และวิถสี งั คม ใหอ้ ย่อู ย่างสง่างาม 4. ชีวติ ที่พอเพียง คือชวี ติ ทีพ่ อประมาณ มีเหตุมีผล ในการสรา้ งภมู ิคุ้มกนั ที่ดีในตัวเอง การใช้ความร้อู ย่าง รอบคอบ และมีคณุ ธรรม ในการดาเนนิ งานทุกขน้ั ตอน 5. ชีวิตท่พี อเพียง คอื ชีวิตที่สานกึ ในคุณธรรม จริยธรรม มคี วามเพียรพยายาม มสี ติปัญญา ความรอบรแู้ ละ รอบคอบให้ พรอ้ มตอ่ การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมทั้งทางด้านวตั ถุและจติ ใจ 6. ชวี ิตท่พี อเพียง จะไมก่ ่อให้เกดิ การละเมิด บรรทดั ฐานจารตี ประเพณแี ละวัฒนธรรมอันดีงามของไทย 7. ชวี ิตท่พี อเพียง จะไม่ก่อใหเ้ กดิ การเบยี ดเบยี น เอารัดเอาเปรยี บตอ่ กนั ในสังคม ให้เกดิ ความเดือดร้อน 8. ชีวิตทพ่ี อเพยี ง จะมีความพอเพียงท้งั ทางกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม 9. โลกวุ่นวายหนอ ขดั ข้องหนอ เพราะคนไม่มคี ติบนความพอเพยี ง หากรูจ้ ักพอเพียง จะพบหนทางแห่ง ความสุขสงบ จากแนวคิดดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ดงั กล่าว เป็นแนวคดิ ทีย่ ดึ ทางสายกลางหรือความพอดี ในการพง่ึ พาตนเอง 2 ระดับ คอื 1.ระดบั บุคคล คือ ความสามารถในการดารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งไมเ่ ดือดร้อน มีความเปน็ อยู่อย่างประมาณตนตาม ฐานะ ตามอตั ภาพ และทีส่ าคญั ไม่หลงใหลไปตามกระแสของวตั ถุนยิ ม มอี ิสระเสรภี าพไมพ่ ันธนาการอยกู่ บั ส่ิงใด 2.ระดบั สังคม คือ ความสามารถของชมุ ชน สงั คม ประเทศในการผลติ และบริการ เพอื่ ให้สงั คมอยู่รอดอยไู่ ด้ โดยการพ่ึงตนเอง ขอบเขตเศรษฐกิจพอเพยี ง ทางสายกลางหรือความพอดหี รอื ความพอเพยี ง อนั จะนาไปสูเ่ ศรษฐกิจพอเพยี งทร่ี ะดบั บุคคล และสังคม มี ขอบเขตหลักในการปฏบิ ัติให้สามารถพ่ึงตนเองได้ 5 ประการ คอื 1.ดำ้ นจติ ใจ

28 1.1 มจี ติ ใจเข้มแข็ง สามารถพ่งึ ตนเองได้ 1.2 มจี ติ สานึกที่ดี 1.3 มคี วามคิดเชิงสร้างสรรค์แก่ตนเองและสงั คม 1.4 มีจิตใจเออ้ื อาทร ประนีประนอม 1.5 เหน็ แก่ประโยชน์ส่วนรวมเปน็ ท่ตี ้งั 2. ด้ำนสงั คม 2.1 มีความชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู กนั 2.2 มคี วามสามัคคี 2.3 มคี วามเช่ือมโยงเป็นเครือขา่ ยที่เข้มแข็ง 2.4 มคี วามเปน็ อสิ ระในการคดิ การดาเนนิ การ 3. ด้ำนเศรษฐกิจ 3.1 ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ 3.2 ยดึ หลักพออยพู่ อกนิ พอใช้ 3.3 มีการวางแผนอยา่ งรอบคอบในด้านการใช้จา่ ย 3.4 มีความรคู้ วามสามารถในการจัดการทรพั ย์สินทีม่ อี ยู่ 3.5 มภี ูมคิ ้มุ กนั ในความเสย่ี ง 3.6 มแี ผนสารองเปน็ ทางเลือก 4. ด้ำนเทคโนโลยี 4.1 มีภมู ปิ ัญญาพ้นื ฐานในการแยกแยะสงั คมทีด่ ี ไมด่ ี ควรไม่ควร 4.2 รู้จกั เลือกใชใ้ นสง่ิ ทเี่ หมาะสมกบั ความตอ้ งการ 4.3 รูจ้ ักปรบั ปรุงใหเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมและความเป็นจรงิ 4.4 มีการพฒั นาภูมิปญั ญาของตนเองให้ก้าวหนา้ 5. ด้ำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดล้อม 5.1 รจู้ ักใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างชาญฉลาด สอดคล้องกบั บริบททางธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 5.2 พยายามหาวชิ าการในการเพ่มิ มูลค่าจากภูมิปัญญาทมี่ ีอยู่ 5.3 สามารถอยู่ในธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมได้อยา่ งมคี วามสุข 5.4 รูจ้ ักรักษาพัฒนาและใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างเหมาะสม คมุ้ ค่ากับคนหมูม่ าก 5.5 ยึดหลกั ความเข้มแข็งและย่ังยนื จุดมุ่งหมำยของระบบเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชดาริ มีจุดมุ่งหมาย ดังนี้ 1. สามารถพ่งึ ตนเองได้ 2. ให้พน้ จากความยากจน 3. ให้พอมีพอกิน และมีสมั มาอาชีพ 4. ให้มีชีวิตที่เรยี บงา่ ย ประหยัด ไมฟ่ ้งุ เฟอ้ ฟุ่มเฟือย 5. ใหย้ ดึ ถอื ทางสายกลาง รูจ้ กั พอ พอดี และพอใจ

