Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปวิทยาศาสตร์-ม.3

สรุปวิทยาศาสตร์-ม.3

Published by anchalee sansgarkhu, 2020-03-30 06:30:39

Description: สรุปวิทยาศาสตร์-ม.3

Search

Read the Text Version

~  1 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525

~  2 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525

~  3 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 สาระท่ี 1 : สง่ิ มชี ีวิตกบั กระบวนการดำรงชีวติ เซลล์ (Cell) คือ หน่วยพื้นฐานท่ีเล็กท่ีสุดของสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด (เพราะยกเว้นไวรัส) ที่สามารถแสดงสมบัติของส่ิงมีชีวิตได้ เซลลแ์ บง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท 1) เซลลโ์ ปรคารโิ อต (Prokaryotic cell) เปน็ เซลลท์ ี่ไมม่ ีนิวเคลยี สเนอื่ งจากไม่มเี ย่อื หุ้มนวิ เคลียส 2) เซลล์ยคู ารโิ อต (Eukaryotic cell) เปน็ เซลล์ท่ีมีนิวเคลยี สเนื่องจากมเี ยือ่ หุ้มนิวเคลยี ส หมายเหต ุ : ไวรัสเป็นส่ิงมีชีวิต แต่ไม่จัดว่าเป็นเซลล ์ พบว่าโครงสร้างของไวรัสจะมีโครงสร้างหลักๆ คือสารพันธุกรรม (DNA หรอื RNA) และมโี ปรตนี (protein coat) หุ้มสารพนั ธกุ รรมไว้เทา่ นน้ั คณุ สมบตั ิของการเปน็ เซลลท์ ่ตี ้องพบในเซลลท์ ุกชนดิ ได้แก ่ 1) สารพนั ธกุ รรม (DNA และ RNA) 2) เยอื่ หุ้มเซลล์ (cell membrane) 3) สารเคลอื บเซลล์ (cell coat) 4) ไซโทพลาสซมึ หรอื โปรโทพลาสซึม ภายในเซลล์โดยเฉพาะเซลลย์ ูคาริโอต จะพบออร์แกเนลล์ (organelle) หลายชนิดซ่ึงมีดงั น้ี n ไรโบโซม (ribosome) ทำหนา้ ท่ ี ในการสร้างหรอื สงั เคราะห์โปรตนี ใหแ้ ก่เซลล์ n ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) เป็นแหลง่ สร้างพลังงาน (ATP) ท่สี ำคญั ของเซลล ์ n ร่างแหเอนโดพลาสซึม (endoplasmic reticulum: ER) ทำหน้าท ่ี เป็นทางผ่านของการลำเลียงสาร เขา้ - ออกจากเซลลแ์ บง่ ออกได้เป็น 2 แบบ 1) Rough ER (RER) มีหน้าที่สร้างโปรตีนแล้วส่งออกนอกเซลล์ จะพบมากในเซลล์ที่มีการสร้างน้ำย่อย เช่น เซลล์ตบั ออ่ น, เซลลท์ ต่ี อ่ มน้ำลาย, เซลลท์ ตี่ ่อมสร้างพษิ งู เป็นต้น 2) Smooth ER (SER) มหี น้าท่ีสรา้ งสารสเตอรอยด ์ และไขมันสง่ ออกนอกเซลลเ์ ชน่ ท่ำพบในเซลล์รงั ไข,่ อัณฑะ และนอกจากน้ียังพบมากในเซลล์ตบั เน่อื งจากมกี ระบวนการกำจัดสารพิษ (detoxication) n กอลจิ บอด ี (golgi body, golgi complex) ทำหนา้ ทรี่ บั สารจาก ER แลว้ สง่ ออก (exocytosis) นอกเซลล ์ n ไลโซโซม (lysosome) ทำหน้าที่ย่อยสารตา่ งๆ เนอ่ื งจากทมีน้ำยอ่ ยอยู่ภายใน n เซนตรโิ อล (centriole) ควบคมุ การเคลอื่ นทข่ี องเซลล ์ และยงั เกยี่ วขอ้ งกบั การแบง่ เซลล ์ โครงสรา้ งประกอบ ขน้ึ จากหลอดไมโครทิวบูลท่จี ัดเรยี งตัวรวมกันแบบ 9+0 n คลอโรพลาสต์ (chloroplast) ทำหน้าทเ่ี กย่ี วกบั กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง (photosynthesis) n แวควิ โอล (vacuole) เป็นแหล่งเกบ็ น้ำเก็บสารต่างๆ n ไซโทสเกเลตัล (cytoskeleton) ไดแ้ ก ่ ไมโครทิวบูล (microtubule), ไมโครฟลิ าเมนต ์ (microfilament) และอินเตอร์มีเดียตฟิลาเมนต ์ (intermediate filament) ทั้ง 3 จะทำหน้าท่ีเป็นโครงร่างของเซลล์ ทำให ้ เซลล์มรี ปู ทรง

~  4 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 การลำเลยี งสารเขา้ -ออกเซลล์ แบ่งออกได้เปน็ 2 แบบ A. การลำเลียงสารแบบผ่าน (ทะลุ) เยอ่ื หุม้ เซลล์ 1) แบบพาสซฟี (Passive transportation) เปน็ การลำเลยี งสารผา่ นเยอ่ื หมุ้ เซลลโ์ ดยมที ศิ ทางการเคลอ่ื นทข่ี องสาร จากบริเวณที่มีความหนาแน่นของสารมากไปยังบริเวณท่ีมีความหนาแน่นของสารน้อยกว่า ซ่ึงกระบวนการนี้ไม่จำเป็นต้อง อาศัยพลงั งาน ATP ตัวอยา่ งการเคลือ่ นทแี่ บบพาสซีฟ เช่นการแพร ่ (diffusion), การออสโมซสิ (osmosis), การแพร่ แบบใชต้ ัวพา (facilitated diffusion), ไดอะไลซสิ (dialysis) เป็นต้น การออสโมซสิ (osmosis) เปน็ การแพรข่ องนำ้ ทะลผุ า่ นเยอ่ื หมุ้ เซลล ์ โดยหลกั การคอื “จะมกี ารเคลอ่ื นทขี่ องโมเลกลุ นำ้ จากบรเิ วณทม่ี ีนำ้ มาก ไปยังบรเิ วณทมี่ นี ้ำนอ้ ยกว่าเสมอ” ดงั น้นั ก็จะทำใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงลกั ษณะของเซลลซ์ ่ึงถูกแช่ใน สารละลายท่ีแตกตา่ งกันดงั นี้ n สารละลายไฮโพโทนกิ (hypotonic solution) คอื สารละลายทมี่ คี วามเขม้ ขน้ ตำ่ กวา่ ในเซลล ์ (มนี ำ้ มาก) นำ้ ก ็ จะออสโมซิสเขา้ สเู่ ซลล์ทำให้เซลล์มกี ารขยายขนาดเกดิ ภาวะเซลล์เต่ง และถา้ หากเปน็ เซลลส์ ัตวอ์ าจทำให้เกดิ ภาวะเซลลแ์ ตกตามมาได้ n สารละลายไฮเพอรโ์ ทนกิ (hypertonic solution) คือสารละลายที่มคี วามเข้มขน้ สงู กวา่ ในเซลล ์ (มีนำ้ นอ้ ย) น้ำภายในเซลลซ์ ง่ึ มมี ากกว่ากจ็ ะออสโมซิสออกจากภายในเซลล์เกดิ ภาวะเซลลเ์ ห่ียว n สารละลายไอโซโทนิก (isotonic solution) คือสารละลายท่ีมีความเข้มข้นเท่ากับภายในเซลล ์ (มีปริมาณ น้ำเท่ากัน) น้ำก็จะเกิดการออสโมซิสเข้าออกจากเซลล์ปริมาณที่เท่ากัน ผลท่ีได้คือเซลล์ก็จะมีขนาดไม ่ เปลยี่ นแปลง 2) แบบแอกทีฟ (Active transportation) เป็นการลำเลียงสารผ่านเย่ือหุ้มเซลล์โดยมีทิศทางการเคล่ือนที่ของ สารจากบริเวณที่มีความหนาแน่นของสารน้อยกว่าไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นของสารมากกว่าซ่ึงกระบวนการน้ีจำเป็น ตอ้ งอาศยั พลงั งาน ATP B. การลำเลยี งสารแบบทำเยอื่ หมุ้ เซลลใ์ หเ้ ปน็ ถงุ (vesicle) ซงึ่ การลำเลยี งสารลกั ษณะนจี้ ะตอ้ งใชพ้ ลงั งาน ATP ดว้ ย 1) ทำเยื่อหุม้ เซลลใ์ หเ้ ป็นถุงเพอื่ นำสารเข้าเซลล์ (Endocytosis) แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 แบบ 1.1) Phagocytosis (เซลล์เขมือบ,เซลล์กิน) มีการสร้างและย่ืนไซโทพลาสซึมออกไปมีลักษณะเป็นเท้าเทียม (pseudopodium) แล้วย่นื เขา้ ไปโอบลอ้ มอาหารและนำอาหารเขา้ สเู่ ซลล ์ เชน่ อะมบี า, ราเมอื ก, เมด็ เลือดขาว 1.2) Pinocytosis (เซลล์ด่มื ) จะไม่มีการสรา้ งเท้าเทียม 2) ทำเย่ือหุ้มเซลล์ให้เป็นถุงเพื่อนำสารออกจากเซลล์ (Exocytosis) หรือการหลั่งสารออกจากเซลล ์ โดยจะ เกดิ จากออรแ์ กเนลล์กอลจิ บอด ี ทีร่ บั สารมาจาก ER แลว้ ส่งออกนอกเซลล ์ กลไกการรกั ษาดุลยภาพ 1) กลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย เม่ือพิจารณาการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิของร่างกายต่ออุณหภูมิ ส่ิงแวดล้อม ทำให้สามารถแบง่ สตั วอ์ อกได้เป็น 2 กลมุ่ n สตั ว์เลอื ดเย็น (poikilothermic animals) คือสตั ว์ที่มีอุณหภูมขิ องร่างกายแปรผนั ตามอณุ หภมู ขิ องสง่ิ แวดลอ้ ม เช่นปลา, สตั วค์ ร่งึ บกคร่ึงนำ้ , สัตว์เลื้อยคลาน n สัตว์เลือดอุ่น (homeothermic animals) คือสัตว์ที่มีอุณหภูมิของร่างกายคงท ี่ ไม่แปรผันตามอุณหภูมิของ ส่ิงแวดล้อมเน่ืองจากมีกลไกรักษาอุณหภูมิร่างกายให้คงท่ีได้ เช่นสัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด โดย ในคนซึ่งเป็นสตั ว์เลอื ดอนุ่ จะมีกลไกการรักษาอุณหภมู ริ า่ งกายใหค้ งที่โดย

~  5 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 n เมื่ออากาศเยน็ (อณุ หภูทิสงิ่ แวดลอ้ มตำ่ ) : ศนู ยค์ วบคมุ อุณหภมู ใิ นไฮโพทาลามสั จะสงั่ การให้มกี ารเพิม่ อัตรา เมตาบอลซิ ึมโดยเพิม่ การเผาผลาญอาหารและอตั ราการหายใจ นอกจากนีย้ งั สง่ั การให้หลอดเลือดท่ผี วิ หนงั หดตวั (ตัวซีด) และลดการทำงานของต่อมเหงอ่ื อีกทง้ั กลา้ มเนอ้ื ลายจะหดตัว (ทำใหเ้ กิดการสนั่ ), กลา้ มเนือ้ โคนขนก ็ หดตวั (ขนลกุ ) n เม่ืออากาศร้อน (อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมสูง): ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิในไฮโพทาลามัส จะส่ังการให้มีการลดอัตรา เมตาบอลซิ มึ โดยลดการเผาผลาญอาหารและอตั ราการหายใจ นอกจากนย้ี งั สง่ั การใหห้ ลอดเลอื ดทผ่ี วิ หนงั ขยายตวั (ตัวแดง) และเพ่ิมการทำงานของตอ่ มเหงอ่ื ในการขบั เหง่อื 2) กลไกการรกั ษาดุลยภาพของนำ้ และเกลอื แรใ่ นสงิ่ มีชีวิต n พวกสิ่งมีชีวิตเซลลเ์ ดียว : เช่นอะมบี า, พารามเี ซยี ม ท่อี าศยั อยู่ในน้ำจืดจะม ี contractile vacuole ทำหน้าท ่ี กำจดั น้ำสว่ นเกนิ n พวกปลาน้ำจืด : จะมีการขับน้ำทิ้งโดยการปัสสาวะบ่อยๆ แต่ค่อนข้างเจือจาง, มีเหงือกทำหน้าที่พิเศษโดย การดูดเกลอื แร่โดยวธิ ี active transport , นอกจากนี้ยงั มีผิวหนงั และเกลด็ ป้องกนั นำ้ เขา้ สู่รา่ งกาย n พวกปลานำ้ เคม็ : จะมีการปัสสาวะนอ้ ยๆ แตเ่ ขม้ ข้นมาก, มีเหงอื กทำหน้าท่ีพิเศษโดยการขับเกลือแร่ทิง้ โดยวิธี active transport , นอกจากนีย้ งั มผี วิ หนังและเกลด็ ป้องกันเกลือแร่เขา้ สรู่ า่ งกาย n พวกนกทะเล, เตา่ ทะเล : มี nasal gland สำหรบั ขับเกลอื ท้ิง n ในคน : โดยจะมไี ต (kidneys) เป็นอวยั วะท่ีสำคัญในการควบคมุ ปริมาณนำ้ และเกลอื แร่ในรา่ งกายใหเ้ หมาะสม ไตในคนมี 2 ข้างแตล่ ะขา้ งมหี น่วยท่ที ำงานไดเ้ รยี กวา่ หนว่ ยไต (nephron) ประมาณข้างละ 1 ลา้ นหนว่ ย หลกั การทำงานคอื กรองของเสยี นำ้ และเกลอื แรส่ ว่ นเกนิ ออกจากเลอื ด และขบั ทง้ิ ออกจากรา่ งกายในรปู ของนำ้ ปสั สาวะ ซึ่งในนำ้ ปสั าวะของคนปกติจะประกอบดว้ ยนำ้ ส่วนเกนิ , ของเสียจำพวกยูเรีย แอมโมเนีย ยรู กิ และเกลอื แรส่ ว่ นเกนิ แต่จะ ไม่พบน้ำตาล, กรดอะมิโน, โปรตีนซึ่งเป็นสารที่ดีมีประโยชน์ในน้ำปัสสาวะ ถ้าพบอาจบอกได้ว่าเกิดความผิดปกติของไต หรอื เป็นโรคบางอยา่ งไดเ้ ช่นเบาหวาน โดยในการควบคุมสมดุลน้ำพบว่ามีสมองส่วนไฮโพทาลามัส ทำหน้าท่ีส่ังการและควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย โดยมี กลไกการควบคมุ สมดลุ น้ำดังน ้ี 1) เมอ่ื รา่ งกายขาดนำ้ : นำ้ ในเลอื ดตำ่ (เลอื ดเขม้ ขน้ , แรงดนั ออสโมซสิ ในเลอื ดสงู ) ภาวะนไี้ ฮโพทาลามสั จะสง่ั การ ใหม้ กี ารหลั่งฮอรโ์ มน ADH (Antidiuretic hormone หรอื Vasopressin) เพื่อกระตนุ้ ให้ท่อหนว่ ยไตมีการดดู นำ้ กลบั เขา้ สหู่ ลอดเลอื ดมาก เพอื่ ใหน้ ำ้ ในหลอดเลอื ดสงู ขนึ้ ดงั นนั้ กจ็ ะปสั สาวะนอ้ ย นอกจากนยี้ งั มกี ารกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การกระหายนำ้ ดว้ ย 2) เมอ่ื รา่ งกายมีนำ้ มาก : น้ำในเลอื ดมาก (เลือดเจือจาง, แรงดันออสโมซิสในเลือดต่ำ) ภาวะนีไ้ ฮโพทาลามัสจะ ยับย้ังการหลั่งฮอร์โมน ADH (Antidiuretic hormone หรือ Vasopressin) ทำให้ท่อหน่วยไตมีการดูดน้ำกลับเข้าสู่ หลอดเลอื ดนอ้ ยลง เพ่อื ให ้ ดงั นน้ั กจ็ ะปสั สาวะมาก 3) กลไกการรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในร่างกาย ในคนคา่ pH ปกติในเลือดอย่รู ะหวา่ ง 7.35 – 7.45 ถ้าเลือดม ี pH ตำ่ กว่า 7.35 คอื เลือดมีความเปน็ กรดมาก กวา่ ปกติ (acidosis) แต่ถ้า pH สูงกว่า 7.45 คอื เลือดมคี วามเปน็ เบสมากกว่าปกติ (alkalosis) สาเหตุหลักของการเกิด acidosis หรือ alkalosis คอื ปริมาณของก๊าซ CO2 ในเลือด โดยมหี ลักการวา่ CO2 + H2O ↔ H2CO3 ↔ HCO3- + H+ ดงั นน้ั ถ้าร่างกายมีเมตาบอลิซึมสูง เซลล์กจ็ ะปล่อย CO2 มาก ทำให้เกดิ H+ ในเลอื ดมาก ดังน้นั pH ในเลอื ดก็จะต่ำ (acidosis) ซ่งึ ร่างกายของเราจะมกี ลไกสำหรบั การควบคุม pH ของเลอื ดใหค้ งทอ่ี ยู่ 3 วธิ ี 3.1) เปลีย่ นแปลงอัตราการหายใจ เพอื่ ลดหรือเพ่ิม CO2 3.2) โดยระบบบฟั เฟอร์ (chemical buffer system) 3.3) โดยการขบั H+ เพม่ิ ขึน้ หรอื ลดลงทางไต (ประสทิ ธผิ ลดีทีส่ ดุ )

~  6 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 ระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย แอนตเิ จน (antigen) คือเช้อื โรคหรอื สงิ่ แปลกปลอมที่เข้าส่รู ่างกาย ดังนนั้ รา่ งกายจึงจำเปน็ ตอ้ งมีอวัยวะที่ทำหน้าที่ ปอ้ งกนั และทำลายแอนตเิ จนเหล่านี้ โดย n ผวิ หนัง เป็นดา่ นแรกในการป้องกนั การเข้าสรู่ ่างกายของแอนตเิ จน n เย่ือบตุ าและนำ้ ตา ในนำ้ ตาจะมเี อนไซมท์ ีส่ ามารถฆา่ เชือ้ แบคทเี รียได ้ n เย่ือบุทางเดินหายใจ ท่พี ้นื ผวิ จะมขี นส้ันๆ เรยี กว่าซีเลีย (cilia) คอยพดั โบก n ในกระเพาะอาหาร มีสภาพเปน็ กรด สามารถฆา่ เชอื้ แบคทเี รียได ้ n ทอ่ ปสั สาวะ และเยือ่ บอุ วยั วะเพศสืบพันธ์ุ จะมสี ภาพเป็นกรดออ่ นๆ n เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cells, Leucocytes) ทำหน้าท่ีทำลายเชื้อโรคหรือกำจัดแอนติเจน สรา้ งมาจากไขกระดกู เนอื้ เยอ่ื นำ้ เหลอื ง และตอ่ มนำ้ เหลอื ง แบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ ตามลกั ษณะการกำจดั เชอ้ื โรค 1. กล่มุ ฟาโกไซต์ (phagocyte) มีวธิ กี ารทำลายแอนตเิ จนโดยการสร้างเท้าเทียม (pseudopodium) แลว้ เอาเข้า เซลล์โดยกระบวนการ phagocytosis ได้แกน่ วิ โทรฟิล, อโี อซิโนฟิล, เบโซฟลิ และโมโนไซต์ 2. กลุ่มลิมโฟไซต ์ (lymphocyte) มีวิธีการทำลายแอนติเจนโดยการสร้างแอนติบอดี (antibody) ซึ่งเป็นสาร ประเภทโปรตนี โดยแอนตบิ อดีจะจบั กับแอนติเจน เกิดเป็นกลุม่ ก้อน n ระบบน้ำเหลอื ง มีหน้าทห่ี ลกั คือเปน็ ท่อระบายนำ้ และยงั เปน็ แหล่งระบบภมู ิคมุ้ กันอกี ด้วย ประกอบด้วย 1. อวยั วะนำ้ เหลอื ง เปน็ แหลง่ สรา้ งเซลล์เม็ดเลอื ดขาว ไดแ้ กต่ อ่ มน้ำเหลอื ง เชน่ ตอ่ มน้ำเหลอื งทค่ี อ (ต่อมทอนซิล), มา้ ม (เป็นอวยั วะน้ำเหลอื งท่ขี นาดใหญท่ สี่ ดุ ), ต่อมไธมสั 2. น้ำเหลือง เปน็ ของเหลวท่ซี มึ ผ่านผนังหลอดเลอื ดฝอย แลว้ ไหลเวยี นอยู่ภายในท่อนำ้ เหลอื ง 3. ท่อนำ้ เหลอื ง ระบบภูมคิ มุ้ กันของรา่ งกาย แบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท 1. ภูมิคุ้มกันแบบก่อเอง (Active immunity) เป็นภูมิคุ้มกันที่จะเกิดได้ช้าแต่อยู่ได้นาน เกิดจากร่างกายถูก กระตนุ้ จากแอนตเิ จน ไดแ้ ก ่ n วัคซนี (vaccine) เปน็ เชอ้ื โรคทอี่ ่อนฤทธิ์หรอื ตายแล้วจนไมส่ ามารถทำให้เกดิ โรคได ้ n ทอกซอยด์ (toxoid) เป็นสารพษิ ทถี่ ูกทำให้หมดฤทธิ์ 2. ภมู คิ มุ้ กนั แบบรบั มา (Passive immunity) ภมู คิ มุ้ กนั ทจ่ี ะเกดิ ไดท้ นั ทเี มอ่ื ให ้ แตอ่ ยไู่ ดไ้ มน่ าน เกดิ จากรา่ งกาย ได้รับสารท่มี คี ุณสมบตั ปิ ้องกนั โรคอยแู่ ลว้ เช่นแอนตบิ อดี ไดแ้ ก่ n เซรมุ่ (serum) ของมา้ หรอื กระต่าย n น้ำนมเหลอื ง (colostum) การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เกิดมาจากโครโมโซม (chromosome) ซึ่งมีลักษณะเป็นแท่งๆ พบใน นิวเคลียส ซ่งึ ในร่างกายของคน พบวา่ 1 เซลลน์ ั้นจะมีโครโมโซมท้งั สนิ้ 46 แท่ง ซ้ำกันเปน็ คู่ๆ (แบบละ 2 ตัว) จึงอาจเรียก วา่ 23 คกู่ ็ได้แตล่ ะแบบทีซ่ ำ้ กันเป็นคู่เรียกว่าโฮโมโลกสั โครโมโซม (homologous chromosome) โครโมโซม เกิดมาจากการรวมกลุ่มกันของสาย DNA ซ่ึงเปน็ สารพันธกุ รรมพันรอบโปรตีนฮีสโตน ในการนับจำนวน โครโมโซมให้พิจารณาดทู จี่ ำนวนเซนโทรเมียร์ (centromere) ต่อเซลล์ ในคนจะมีโครโมโซม 46 แทง่ หรอื 23 คู่โดยพบว่า 22 คู ่ (44 แท่ง) จะเป็นโครโมโซมร่างกาย (autosome) ซ่ึงจะเหมือนกันหมดไม่ว่าชายหรือหญงิ สว่ นอกี 2 แท่งที่เหลอื จะ เรียกว่าโครโมโซมเพศ (sex chromosome) ซ่ึงจะมขี นาดเท่ากนั ในเพศหญงิ คอื XX ส่วนเพศชายจะเป็น XY

~  7 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 การแบง่ เซลล์ (cell division) แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทคอื ไมโทซิส (mitosis) และไมโอซิส (meiosis) ไมโทซิส (mitosis) ไมโอซสิ (meiosis) 1. เป้าหมายของการแบ่งเซลล์ เพอื่ การเจริญเติบโต เพื่อสรา้ งเซลล์สืบพนั ธ์ุ 2. จำนวนชดุ โครโมโซมของเซลลเ์ ริ่มตน้ 2n 2n 3. จำนวนชุดโครโมโซมของเซลลล์ กู ทีไ่ ด ้ 2n n 4. จำนวนเซลล์ลกู ท่ีไดเ้ มื่อเสร็จสิ้น 2 เซลล ์ 4 เซลล ์ 5. ลกั ษณะเซลลล์ กู ท่ีได้เมื่อเสร็จสิ้น ขนาดเทา่ เดิม, ขนาดเลก็ ลง, เหมอื นเซลล์เริม่ ต้นทกุ ประการ เปล่ยี นไปจากเซลล์ตง้ั ตน้ 6. เหตกุ ารณเ์ ฉพาะขณะแบ่งเซลล์ - เกิด crossing over แลกเปลย่ี นสารพนั ธุ กรรมทำใหเ้ กดิ ความหลากหลาย หมายเหต ุ : ในเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว ์ จะมคี วามแตกตา่ งกนั ในขน้ั สดุ ทา้ ยของการแบง่ เซลล์ (ระยะ telophase) โดยขณะท ี่ มีการแบ่งออกเปน็ 2 เซลลโ์ ดยพบวา่ เซลล์สตั วจ์ ะเกดิ การคอดขาดออกเป็น 2 เซลลไ์ ด้เลย ส่วนเซลลพ์ ชื จะมี การสร้างแผ่นกั้นหอ้ งชัว่ คราว เรียกวา่ การสร้างเซลล์เพลท (cell plate) ตอ่ จากนนั้ กจ็ ะกลายเปน็ ผนังเซลล์ท ี่ แขง็ แรง การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทำโดยการศึกษาพงศาวลี (pedigree) คือแผนผังแสดงการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมในครอบครัว โดยใชส้ ัญลักษณแ์ ทนตัวบคุ คล ดังน้ ี แทนชายปกติ แทนหญิงปกต ิ แทนชาย-หญงิ แต่งงานกนั แทนชายเป็นโรค แทนหญงิ เป็นโรค แทนชายเปน็ พาหะ แทนหญงิ เป็นพาหะ แทนลกู ชาย, หญิงตามลำดับ การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม จะถกู ควบคมุ โดยยนี (gene) บนแทง่ โครโมโซม โดยแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท 1. ยนี ควบคุมอยู่บนโครโมโซมรา่ งกาย ได้แกโ่ รคธาลัสซเี มีย, นิ้วเกนิ , ระบบเลอื ด ABO 2. ยีนควบคุมอยู่บนโครโมโซมเพศ ได้แก่ตาบอดสี, ฮีโมฟีเลีย, พร่องเอนไซม ์ G-6-PD ท้ัง 3 น้ีพบว่าถูก ควบคมุ โดยยีนดอ้ ยบนโครโมโซม X ดงั น้ันจงึ พบในเพศชายมากกวา่ เพศหญิง พน้ื ฐานทางพันธุศาสตร์ 1. แอลลีล เป็นกลุ่มของยีนท่อี ยกู่ นั เปน็ คๆู่ เช่น AA, Aa, aa 2. ยีนเด่น (แอลลีลเดน่ ) มักเขยี นแทนดว้ ยตัวพมิ พ์ใหญ ่ จะสามารถขม่ แอลลีลดอ้ ยได ้ ยนี ด้อย(แอลลีลด้อย) มกั เขียนแทนด้วยตวั พมิ พเ์ ล็ก 3. จโี นไทป ์ (genotype) ลักษณะของยีนท่คี วบคมุ ลักษณะตา่ งๆ เชน่ TT, Tt, Rr, rr ฟโี นไทป ์ (phenotype) ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทแี่ สดงออกมาใหเ้ หน็ ภายนอกเชน่ สงู เตยี้ เมลด็ กลม เมลด็ ขรขุ ระ 4. การผสมลักษณะเดยี วท่ีมกี ารข่มกันสมบูรณ์ เช่น กำหนดให ้ T = แทนตน้ สงู , t = แทนตน้ เตีย้ n เม่ือทำการผสม T T x t t ไดร้ นุ่ ลูกออกมาเป็นจีโนไทป์ T t หรือตน้ สูงทั้งหมด n เมือ่ ทำการผสม T t x T t ได้รุน่ ลกู ออกมาเป็นจีโนไทป์ T T : T t : t t ในอัตราส่วน 1 : 2 : 1 ได้รุ่นลูกออกมาฟีโนไทป ์ ตน้ สูง : ต้นเต้ีย ในอตั ราส่วน 3 : 1 5. การผสมลักษณะเดียวที่มีการข่มกันไม่สมบูรณ ์ เช่นการแสดงออกของสีดอกล้ินมังกร หรือสีของดอกบานเย็น (กำหนดให้ R = แทนดอกสแี ดง, r = แทนดอกสขี าว) n เมอื่ ทำการผสม R R x r r ได้รุน่ ลกู ออกมาเป็นจีโนไทป ์ R r หรือดอกสีชมพทู ั้งหมด n เม่ือทำการผสม R r x R r ไดร้ ุน่ ลกู ออกมาเปน็ จโี นไทป ์ R R : R r : r r ในอตั ราส่วน 1 : 2 : 1 ไดร้ นุ่ ลกู ออกมาฟโี นไทป ์ ดอกสแี ดง : สชี มพ ู : สขี าว ในอตั ราสว่ น 1 : 2 : 1

~  8 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 เทคโนโลยชี ีวภาพ (Biotechnology) ไดแ้ ก่ 1) พันธ์ุวิศวกรรม (Genetic Engineering) : คือ การตัดต่อยีนด้วยกระบวนการตัดต่อยีนด้วยกระบวนการตัด DNA จากสง่ิ มชี วี ิตหนง่ึ ไปเช่ือมต่อกับ DNA ของสงิ่ มชี วี ิตอีกชนิดหนึ่ง ทำให้สงิ่ มีชีวิตทเ่ี ป็นฝ่ายรับยนี สามารถสังเคราะห์ โปรตีนที่สังเคราะห์เองไม่ได้และเรียกส่ิงมีชีวิตที่เกิดข้ึนว่า สิ่งมีชิตดัดแปลงพันธุกรรม หรือ GMOs (Genetically Modified Organisms) 2) การโคลน (Cloning) : หมายถงึ การสร้างส่ิงมีชีวิตใหม่ ทมี่ ลี ักษณะทางพันธุกรรมเหมอื นส่ิงมีชวี ติ ตน้ แบบทกุ ประการ ทำไดห้ ลายวธิ ี เชน่ n การนำนิวเคลียสของเซลล์ร่างกาย ใส่เข้าไปในเซลล์ไข่ที่ถูกดูดเอานิวเคลียสออก ทำให้เซลล์ไข่พัฒนาไปเป็น สงิ่ มีชีวิตตัวใหม ่ โดยใชข้ ้อมลู จากสารพันธุกรรมของนวิ เคลียสที่ใส่เข้าไป n การนำสว่ นของพืชมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ และอยใู่ นสภาพท่มี กี ารควบคุมทุกอยา่ ง หมายเหต ุ : การสบื พนั ธแุ์ บบไมอ่ าศยั เพศจะถอื วา่ เปน็ การโคลนเสมอ เนอ่ื งจากใหล้ กู ออกมาไมม่ คี วามแตกตา่ งทางพนั ธกุ รรม 3) ลายพมิ พ ์ (DNA fingerprint) : เปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะของแตล่ ะบคุ คล เปลยี่ นแปลงไมไ่ ดแ้ ละไมม่ ใี ครเหมอื นกนั (ยกเวน้ ฝาแฝดแทท้ เ่ี กดิ จากไขใ่ บเดยี วกนั ถา้ กรณนี จ้ี ะตอ้ งใชล้ ายนว้ิ มอื ในการตรวจสอบจำแนก) ใชใ้ นการพสิ จู นผ์ ตู้ อ้ งสงสยั หรือหาความสัมพันธ์ทางสายเลือด ทำได้โดยการนำตัวอย่างเลือด (เซลล์เม็ดเลือดขาว) หรือเน้ือเย่ือต่างๆ ท่ีเซลล์มี นิวเคลียสมาสกัด DNA แล้วตัด DNA ด้วยเอนไซม ์ และแยก DNA ตามขนาด จากน้ันตรวจสอบ DNA โดยใช้สาร กมั มนั ตรงั สแี ละการเอก็ ซเรย์ 4) การทำแผนที่ยีน (gene mapping) หรอื แผนทีจ่ โี นม (genome mapping) : เพ่ือให้รู้ว่ายีนอยู่ทต่ี ำแหนง่ ไหน ของโครโมโซม เพราะว่าเมื่อระบุได้ว่ายีนใดบ้างที่มีความเกี่ยวข้องกับภาวะผิดปกติและเข้าใจกลไกการเกิดโรค ก็ใช้ เทคโนโลยพี นั ธวุ ศิ วกรรมตดั ตอ่ ยนี ทพ่ี งึ ประสงคเ์ ขา้ ไปแทนยนี ทเ่ี ปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ โรค เรยี กวธิ รี กั ษาแบบนว้ี า่ การบำบดั รกั ษา ดว้ ยยีน (gene therapy)