29 ฐำนควำมคิดกำรพัฒนำเพ่ือควำมพอเพียง ฐานความคิด การพัฒนาเพื่อความพอเพียงควรมหี ลักการ ดงั นี้ 1. ยดึ แนวพระราชดาริในการพัฒนา “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ตามขนั้ ตอน “ทฤษฎใี หม่” 2. สรา้ ง “พลงั งานทางสงั คม” โดยการประสาน “พลังสรา้ งสรรค์” ของทุกฝา่ ยในลักษณะ “พหภุ าคี” อาทิ ภาครฐั องคก์ รพัฒนาเอกชน นักวชิ าการ ธุรกิจเอกชน สอ่ื มวลชน ฯลฯ เพอ่ื ใชข้ ับเคลื่อนกระบวนการพฒั นา ธุรกจิ ชุมชน 3. ยดึ “พืน้ ท่ี” เปน็ หลกั และใช้ “องค์กรชมุ ชน” เป็นศนู ยก์ ลางการพัฒนา ส่วนภาคีอน่ื ๆ ทาหน้าท่ีช่วย กระต้นุ อานวยความสะดวกสง่ เสริม สนบั สนุน 4. ใช้ “กิจกรรม” ของชุมชนเปน็ “เครอื่ งมือ” สรา้ ง “การเรียนรู้” และ “การจดั การ” ร่วมกนั พร้อมทัง้ พฒั นา “อาชพี ท่หี ลากหลาย” เพ่ือเปน็ “ทางเลอื ก” ของคนในชุมชน ซ่งึ มีความแตกต่างทั้งดา้ น เพศ วยั การศึกษา ความถนัด ฐานะเศรษฐกิจ ฯลฯ 5. ส่งเสรมิ “การรวมกลมุ่ ” และ “การสรา้ งเครอื ข่าย” องค์กรชุมชนเพื่อสร้าง “คุณธรรม จรยิ ธรรม” และ “การเรยี นร้ทู มี่ ีคุณภาพ” อยา่ งรอบดา้ น อาทิ การศกึ ษา สาธารณสุข การฟน้ื ฟู วฒั นธรรม การจดั การสิ่งแวดล้อม ฯลฯ 6. วจิ ยั และพัฒนา “ธรุ กิจชมุ ชนครบวงจร” (ผลิต – แปรรูป – ขาย – บริโภค) โดยให้ความสาคัญต่อ “การมี สว่ นรว่ ม” ของคนในชุมชน และ “ฐานทรพั ยากรของทอ้ งถิน่ ” ควรเร่ิมพฒั นาจากวงจรธรุ กจิ ขนาดเล็กใน ระดับท้องถน่ิ ไปส่วู งจรธุรกจิ ทใี่ หญข่ ้นึ ระดบั ประเทศ และระดบั ต่างประเทศ 7. พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนท่ีมี “ศักยภาพสูง” ของแตล่ ะเครือขา่ ย ให้เปน็ “ศูนย์การเรียนรู้ธรุ กิจชมุ ชน” ทม่ี ี ข้อมลู ข่าวสารธุรกิจน้นั ๆ อย่างครบวงจร พร้อมทง้ั ใช้เปน็ สถานที่สาหรบั ศกึ ษา ดูงาน และฝึกอบรม กำรประยกุ ต์ใชร้ ะบบเศรษฐกิจพอเพยี งต่อกำรดำเนนิ ชวี ติ การประยุกต์ใช้ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนนิ ชีวิตเพอื่ นาไปสู่ความสามารถในการพ่งึ พาตนเองได้ สามารถอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสขุ ตามอตั ภาพ ควรพิจารณาดงั น้ี 1. โดยพ้ืนฐานกค็ อื การพึ่งตนเอง เป็นหลักทาอะไรอย่างเปน็ ขนั้ เป็นตอน รอบคอบ ระมดั ระวัง 2. พจิ ารณาถงึ ความพอดี พอเหมาะ พอควร 3. การสรา้ งสามัคคีให้เกิดข้นึ บนพืน้ ฐานของความสมดลุ ในแต่ละสดั สว่ นแต่ละระดบั 4. ครอบคลุมท้ังทางด้านจติ ใจ สังคม เทคโนโลยี ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รวมถึงเศรษฐกิจ ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ และการกลับไปใช้หรือสร้างวาทกรรมแบบใหมข่ ึ้นมาเพ่อื แก้ไขปัญหานั้น ทางออกสาคัญ เพ่อื แก้ปญั หาจะต้องเรม่ิ ต้นดว้ ยการตดั วงจรแห่งการพง่ึ พงิ ทีเ่ กดิ จากความไม่เสมอภาคกัน โดยการสร้างอานาจต่อรอง ใหเ้ พม่ิ ข้ึน เพราะตราบเท่าท่ีสังคมไทยยังคงมีความสัมพันธ์ ในลักษณะการพ่ึงพิงอยู่ ไม่ว่าจะเป็นการพ่ึงพิงต่อสังคม โลก หรือการพ่ึงพิงของชนบทที่มีต่อภาคสังคมเมือง อานาจต่อรองจะไม่เกิดข้ึน และยิ่งมีโอกาสเป็นไปได้น้อย ท่ี ประชาชนเหล่านี้ จะกาหนดทางเลือก การพัฒนาด้วยตนเอง แม้แต่ประเทศไทย ในภาพรวมก็ตาม ที่ผ่านมา การกา้ วเข้าสูส่ งั คมทันสมยั ไปพร้อมกับการปรับตัวในโลกยุคโลกาภิวัฒน์ มีผลทาให้การพ่ึงพิงกระจายลงไปสู่ทุกภาค ส่วน อาทิ ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอย่างแน่นแฟ้นน้ันคือ ประชาชนพึ่งพิงรัฐ ขณะที่รัฐในฐานะสังคม สว่ นหนง่ึ ของโลก ก็จาต้องพ่ึงพิงตลาด เทคโนโลยี องค์ความรู้ และอิทธิพลของประเทศท่ีเหนือกว่าอย่างหลีกเลี่ยง

30 ไม่ได้ สิ่งเหลา่ นี้คือคาอธิบายวา่ เพราะเหตุใดสังคมไทยซงึ่ ดเู หมอื นว่ามีความทันสมัยอย่างเต็มท่ี แต่ในขณะเดียวกัน ก็กลับสูญเสียอานาจและอิสระในการตัดสินใจ กาหนดทางเลือกการพัฒนา สูญเสียอานาจ ในการดาเนินชีวิตชีวิต รวมทั้งสูญเสีย ความสามารถ ในการสนองตอบตอ่ ความต้องการ และการแก้ไขปัญหาของตนเองตลอดเวลาท่ผี า่ นมา ประเทศตะวนั ตก ไดใ้ ชอ้ านาจครอบงา โดยผา่ นกระบวนการวาทกรรมทาให้เกิด อุดมคติ ( Ideal – type) ของการพัฒนาด้วยวิธีการสร้าง ( Construct ) แบบจาลองปรากฏการณ์ทางสังคมผ่านการเช่ือมโยงมโนทัศน์ ตา่ งๆ เพอื่ ใหเ้ กิดความทนั สมยั ขึ้นในสังคมไทย โดยแบบ อุดมคติการพัฒนาท่ีสร้างข้ึน แบ่งเป็นสองข้ัวท่ีแตกต่าง กัน อันได้แก่สังคมทันสมัยที่พัฒนาแล้ว กับสังคมล้าสมัยที่ด้อยพัฒนา ทั้งนี้เพ่ือผลักดันให้สังคมไทยเห็น ความสาคญั เห็นความจาเปน็ และประโยชนจ์ าการเปลย่ี นแปลง ไปสูค่ วามเปน็ ประเทศท่ีทนั สมัยอย่างเต็มท่ี กระบวนการ การตดั วงจรแหง่ การพงึ่ พิงทางเศรษฐกิจพอเพียง จะมีลักษณะและวิธีการที่คล้ายคลึงกันกับการ สรา้ งวาทกรรม ความทนั สมยั ดงั ทีไ่ ด้กลา่ วมา ไมว่ า่ จะเป็นการสรา้ งวาทกรรมท่ีแบง่ อดุ มคติออกเป็น 2 ดา้ นด้วยกัน คือ 1. แบบอุดมคติแห่งการพึ่งพิง ( Dependent ideal –Type ) ท่ีปรากฏอยู่ในรูปของความเชื่อมโยงและ ครอบงาเศรษฐกจิ การเมอื งและวัฒนธรรมกับระบบโลก 2. แบบอดุ มคติแบบความพอเพยี ง ( Sufficiency Ideal-Type) ซ่งึ ประกอบด้วยมโนทัศน์ต่างๆเช่น ความ เขม้ แข็งของชมุ ชนและความเปน็ ประชาสังคม ( Civil Society ) อันมีนัยของอานาจท่ีมีอิสระในการตอบสนองและ แกป้ ัญหาตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง รวมท้ังศกั ยภาพ ในการจัดการปญั หาตา่ งๆร่วมกนั ของชุมชน ตลอดจนรวมไปถึงมโนทัศน์ อ่นื ๆ ท่ีทาใหค้ นและสงั คมสามารถพ่ึงตนเองได้ สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี ภายใต้อานาจและความมีอิสระ ในการกาหนดแนวทางในการดาเนินชีวิต ท่ีรวมเรียกว่า เศรษฐกิจพอเพียง ( Self-sufficiency )เพ่ือจุดประสงค์ สงู สุด คือ ความม่ันคงและยง่ั ยนื ของท้งั สว่ นบุคคลและสังคม นาไปสู่สงั คมท่เี ขม้ แขง็ และพงึ ประสงค์ คอื 1. สังคมคุณภาพ ยดึ หลกั ความสมดุล ความพอดี สรา้ งทกุ คนเป็นคนดี คนเกง่ 2. สังคมแหง่ ภูมิปญั ญาและการเรยี นรู้ ใหค้ ดิ เป็นทาเปน็ แกป้ ญั หาเปน็ มเี หตผุ ล และสร้างสรรค์ 3. สังคมสมานฉันทแ์ ละเอ้อื อาทรตอ่ กนั รูร้ ักสามคั คี 4. สังคมสมดุล คน + สงั คม + ธรรมชาติ (สิง่ แวดล้อม) ในยุคสังคมประเพณี (ยุคอดีต) เมื่อชุมชนยังคงมีอานาจในการควบคุมดูแลจัดการทรัพยากรต่างๆของ ตนเอง อานาจดังกล่าวมักเป็นรากฐานของการนาระบบความรู้ท่ีส่ังสมกันมา หรือท่ีเรียกว่า ภูมิปัญญำของ ชมุ ชน จัดสรา้ งและพัฒนาระบบการจดั การท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพเหล่าน้ปี รากฏอยู่ในรูปของระบบ บรรทัดฐาน ไม่ว่าจะ เป็นจารีตประเพณี วัฒนธรรม ความเช่ือ และพิธีกรรม อันเป็นผลเช่ือมโยงจากอิทธิพลของโลกทัศน์และระบบ คุณค่าของชุมชนและโดยเหตุที่อานาจยังคงดารงอยู่อย่างเต็มที่ชุมชนจึงสามารถใช้อานาจท่ีมีอยู่น้ันควบคุมดูแลให้ ระบบความรแู้ ละระบบการจดั การเหลา่ นี้ สามารถผลิตซ้าให้เกิดข้ึนในสมาชิกรุ่นต่อไป โดยผ่านกระบวนการขัดเกลา ทางสังคมและกระบวนการเรียนรูต้ า่ งๆซง่ึ สอดคลอ้ งกลมกลืนกบั วิถีชวี ิตของชุมชน เม่อื ประเทศเปลยี่ นวถิ ที างการพัฒนาอยา่ งตะวันตก ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตา่ งๆมากมาย ท้ังทางด้านทาง สังคม ทุกอย่างดูทันสมัยและสะดวกสบายย่ิงข้ึน เช่น การมีถนนตัดผ่านเข้าสู่หมู่บ้าน การมีสาธารณูปโภคท่ีดี การ แทรกแซงเพ่อื ช่วยเหลือจากภาครัฐ รวมทั้งระบบทุนนิยมการค้า ทาให้เกิดการเปลี่ยนโครงสร้าง สังคมหลายด้านดั้ง น้ัน อานาจการจัดการของชุมชนที่เคยอยู่ในสภาพสมดุล จึงถูกกระทบกระเทือน ผลตามมาคือบรรทัดฐานที่เคยมี บทบาทในการกาหนดและควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้เกิดความพอเพียงถูกลืมเลือนและถูกทาลายด้วยกลไกล