~  9 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 สาระท่ี 2 : ส่ิงมีชวี ิตกบั สิ่งแวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชีวภาพ สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต คือ กลุ่มย่อยที่สุดในระบบจำแนกสิ่งมีชีวิต หรือ กลุ่มส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นประชากรชนิดเดียวกัน ซง่ึ เมอื่ ผสมพันธ์กุ นั แลว้ ได้ลกู หลานทไี่ มเ่ ป็นหมัน ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ติ จำแนกหมวดหมูส่ ง่ิ มชี ีวิต ออกได้เป็น 5 อาณาจกั ร ดังน้ี อาณาจักรสัตว ์ : เป็นสงิ่ มีชวี ติ หลายเซลล์และเซลล์รวมกนั เป็นเนือ้ เย่ือ สามารถเคลอ่ื นไหวได้ ไม่สามารถสร้างอาหารไดเ้ อง อาณาจกั รพชื : เป็นส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์และเซลล์รวมกันเป็นเน้ือเย่ือ สามารถสร้างอาหารได้เองด้วย การสงั เคราะหแ์ สง มีผนงั เซลล์ ซงึ่ มเี ซลลโู ลสเปน็ องคป์ ระกอบ อาณาจกั รโพรทสิ ตา : เปน็ สงิ่ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วหรอื หลายเซลล ์ บางชนดิ สรา้ งอาหารไดด้ ว้ ย การสงั เคราะหแ์ สง แต่บางชนิดต้องกนิ อาหารจากสิง่ มชี วี ิตอื่น อาณาจักรเหด็ รา และยสี ต ์ : ยสี ต์มเี ซลลเ์ ดยี ว เห็ดรามีหลายเซลลด์ ำรงชวี ิตโดยการยอ่ ยสลายแต่บางชนิดเป็นปรสติ อาณาจกั รมอเนอรา : เปน็ สง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี ซลลไ์ มม่ นี วิ เคลยี ส สว่ นใหญเ่ ปน็ ผยู้ อ่ ยสลาย บางชนดิ สรา้ งอาหารไดเ้ อง หมายเหต : ไวรัส ไม่มีอาณาจักร เพราะ ไม่มีลักษณะเป็นเซลล์ แต่เป็นอนุภาค ท่ีประกอบด้วยโปรตีน ซึ่งห่อหุ้มสาร พันธุกรรมไว้ภายใน สามารถเพ่ิมจำนวนได้เฉพาะเมื่อยู่ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืน โดยเมื่อเซลล์ของ ผู้ถูกอาศัยแตกออก ก็จะกระจายไปท่ีอื่นได ้ จึงไม่มียาที่สามารถกำจัดไวรัสได ้ ผู้ป่วยจะหายก็ต่อเมื่อร่างกาย สร้างภูมิคุม้ กันสำหรับไวรสั น้ันโดยเฉพาะ เชน่ โรคอีสกุ อใี ส เอดส ์ ไขห้ วัดใหญ ่ ไขห้ วัดนก โปลิโอ ตับอกั เสบ งูสวัด พษิ สุนขั ระบบนิเวศ ระบบนเิ วศ จะประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก คือ n ทางกายภาพ คอื องคป์ ระกอบทีไ่ มม่ ชี ีวิต ไดแ้ ก่ ดิน น้ำ อณุ หภมู ิ แสง n ทางชีวภาพ คือ องคป์ ระกอบทมี่ ีชวี ิต โดยจะมคี วามสมั พนั ธ์ซ่ึงกันและกัน ตามหน้าที่เชงิ อาหาร ดงั น ี้ 1) ผ้ผู ลติ 2) ผูบ้ ริโภค 3) ผยู้ ่อยสลายอนิ ทรีย์สาร ทำหน้าท ่ี ย่อยสลายอินทรยี ส์ ารให้เป็นอนนิ ทรยี ส์ ารท่พี ชื จะนำไปใช้ได้ เชน่ เหด็ รา และแบคทีเรยี การถ่ายทอดพลงั งานในแต่ละโซอ่ าหาร จากผผู้ ลติ ไปยังผู้บริโภคลำดบั ต่างๆ พลงั งานจะถ่ายทอดไปยงั ผบู้ รโิ ภคลำดบั ถัดไปเพียง 10% ส่วนพลังงานอีก 90% จะถูกใช้ในการดำรงชีวิต และบางส่วนเปลี่ยนเป็นความร้อนและบางส่วนกินไม่ได ้ เช่น กระดกู ขน เปลอื ก เล็บ ยาฆ่าแมลง เชน่ DDT และพวกสารโลหะหนักตา่ งๆ เช่น ปรอท ตะก่วั จะถ่ายทอดไปกบั โซอ่ าหารเช่นกัน โดยจะมี ปรมิ าณสะสมเพมิ่ ขึน้ ตามลำดบั การกนิ ของสิ่งมีชวี ติ ย่งิ ผบู้ รโิ ภคลำดับสุดทา้ ยย่งิ สะสมมากท่สี ดุ

~  10 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 คนกบั ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ มีชีวิต ภาวะโลกรอ้ น (Global Warming) แกส๊ CO2 และไอนำ้ จะมสี มบตั ใิ นการกกั เกบ็ ความรอ้ น ทำใหโ้ ลกมอี ณุ หภมู สิ งู ขน้ึ และไมแ่ ตกตา่ งกนั ระหวา่ งกลางวนั กับกลางคืน ซ่ึงเหมาะสมต่อการดำรงชีวิต เรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green House Effect) และเรียก คารบ์ อนไดออกไซด์วา่ แก๊สเรอื นกระจก นอกจากนี้ยังมีสาร CFC, แกส๊ มเี ทนและออกไซดข์ องไนโตรเจน ทสี่ ามารถเก็บกกั ความร้อน ปจั จบุ นั การใชเ้ ชอ้ื เพลงิ ฟอสซลิ เชน่ นำ้ มนั และการตดั ไมท้ ำลายปา่ ทำใหป้ รมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ พม่ิ มากขน้ึ ส่งผลให้อณุ หภมู ิของโลกสงู ข้นึ การทำลายโอโซนในบรรยากาศ (Ozone Depletion) สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) เป็นสาเหตุสำคัญในการทำลายโอโซน จึงทำให้รังสีอัตราไวโอเลตเข้าสู่โลกได้ มากข้นึ และถ้าเปน็ ชนิด UVc ซ่ึงมีพลงั งานมากที่สุดและเป็นอนั ตราย เชน่ ทำให้เกิดมะเร็งท่ีผวิ หนัง, เรตนิ า เกดิ ต้อกระจก หมายเหตุ : บริเวณเหนอื ทวีปแอนตารก์ ติกา มีชั้นโอโซนบางกวา่ บริเวณอน่ื ๆ มาก การพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development) คือ เป็นการพัฒนาที่คำนึงต่อความเสียหายของส่ิงแวดล้อม โดยการวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกวิธ ี และการจักการกับขยะ / ของเสีย เช่น การลดปริมาณการใช้ ทรัพยากรและการผลติ ขยะ (Reduce), การนำกลับมาใชใ้ หม่ (Reuse), การนำกลับมาผลติ ใชใ้ หม่ (Recycle)

~  11 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 สาระที่ 3 : สาร และสมบัติของสาร สารชวี โมเลกุล 1. ไขมนั และนำ้ มนั (C H O) มหี นา้ ทด่ี งั นปี้ อ้ งกนั การสญู เสยี นำ้ ทำใหผ้ วิ ชมุ่ ชน้ื และการสญู เสยี ความรอ้ น ทำใหอ้ บอนุ่ , ช่วยละลายวิตามิน A D E K, 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอร ี เป็นสารประกอบไตรกลีเซอไรด ์ เกิดจากกรดไขมัน 3 โมเลกุล กับกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กรดไขมันในธรรมชาติ ม ี 40 ชนิด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื กรดไขมันอมิ่ ตวั และ กรดไขมนั ไมอ่ ิม่ ตวั สมบตั ิ กรดไขมนั อ่มิ ตัว กรดไขมันไม่อมิ่ ตัว จุดหลอมเหลว สูงกว่า 25oC ต่ำกวา่ 25oC ของเหลว สถานะ ของแขง็ ค ู่ พนั ธะระหว่างคารบ์ อน เดย่ี ว มาก ความว่องไวปฏิกริ ยิ า นอ้ ย (+ ออกซิเจน เกดิ กลิ่นหนื ) (+ ทงิ เจอรไ์ อโอดีน สจี าง) ไขมันในเลอื ด และคอเลสเทอรอล n เปน็ สารเบอื้ งตน้ ในการสรา้ งฮอรโ์ มนเพศ นำ้ ด ี และสามารถเปลยี่ นเปน็ วติ ามนิ D ได ้ เมอื่ ไดร้ บั แสงแดด โดยเฉพาะ UVa (เกิดใตผ้ วิ หนัง) n เปน็ ฉนวนของเสน้ ประสาท ซง่ึ รา่ งกายสรา้ งไดเ้ อง พบมากในไขแ่ ดง เครอื่ งในและอาหารทะเล แตถ่ า้ มมี ากเกนิ ไป จะเกาะตามผนังหลอดเลอื ด ทำใหเ้ กิดการอดุ ตนั 2. โปรตนี (CHON) มีหนา้ ท่สี ำคญั ช่วยเสริมสรา้ งการเจริญเตบิ โตและซ่อมแซมเน้ือเย่ือ, ชว่ ยในการรกั ษาสมดุลน้ำและ กรด - เบส, เปน็ สว่ นประกอบของเอนไซม์ ฮอรโ์ มน เลอื ด และภูมิคุ้มกัน (1 กรมั ใหพ้ ลังงาน 4 กิโลแคลอร)ี , โปรตีนเกิด จากกรดอะมิโนจำนวนมากกว่า 50 หน่วย เช่ือมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด ์ ดังน้ันโปรตีนมีหน่วยย่อย คือ กรดอะมิโน มี ทง้ั หมด 20 ชนดิ แบง่ เปน็ n กรดอะมโิ นทจี่ ำเปน็ ม ี 8 ชนดิ ซงึ่ รา่ งกายสรา้ งไมไ่ ด ้ ตอ้ งกนิ จากอาหารเขา้ ไป ดงั น ี้ ไอโซลวิ ซนี เวลนี ทรปิ โตเฟน เฟนลิ อะลานนี ทรโิ อนนี เมไทโอนนี ไลซนี ลวิ ซนี สำหรบั เดก็ ทารก ตอ้ งการเพมิ่ อกี 2 ชนดิ คอื อะจนี นี และ ฮสี ตดิ นี n กรดอะมโิ นทไี่ มจ่ ำเปน็ ม ี 12 ชนิด ซง่ึ ร่างกายสังเคราะหไ์ ด้เอง หมายเหต ุ : 1. โปรตนี ในธรรมชาติ มีมากมายหลายล้านชนดิ มหี น้าที่การทำงานเฉพาะเจาะจง เนื่องจากความแตกต่าง ของชนิดของกรดอะมโิ น, ลำดับการเรยี งตวั ของกรดอะมิโน หรือสัดส่วนการรวมตวั ของกรดอะมิโน 2. การแปลงสภาพโปรตีน คือ กระบวนการที่ทำให้โครงสร้างของโปรตีนถูกทำลาย และเปล่ียนสภาพไป เช่น แขง็ ตวั ตกตะกอนรบั ไอออนของโลหะหนัก 3. คุณค่าทางชวี วิทยา หมายถงึ คุณภาพของโปรตีนทนี่ ำมาใชส้ รา้ งเน้อื เยือ่ ได้ (ไข่ 100%)

~  12 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 3. คารโ์ บไฮเดรต (C H O) 1 กรมั ให้พลังงาน 4 กโิ ลแคลอรี แบ่ง 3 ประเภท ดังน ้ี 1. มอโนแซก็ คาไรด์ : Monosaccharides (นำ้ ตาลโมเลกลุ เดยี่ ว) แบ่งเปน็ n กลู โคส เปน็ นำ้ ตาลโมเลกุลเลก็ ทสี่ ดุ ทร่ี ่ากายสามารถดูดซมึ และนำไปใช้ได้ทันที n ฟรกุ โตส (ฟรกั โตส) เป็นนำ้ ตาลทีม่ รี สหวานที่สุด (หวานกว่านำ้ ตาลทราย 2 เท่า) n กาแลกโทส เปน็ นำ้ ตาลท่มี ีในนำ้ นม (คน 7% ววั 5%) 2. ไดแซ็กคาไรด์: Disaccharides (น้ำตาลโมเลกลุ ค)ู่ n กลูโคส + กลูโคส = มอลโทส พบในข้าว เมลด็ พชื ใช้ในการทำเบยี ร ์ อาหารทารก n กลูโคส + ฟรุกโตส = ซูโครส หรือ นำ้ ตาลทราย พบมากในออ้ ย n กลูโคส + กาแลกโทส = แลกโทส พบมากในน้ำนม 3. พอลแิ ซก็ คาไรด:์ Polysaccharides (น้ำตาลโมเลกลุ ใหญ่) n แป้ง (starch) เกิดจาก กลูโคสหลายพันโมเลกุลมาต่อกัน แบบสายยาวและแบบก่ิง พบมากในพืชบริเวณ เมล็ดและหัว ละลายน้ำได้เล็กน้อย ร่างกายคนสามารถย่อยได้ด้วยเอนไซม์ที่มีในน้ำลาย (amylase) ได ้ น้ำตาลมอลโทสออกมา n เซลลโู ลส เกดิ จากกลโู คสต่อกนั แบบสายยาวไมม่ กี งิ่ เปน็ เส้นใยพชื (fiber) ร่างกายคนย่อยสลายไม่ได ้ แตใ่ น กระเพาะสัตว์กีบ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้อง เช่นวัว ควาย แพะ แกะ มีแบคทีเรียที่ย่อยสลายได้, ช่วยกระตุ้นให้ ลำไสใ้ หญเ่ คลอ่ื นไหว ดดู ซับน้ำได้ด ี จึงทำให้อุจจาระอ่อนนมุ่ n ไกลโคเจน เกดิ จาก กลูโคสเปน็ แสนถึงลา้ นโมเลกุลมาตอ่ กันแบบกิง่ มากมาย ไม่ละลายน้ำ พบในคนและสัตว์ ที่ตับและกล้ามเน้ือ เม่ือขาดแคลนพลังงาน จะสลายเป็นกลูโคส โดยทำปฏิกิริยากับก๊าซออกซิเจน ทำให้ได ้ พลงั งานออกมา เรยี กว่า ปฏกิ ริ ยิ าการหายใจระดบั เซลล์ หมายเหตุ : 1. ฮอร์โมนอินซลู นิ ทำหน้าท่ี ปรบั กลูโคสในเลอื ดให้อยใู่ นระดับปกต ิ คอื ถ้ามีกลโู คสในเลอื ดมาก อินซูลิน จะกระตุ้นใหก้ ลโู คสเปลยี่ นเปน็ ไกลโคเจน เกบ็ ไวภ้ ายในตับ จึงทำใหร้ ะดบั น้ำตาลในเลอื ดลดลง ดังนั้นถ้า ร่างกายขาดอินซูลนิ จะไม่เกิดการสรา้ งไกลโคเจน ทำให้ระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดเพ่ิมข้ึน ส่วนที่เกนิ จะ ถกู ขับออกมาทางปัสสาวะ ซ่งึ กค็ อื อาการของโรคเบาหวาน 2. เมอ่ื รา่ งกายต้องการพลงั งาน จะสลายคารโ์ บไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ตามลำดับ การทดสอบอาหาร n โปรตนี ทำปฏกิ ริ ิยากบั สารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต ในเบสแก ่ (NaOH) ใหส้ ีม่วง เรยี กปฏิกิรยิ านี้ว่า ไบยูเรต็ n นำ้ ตาลโมเลกุลเดยี่ ว และโมเลกุลค ู่ (ยกเว้นซโู ครส) จะทำปฏกิ ริ ยิ ากับสารละลายเบเนดกิ ต์ (สฟี ้า) ได้ตะกอน สแี ดงอฐิ n แป้ง ทำปฏิกิริยากับสารละลายไอโอดีน (สีน้ำตาล) ให้สีน้ำเงิน แต่ถ้าแป้ง เติมกรด ทำปฏิกิริยากับ สารละลายเบเนดิกต์ ได้ตะกอนสีแดงอฐิ (เนอื่ งจากกรดจะย่อยแปง้ ให้ขาดออกเป็นนำ้ ตาลกลโู คส) n ไขมัน แตะบนกระดาษ กระดาษจะโปร่งแสง 4. กรดนิวคลีอกิ (C H O N P) มีหน่วยย่อยเรียกวา่ นวิ คลโี อไทด ์ แบ่งเป็น 3 สว่ น คือโมเลกุลนำ้ ตาลไรโบส, N–เบส และหมูฟ่ อสเฟตแบ่งออกได้เป็น 2 ชนดิ คือ n กรดดีออกซไี ร โบนิวคลีอกิ (DNA) พบในนวิ เคลียส ทำหนา้ ที่ เปน็ สารพนั ธกุ รรม n กรดโรโบนิวคลอี กิ (RNA) พบในนวิ เคลยี สและไซโทพลาซมึ ทำหน้าท่ี สงั เคราะหโ์ ปรตีน