31 เศรษฐกิจการตลาดท่ีจาเป็นต้องกาหนดประเภทการผลิตทั้งที่บางคร้ังชุมชนเหล่านั้นไม่มีองค์ความรู้ น่ันคือวิถีแห่ง อุตสาหกรรม แนวทางแก้ไขปัญหาก็คือ จาต้องจัดระเบียบและสร้างสานึกในประชาสังคม อันจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง กระบวนทัศน์ ( paradigm shift ) สร้างบรรทัดฐานแบบพ่ึงพาอาศัยกัน( norms of reciprocal ) การสร้าง เครือข่ายท่ีทาให้บุคคลมาสัมพันธ์ในเร่ืองเก่ียวกับชุมชน ( Networks of civic engement ) หรือการสร้าง จิตสานึกสาธารณะขึ้นมาทดแทนความสมั พันธแ์ บบพึ่งพาในระบบเครือญาติของสังคมประเพณีที่มีบทบาทน้อยลงซ่ึง สามารถพบเห็นได้จากวิวัฒนาการในการต่อสู้ เพ่ือให้ได้มาซึ้งความพอเพียงอันมีมาตลอดในประวัติศาสตร์ชาติ ไทย ในปัจจุบันก็คือ การรวมตัวกันในกลุ่มคณะกรรมการป่าชุมชน กลุ่มเกษตรนิเวศ กลุ่มทอผ้า กลุ่มธนาคาร ข้าว รวมท้ัง กลุ่มออมทรัพย์ภายใต้ระบบการจัดการรูปแบบใหม่ท่ีเกิดจากความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐ สถาบันการศึกษา องค์กรพัฒนาเอกชน หรือแม้กระทั้งองค์กรระหว่างประเทศเพ่ือสร้างศักยภาพในการ ปรบั ตวั โดยระดมหลากหลายทรัพยากรไม่วา่ จะเปน็ ความรู้ ทุน เทคโนโลยีจากแหล่งต่างๆนามาสร้างกระบวนการ เรียนรใู้ หม่รว่ มกนั ของชุมชน ท่ีมไิ ดต้ ัดตอนจากภูมปิ ญั ญาดั้งเดมิ แตก่ ลบั ไดน้ าความรู้สมัยใหม่มาบูรณาการกันได้อย่าง เหมาะสม ปัจจัยเหล่าน้ีเป็นเงื่อนไขสาคัญที่ทาให้เศรษฐกิจพอเพียงยังคงสามารถดารงอยู่ในชุมชนท่ามกลางการ เปล่ยี นแปลงของบริบทแวดล้อมได้อยา่ งยงั่ ยนื ตลอดมา การตอ่ สู้ เพ่ือใหช้ วี ติ อยู่รอดของมนุษย์ ทาใหเ้ กิดระบบการผลิต เกิดการคิดค้นและพฒั นาเทคโนโลยีต่างๆ ซึ้ง ในสงั คมดั้งเดมิ ของมนษุ ย์จะอาศยั พ่งึ พาธรรมชาติเป็นหลกั ทาให้คนรู้จกั จัดการระบบความสัมพันธ์กับธรรมชาติ โดย สร้างความเชอ่ื ต่างๆข้นึ จนทาให้เกิดเป็น ระบบคุณค่ำ เกิดการนับถือศาสนาและพิธีกรรมต่างๆ นอกจากนั้นการที่ มนุษย์ได้อยู่ร่วมกนั เป็นกลุ่ม จึงจาเป็นต้องจัดระบบความสมั พันธใ์ นการอยู่ร่วมกันนี้ให้เหมาะสม ทาให้เกิดจารีต ประเพณี ระบบกฎเกณฑ์และพิธีกรรมต่างๆเป็นแนวทางและบรรทัดฐานให้สมาชิกของชุมชนท้ังรุ่นปัจจุบันและ ต่อไปถือปฏิบัติ ระบบกฎเกณฑ์ และประเพณีต่างๆจะถูกถ่ายทอด โดยมีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนา เพื่อให้ สอดคล้องกบั สภาพสิง่ แวดลอ้ มทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป จึงทาให้ บางสว่ นที่เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมใหม่ต้องยกเลิก ไปไม่มกี ารถือปฏบิ ตั กิ นั อกี แนวคิดดังกล่าว แสดงความเก่ียวพันและเชื่อมโยง ระหว่าง ระบบความสัมพันธ์ ทางเศรษฐกิจ ระบบ คณุ คา่ และโลกทศั นก์ บั ความสัมพันธ์ทางสังคมต่างๆ ว่าการเปลี่ยนแปลงประเทศไปสู่ความทันสมัยตามแบบทุนนิยม การค้า ที่เน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจพร้อมๆกับการจัดระเบียบสังคมใหม่ เพื่อให้เอื้อต่อความทันสมัยนั้น แมว้ า่ ผลทเี่ กดิ ขึ้น คือ ความทันสมัย ทาใหค้ ุณภาพชวี ติ สว่ นหนึง่ ของคนดีขนึ้ แตใ่ นขณะเดียวกัน ในอีกด้านหน่ึงกลับ พบว่าการพัฒนาด้านวัตถุและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางสังคมแบบใหม่นี้ ได้ทาลายสายสัมพันธ์ทางสังคม และวฒั นธรรมดัง้ เดมิ ซ่ึงเป็นรากฐานของความสุข ความม่ันคงและความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนลง ผลกระทบสาคัญอีก ประการหนึ่งก็ คือ ศักยภาพในการรักษาอานาจ เพ่ือตอบสนองความต้องการของตนเองรวมท้ังการรักษาสมดุลย ภาพ ระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติ มนุษยก์ ับมนุษย์ และ กายกับจิตของมนุษย์ อันเป็นพื้นฐานของความสัมพันธ์ ทจ่ี ะทาใหเ้ กิดความพอเพียงต้องถูกกระทบกระเทือน จึงมีผลทาให้ แต่ละชุมชนต้องพยามหาหนทางเพื่อปรับตัวให้ สามารถดารงอยู่ได้แต่ดว้ ยความแตกตา่ งกัน อาทิ ลกั ษณะทางกายภาพ สภาพภูมิศาสตร์ ทรัพยากรของแต่ละ ชมุ ชน ทาให้เกดิ การแสวงหาทางออกเพ่ือรักษาความพอเพียงซ่ึงเป็นทางรอดของแต่ละชุมชน มีระดับลักษณะและ รปู แบบท่แี ตกต่างกันออกไป เชน่ บางชมุ ชนรกั ษาความพอเพยี งไวด้ ว้ ยการสร้างระบบ ความสมั พันธท์ ีไ่ มพ่ ยามพึ่งพิง ผอู้ นื่ โดยทาการผลิตเพอ่ื ผบู้ ริโภคของตนเองและใช้ทรัพยากรทม่ี ีอยู่ให้มากท่สี ดุ ไมเ่ น้นการผลิตแบบการค้าหรือหาก