~  13 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 ปิโตรเลียม เกิดจาก ซากพชื ซากสัตว์ทีท่ ับถมอย่ใู ต้ทะเล จนถูกย่อยสลายเป็นคาร์บอนและไฮโดรเจน และรวมเปน็ สารไฮโดรคารบ์ อน มี ทัง้ ท่เี ป็นของเหลว คือ นำ้ มนั ดิบและแก๊ส คอื แก๊สธรรมชาติ ปิโตรเลยี มถูกกกั เก็บภายใต้พ้นื โลกในช้นั หินดินดาน (ซง่ึ เปน็ หินชน้ั หรือหินตะกอนชนิดหน่งึ ) 1. เช้อื เพลงิ ในชีวิตประจำวนั n แกส๊ หุงตม้ ประกอบดว้ ย แกส็ โพรเพน ( C3H8 ) และแกส๊ บิวเทน ( C4H10 ) ท่ถี ูกอัดด้วยความดนั สูง จนมี สถานะเปน็ ของเหลว เรียกวา่ LPG (Liquid Petroleum Gas) n น้ำมนั เบนซนิ เป็นของผสมระหวา่ งไอโซออกเทน ( C8H18 ) และเฮปเทน ( C7H16 ) เลขออกเทน (octane number) เป็นตวั เลขบอกคุณภาพของนำ้ มนั เบนซนิ โดยกำหนดให ้ n ไอโซออกเทนบรสิ ุทธิ์มีประสิทธิภาพการเผาไหม้ เป็นเลขออกเทน 100 n นอร์มอลเฮปเทนบริสุทธ ์ิ มปี ระสทิ ธิภาพการเผาไหม ้ เป็นเลขออกเทน 0 ดังนั้นน้ำมันเบนซิน เลขออกเทน 95 หมายถึง น้ำมันเบนซินท่ีมีประสิทธิภาพการเผาไหม้เหมือนกับของผสมท่ีมี อตั ราสว่ นของไอโซออกเทน 95 สว่ น และเฮปเทน 5 สว่ น แตน่ ้ำมันทก่ี ล่ันได้มีเลขออกเทนตำ่ กว่า 75 จึงต้องมกี ารเติมสาร เพื่อเพ่ิมเลขออกเทน เช่นสารเตตระเมทิลเลดหรือเตตระเอทิลเลด แต่มีไอตะก่ัว หรือในปัจจุบันเติมเมทิลเทอร์เชียรี บิวทิล อเี ทอร ์ (MTBE) ปัจจุบันใชส้ ารนี้ เรียกวา่ นำ้ มนั ไร้สารตะก่ัว n เลขซเี ทน เป็นตัวเลขบอกคณุ ภาพของน้ำมันดีเซล n พลังงานทดแทน มีสิ่งท่ีต้องคำนึงถึง 2 ประการ คือควรเป็นพลังงานสะอาด ไม่ทำลายส่ิงแวดล้อม หรือผล น้อยมาก และเป็นพลังงานทีใ่ ช้ได้อยา่ งยง่ั ยืน หรือสามารถนำกลับมาใช้ใหมไ่ ด ้ เชน่ พลงั งานแสง n การนำเอทานอล (เอธิลแอลกอฮอล์) มาผสมกับน้ำมันเบนซินอัตราส่วน 1:9 เรียกว่าแก๊สโซฮอล ์ จะมี ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับน้ำมันเบนซิน 95 ปัจจุบันมีการนำเอาเอทานอล มาผสมกับน้ำมันเบนซินใน อัตราส่วน 2:8 หรือ (20:80) เรียกวา่ น้ำมันแกส๊ โซฮอล ์ E-20 พอลิเมอร์ คอื สารทีม่ ขี นาดใหญ ่ ซึ่งเกิดจากสารขนาดเล็กจำนวนมากต่อกัน ซง่ึ เรยี กว่า มอนอเมอร ์ โดย n ถ้ามอนอเมอร์เปน็ สารชนดิ เดียวกนั เรยี กว่า โฮโมพอลเิ มอร์ เช่น เซลลโู ลส ยางพารา n ถ้ามอนอเมอร์เปน็ สารตา่ งชนดิ กัน เรียกว่า โค-พอลเิ มอร ์ หรือ พอลเิ มอรร์ ว่ ม เชน่ โปรตีน หมายเหต ุ : เอทิลนี เปน็ มอนอเมอรท์ ่เี ล็กท่สี ุด รวมตวั กนั ได้พอลเิ อทิลีน เช่น ถงุ สายยาง ฟิลม์ 1. พลาสติก แบง่ ออกไดเ้ ป็น n เทอร์มอพลาสติก มีโครงสร้างแบบโซ่ตรงหรือโซ่กิ่ง มีสมบัติดังน ้ี เม่ือได้รับความร้อนจะอ่อนตัว ยืดหยุ่นและ โค้งงอได้, สามารถเปล่ียนรูปร่างกลับไปมาได ้ สมบัติไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่นพอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลเิ ตตระฟลอู อไรเอทลิ ีน พอลิไวนิลคลอไรด ์ n เทอรม์ อเซต (thermoset) คอื พลาสตกิ ทมี่ โี ครงสรา้ งแบบตาขา่ ย มสี มบตั ดิ งั นเี้ มอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ นจะไมอ่ อ่ นตวั แต ่ จะเกิดการแตกหัก มีความแข็งแรงมาก, ไม่สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้ สมบัติมีการเปลี่ยนแปลงเช่นเบคะไลท์ ใช้ ทำด้ามจับกะทะ ดา้ มจบั เตารดี และปล๊กั ไฟฟา้ พอลยิ ูเรียฟอรม์ าลดไี ฮด์ ใชท้ ำเตา้ เสียบไฟฟ้า และแผน่ ฟอร์ไมกา ปโู ตะ๊ , อิพอกซ ี ใชท้ ำกาว หมายเหตุ : พอลิเอสเทอร์ เป็นทั้ง 2 แบบ ใชท้ ำเส้นใย และตัวถังรถ 2. ยาง แบ่งเปน็ n ยางธรรมชาติ เกิดจากมอนอเมอร์ไอโซปรีน มารวมตัวกันเป็นพอลิไอโซปรีน การปรับปรุงคุณภาพ ทำได้โดย นำยางมาคลุกกับกำมะถนั เรียกปฏิกริ ยิ านี้ว่า วัลคาไนสเ์ ซชัน ทำใหไ้ ดย้ างที่มคี วามคงตวั

~  14 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 n ยางสังเคราะห ์ (ยางเทียม) เช่นยาง IR (Isoprene Rubber) มีโครงสร้างเหมือนยางธรรมชาติ จุดเด่น คือ มสี ง่ิ เจอื ปนนอ้ ย คณุ ภาพสมำ่ เสมอ ใชท้ ำจกุ นมยางและอปุ กรณก์ ารแพทย,์ ยาง SBR (Styrene – Butadiene Rubber) เกิดจากมอนอเมอร์ของสไตรีนและบิวตาไอดีน ทนต่อการขัดถ ู แต่ไม่ทนต่อแรงดึง ใช้ทำพื้นรองเท้า สายยาง สายพาน ปฎิกิรยิ าเคมี เกิดจาก สารเร่ิมต้น เข้าทำปฏิกิริยากัน ซึ่งจะมีการแตกสลายพันธะเดิม และสร้างพันธะใหม ่ ทำให้เกิดสารใหม ่ เรียกว่า ผลติ ภณั ฑ ์ แบง่ เปน็ n ปฏิกิรยิ าคายความร้อน จะใหพ้ ลังงานความรอ้ นออกมา ทำให้สงิ่ แวดล้อมมีอณุ หภูมสิ งู ขึน้ n ปฏิกริ ิยาดูดความรอ้ น จะดูดพลงั งานความรอ้ นเข้าไป ทำใหส้ ิง่ แวดลอ้ มมอี ุณหภมู ลิ ดลง ปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคม ี 1. ความเข้มขน้ ของสารเรม่ิ ตน้ (เขม้ ข้นมา > เขม้ ขน้ นอ้ ย) 2. พืน้ ทีผ่ ิวสัมผัสของสารท่ีเขา้ ทำปฏิกริ ยิ า (ผง > กอ้ น) 3. อุณหภูมิ (รอ้ น > เย็น) 4. ตัวเร่งปฏิกริ ิยา (catalyst) 5. ธรรมชาติของสาร โครงสรา้ งของอะตอมและตารางธาตุ อะตอม (atom) คือหนว่ ยทีเ่ ลก็ ทีส่ ดุ ของธาตุ ทสี่ ามารถแสดงสมบัติของธาตนุ ้นั ๆ ได้ประกอบด้วย นิวเคลยี สซ่งึ อยใู่ จกลาง และมอี นภุ าคอเิ ล็กตรอนว่งิ รอบๆ นวิ เคลยี ส แบบจำลองอะตอม (atomic model) คอื มโนภาพทีน่ กั วทิ ยาศาสตร์สรา้ งขน้ึ จากขอ้ มลู การทดลอง เพอื่ ใชอ้ ธิบาย ลักษณะของอะตอม ตารางท่ี 1: ตารางสรุปแบบจำลองอะตอมแบบตา่ งๆ พรอ้ มคำอธิบายและท่ีมาของแบบจำลองอะตอม ชอ่ื นกั วทิ ยาศาสตรผ์ ูเ้ สนอ รปู แบบจำลองอะตอม คำอธิบาย และทมี่ าของแบบจำลองอะตอม ดอลตัน อะตอมเป็นทรงกลมภายในวา่ งเปลา่ อะตอมของธาตชุ นิด เดยี วกนั มีสมบตั เิ หมือนกันเช่นมีมวลเทา่ กันและอะตอมไม่ ทอมสัน สามารถแบ่งแยกไดห้ รอื ทำให้สูญหายได ้ / การรวบรวมแนวคดิ ของนักวิทยาศาสตร์ อะตอมเปน็ ทรงกลมมีประจุบวกและประจลุ บกระจายอยู่ ภายในโดยประจุบวกจะมจี ำนวนเท่ากับประจลุ บ / การทดลองการนำไฟฟา้ ของแกส๊ ในหลอดรงั สีแคโทด รทั เทอรฟ์ อรด์ อะตอมเป็นทรงกลมมีประจบุ วกอยกู่ นั หนาแน่นตรงกลาง แชดวกิ บรเิ วณนิวเคลยี ส ส่วนประจุลบจะวงิ่ อยูร่ อบๆนิวเคลียส / การทดลองยงิ อนภุ าคแอลฟาผ่านแผ่นทองคำท่ีมฉี ากเรอื ง แสงล้อมรอบ เหมือนกบั รทั เทอร์ฟอรด์ แต่พบวา่ มอี นุภาคทีเ่ ปน็ กลางทาง ไฟฟ้า(นิวตรอน) อยูใ่ นนิวเคลยี สดว้ ย / ยิงอนภุ าคแอลฟา ผา่ นไปยังอะตอมของ Be บอร์ เหมอื นกบั รทั เทอร์ฟอรด์ แต่อเิ ลก็ ตรอนทีอ่ ยรู่ อบๆนวิ เคลยี ส จะอยเู่ ปน็ ชั้นๆ แต่ละชนั้ เรยี กวา่ ระดับพลังงาน,อิเล็กตรอน ทอี่ ยูว่ งนอกสุดเรยี กว่าเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน(valentelectrons)/ ได้จากการศึกษาสเปกตรมั ของธาตทุ ี่ได้จากการเผาสารต่างๆ

~  15 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 สญั ลักษณ์นวิ เคลียร์ (nuclear symbol) ประกอบด้วยสัญลักษณ์ของธาตุ (X), เลขอะตอม (Z) และเลขมวล (A) โดย สญั ลกั ษณก์ ารเขยี นดังภาพ A เลขมวล (mass number) = จำนวนโปรตอน + จำนวนนวิ ตรอน Z เลขอะตอม (atomic number) = จำนวนโปรตอน ไอโซโทป, ไอโซโทน และไอโซบาร์ ไอโซโทป (isotope) คือธาตุท่ีมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน หรือธาตุท่ีมีจำนวนโปรตอนเท่ากันแต่ นิวตรอนต่างกัน ไอโซโทน (isotone) คอื ธาตทุ ม่ี ีนิวตรอนเทา่ กนั แตโ่ ปรตอนตา่ งกนั ไอโซบาร ์ (isobar) คอื ธาตุทมี่ เี ลขมวลเท่ากัน แต่เลขอะตอมต่างกนั การจัดเรียงอเิ ล็กตรอนในอะตอม วธิ ีการจัดเรยี งใหถ้ ูกตอ้ งมขี ้นั ตอนสำคญั 2 ขัน้ ดังน ี้ 1) จำนวนอิเลก็ ตรอนในแต่ละช้ันจะมจี ำนวนจำกัด หา้ มเกนิ n ในชน้ั n=1 (ชั้นใกล้นวิ เคลียสมากทส่ี ดุ ) จะมจี ำนวนอิเล็กตรอนได้สูงสดุ ไมเ่ กนิ 2 อนุภาค n ในชนั้ n=2 จะมีจำนวนอเิ ลก็ ตรอนไดส้ งู สดุ ไม่เกิน 8 อนภุ าค n ในช้นั n=3 จะมีจำนวนอเิ ลก็ ตรอนไดส้ งู สดุ ไม่เกนิ 18 อนภุ าค n ในชั้น n=4 จะมจี ำนวนอเิ ล็กตรอนไดส้ ูงสดุ ไมเ่ กิน 32 อนุภาค n ในชน้ั n=5 จะมีจำนวนอิเล็กตรอนได้สงู สุดไม่เกิน 50 อนุภาค 2) จำนวนอเิ ลก็ ตรอนในชน้ั นอกสุด (valent electrons) จะมีค่ามากทส่ี ุดหา้ มเกิน 8 อนุภาค การจัดเรยี งอิเล็กตรอน กบั ตารางธาตุ พบว่าหากจัดเรียงอิเล็กตรอนได้ถูกต้อง n จำนวนอิเลก็ ตรอนชัน้ นอกสุด (valent electron) จะบอกหมูบ่ นตารางธาตุวา่ ธาตุนัน้ ๆ อยใู่ นหมอู่ ะไร n จำนวนระดบั ช้ันพลังงาน จะบอกถึงคาบบนตารางธาตุว่าธาตุนนั้ ๆ จัดอยู่ในคาบใด ตัวอย่าง 11Na เม่ือจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอนแล้วจะได ้ 2, 8, 1 จะเห็นได้ว่า n จำนวนอเิ ลก็ ตรอนช้ันนอกสุดเทา่ กับ 1 แสดงว่าในตารางธาตุ Na น้นั จะอยู่หม่ทู ี่ 1 n จำนวนของระดับช้ันพลังงานพบวา่ ม ี 3 ช้นั แสดงวา่ ในตารางธาตุ Na นั้นจะอย่คู าบที่ 3 ตารางธาต สามารถแบง่ ธาตตุ า่ งๆ ในตารางธาตุออกเป็น 2 กล่มุ ใหญ่ๆ 1) ธาตุกลุ่ม A หรือ Representative elements 2) ธาตุกลมุ่ B หรอื Transitional elements สมบตั ิของธาตแุ ตล่ ะหมู่ ธาตุหม ู่ 1A : โลหะอัลคาไลน์ n มีเวเลนซ์อิเลก็ ตรอน = 1 n เปน็ โลหะ ลอยน้ำได ้ จดุ เดือด จุดหลอมเหลวไม่สูงมากนัก n ทำปฏกิ ริ ยิ ารนุ แรงกบั น้ำ ได้ด่างและแก๊สไฮโดรเจน ธาตุหม ู่ 2A : โลหะอลั คาไลนเ์ อริ ธ์ n มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน = 2 n ทำปฏกิ ริ ยิ ากบั น้ำ ได้ดา่ งและแก๊สไฮโดรเจน ธาตหุ ม ู่ 7A : ธาตแุ ฮโลเจน n มเี วเลนซ์อเิ ล็กตรอน = 7 n เป็นอโลหะ 1 โมเลกุลประกอบข้ึนจาก 2 อะตอม (F2 สีเหลอื ง, Br2 สีนำ้ ตาล, I2 สมี ่วงแดง) ธาตุหมู่ 8A : ก๊าซเฉอื่ ย, ก๊าซมตี ระกูล n มีเวเลนซอ์ ิเล็กตรอน = 8 ยกเวน้ He = 2 n เป็นอโลหะ เฉ่อื ยชาตอ่ การเกดิ ปฏกิ ิรยิ ามาก และในธรรมชาติจะอยู่อะตอมเดีย่ วอย่างอิสระได้