32 จะต้องมีบ้าก็สามารถสร้างระบบการจัดการท่ีเอ้ือให้เกิดการบูรณาการ แลกเปล่ียนสินค้า รวมท้ังกิจกรรมทาง เศรษฐกิจอ่ืนๆ ให้ดารงอยู่ในบริบทเดียวกัน หรือในบางชุมชนก็เลือกวิธีการอยู่รอดโดยการผนวกตนเองเข้าไปกับ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมการค้า ด้วยการสร้างกระบวนการจัดระเบียบทางสังคมใหม่ที่เอื้อให้เกิด ความเป็นประชา สังคม (Civil Society) เพื่อรักษาความเป็นศักยภาพแห่งความพอเพียงและอานาจต่อรองกับเศรษฐกิจภายนอก ไว้ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมที่อยู่บนพ้ืนฐานของความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่มีความรับผิดชอบต่อ สว่ นรวมหรือการพึ่งพาอาศัยกันอยา่ งเทา่ เทยี มบนพนื้ ฐานของความไว้วางใจต่อกัน (Social trust ) ซึ่งถือว่าเป็นทุน ทางสังคม Social Capital) ที่สาคัญสามารถช่วยให้ชุมชนสามารถรวมกลุ่มกันเพื่อการจัดการปัญหาต่างๆรวมทั้ง กาหนดแนวทางการพัฒนาของตนเองอนั เป็นเงือ่ นไขสาคัญของการดารงอยู่ของเศรษฐกิจพอเพียง ความไว้วางใจทาง สงั คมน้เี กิดขึ้นได้โดยเงื่อนไขสาคัญ 2 ประการ คือประการแรก ด้วยการสร้างบรรทัดฐานแบบพ่ึงพาอาศัยกันที่ ตั้งอยู่บนพื้นฐานและกฎเกณฑ์กติกาของความสัมพันธ์แบบเท่าเทียมกันขึ้นมา พร้อมท้ังพัฒนากระบวนการบังคับ ทางสังคมและการขดั เกลาทางสงั คม เพ่อื ให้บรรทัดฐานดังกล่าวเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางและยั้งยืน ประการ ท่ีสอง การสร้างเครือข่ายท่ีทาให้บุคคลมาสัมพันธ์กันในเรื่องเกี่ยวกับชุมชน เช่น การพัฒนาความสัมพันธ์แบบ วิสาสะ ( Association) และความสัมพันธ์แบบแนวราบ เพ่ือให้สมาชิกได้สร้างนิสัยของความร่วมมือกัน (Cooperation ) ทาให้สามารถผลึกกาลังกันดาเนินกิจกรรมต่างๆได้ รวมทั้งปลูกฝังให้เกิดจิตสานึกสาธารณะและ ความไว้วางใจกันจนในที่สุดสามารถพัฒนาไปสู่ความเป็นชุมชนแบบประชาสังคม( Civic Community) ซึ่งมี ศกั ยภาพตอบสนองความตอ้ งการของตนเองได้เป็นอยา่ งดแี ละทาใหส้ ามารถสร้างระบบการจัดการในการรักษาความ พอเพยี งของตนเองไวไ้ ดไ้ มว่ ่าจะมีการเปล่ยี นบรบิ ทแวดล้อมไปอย่างไร เง่ือนไขสาคัญของการดารงอยู่ภายใต้บริบทที่ เปล่ียนแปลงไปส่คู วามทนั สมัยและความสัมพันธ์ทางการผลิตแบบทุนนิยมการค้าก็คือ ศักยภาพของชุมชนในการจัด ระเบยี บทางสงั คมใหม่ท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงโลกทัศน์ ระบบคุณค่าและบรรทัดฐานท่ีทาให้ชุมชนสามารถสร้าง ศกั ยภาพในการปรับตัวอย่างมีอานาจต่อรองและดารงความสามารถในการตอบสนองความต้องการของตนเองไว้ได้ ทา่ มกลางบรบิ ทท่ีเปลยี่ นแปลง

33 บทที่ 3 วธิ กี ำรดำเนินงำน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอสัตหีบ จัดทาโครงการน้อมนาหลกั ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงสูช่ มุ ชน (สวนนงนุช) มีขนั้ ตอนดงั นี้ 1. ประชุมบคุ ลากรกรรมการสถานศกึ ษา 2. จัดตง้ั คณะทางาน 3. ประสานงานกับหน่วยงาน และบคุ คลที่เกย่ี วข้อง 4. ดาเนินงานตามแผน 5. วดั ผล/ประเมินผล/สรุปผลและรายงาน ประชมุ บคุ ลำกรกรรมกำรสถำนศึกษำ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสัตหบี ไดว้ างแผนประชุมกับบุคลากรกรรมการ สถานศึกษา เพอื่ หาแนวทางในการดาเนนิ งานและกาหนดวัตถปุ ระสงคร์ ่วมกัน จดั ตัง้ คณะทำงำน จัดทาคาสงั่ แตง่ ตั้งคณะทางานโครงการ เพอ่ื มอบหมอบหมายหนา้ ที่ในการทางานให้ชัดเจน เชน่ 1) คณะกรรมการทปี่ รึกษา/อานวยการ มีหน้าทอี่ านวยความสะดวก และให้คาปรึกษาแกไ้ ขปญั หาท่เี กิดข้นึ 2) คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ มีหน้าที่ประชาสมั พนั ธ์รบั สมคั รนักศึกษาเขา้ ร่วมโครงการ 3) คณะกรรมการฝา่ ยรับลงทะเบยี นและประเมนิ ผลหนา้ ท่ีจดั ทาหลักฐานการลงทะเบียนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม และรวบรวมการประเมินผล และรายงานผลการดาเนินการ ประสำนงำนกบั หนว่ ยงำน และบุคคลท่ีเก่ียวขอ้ ง ประสานเครือขา่ ยทั้งหมดทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เช่น ประสานเรอ่ื งสถานท่ใี ช้อบรม ประสานงานกับคณะกรรมการ สถานศึกษา ประสานงานกับทีมวิทยากร และแขกผ้มู ีเกียรติเข้ารว่ ม ดำเนนิ กำรตำมแผนงำนโครงกำร โครงการน้อมนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน (สวนนงนุช) ในวนั ท่ี 16 กรกฏาคม 2563 ณ นงนชุ เทรดดิช่นั เซ็นเตอร์ ตาบลนาจอมเทยี น อาเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบุรี วดั ผล/ประเมิน/สรุปผลและรำยงำน จากการดาเนนิ งานโครงการน้อมนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสชู่ มุ ชน (สวนนงนชุ ) ในวนั ที่ 16 กรกฏาคม 2563 ณ นงนุชเทรดดิช่ันเซ็นเตอร์ ตาบลนาจอมเทียน อาเภอสัตหีบ จงั หวัดชลบรุ ี เป็นประชาชน อาเภอสัตหีบ จานวน 6 คน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสตั หีบ จะไดน้ าแนวทางไปใชข้ อ้ มลู พิจารณาหลกั สูตร เนอ้ื หาตลอดจนเทคนคิ วิธกี ารจดั การกระบวนการเรียนร้ตู า่ งๆ เพื่อใหต้ อบสนองความตอ้ งการของผู้เข้าอบรมได้รบั ประโยชน์นาไปใชไ้ ด้จริงตามศกั ยภาพของแต่ละคน ใหม้ คี วามเข้าใจและมคี ณุ ภาพตอ่ ไป ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสัตหบี ไดด้ าเนินการตามขน้ั ตอนและได้รวบรวมขอ้ มลู