~  16 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 โลหะทรานซชิ นั n เปน็ โลหะ n เกิดสารประกอบไอออนิกที่มีสมบัติพิเศษ เรียกว่าสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสีเฉพาะตัว เช่น KMnO4 สชี มพูอมม่วงหรอื CuSO4 มีสฟี า้ n มเี ลขออกซเิ ดชันได้หลายค่า เมือ่ เลขออกซิเดชนั เปลยี่ น สีก็จะเปลย่ี น สมบตั ติ า่ งๆ ของธาตุในตารางธาตุ 1) ขนาดอะตอม, ความเป็นโลหะ, จุดเดือด, จุดหลอมเหลว เม่ือพิจารณาตามหมู่จะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่างเมื่อ พิจารณาตามคาบ จะเพิ่มจากขวาไปซ้าย 2) ค่าอิเลกโทรเนกาติวิตี (EN) คือความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนในรูปสารประกอบ เมื่อพิจารณาตามหมู่ จะเพิ่มขึน้ จากลา่ งขึ้นบน, เม่ือพิจารณาตามคาบ จะเพ่มิ จากซา้ ยไปขวา หมายเหตุ : ธาตุหมู่ 8A จะมีค่า EN = 0 3) ค่าพลังงานไอออไนเซชัน (IE) คือพลังงานน้อยท่ีสุดท่ีใช้ดึงอิเล็กตรอนให้หลุดออกจากอะตอมในภาวะก๊าซ เมอ่ื พจิ ารณาตามหมจู่ ะเพิม่ ข้นึ จากล่างขนึ้ บน, เมอื่ พจิ ารณาตามคาบ จะเพิ่มจากซา้ ยไปขวา พันธะเคม ี คือ แรงท่ียึดเหน่ียวระหว่างอะตอมสองอะตอมให้อยู่รวมกัน เกิดเป็นโมเลกุลและสารประกอบขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1) พันธะภายในโมเลกุล ไดแ้ ก่ n พนั ธะโลหะ (metallic bond) เชื่อมระหวา่ งอะตอมของธาตทุ ่เี ป็นโลหะ กับโลหะ n พันธะไอออนิก (ionic bond) เช่ือมระหว่างอะตอมของธาตุท่ีเป็นโลหะกับอโลหะ โดยมีโลหะเป็นตัวให ้ อิเล็กตรอน และอโลหะเปน็ ตวั รับอเิ ลก็ ตรอน เช่น NaCl, MgCl2 n พันธะโควาเลนซ ์ (covalent bond) เชื่อมระหว่างอะตอมของธาตุที่เป็นอโลหะกับอโลหะ โดยมีการใช ้ เวเลนตอ์ เิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั เช่น CCl4, Cl2, H2O, CO2 2) พันธะระหว่างโมเลกลุ ไดแ้ ก่ n พนั ธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) จะเชอื่ มระหวา่ งอะตอมของธาต ุ H กบั ธาต ุ F, O, N ในอกี โมเลกลุ หนงึ่

~  17 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 สาระท่ี 4 : แรง และการเคล่อื นท่ี การเคลื่อนท่ี 1. การเคลือ่ นทแ่ี นวตรง : เปน็ การเคล่อื นท่ี ทไี่ มม่ กี ารเปล่ียนทศิ ทาง อัตราเร็วเฉล่ีย หาได้จาก อตั ราสว่ นระหวา่ งระยะทางกบั เวลา ความเร็วเฉลยี่ หาได้จาก อตั ราสว่ นระหว่างกระจดั กับชว่ งเวลา หมายเหต ุ : การกระจัด คือ ระยะทางส้ันทสี่ ดุ ทแี่ สดงทิศกำกบั ดว้ ย (เป็นปรมิ าณเวกเตอร)์ ความเรง่ หาได้จาก ความเรว็ ทเี่ ปลี่ยนไปกบั เวลาทีเ่ ปลี่ยนแปลง (เมตรตอ่ วินาที2) การเคลือ่ นทข่ี องวัตถุในแนวดิ่งภายใต้แรงโนม้ ถว่ งของโลก (แนวตรง) เม่ือวัตถุตกสู่พ้ืน วัตถุจะมีความเร็วมากข้ึนอย่างสม่ำเสมอ แสดงว่า วัตถุเคลื่อนท่ีด้วยความเร่งคงตัว เรียกว่า ความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก มคี า่ เทา่ กบั 9.8 เมตรตอ่ วนิ าท2ี หมายความวา่ ในทกุ ๆ 1 วนิ าท ี วตั ถจุ ะตกลงดว้ ยความเรว็ เพมิ่ ขน้ึ 9.8 เมตรตอ่ วินาที เชน่ การกระโดดร่มแบบด่งิ พสุธา เมื่อวัตถขุ ้นึ ส่ทู ้องฟา้ วัตถจุ ะมีความเร็วลดลงอยา่ งสม่ำเสมอ แสดงว่า วตั ถเุ คลอ่ื นท่ีขน้ึ ดว้ ยความเรง่ แต่มีทศิ ทางตรง ขา้ มกบั ความเร็วใช้สูตร v = u + a t 2. การเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล ์ : เป็นการเคลื่อนทเ่ี ปน็ เส้นโคง้ พาราโบลา ซึ่งประกอบด้วย n ความเรว็ ในแนวระดับ เปน็ ความเรว็ ท่ีแท้จริงของวตั ถุ ทำใหว้ ตั ถเุ คล่ือนทไี่ ปขา้ งหนา้ ซ่ึงมคี า่ คงทต่ี ลอดเวลา n ความเร็วในแนวด่ิง เกิดจากแรงดึงดูดของโลก ซ่ึงจะดึงดูดทำให้วัตถุตกลงสู่พ้ืน โดยจะมีค่าเพ่ิมข้ึนเร่ือยๆ เช่น การโยนของจากเคร่อื งบนิ การโยนลูกบาสเกตบอลเข้าห่วง 3. การเคลอ่ื นท่ีแบบวงกลม : เกิดจาก เม่ือวัตถุเคลอื่ นทเี่ ปน็ วงกลม ซ่ึงประกอบดว้ ย n ความเร็วในแนวระดบั เป็นความเรว็ ที่แทจ้ ริงในการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุ n แรงสศู่ ูนยก์ ลาง เปน็ แรงทีม่ ที ศิ เข้าหาศนู ย์กลางของการเคลื่อนทีน่ ้นั เม่ือวัตถุเคล่ือนท่ีเป็นวงกลมด้วยความเร็วท่ีแท้จริง แต่จะมีแรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อวัตถุเกิดขึ้นพร้อมกันเสมอ จึง ทำให้วัตถุไม่หลุดออกไปจากแนววงกลม ซ่ึงเป็นแรงท่ีพอเหมาะกับวัตถ ุ จึงทำให้วัตถุเคล่ือนที่ได้ด้วยรัศมีค่าหนึ่งและ ความเรว็ ค่าหน่ึง เช่นการเหวย่ี งหมนุ ของบนศรี ษะ การเลี้ยวของรถบนถนนท่เี อียงพอเหมาะ การโคจรของดวงดาว การเคลอ่ื นทีแ่ บบวงกลมมลี กั ษณะเฉพาะ คือ วตั ถุจะเคลอื่ นที่กลบั มาซ้ำทางเดิมเสมอ n เวลาที่วัตถเุ คล่อื นที่ ครบ 1 รอบ เรยี กวา่ คาบ (period) มีหน่วยเป็น วินาท ี n จำนวนรอบทว่ี ตั ถุเคลือ่ นทไ่ี ด้ใน 1 หนว่ ยเวลา เรียกว่า ความถ ่ี (frequency) มหี น่วยเปน็ รอบตอ่ วนิ าที หรือ เฮิรตซ ์ (hertz) 4. การเคลอ่ื นทแ่ี บบฮารม์ อนกิ อยา่ งงา่ ย (simple harmonic motion): เปน็ การเคลอื่ นทกี่ ลบั ไปกลบั มา ซำ้ ทางเดมิ ในแนวดิ่ง โดยมุมทเ่ี บนจากแนวดิง่ จะมคี ่าคงทเ่ี สมอ เช่น การแกว่งของชิงชา้ การแกว่งของลูกตุม้ นาฬกิ า สนามของแรง คือ บรเิ วณทีม่ ีแรงกระทำต่อวตั ถุ แบง่ เปน็ 3 ประเภท 1. สนามแมเ่ หลก็ (magnetic field) คอื บรเิ วณทม่ี แี รงแมเ่ หลก็ กระทำ จะมที ศิ จากขว้ั เหนอื ไปยงั ขว้ั ใตข้ องแทง่ แมเ่ หลก็

~  18 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 1) ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลือ่ นทีข่ องอนภุ าคทม่ี ปี ระจุไฟฟา้ เมอ่ื อิเลก็ ตรอน (ประจลุ บ) เคลอื่ นทใี่ นสนามแม่เหลก็ จะถูกแรงแม่เหล็กกระทำ ทำใหแ้ นวการเคลื่อนท่ีเปลี่ยนไป ใช้ในการทำจอของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า เช่น โทรทัศน์ ประกอบดว้ ย หลอดภาพแบง่ เป็น 3 ส่วนประกอบ n ข้ัวแคโทดหรอื ปืนอเิ ล็กตรอน ทำหน้าท่ี ผลติ ลำอิเล็กตรอน n จอเรอื งแสง ซึ่งฉาบด้วยสารเรอื งแสง เมอ่ื อิเลก็ ตรอนตกกระทบจอจะทำให้เกดิ จุดสว่าง n ขดลวดเบี่ยงเบน ทำหน้าท ่ี ผลิตสนามแม่เหล็กเพ่ือเบี่ยงเบนลำอิเล็กตรอน และควบคุมให้ลำอิเล็กตรอน เคลือ่ นทกี่ วาดไปมาบนจอภาพในแนวระดบั ด้วยความเรว็ สูงมาก ทำใหเ้ กิดภาพข้นึ 2) ผลของสนามแมเ่ หลก็ ต่อการเคลือ่ นที่ของขดลวดตัวนำทม่ี ีกระแสไฟฟา้ ผา่ น เมื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดตัวนำ ที่วางตัด (ตั้งฉาก) กับสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ จะมีแรงแม่เหล็ก กระทำ ทำให้ขดลวดตัวนำเคล่ือนที่ได้นำไปใช้สร้างมอเตอร์ไฟฟ้าซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น พลงั งานกลเชน่ พดั ลม เคร่ืองผสมอาหาร กรณีตรงข้าม ถ้าหมุนขดลวดตัวนำให้ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ จะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าข้ึน เรียกว่า กระแสไฟฟา้ เหนยี่ วนำ ซง่ึ คน้ พบโดย ไมเคลิ ฟาราเดย ์ และนำไปสรา้ งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ซ่ึงเป็นอปุ กรณ์ที่เปล่ยี นพลังงาน กลเปน็ พลงั งานไฟฟ้า 3) สนามแม่เหล็กโลก โลกเสมอื นมีแม่เหลก็ ฝังอย่ใู ตโ้ ลก และแผ่สนามแม่เหลก็ ปกคลุมโลก n ข้วั โลกเหนอื ทำหน้าที่เปน็ ขัว้ ใต้ของแม่เหล็ก n ข้วั โลกใต ้ ทำหนา้ ท่เี ปน็ ขว้ั เหนือของแม่เหล็ก ทำหน้าท่ี เป็นโล่ป้องกันอันตรายจากลมสุริยะ ซึ่งเป็นอนุภาคที่มีประจ ุ เช่น โปรตอน และอิเล็กตรอน ไม่ให้ อนภุ าคเหล่านี้ทำลายช้ันบรรยากาศของโลก ซึง่ จะเป็นอนั ตรายตอ่ สิ่งมชี วี ิต 2. สนามไฟฟา้ (electric field) คอื บริเวณที่มแี รงไฟฟ้า กระทำ จะมที ศิ จากขวั้ บวกไปยงั ขวั้ ลบของขั้วไฟฟ้า เม่ือมี อนภุ าคที่มปี ระจ ุ อยู่ในสนามไฟฟา้ พบวา่ n อนุภาคทีม่ ีประจุบวก (โปรตอน) จะถูกแรงไฟฟา้ กระทำ ใหเ้ คลอื่ นที่จากขัว้ บวกไปยงั ขวั้ ลบ n อนุภาคท่มี ปี ระจลุ บ (อเิ ลก็ ตรอน) จะถกู แรงไฟฟ้ากระทำ ใหเ้ คลื่อนท่จี ากขว้ั ลบไปยงั ขัว้ บวก หลักการนน้ี ำไปใช้ในการทำเครื่องกำจดั ฝุน่ โดยเมอื่ ฝนุ่ ละอองผา่ นเขา้ ไปในเคร่อื ง ฝุ่นเลก็ ๆ จะรับประจไุ ฟฟา้ ลบ จาก ขว้ั ลบของเครื่อง และจะถกู ดูดตดิ แน่นโดยแผ่นข้วั บวก ในสนามไฟฟ้า เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีในทิศตั้งฉาก (ตัด) กับสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ พบว่าจะมีแรงไฟฟ้ากระทำ ทำใหก้ ารเคล่อื นที่ของอเิ ลก็ ตรอนเบนไปจากเดมิ ซ่งึ นำไปใช้ประโยชน์ ในการสรา้ งจอแสดงผลของเครื่องมือ เชน่ จอเรดาร์ จอภาพ ออสซลิ โลสโคปและจอเคร่ืองอัลตราซาวด์ 3. สนามโน้มถว่ ง (gravitational field) คอื บริเวณท่ีมแี รงโน้มถว่ งกระทำทำให้เกิดแรงดึงดดู วัตถ ุ โดยจะมที ิศพ่งุ เขา้ สู่ จดุ ศูนย์กลางโลก (สนามโนม้ ถว่ ง ณ ผวิ โลก มีค่าประมาณ 9.8 นวิ ตนั ตอ่ กโิ ลกกรมั แต่จะมคี ่าลดลงไปเรอื่ ยๆ เมอ่ื อยสู่ ูง จากผวิ โลกมากข้ึน) 1) การเคลื่อนที่ของวตั ถุในสนามโน้มถ่วง n เมอ่ื วตั ถุตกในสนามโนม้ ถว่ ง วัตถจุ ะเคลอื่ นที่ลงดว้ ยความเรว็ ท่เี พิม่ ขึ้นสมำ่ เสมอ หรือ ความเร่งคงตวั เรยี กวา่ ความเร่งโนม้ ถว่ ง แตจ่ ะมคี ่าต่างกันตามตำแหน่งทางภูมิศาสตร ์ n เมื่อโยนวัตถุขึ้นไปในแนวด่ิง วัตถุจะเคล่ือนท่ีขึ้นด้วยความเร่งโน้มถ่วง แต่มีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางโลก ทำให้วัตถุเคล่ือนที่ข้ึนด้วยความเร็วท่ีลดลง จนกระทั่งความเร็วสุดท้ายเป็นศูนย์ จากน้ันแรงดึงดูดโลกจะดึง วัตถุใหต้ กกลบั สู่โลกด้วยความเร่งเทา่ เดมิ

~  19 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 แรงโนม้ ถว่ งของโลกทกี่ ระทำตอ่ วัตถุ ก็คือ น้ำหนักของวัตถบุ นโลก (weight) โดยคำนวณจากสมการ เม่ือ m คอื มวลของวตั ถุ (กโิ ลกรมั / kg) g คอื ความเร่งโนม้ ถว่ ง ณ ตำแหนง่ ทว่ี ตั ถุวางอย ู่ (เมตร ต่อ วินาท2ี / m/s2) w คือ น้ำหนกั ของวัตถุ (นิวตัน / N) W = mg จากหลักการของแรงโน้มถ่วง นำไปใชใ้ นการสรา้ งโรงไฟฟ้าพลงั น้ำ โดยมกี ารเกบ็ น้ำไวใ้ นทีส่ งู บนเขื่อน แล้วปลอ่ ยให้ ไหลตามท่อลงสู่ท่ีต่ำกว่า ซ่ึงภายในท่อมีกังหันท่ีต่อแกนเข้ากับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เม่ือน้ำไหลลงมา จึงส่งผลให้กังหันหมุน และทำใหผ้ ลติ กระแสไฟฟ้าได้