34 โดยกาหนดค่าลาดับความสาคัญของการประเมนิ ผลออกเป็น 5 ระดบั ดงั นี้ มากท่ีสุด ใหค้ ะแนน 5 มาก ใหค้ ะแนน 4 ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 น้อย ใหค้ ะแนน 2 นอ้ ยท่ีสุด ใหค้ ะแนน 1 ในการแปลผล ผู้จัดทาไดใ้ ช้เกณฑ์การพจิ ารณาจากคะแนนเฉลีย่ ตามแนวคดิ ของ บญุ ชม ศรสี ะอาด และบุญส่ง นวิ แก้ว (2545, หน้า 22-25) 4.51-5.00 หมายความว่า มากท่ีสดุ 3.51-4.50 หมายความวา่ มาก 2.51-3.50 หมายความว่า ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความว่า นอ้ ย 1.00-1.50 หมายความวา่ นอ้ ยทีส่ ุด ผู้เข้ารว่ มโครงการจะต้องกรอกข้อมลู ตามแบบสอบถาม เพ่ือนาไปใช้ในการประเมนิ ผลของการจดั กิจกรรม ดังกลา่ ว และจะได้นาไปเปน็ ขอ้ มูล ปรับปรงุ และพัฒนา ตลอดจนใช้ในการจัดทาแผนการดาเนินการในปีต่อไป

35 บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำนและกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู ในการจดั กิจกรรมโครงการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน (สวนนงนุช) ในวนั ท่ี 16 กรกฏาคม 2563 ณ นงนชุ เทรดดิช่ันเซ็นเตอร์ ตาบลนาจอมเทียน อาเภอสัตหบี จังหวัดชลบรุ ี ซึง่ ได้สรปุ ผลจากแบบสอบถามและ นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู จากผู้เข้ารว่ มโครงการทง้ั หมด จานวน 6 คน และซ่งึ ไดส้ รปุ ผลจากแบบสอบถามและ นาเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู จากผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด ไว้ดังน้ี ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนตวั ผู้ตอบแบบถามของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมโครงการนอ้ มนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สูช่ มุ ชน (สวนนงนชุ ) ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมท่ีตอบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามเพศ ระดับการศึกษา และอายุ ผจู้ ดั ทาไดน้ าเสนอจาแนกตามข้อมลู ดงั กลา่ ว ดงั ปรากฏตามตารางที่ 1 ดังต่อไปนี้ ตำรำงท่ี 1 แสดงค่ำรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมเพศ เพศ ชาย หญิง จานวน รอ้ ยละ ความคิดเหน็ จานวน ร้อยละ 5 83.33 โครงการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสชู่ ุมชน (สวนนงนชุ ) 1 16.67 รจากตารางท่ี 1 แสดงผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เขา้ ร่วมโครงการนอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ส่ชู มุ ชน (สวนนงนชุ ) เปน็ ชาย 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.67 เป็นหญงิ 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 83.33 ตำรำงที่ 2 แสดงค่ำร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมอำยุ อายุ ต่ากวา่ 15 ปี 16-39 ปี 40-59 ปี 60 ข้ึนไป ความคดิ เหน็ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ โครงการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ - - - - - - 6 100 พอเพยี งสูช่ มุ ชน (สวนนงนุช) จำกตำรำงที่ 2 แสดงว่า ผูต้ อบแบบสอบถามของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ชุมชน (สวนนงนุช) อยใู่ นชว่ งอายุ 60 ข้ึนไปทั้งหมด มีจานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ตำรำงท่ี 3 แสดงคำ่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมอำชพี ประเภท รับจ้าง ค้าขาย รับราชการ เกษตรกรรม อน่ื ๆ(วา่ งงาน) ความคิดเห็น จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ โครงการนอ้ มนาหลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ - - 1 16.67 - - - - 5 83.33 พอเพยี งสชู่ มุ ชน (สวนนงนชุ )