~  20 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 สาระท่ี 5 : พลังงาน คล่นื 1. คลื่นกล (mechanical) คอื คล่ืนท่ตี อ้ งอาศัยตัวกลาง ในการถ่ายโอนพลังงาน แบ่งเป็น n คลน่ื ตามขวาง เกดิ จากอนภุ าคของตัวกลางเคลอื่ นทตี่ ัง้ ฉากกับการเคลอื่ นทีข่ องคลน่ื เชน่ คลนื่ นำ้ n คลน่ื ตามยาว เกิดจากอนุภาคของตัวกลางเคล่ือนทีแ่ นวเดียวกับการเคล่ือนท่ีของคล่ืน เชน่ สปรงิ เสยี ง 2. องคป์ ระกอบของคลน่ื คลนื่ ตามขวาง ประกอบด้วย n สนั คลน่ื คอื ตำแหน่ง สูงสุดของคลนื่ , ทอ้ งคลนื่ คือ ตำแหนง่ ตำ่ สดุ ของคลื่น n แอมพลิจูด คือ ขนาดกระจดั ท่มี ีค่ามากทส่ี ดุ (ความกว้างของคล่นื ) n ความยาวคลน่ื คอื ความยาวของคลื่น 1 ลูก ซ่ึงเปน็ ระยะระหว่างสนั คลื่น - สันคลืน่ หรอื ระยะระหวา่ งท้องคล่ืน - ท้องคล่ืนเขยี นแทนด้วย λ (อา่ นวา่ แลมดา) มีหนว่ ยเปน็ เมตร n ความถ ี่ คือ จำนวนลูกคลื่นทั้งหมดที่เคล่ือนใน 1 หน่วยเวลา เขียนแทนด้วย มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาท ี หรอื เฮริ ตซ ์ (Hz) n คาบ คอื เวลาทคี่ ล่ืน 1 ลกู เคล่ือนท่ผี ่าน เขยี นแทนด้วย T มหี น่วยเป็นวินาท ี (s) n อัตราเรว็ ของคลน่ื คอื ระยะทางที่คลน่ื เคล่อื นท ่ี ไดใ้ นหน่งึ หนว่ ยเวลา คลน่ื ตามยาว ประกอบด้วย n ส่วนอัด คอื บรเิ วณทค่ี ลื่นอยู่ใกลช้ ิดกันมาก n ส่วนขยาย คือ บริเวณท่คี ลื่นอยู่หา่ งกันมาก n ความยาวคลื่น คือ ระยะระหว่างส่วนอัด – สว่ นอัดหรือระยะระหว่างส่วนขยาย – ส่วนขยาย 3. สมบตั ขิ องคลนื่ มี 4 ประเภท การสะท้อน : เกิดจาก การท่ีคลื่นกระทบสิ่งกีดขวาง แล้วทำให้เคลื่อนท่ีกลับสู่ตัวกลางเดิม โดยมีมุมตกกระทบ เทา่ กบั มมุ สะทอ้ น เชน่ - คา้ งคาว สามารถหลบหลกี สง่ิ กดี ขวางและรตู้ ำแหนง่ ของแมลงทเี่ ปน็ อาหารได ้ โดยการส่งคล่ืนเสียง (Ultrasound) ออกไป แล้วรับคลนื่ ท่ีสะทอ้ นกลบั มา n ปลาโลมา ใช้การสะทอ้ นของคลืน่ เสียงในการหาปลาทีเ่ ปน็ อาหาร n ในการสื่อสารโทรคมนาคมผ่านดาวเทียม สายอากาศทำหน้าที่ส่งคล่ืนจากโฟกัสของจานไปสะท้อนท่ีผิวจานโค้ง ให้เป็นลำขนานสู่ดาวเทียม ดาวเทียมจะรับและขยายสัญญาณแล้วส่งสัญญาณกลับมายังจานโค้งของสถานีรับ สญั ญาณบนโลก ซ่งึ จะสะทอ้ นสัญญาณไปรวมกนั ทีอ่ ุปกรณ์รับท่โี ฟกัสของจาน การหกั เห : เกิดจากการที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างตัวกลางท่ีมีสมบัติต่างกัน ทำให้ทิศทางเบ่ียงเบน เน่ืองจากอัตราเร็วของคลื่นเปล่ียนไป เช่นขณะเกิดพายุฟ้าคะนอง บางครั้งเห็นฟ้าแลบ แต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง เนื่องจาก เสียงเกิดการหักเห ในขณะที่เดินทางจากอากาศเย็นด้านบน ซ่ึงมีความหนาแน่นมาก มายังอากาศร้อนด้านล่าง ซึ่งมีความ หนาแน่นนอ้ ยกว่า ทำใหท้ ิศทางของเสยี งเปลยี่ นแปลงทลี ะน้อย จนเกิดการสะท้อนกลบั หมด การเลย้ี วเบน : เกิดจากการท่ีคล่ืนปะทะส่ิงกีดขวาง แล้วมีคลื่นบางส่วนแผ่กระจายไปตามขอบของส่ิงกีดขวางทาง ด้านหลัง เช่น การที่เราเดินผ่านมุมอาคารเรียนหรือมุมตึก จะได้ยินเสียงต่างๆ จากอีกด้านหนึ่งของอาคาร การได้ยินเสียง จากหอ้ งข้างเคียง การแทรกสอด : เกิดจากการท่ีคลื่นสองขบวนเคล่ือนท่ีเข้าหากัน ทำให้เกิดบริเวณสงบนิ่งและบริเวณท่ีส่ันสะเทือน มาก โดยแบ่งเปน็ n แบบเสริม เกิดจาก สันคลืน่ พบสนั คล่ืนและท้องคลื่นพบท้องคลน่ื ทำให้แอมพลจิ ดุ เสริมกัน ส่งผลให้ผิวของคลน่ื ม ี ระดับสูงหรอื ต่ำมากทส่ี ดุ

~  21 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 n แบบหกั ล้าง เกดิ จาก สนั คลนื่ พบทอ้ งคลนื่ ทำใหแ้ อมพลจิ ูดหกั ลา้ งกนั คล่นื จึงไมก่ ระเพ่อื ม หมายเหต ุ : ปรากฏการณ์เสียงบีตส ์ (beats) เกิดจาก การท่ีคล่ืนเสียงจาก 2 แหล่งกำเนิด ที่มีความถ่ีต่างกันเล็กน้อย เคลื่อนทเี่ ขา้ หากนั แลว้ ทำให้เกดิ เสียงดงั และคอ่ ยสลบั กันเปน็ จังหวะ จากหลักการของบีตส์ นำมาใช้ในการเทียบเสียงของเครื่องดนตรีให้มีความถ่ีเท่ากับความถ่ีของเสียงมาตรฐานที่ ต้องการ เช่น การเทียบเสียงกีตาร์ให้ได้มาตรฐาน โดยดีดกีตาร์และทำให้เกิดเสียง จากแหล่งกำเนิดเสียงมาตรฐานดังขึ้น พร้อมกัน ถ้าได้ยินบีตส์แสดงว่าความถี่ยังไม่เท่ากัน ต้องปรับสายกีตาร์ใหม่ จนกระท่ังไม่ได้ยินเสียงบีตส ์ จึงจะถือว่าเสียง จากกตี าร์เปน็ เสียงทม่ี คี วามถมี่ าตรฐานแล้ว 4. เสียงและการได้ยิน เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถ ุ หลังงานท่ีวัตถุส่ันจะทำให้โมเลกุลของอากาศที่อยู่รอบๆสั่นตาม แล้วเกิดการถ่ายโอนพลังงานให้กับอากาศที่อยู่ถัดไปเรื่อยๆจนเข้าสู่ห ู โดยหลังจากถ่ายโอนพลังงานไปแล้ว โมเลกุลของ อากาศจะสัน่ กลบั สู่ตำแหนง่ เดิมความดนั อากาศในบรเิ วณที่เสยี งเคลอ่ื นทผ่ี า่ นเรยี กวา่ ความดันเสียงพบว่า n โมเลกลุ ของอากาศในบางบรเิ วณอยใู่ กลช้ ดิ กนั จงึ มคี วามหนาแนน่ และความดนั สงู กวา่ ปกต ิ เรยี กบรเิ วณนว้ี า่ สว่ นอดั (สันคลื่น) n โมเลกลุ ของอากาศในบางบรเิ วณอยหู่ า่ งกนั จงึ มคี วามหนาแนน่ และความดนั ตำ่ กวา่ ปกต ิ เรยี กบรเิ วณนวี้ า่ สว่ นขยาย (ทอ้ งคล่ืน) หูของคน ประกอบด้วย 3 ส่วน คอื n หูส่วนนอก ทำหนา้ ที่ รับคลื่นเสียง แล้วสง่ ต่อไป n หูสว่ นกลาง ประกอบด้วย กระดกู ชน้ิ เลก็ ๆ ทำหน้าท่ี ขยายเสียง แลว้ ส่งตอ่ ไป n หูส่วนใน มีท่อกลวงขดเป็นก้นหอย เรียกว่า คอเคลีย ซ่ึงภายในมีเซลล์ขนจำนวนมากคอยจับสัญญาณการสั่น ของคลนื่ เสียง แล้วส่งสญั ญาณการรบั รไู้ ปยงั สมอง ธรรมชาติของเสียง แบง่ ออกได้ 3 ประเภท ระดบั เสยี ง คอื ความสงู หรอื ตำ่ ของเสยี ง ขน้ึ อยกู่ บั ความถขี่ องเสยี ง เสยี งทม่ี คี วามถมี่ าก จะมเี สยี งสงู เรยี กวา่ เสยี งแหลม เสียงที่มคี วามถีน่ ้อย จะมีเสยี งตำ่ เรียกวา่ เสยี งทุม้ หมายเหตุ : หูของคนสามารถรบั รู้คล่ืนเสียงในชว่ งความถ ่ี 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ ์ เสียงที่มคี วามถต่ี ่ำกว่า 20 เฮริ ตซ์ เรยี กว่า อนิ ฟราซาวด ์ (infrasound) เสียงทม่ี ีความถ่ีสูงกว่า 20,000 เฮริ ตซ ์ เรยี กวา่ อลั ตราซาวด ์ (ultrasound) หมายเหตุ : เสยี งอลั ตราซาวด ์ นำไปใชต้ รวจสภาพเนอื้ เยอื่ ใชส้ ลายกอ้ นนวิ่ ใชท้ ำความสะอาดเครอ่ื งมอื ใชส้ ำรวจความลกึ ของมหาสมุทร และใช้ในการประมง เพอ่ื สำรวจหาแหลง่ ปลา ความดัง คอื พลงั งานเสียงท่มี ากพอท่จี ะไดย้ ินเสยี งได ้ ขนึ้ อย่กู บั แอมพลิจดู ของคลื่น การวัดความดงั ของเสียง จะวัด เปน็ ระดบั ความเข้มเสยี ง มีหนว่ ยเปน็ เดซิเบล ดังน้ ี n เสยี งคอ่ ยทีส่ ดุ ที่เร่มิ ไดย้ ิน มรี ะดับความเขม้ เสยี งเป็น 0 เดซิเบล n เสยี งดงั ท่ีสดุ ทีไ่ มเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ หู มีระดบั ความเข้มเสียงเป็น 120 เดซิเบล หมายเหตุ : องคก์ ารอนามยั โลก กำหนดว่า ระดบั ความเข้มเสยี งที่ปลอดภัยตอ้ งไมเ่ กิน 85 เดซเิ บล และไดย้ ินติดตอ่ กัน ไม่เกนิ วันละ 8 ชั่วโมง ถ้าเกนิ กว่าน้ ี จะถือว่าเปน็ มลภาวะของเสียง คณุ ภาพเสียง คือ คณุ ลักษณะเฉพาะตัวของเสยี ง (ไมไ่ ด้หมายความวา่ เสยี งดี หรอื ไมด่ )ี n ช่วยระบุแหลง่ กำเนดิ เสยี งท่ีแตกตา่ งกัน ทำใหเ้ ราจำได้วา่ เสียงทไี่ ดย้ ินเป็นเสียงอะไร n นำไปสร้างเคร่อื งมอื วิเคราะหเ์ สียง เพ่ือพสิ ูจนห์ ลักฐาน เพอ่ื ระบบุ คุ คลท่ีพดู เนื่องจากคุณภาพเสียงแตล่ ะคนจะให ้ รปู คลื่นออกมาแตกตา่ งกนั

~  22 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 5. คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ (electromagnetic) : คอื คลน่ื ทเ่ี คลอื่ นทไ่ี ด ้ โดยไมอ่ าศยั ตวั กลาง ประกอบดว้ ย สนามแมเ่ หลก็ และสนามไฟฟา้ ท่เี ปล่ียนแปลงตลอดเวลา โดยทิศของสนามทั้งสองจะตัง้ ฉากกัน และต้ังฉากกบั ทศิ การเคลื่อนท่ีมีช่วงความถ่ี ต่างๆ เฉพาะตวั แตต่ ่อเน่ืองกนั เรยี กวา่ สเปกตรมั คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า (เรยี งจากความถส่ี งู ไปความถ่ีตำ่ ) ดังน ี้ แกมมา เอ็กซ ์ อัลตราไวโอเลต แสงทีต่ ามองเหน็ (visible light) อินฟราเรด ไมโครเวฟ คลื่นวิทย ุ คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า ทใี่ ช้ประโยชนม์ ากในชวี ติ ประจำวนั คือ คลนื่ วิทย ุ ทม่ี ีความถใ่ี นช่วง 104 -109 Hz โดยใชเ้ ป็น คลืน่ ในการสง่ ขา่ วสารและสาระบนั เทงิ มีหลกั การ ดงั นี้ 1. เปลีย่ นเสยี งใหเ้ ป็นสญั ญาณไฟฟ้า โดยใชไ้ มโครโฟน 2. ผสมสัญญาณไฟฟา้ กับคลื่นวิทยุ ซ่งึ ทำหนา้ ท ่ี เป็นคลื่นพาหะ 3. ขยายสญั ญาณของคลนื่ ทผี่ สมแล้ว ใหม้ กี ำลังสงู ข้ึน 4. สง่ ไปยังเสาอากาศ เพื่อกระจายคล่นื ไปยังเคร่ืองรับวิทย ุ หมายเหต ุ : การผสมสัญญาณไฟฟ้าของเสยี งกับคลื่นวิทยุ ม ี 2 ระบบ คอื n ระบบเอเอ็ม (AM : Amplitude Modulation) : เปน็ การผสมที่ทำใหแ้ อมพลจิ ูดของคลน่ื พาหะเปลี่ยนแปลงตามคลน่ื เสยี ง แตค่ วามถไี่ ม่เปลยี่ นแปลง : ส่งกระจายเสยี งดว้ ยความถี่ 530 – 1,600 กโิ ลเฮิรตซ ์ n ระบบเอฟเอ็ม (FM : Frequency Modulation) : เป็นการผสมทีท่ ำให ้ ความถ่ีของคล่ืนพาหะเปลย่ี นแปลงตามคลน่ื เสียง แตแ่ อมพลจิ ูดไมเ่ ปลย่ี นแปลง : สง่ กระจายเสยี งดว้ ยความถ่ี 88 – 108 เมกะเฮิรตซ ์ ระบบ AM สะท้อนบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ได ้ ใช้ตดิ ตอ่ ไกลๆ เรยี กว่า คลน่ื ฟ้า ระบบ FM มีความถ่ีสูงมาก จะทะลุผ่านบรรยากาศช้ันไอโอโนสเพียร์ออกไป จึงใช้ในการติดต่อกับยานอวกาศที่เดิน ทางอยู่นอกโลก ดังน้ัน การรับคลื่น FM บนพื้นโลก จึงรับได้เฉพาะคลื่นท่ีแผ่กระจายจากสายอากาศของสถานีส่งเท่าน้ัน เรียกวา่ คลน่ื ดนิ กัมมันตภาพรังสแี ละพลังงานนวิ เคลยี ร์ 1. กมั มันตภาพรังสี ธาตทุ มี่ ีการแผร่ ังสีไดเ้ รียกวา่ ธาตุกมั มนั ตรังส ี และปรากฏการณ์การแผ่รงั ส ี ว่ากัมมนั ตภาพรงั ส ี ใน ธรรมชาต ิ ธาตุสว่ นใหญม่ ไี อโซโทป โดยแบ่งเปน็ n ไอโซโทปเสถียร คือ ไอโซโทปทีไ่ มแ่ ผ่รงั สี มักจะพบในธรรมชาต ิ n ไอโซโทปกมั มันตรังส ี คอื ไอโซโทปท่มี ีนวิ เคลยี สไมเ่ สถยี ร จงึ แผ่รงั สีออกมา คือ 1) รงั สแี กมมา (γ) เป็นคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้า ท่ีมีความยาวคลื่นสนั้ มากมอี ำนาจทะลุผา่ นมากท่ีสดุ สามารถกน้ั ได้โดย ใชแ้ ผ่นตะกัว่ 2) รงั สีบีตา ( β ) เป็นอเิ ล็กตรอน สามารถกัน้ ไดโ้ ดยใช้แผน่ อลูมิเนียม 3) รงั สแี อลฟา ( α ) เป็นนวิ เคลยี สของธาตุฮเี ลยี ม ( 24He ) สามารถทำให้สารเกิดการแตกตัวเปน็ ไอออนไดด้ ี ม ี อำนาจทะลุผา่ นน้อยมาก สามารถก้ันไดโ้ ดยใช้กระดาษ ครงึ่ ชวี ติ (half life) คอื ระยะเวลาทนี่ วิ เคลยี สของธาตกุ มั มนั ตรงั สสี ลายตวั เหลอื ครง่ึ หนงึ่ ของจำนวนนวิ เคลยี สเรม่ิ ตน้ โดยธาตแุ ตล่ ะชนดิ จะมคี รง่ึ ชวี ติ ไมเ่ ทา่ กนั และมคี า่ คงท ่ี ไมข่ น้ึ กบั ปจั จยั ภายนอก จงึ สามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆ เชน่ ด้านการแพทย์ n การใชร้ งั สีแกมมาจากโคบอลต์ -60 ทำลายเซลลม์ ะเร็ง, การใชไ้ อโอดีน -131 ตรวจสอบความผดิ ปกติของ ตอ่ มไทรอยด์