36 จำกตำรำงที่ 3 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามของผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมโครงการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งส่ชู ุมชน (สวนนงนชุ ) (วา่ งงาน) มากทสี่ ุด จานวน 5คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.33 น้อยท่ีสดุ คอื อนื่ ๆ จานวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16.67 ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ควำมคิดเหน็ ของผเู้ ข้ำร่วมโครงกำรนอ้ มนำหลักปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพยี งสชู่ ุมชน(สวนนงนชุ ) ความคดิ เห็นของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม จานวน 6 คน จากแบบสอบถามท้งั หมดทมี่ ตี อ่ โครงการน้อมนาหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชมุ ชน (สวนนงนชุ ) ณ นงนุชเทรดดิชัน่ เซน็ เตอร์ ต.นาจอมเทยี น อ.สัตหีบ จ.ชลบรุ ี N =6 รำยกำรทป่ี ระเมิน อันดับ ระดบั ผล  ท่ี กำรประเมนิ µ ด้ำนหลกั สตู ร 1. กิจกรรมทจ่ี ัดสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ ของหลกั สตู ร 4.44 0.60 10 มาก 2. เนอ้ื หาของหลกั สูตรตรงกับความต้องการของผ้รู ับบริการ 4.50 0.61 2 มาก 3. การจัดกิจกรรมทาให้ผ้รู ับบริการสามารถ คดิ เป็นทาเป็นแกป้ ญั หาเปน็ 4.45 0.69 4 มาก 4. ผู้รบั บริการมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ ต่อการจดั ทาหลกั สูตร 4.35 0.75 12 มาก 5. ผู้รับบริการสามารถนาความรู้ไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.55 0.69 1 มากทส่ี ุด 6. ส่อื /เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม 4.45 0.51 4 มาก ดำ้ นวทิ ยำกร 7. วทิ ยากรมีความรูค้ วามสามารถในการจัด กิจกรรม 4.50 0.5 2 มาก 8. เทคนคิ /กระบวนในการจัดกิจกรรมของวิทยากร 4.40 0.51 10 มาก 9. วิทยากรมีการใชส้ ือ่ ท่สี อดคล้องและเหมาะสมกับกจิ กรรม 4.45 0.51 4 มาก 10. บุคลกิ ภาพของวิทยากร 4.45 0.60 4 มาก ด้ำนสถำนท่ี ระยะเวลำ และควำมพงึ พอใจ 11. สถานทใี่ นการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 4.35 0.81 12 มาก 12. ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมเหมาะสม 4.43 0.66 9 มาก 13. ความพึงพอใจในภาพรวมของผูร้ ับบริการต่อการเข้าร่วมกิจกรรม 4.45 0.51 4 มาก ค่ำเฉลีย่ 4.44 0.62 มำก ทททท ท จากตารางที่ 4 แสดงให้เหน็ ว่า ผู้เข้ารว่ ม โครงการนอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน (สวนนงนุช) พบว่าอยู่ในระดับดี เมอ่ื วเิ คราะห์เป็นรายข้อพบวา่ ผ้รู บั บริการสามารถนาความรไู้ ปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ (µ = 4.55) เป็นอนั ดับท่ี 1 รองลงมาคือเนอ้ื หาของหลักสตู รตรงกบั ความตอ้ งการของผรู้ บั บริการ , วิทยากรมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรม (µ =4.50) การจัดกจิ กรรมทาให้ผู้รบั บริการสามารถ คิดเปน็ ทาเป็นแก้ปญั หาเป็น ,ส่อื /เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม, วิทยากรมกี ารใช้สื่อทส่ี อดคลอ้ งและเหมาะสมกับกจิ กรรม , บุคลกิ ภาพของวทิ ยากร , ความพงึ พอใจในภาพรวมของผรู้ บั บริการต่อการเข้าร่วม (µ =4.45) ระยะเวลาในการจัด

37 กิจกรรมเหมาะสม (µ =4.43) กิจกรรมท่ีจัดสอดคล้องกบั วัตถุประสงคข์ องหลกั สตู ร ,เทคนคิ /กระบวนในการจัด กจิ กรรมของวิทยากร (µ X=4.40) ผรู้ บั บริการมีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ การจัดทาหลักสตู ร ,สถานทีใ่ น การจดั กิจกรรมเหมาะสม (µ =4.35) ตามลาดับ ตำรำงที่ 5 ผลกำรประเมนิ ผเู้ ข้ำรว่ มกจิ กรรมโครงกำรนอ้ มนำหลักปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพียงสชู่ ุมชน (สวนนงนุช) เน้ือหาผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมโครงการนอ้ มนาหลกั N=6 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ชุมชน (สวนนงนุช) µ  อนั ดบั ที่ ระดบั ผลการประเมิน 1. การมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมกล่มุ 4.45 0.51 3 มาก 2. ความพึงพอใจในการเข้ารว่ มโครงการ 4.50 0.61 2 มาก 3. การคดิ อย่างมเี หตุผล 4.55 0.69 1 มากสดุ 4. การเข้าใจ และรับฟังความคดิ เหน็ จากผอู้ นื่ 4.40 0.75 4 มาก 5.การรูจ้ กั และเข้าใจตนเอง 4.35 0.75 5 มาก คา่ เฉล่ยี 4.44 0.66 มาก จากตารางที่ 5 พบวา่ โดยเฉลยี่ แล้วผเู้ ข้าร่วมผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการน้อมนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียงสชู่ มุ ชน (สวนนงนุช) ในระดับ ดี เม่ือวเิ คราะห์เป็นรายพบว่า การคิดอย่างมเี หตุผล (µ =4.55) รองลงมาคือ ความพึงพอใจในการเขา้ รว่ มโครงการ (µ =4.50) การมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมกลุ่ม (µ = 4.45) การเข้าใจและรบั ฟงั ความคิดเหน็ จากผู้อนื่ (µ = 4.40) การรู้จกั และเข้าใจตนเอง (µ = 4.35) ตามลาดับ

38 บทที่ 5 สรุปผลกำรดำเนินกำร อภปิ รำย และขอ้ เสนอแนะ ผลที่ปรำกฏ การจัดทาโครงการนอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสูช่ ุมชน (สวนนงนชุ ) ในวันท่ี 16 กรกฏาคม 2563 ณ นงนุชเทรดดิช่ันเซน็ เตอร์ ตาบลนาจอมเทียน อาเภอสตั หีบ จังหวัดชลบุรี เปน็ ประชาชนตาบลสัตหีบ จานวน 6 คน ตลอดระยะเวลาท่รี ับการอบรมโดยมกี ารซักถามพูดคยุ ตอบโต้ ในวทิ ยากรอย่างสนใจ ในด้านต่างๆ คอื ดา้ นหลกั สูตร - มีความสอดคล้องกบั วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร ผเู้ รยี นมคี วามพงึ พอใจ - เนือ้ หาของหลักสตู รตรงกบั ความต้องการของผู้เข้าอบรม ด้านวทิ ยากร - วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในการจดั กิจกรรมการเรียนร้ไู ดอ้ ย่างดี - เทคนิค/กระบวนการในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องวทิ ยากรเหมาะสม - วิทยากรมีการใชส้ ื่อท่สี อดคลอ้ งและเหมาะสมกบั กจิ กรรม - บคุ ลกิ ภาพของวิทยากร ดีเหมาะสม ดา้ นสถานท่ี ระยะเวลา และความพงึ พอใจ - สถานท่ีในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรมู้ คี วามเหมาะ - ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เหมาะ - ผูเ้ ขา้ รับการอบรมมีความพงึ พอใจต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรม สรุปผลกำรดำเนนิ งำน ผู้เข้าร่วมโครงการน้อมนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสูช่ มุ ชน (สวนนงนชุ ) ของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสัตหีบ (กศน.ตาบลสัตหีบ) มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.44 อภิปรำยผล จากกจิ กรรมโครงการนอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสชู่ ุมชน (สวนนงนชุ ) ของศนู ยก์ ารศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสตั หบี 1.เขา้ ร่วมโครงการมีความคดิ เหน็ ต่อโครงการนอ้ มนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งส่ชู มุ ชน (สวนนงนชุ ) ระดับดมี าก 2.ทีร่ ่วมโครงการมีความเป็นระเบียบและพรอ้ มเพียงกนั ในการรว่ มกจิ กรรม 3.ผู้ที่ร่วมโครงการได้รับประสบการณต์ รงจากวิทยากร 4.ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการสามารถนาความร้ทู ไี่ ดไ้ ปถา่ ยทอดตอ่ ผอู้ ่นื 5.ผู้เขา้ ร่วมโครงการมคี วามสุขและสนกุ กบั การร่วมกิจกรรม ข้อเสนอแนะ ด้านแบบสารวจและวดั ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รบั การอบรม - ควรจะมีการจัดโครงการศึกษาดงู านในดา้ นอนื่ ๆ อย่างต่อเนอื่ ง - จดั โครงการแบบนบี้ อ่ ยๆ ไมเ่ ครยี ด ได้เท่ียวในท่ใี หมๆ่