~  23 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 ด้านอุตสาหกรรม n การควบคมุ การผลติ กระจก กระดาษ แผ่นเหลก็ พลาสติกใหม้ ีความหมายสมำ่ เสมอ ด้านการเกษตร n การฉายรงั สแี กมมาดกั แดข้ องแมลงทเี่ พาะเลย้ี งไว ้ เพ่ือทำหมั้น จงึ ไม่ขยายพนั ธ์ุต่อไป, การฉายรังสอี าหาร เพอื่ ให้คงความสดเปน็ เวลานาน, การฉายรงั สดี อกไม้ ทำใหเ้ กดิ การกลายพนั ธ,ุ์ การศึกษาอตั ราการดดู ซมึ ปยุ๋ ของต้นไม้ โดยใส่ปยุ๋ ทีม่ ตี ัวทำรอย เช่น ฟอสฟอรัส -32 ด้านโบราณคดีและธรณีวิทยา n การหาอายขุ องวตั ถโุ บราณและซากสงิ่ มชี วี ติ โดยใช้ธาตคุ าร์บอน -14 (ครง่ึ ชวี ิต 5,730 ปี) 2. รังสกี บั มนุษย์ รังสพี ้ืนฐาน คือ รังสที ีอ่ ยตู่ ามธรรมชาติ ซงึ่ ทุกคนได้รับตลอดเวลาและหลกี เลี่ยงไมไ่ ด้ แต่มไี มม่ ากและไมเ่ ปน็ อนั ตราย เชน่ รงั สคี อสมิกจากอากาศ, รงั สีจากเรดอน ทอี่ ยูใ่ นอากาศ หนิ ดิน ตน้ ไม ้ กากกัมมันตรังส คือ ของเสียทม่ี ปี รมิ าณรังสีอยใู่ นระดบั สงู กวา่ เกณฑ์และไมส่ ามารถใชไ้ ด้อกี n กากระดับตำ่ และกลาง ใหฝ้ งั ใต้ดนิ ทไ่ี มเ่ ป็นท่ลี ุ่ม ไมม่ ีประวตั ิแผ่นดนิ ไหวและภเู ขาไฟ n กากระดับสงู ให้ฝงั ในช้ันธรณีลึก เป็นหินอัคนี หินแปรหรือหนิ ชนวน 3. พลงั นวิ เคลียร์ แรงนวิ เคลยี ร์ (nuclear force) คือ แรงที่กระทำระหวา่ งอนภุ าคทอี่ ยใู่ นนวิ เคลียส ซึง่ ประกอบด้วยแรงดงึ ดดู ทีท่ ำให้ โปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกนั ซ่งึ จะมีคา่ มากกว่าแรงผลกั ระหวา่ งของโปรตอน พลงั งานนวิ เคลยี ร์ โดยแบง่ เป็น ฟิชชัน (fission) : เป็นปฏิกิริยาท่ีนิวเคลียสของธาตุเลขมวลมากแตกตัวเป็นธาตุเลขมวลน้อย เกิดจากการยิง นวิ ตรอน เขา้ ใสน่ วิ เคลยี สของธาตยุ เู รเนยี ม - 235 ทำใหน้ วิ เคลยี สแตกออกเปน็ นวิ เคลยี สทม่ี เี ลขมวลลดลง เชน่ แบเรยี ม - 141 และคริปตอน-92 ทำให้พลงั งานออกมามหาศาลและจะไดน้ ิวตรอนใหม่เกิดขน้ึ อีก 3 ตัว ซง่ึ สามารถพุ่งไปชนนวิ เคลยี สของ ยเู รเนียม-235 ท่อี ยใู่ กลเ้ คียง ทำใหเ้ กดิ ฟชิ ชนั ต่อไปเรือ่ ยๆ เรยี กว่าปฏกิ ิรยิ าลูกโซ่(chain reaction) หมายเหต ุ : อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ พบว่า เม่ือเกิดฟิชชันมีมวลหายไป ซึ่งมวลน้ีจะเปล่ียนเป็นพลังงาน ตามทฤษฎี สัมพันธภาพ ฟวิ ชนั (fusion) : เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าทน่ี วิ เคลยี สของธาตเุ ลขมวลนอ้ ยรวมตวั กนั เปน็ ธาตทุ ม่ี เี ลขมวลมาก ในธรรมชาต ิ ฟวิ ชนั เกิดในดาวฤกษ ์ (ดวงอาทิตย)์ ซึ่งประกอบด้วย กา๊ ซไฮโรเจนจำนวนมาก เมอื่ ไดร้ ับอุณหภูมิสูงถึง 107 เคลวิน จะทำให้เกดิ การแตกตัวเป็นโปรตอนและอิเล็กตรอน โปรตอนเหล่านจี้ ะหลอมรวมกันเป็นนวิ เคลียสของฮีเลยี ม แล้วปลอ่ ยพลงั งานออกมา หมายเหตุ : ฟิวชนั เปน็ ปฏกิ ิริยาทีใ่ หพ้ ลงั งานออกมามากและเกดิ รงั สเี พียงเล็กน้อย จึงไมม่ ผี ลต่อสิ่งแวดล้อมและเช้ือเพลงิ ทใี่ ช้ คือ ไฮโดรเจน ซงึ่ มีมากในน้ำบนโลก จงึ มีการพยายามเพือ่ จะนำพลังงานมาใช ้ ในปัจจุบันฟิวชัน จะเกิดได้เฉพาะในห้องปฏิบัติการ โดยการหลอมรวมกันของนิวเคลียร์ของ ดิวเทอเรียม ซ่ึงใช้ อปุ กรณ์ท่เี รียกวา่ เครอ่ื งปฏกิ รณ์นิวเคลียรฟ์ ิวชัน หมายเหตุ : ปัญหาสำคัญที่สุด คือ การควบคุมให้เกิดฟิวชันอย่างต่อเน่ืองและแรงผลักระหว่างนิวเคลียสมีมากเกินไปใน การทจี่ ะทำใหธ้ าตรุ วมกนั โดยจะตอ้ งเพม่ิ พลงั งาน เพอื่ เอาชนะแรงผลกั ซงึ่ ตอ้ งใชอ้ ณุ หภมู สิ งู มากถงึ 108 เคลวนิ หรือสูงกว่าอุณหภูมิที่ใจกลางของดวงอาทิตย์ถึง 10 เท่า ดังนั้น ณ.วันนี้ ฟิวชันจึงยังไม่สามารถนำมาใช้ ประโยชนไ์ ด้

~  24 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 สาระท่ี 6 : โลก และการเปลยี่ นแปลง โครงสร้างโลก แบ่งตามลกั ษณะมวลสาร ได ้ 3 ชั้น คอื 1. ชั้นเปลือกโลก แบ่งเป็น 2 บริเวณ คือภาคพื้นทวีป ประกอบด้วยซิลิกาและอะลูมินา, ใต้มหาสมุทรประกอบด้วย ซลิ ิกาและแมกนีเซียม 2. ชน้ั เนือ้ โลก มีความลึก 2,900 กโิ ลเมตร แบง่ เป็น 3 ส่วน คือ สว่ นบน เป็นหนิ ทเ่ี ย็นตัว มีรอยแตก ช้ันเนือ้ โลกส่วนบนรวมกับชั้นเปลือกโลก รวมเรียกวา่ ชน้ั ธรณีภาค ช้นั ฐานธรณภี าค เป็นชั้นหนิ หลอมละลายหรือหนิ หนดื ที่เรยี กว่า แมกมา ช้นั ล่างสดุ เป็นชน้ั ของแขง็ รอ้ นทแี่ น่นและหนืด 3. ช้ันแก่นโลก (แก่นโลกชั้นนอก เปน็ ของเหลวร้อนของเหล็กและนิกเกิล, แก่นโลกชนั้ ใน มีส่วนประกอบเหมอื นชั้นนอก แต่เป็นของแข็ง) ปรากฏการณ์ทางธรณีวทิ ยา 1. แผน่ ดนิ ไหว เกดิ จาก การเคลอ่ื นที่ของเปลือกโลกตามแนวรอยตอ่ ธรณภี าค และมถี า่ ยโอนพลงั งานใหก้ บั ชัน้ หนิ ท่ี อยู่ตดิ กนั ในรูปของคล่นื ไหวสะเทือน ซ่งึ แผ่กระจาย 2 ชนิด คือ n คลื่นในตัวกลาง : เป็นคลื่นแผ่กระจายเป็นวงรอบๆ ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว และเดินทางอยู่ในตัวกลางท่ีม ี เนอื้ ชนิดเดียวกนั ตลอด n คลน่ื พน้ื ผวิ : เปน็ คลน่ื ทเ่ี คลอื่ นแผก่ ระจายจากจดุ เหนอื ศนู ยเ์ กดิ แผน่ ดนิ ไหว โดยจะเคลอ่ื นไปตามพน้ื ผวิ โลก และเคลื่อนผ่านระหว่างตวั กลางท่ตี ่างชนิดกัน เครอ่ื งไซสโมกราฟ (seismograph) เปน็ เครอื่ งมือบนั ทกึ ขอ้ มลู ของคล่นื แผ่นดนิ ไหว แนวรอยต่อรอบมหาสมุทรแปซิฟิก เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงและมากที่สุด (80%) เรียกว่า วงแหวนแห่งไฟ (Ring of Fire) ได้แก ่ ญ่ีปนุ่ ฟิลิปปินส ์ อินโดนเี ซีย เม็กซโิ ก และสหรฐั อเมรกิ า ประเทศไทยไมไ่ ด้อยู่ในเขตแผ่นดินไหว เพราะ อย่นู อกแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณ ี สาเหตสุ ว่ นใหญเ่ กิดจากการ เกิดแผ่นดินไหวนอกประเทศ แล้วสง่ แรงสนั่ มา เชน่ จีน พมา่ ลาว สุมาตรา 2. ภูเขาไฟ จะพบอยู่เฉพาะท่ีเทา่ น้ัน โดยตั้งอย่ตู ามขอบนอกของพน้ื ทวปี เป็นแนวยาวไปจนถงึ กลางมหาสมทุ รแปซฟิ ิก เชน่ ญี่ปนุ่ ฟลิ ปิ ปนิ ส ์ อนิ โดนีเซีย ปาปัวนวิ กนิ ี นวิ ซแี ลนด์ ฮาวาย ภเู ขาไฟระเบิด เกิดได ้ 2 รูปแบบ ดงั นี้ n เกดิ จาก การประทขุ องแมกมา แกส๊ และเถ้าจากใต้โลก โดยจะมีสัญญาณบอกเหตลุ ่วงหน้า เช่น มแี ผน่ ดินไหว และมเี สยี งคลา้ ยฟา้ รอ้ ง เพราะมกี ารเคลอ่ื นไหวของแมกมา ซงึ่ เมอ่ื ถกู พน่ ออกมา เรยี กวา่ ลาวา (lava) สว่ นแกส๊ ที่ออกมาทำให้ลาวาคุพุ่งเหมือนน้ำพุร้อน เมื่อเวลาผ่านไปจะเย็นและแข็งตัวกลายเป็น หินบะซอลต ์ ซ่ึงเป็นหินมี รอู ากาศเปน็ ชอ่ ง สว่ นลาวาทมี่ ปี รมิ าณของธาตซุ ลิ คิ อนมาก เมอื่ เยน็ ตวั จะเปน็ หนิ แอนดไี ซด ์ ไรโอไลต ์ และออบซเี ดยี น n เกิดจาก การระเบิดเองแมกมา ที่มีแก๊สอยู่ด้วย ซ่ึงแยกตัวออกเป็นฟองเหมือนน้ำเดือดและขยายตัวจนระเบิด รุนแรง ส่วนมากเปน็ เศษหนิ ผลกึ แร ่ เถา้ ภเู ขาไฟ โดยเมือ่ เยน็ ตัวจะเป็นหนิ เรียกวา่ หินตะกอนภเู ขาไฟ หมายเหต ุ : การเย็นตัวอย่างรวดเร็วของแมกมา จะเป็นก้อนแก้วท่ีมีรูพรุน ซ่ึงเต็มไปด้วยฟองแก๊สที่ยังไม่แตกทำให้เกิด แกว้ ท่ีไม่มีรปู ผลกึ แตเ่ มื่อแตกออกเป็นก้อน จะมนี ำ้ หนักเบาและลอยนำ้ ได ้ เรียกวา่ พัมมิซ (pumice)

~  25 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 ธรณภี าค 1. แผน่ ธรณีภาคและการเคลื่อนท่ี ดร.อัลเฟรด เวกาเนอร์ นักอุตุนิยมวทิ ยาได้ต้งั สมมติฐานวา่ “ผืนแผน่ ดนิ ท้ังหมดบนโลกแต่เดมิ เป็นแผ่นดนิ ผนื เดียวกัน เรียกว่า พนั เจีย เมื่อ 200 – 135 ลา้ นปีทีแ่ ลว้ แยกออกเป็น 2 ทวีปใหญ่ คอื ลอเรเซยี ทางตอนเหนอื และกอนด์วานาทาง ตอนใต ้ และเมอ่ื 135 – 65 ลา้ นปีท่แี ล้ว ลอเรเซียเร่มิ แยกเปน็ อเมริกาเหนอื และแผ่นยเู รเซยี สว่ นกอนต์ดานาจะแยกเปน็ อเมรกิ าใต ้ แอฟริกา ออสเตรเลีย แอนตารก์ ติกา และอนิ เดีย 2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณีภาค คือ หลักฐานและข้อมูลท่ีทำให้เชื่อว่าทวีปต่างๆ ในปัจจุบัน แต่เดิมเป็นแผ่นดิน เดียวกัน 1. รอยตอ่ ของแผ่นธรณภี าค เชน่ รอยต่อขอบทวปี อเมริกาใต้กบั ทวปี แอฟรกิ า 2. รอยแยกและอายหุ นิ บนเทือกเขากลางมหาสมทุ ร 3. การคน้ พบซากดกึ ดำบรรพ ์ การคน้ พบซากดกึ ดำบรรพช์ นดิ เดยี วกนั และอายเุ ดยี วกนั ในทวปี ตา่ งๆ ทอี่ ยหู่ า่ งไกลกนั ทำใหเ้ ชอื่ ว่าทวีปต่างๆ ในปจั จุบันแต่เดมิ เป็นแผ่นดินผนื เดยี วกัน แลว้ คอ่ ยๆ แยกออกจากกัน นกั ธรณีวิทยา แบ่งธรณภี าคของโลกเป็น 13 แผน่ โดยแยกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ n แผน่ ทวปี เช่น แผน่ ยเู รเซีย อนิ เดยี อเมริกาเหนอื อเมรกิ าใต้ แอฟริกา อาระเบยี n แผน่ มหาสมทุ ร เช่น แผน่ แปซฟิ ิก แอนตาร์กติก คาริบเบยี คอคอส นาสกา รูปแบบการเคล่ือนตัวของแผน่ ธรณภี าค 1. ขอบแผ่นธรณภี าคแยกออกจากกนั เกดิ จาก การดนั ตัวของแมกมา ทำให้เกดิ รอยแตก จนแมกมาถ่ายโอนความรอ้ นสู่ เปลือกโลกได ้ ทำให้อุณหภูมแิ ละความดนั ลดลง ทำเปลือกโลกทรุดตวั กลายเป็นหบุ เขาทรดุ ต่อมามนี ำ้ ไหลมาสะสมเกดิ เปน็ ทะเล และทำใหเ้ กดิ เป็นร่องลึก แมกมาจึงเคล่ือนตัวแทรกดนั ขน้ึ อกี ส่งผลให้แผน่ ธรณเี คลอื่ นตัวแยกออกไปท้งั สองขา้ ง เกิด การขยายตัวของพ้ืนทะเล และทำให้เกิดเทอื กเขากลางสมุทร เช่น บรเิ วณทะเลแดง แอฟริกาตะวันออก อา่ วแคลิฟอรเ์ นยี 2. ขอบแผ่นธรณภี าคเคลือ่ นเข้าหากัน ม ี 3 แบบ คอื n แผน่ ธรณภี าคใตม้ หาสมทุ รชนกบั แผน่ ธรณภี าคใตม้ หาสมทุ ร ทำใหแ้ ผน่ หนง่ึ มดุ ลงใตอ้ กี แผน่ หนง่ึ ปลายของแผน่ ท ี่ มดุ ลงจะหลอมกลายเปน็ แมกมา และประทขุ ้ึนมา ทำให้เกดิ เป็นแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร และมรี ่องใต้ทะเลลกึ n แผน่ ธรณภี าคใตม้ หาสมทุ รชนกบั แผน่ ธรณภี าคภาคพนื้ ทวปี ทำใหแ้ ผน่ ธรณภี าคใตม้ หาสมทุ ร ซงึ่ หนกั กวา่ มดุ ตวั ลง ขา้ งลา่ ง เกดิ เปน็ รอ่ งใตท้ ะเลและเกดิ เปน็ เทอื กเขา ตามแนวขอบทวปี เปน็ แนวภเู ขาไฟชายฝงั่ และแผน่ ดนิ ไหวรนุ แรง n แผน่ ธรณภี าคภาคพน้ื ทวปี ชนกบั แผน่ ธรณภี าคภาคพนื้ ทวปี ซงึ่ ทงั้ สองแผน่ มคี วามหนามาก ทำใหแ้ ผน่ หนง่ึ มดุ ลง แตอ่ ีกแผน่ หน่งึ เกยขน้ึ เกิดเปน็ เทอื กเขา เป็นแนวยาวอยกู่ ลางทวปี เชน่ เทอื กเขาหมิ าลัย เทอื กเขาแอลป์ 3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนท่ีผ่านกัน เกิดจากการท่ีแมกมามีอัตราการเคลื่อนตัวไม่เท่ากัน จึงทำให้แผ่นธรณีภาค เคลอื่ นท่ีไมเ่ ท่ากันดว้ ย สง่ ผลให้เปลอื กโลกและเทอื กเขาใตม้ หาสมทุ รเลื่อนไถลผ่านและเฉอื นกัน เกดิ เป็นรอยเลือ่ น ธรณีประวตั ิ 1. อายทุ างธรณีวิทยา แบ่งเป็น 2 แบบ n อายุเปรียบเทียบ ใช้บอกว่าหินชุดใดมีอายุมากหรือน้อยกว่ากัน โดยอาศัยข้อมูลจากซากดึกดำบรรพ์ท่ที ราบอายุ ลกั ษณะลำดบั ช้นั หินและโครงสร้าง n อายุสัมบูรณ์ เป็นอายุของหินหรือซากดึกดำบรรพ์ท่ีสามารถบอกจำนวนปีท่ีแน่นอน ซึ่งคำนวณจากคร่ึงชีวิตของ ธาตุกัมมนั ตรงั สี ได้แก่ ธาตุ C - 14 K - 40 2. ซากดึกดำบรรพ์ คือ ซากและร่องรอยของสง่ิ มีชวี ิต ที่ตายทบั ถมอยูใ่ นชั้นหินตะกอน ซึ่งจะบอกถึงประวัตคิ วามเป็น มาของพื้นที่ในอดีตว่าเป็นบนบกหรือในทะเล และสามารถบอกอายุของหินชนิดอ่ืนที่อยู่ร่วมกัน เรียกว่า ซากดึกดำบรรพ ์ นอกจากนี้ยังมีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ที่ไม่กลายเป็นหินด้วย เช่น ซากช้างแมมมอธในธารน้ำแข็ง ท่ียังคงสภาพเดิม ซากแมลงในยางไมห้ รืออำพนั 3. การลำดับชนั้ หิน หินดนิ ดานเปน็ หินทม่ี ีอายมุ ากท่สี ดุ > หนิ ปูน > หินกรวดมน > หนิ ทราย

~  26 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 สาระที่ 7 : ดาราศาสตร์ และอวกาศ เอกภพ 1. กำเนิดเอกภพ ทฤษฎีกำเนิดเอกภพ “บิกแบง” (Big Bang) กล่าวว่าก่อนการเกิดบิกแบง เอกภพเป็นพลังงาน ล้วนๆ มอี ณุ หภมู สิ ูงมาก เมือ่ เกิดการระเบดิ ใหญ่ๆ (บิกแบง) ทำให้พลงั งานเปล่ียนเปน็ สสาร (เนอ้ื สาร) เน้อื สารท่ีเกิดข้ึนจะ ในรูปของอนภุ าคพืน้ ฐานชื่อ ควาร์ก อิเล็กตรอน นิวทริโน และโฟตอน เมอื่ เกิดอนภุ าค ก็จะเกิดปฏอิ นภุ าคท่มี ปี ระจุตรงข้าม ยกเวน้ นวิ ทรโิ นและแอนตนิ วิ ทรโิ น ไม่มีประจุไฟฟา้ เมอื่ อนภุ าคพบกับปฏอิ นภุ าคชนดิ เดยี วกัน จะหลอมสลายเป็นพลงั งาน จนหมด แตใ่ นธรรมชาตมิ อี นุภาคมากกวา่ ปฏอิ นุภาค จึงทำให้ยงั มอี นภุ าคเหลอื ใหก้ ่อเกิดเป็นสสารของเอกภพ หลังบิกแบง 10-6 วินาท ี อุณหภูมิจะลดลงเป็นสิบล้านล้านเคลวิน ทำให้ควาร์กเกิดการรวมตัวกันกลายเป็นโปรตอน และนิวตรอน หลังบิกแบง 3 นาท ี อุณหภูมิจะลดลงเป็นร้อยล้านเคลวิน ทำให้โปรตอนและนิวตรอน เกิดการรวมตัวเป็นนิวเคลียส ของไฮโดรเจนและฮีเลียม ซึง่ ในช่วงแรกๆ น้เี อกภพขยายตัวเรว็ มาก หลังบิกแบง 300,000 ป ี อุณหภูมิจะลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียม จะดึง อเิ ล็กตรอนเข้ามาอยใู่ นวงโคจร ทำใหเ้ กดิ เปน็ อะตอมของไฮโดรเจนและฮเี ลียม หลังบิกแบง 1,000 ล้านป ี จะเกิดกาแล็กซีต่างๆ โดยภายในกาแล็กซีจะมีธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นสารเบื้องต้น ในการกำเนิดเป็นดาวฤกษ์รนุ่ แรกๆ หมายเหตุ : ขอ้ สังเกตและประจกั ษ์พยาน ที่สนับสนนุ ทฤษฎีบกิ แบง ไดแ้ ก่การขยายตัวของเอกภพ และ อุณหภูมิพ้นื หลัง ของเอกภพ ปัจจบุ นั ลดลงเหลอื 2.73 เคลวิน 2. กาแล็กซ ี คือ อาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ ์ ท่ีอยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วงระหว่างดวงดาวกับหลุมดำที่มีมวล มหาศาล ซงึ่ อยู่ ณ จดุ ศนู ย์กลางของกาแลก็ ซี 1. กาแลก็ ซีทางช้างเผือก (Milky Way Galaxy) เปน็ กาแล็กซีทีร่ ะบบสุริยะสังกดั อยู่ มรี ูปร่างคล้ายกังหัน คือ มี บรเิ วณตรงกลางสวา่ ง และมแี ขนโคง้ รอบนอก แตถ่ า้ มองดดู า้ นขา้ งจะเหมอื นเลนสน์ นู หรอื จานขา้ ว 2 จานประกบกนั 2. กาแล็กซีเพื่อนบ้าน คือ กาแล็กซีอ่ืนๆ ท่ีสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ได้แก่ กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่, กาแลก็ ซีแมกเจลแลนเลก็ และ กาแล็กซีแอนโดรเมดา นกั ดาราศาสตร ์ แบ่งกาแลก็ ซี ออกเป็น 3 ประเภทตามรูปร่าง คือ 1. กาแลก็ ซีกังหันหรอื สไปรัล เชน่ กาแลก็ ซีทางชา้ งเผือก กาแล็กซแี อนโดรเมดา 2. กาแล็กซรี ูปไข ่ เช่น กาแลก็ ซี M-87 3. กาแล็กซไี ร้รูปทรง เช่น กาแลก็ ซีแมกเจลแลนเลก็ และแมกเจลแลนใหญ่ ดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ เป็นกอ้ นแกส๊ รอ้ นขนาดใหญ ่ เกดิ จากการยุบรวมตัวของเนบวิ ลา มอี งค์ประกอบสว่ นใหญเ่ ป็นธาตไุ ฮโดรเจน 1. ววิ ฒั นาการของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ จะมจี ุดจบตา่ งกนั ขึ้นอยูก่ ับมวลสาร ดังนี ้ n ดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อย เช่น ดวงอาทิตย ์ มีแสงสว่างน้อย จึงมีการใช้เช้ือเพลิงในอัตราท่ีน้อย ทำให้ช่วงชีวิตยาว และจบชีวิตลงโดยไมม่ กี ารระเบดิ แต่จะกลายเปน็ ดาวแคระดำ n ดาวฤกษ์ทมี่ มี วลปานกลาง จะจบชวี ิตลงโดยไม่มีการระเบิด และจะกลายเป็นดาวแคระขาว

~  27 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 n ดาวฤกษท์ ่มี ีมวลมาก มขี นาดใหญ ่ มีแสงสวา่ งมาก จงึ มีการใช้เชื้อเพลงิ ในอตั ราทส่ี ูงมาก ทำให้ช่วงชีวติ ส้นั และ จบชีวิตลงด้วยการระเบิดอย่างรุนแรง ที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา (supernova) หลังจากนั้น แรงโน้มถ่วงจะทำให ้ ดาวยุบตัวลง โดยดาวที่มีมวลมากจะกลายเป็นดาวนิวตรอนและดาวที่มีมวลสูงมากๆ จะกลายเป็นหลุมดำ ขณะเดยี วกนั จะมแี รงสะทอ้ น ทำใหส้ ว่ นภายนอกของดาวระเบดิ เกดิ เปน็ ธาตหุ นกั ตา่ งๆ เชน่ ยเู รเนยี ม ทองคำ ฯลฯ กระจายสอู่ วกาศ กลายเปน็ สว่ นประกอบของเนบวิ ลารนุ่ ใหม ่ และเปน็ ตน้ กำเนดิ ของดาวฤกษร์ นุ่ ตอ่ ไป เชน่ ระบบสรุ ยิ ะ กเ็ กิดมาเนบิวลารุน่ หลงั กำเนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย ์ ดวงอาทิตย ์ เป็นดาวฤกษ์ท่ีอยู่ใกล้โลกท่ีสุด เกิดจาก การยุบตัวของเนบิวลา เมอื่ ประมาณ 5,000 ลา้ นปี มาแล้ว และจะฉายแสงสวา่ งตอ่ ไปอกี ประมาณ 5,000 ลา้ นปี โดยมวี ิวฒั นาการ ดังนี้ 1. เม่ือเนบิวลายุบตัว ด้วยแรงโน้มถ่วงของเนบิวลาเอง ความดันและอุณหภมิท่ีแก่นกลางจะมีอุณหภูมิสูงจนมี อุณหภูมสิ งู ข้ึนเปน็ หลายแสนองศาเซลเซยี ส เรยี กช่วงนว้ี า่ “ดาวฤกษก์ อ่ นเกิด” 2. แรงโน้มถ่วงจะดึงให้แก๊สยุบตัวลงไปอีก ความดันและอุณหภูมิที่แก่นกลางก็จะสูงขึ้นอีก จนมีอุณหภูมิสูงขึ้นเป็น 15 ล้านเคลวิน จะทำให้เกิด ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร ์ คือ ปฏิกิริยาที่เกิดการหลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจน หรือโปรตอน4 นิวเคลียส กลายเป็นฮีเลียม 1 นิวเคลียส และเกิดพลังงานมหาศาลออกมา จนทำให้เกิดสมดุล ระหวา่ งแรงโนม้ ถว่ งกบั แรงดนั ของแกส๊ รอ้ น เกิดเปน็ ดวงอาทิตย ์ ซ่ึงเป็นดาวฤกษ์ทส่ี มบูรณ์ มสี ีเหลือง 3. ในอนาคต เม่ือธาตุไฮโดรเจนลดลง ทำให้ดาวยุบตัวลงอีกคร้ัง ส่งผลให้แก่นกลางของดาวมีอุณหภูมิสูงขึ้นเป็น 100 ลา้ นเคลวนิ จนเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเทอรโ์ มนวิ เคลยี รอ์ กี ครงั้ หลอมนวิ เคลยี สของธาตฮุ เี ลยี ม กลายเปน็ ธาตคุ ารบ์ อน แต่ในขณะเดียวกัน ไฮโดรเจนท่ีอยู่รอบนอกแก่นกลาง ก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นตามไปด้วย จนอุณหภูมิสูงขึ้น 15 ล้านเคลวิน ก็จะสามารถเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียส หลอมไฮโดรเจนให้กลายเป็นฮีเลียมครั้งใหม ่ ส่งผล ทำใหเ้ กดิ พลงั งานออกมาอยา่ งมหาศาลและทำใหด้ วงอาทติ ยม์ ขี นาดใหญข่ น้ึ เปน็ 100 เทา่ จะเปลย่ี นจากสเี หลอื ง เป็นสีแดง ดวงอาทิตย์จึงกลายเป็นดาวฤกษ์สีแดงขนาดใหญ ่ เรียกว่า ดาวยักษ์แดง ซึ่งพลังงานถูกปลดปล่อย ออกมามากทำให้ชว่ งชีวติ คอ่ นขา้ งสน้ั 4. ในชว่ งทา้ ยของดาวยกั ษแ์ ดง จะไมเ่ กดิ เทอรโ์ มนวิ เคลยี รท์ หี่ ลอมฮเี ลยี มเปน็ คารบ์ อนอกี จงึ ทำใหแ้ กน่ กลางยบุ ตวั ลง กลายเป็นดาวแคระขาว มีขนาด 1 ใน 100 ของดวงอาทิตย์ปจั จบุ ัน แตใ่ นขณะเดียวกันผวิ ของดาวรอบนอกไมไ่ ด้ ยบุ รวมเขา้ มาด้วย จงึ เกดิ เป็นชั้นของแกส๊ หุ้มอยูร่ อบนอก กลายเป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ และเคลื่อนทห่ี า่ งออกไป แลว้ กระจายไปในอวกาศ 5. ดวงอาทติ ยใ์ นสภาพของดาวแคระขาวจะสอ่ งสวา่ งตอ่ ไปอกี นบั ลา้ นป ี โดยผลติ พลงั งานจากปฏกิ ริ ยิ าเทอรโ์ มนวิ เคลยี ร์ ทเ่ี กดิ จากการหลอมรวมนวิ เคลยี สฮเี ลียมคร้งั ใหม่ที่แกน่ กลาง แตจ่ ะมคี วามสว่างน้อยลงตามลำดบั และในทส่ี ดุ กจ็ ะ หยุดสอ่ งแสงสว่าง เรยี กวา่ กลายเป็นดาวแคระดำ (black dwarf) ซึ่งเป็นกอ้ นมวลสารที่ไรช้ วี ิต 2. ความสว่างและอันดับความสวา่ งของดาวฤกษ์ อันดบั ความสวา่ งของดาวฤกษ์ท่ีสังเกตได้จากโลก เรยี กวา่ อันดับความสวา่ งปรากฏ ซ่งึ ไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบ กับอันดับความสว่างจริงๆ ของดาวได้ เพราะเป็นความสว่างท่ีปรากฏให้เราเห็นบนโลก ซึ่งขึ้นอยู่กับระยะของดาวท่ีอยู่ห่าง จากโลกดว้ ย ดงั นัน้ นักดาราศาสตรจ์ ึงกำหนด อนั ดบั ความสวา่ งทแี่ ทจ้ รงิ ว่าเป็นอนั ดับความสวา่ งปรากฏ เมือ่ ดาวอยู่หา่ งจากโลก 10 พารเ์ สค หรือ 32.61 ปีแสงเทา่ นัน้ เพอ่ื ใหส้ ามารถเปรียบเทียบอันดบั ความสว่างของดาวทงั้ หลายได้ ดงั น ี้ n ดาวฤกษ์ท่รี บิ หรี่ท่ีสุดที่มองเห็นดว้ ยตาเปลา่ มอี นั ดบั ความสวา่ ง 6 n ดาวฤกษท์ สี่ วา่ งทสี่ ดุ มอี นั ดบั ความสวา่ ง 1 (ถา้ อนั ดบั ความสวา่