39 ภาคผนวก

40

41 แบบประเมินผู้เรยี น / โครงการนอ้ มนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสู่ชมุ ชน (สวนนงนุช) ส่วนท่ี 1 คำชี้แจง ใส่เครื่องหมาย/ลงในช่องที่ตรงกับขอ้ มลู ของท่านเพยี งช่องเดยี ว เพศ ชาย หญิง อายุ 15-39 ปี 40-59 ปี 60 ปีข้นึ ไป อาชีพ รับจ้าง คา้ ขาย เกษตรกรรม รับราชการ อืน่ ๆ ส่วนท่ี 2 ด้านความพงึ พอใจของผู้เรียน/ผรู้ บั บริการ (ใส่เครือ่ งหมาย/ลงในชอ่ งท่ีตรงกับความคดิ เห็นของทา่ นเพยี ง ชอ่ งเดยี ว ขอ้ ที่ รายการ ระดับการประเมิน มากทีส่ ดุ มาก ปาน น้อย นอ้ ยท่สี ดุ กลาง 1 กจิ กรรมท่สี อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร 2 เนือ้ หาของหลกั สตู รตรงกบั ความต้องการ 3 การจดั กจิ กรรมทาให้สามารถคิดเป็นทาเป็น แก้ปัญหาได้ 4 ผ้รู บั บรกิ ารมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็น 5 ผ้รู บั บรกิ ารสามารถนาความรูไ้ ปใช้ในชวี ิตประจาวันได้ 6 สือ่ /เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 7 วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในการจดั กิจกรรม 8 เทคนิค/กระบวนการในการจดั กิจกรรมของวทิ ยากร 9 วทิ ยากรมกี ารใชส้ ่อื สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรม 10 บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร 11 สถานที่ในการจัดกิจกรรมเหมาะสม 12 ระยะเวลาในการจัดเหมาะสม 13 ความพึงพอใจในภาพรวมของผ้รู บั การอบรม

42 ใบสมัครโครงการนอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสูช่ มุ ชน (สวนนงนุช) ณ นงนุชเทรดดชิ น่ั เซน็ เตอร์ ตำบลนำจอมเทยี น อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี วนั ที่ 16 กรกฏาคม 2563 สถำนศกึ ษำ..ศนู ยก์ ำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยอำเภอสตั หบี ขอ้ มลู สว่ นตัว (กรอกขอ้ มูลดว้ ยตวั บรรจง) ชอ่ื -นามสกุล (นาย/ นาง/ นางสาว)................................................................................................ เลขประจาตวั ประชาชน........................................เกิดวนั ที.่ .........../................../...........อายุ.............. ปี สัญชาต.ิ ................ ศาสนา....................... อาชพี ........................รายไดเ้ ฉลีย่ ต่อเดอื น....................บาท ที่อยู่ปัจจุบนั ................................. หม่ทู ่ี................................... หม่บู ้าน................................................ ตาบล........................................ อาเภอ........................................ จังหวัด............................................. รหสั ไปรษณยี .์ .............................................. โทรศัพท์............................................................................ ขอบคณุ ทกุ ทา่ นที่ให้ความร่วมมือ

43 ทป่ี รึกษำ คณะผจู้ ัดทำ 1.นางสุรัสวดี เล้ียงสพุ งศ์ ผอ.กศน.อาเภอสัตหบี 2.นางสุพดั นาเจริญลาภ ครู คณะทำงำน หวั หน้า กศน.ตาบลสัตหีบ หวั หน้า กศน.ตาบลนาจอมเทยี น 6.1 นางสาวสุภาวดี บางโสก หัวหนา้ กศน.ตาบลพลตู าหลวง 6.2 นายวีรากร มณีทรพั ย์ศุคนธ์ หัวหน้า กศน.ตาบลบางเสร่ 6.3 นางสุภาภรณ์ นวมมา 6.4 นางสุจนิ ดา บพุ นิมติ ร หัวหนา้ กศน.ตาบลแสมสาร 6.5 นางสาวประวีณา ดาวมณี ผู้รวบรวม เรียบเรยี ง และจัดพมิ พ์ นางสาวสุภาวดี บางโสก ครู กศน.ตาบลสัตหีบ

44 บรรณำนุกรม กรมการศึกษานอกโรงเรยี น. (ม.ป.ป. : 9), (2546:76). บุญชม ศรสี ะอาด และ บญุ สง่ นวิ แก้ว. (2515 หนา้ 22 – 25). บรรพต สวุ รรณประเสรฐิ . (2544:12). สานักงานบรหิ ารการศึกษานอกโรงเรียน. (2549:2), (2549:5). สุทธดิ า หงส์บญุ เสรมิ , 2550 : 42 วชิ ัย วงษ์ใหญ่. (2525:2-3), (2525:10). http://www.thaikids.org/brain/brain4.htm http://www.thaikids.org/brain/brain1.htm http://th.wikipedia.org http://www.tanti.ac.th/Com-tranning/Online_Word/page1.html http://www.toywars.in.th/webboard/content.aspx?nForumID=1&nTopicID=11847 http://202.44.34.144/kmit/knowledge_detail.php?IDKM=250 https://sirinipha1.wordpress.com/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook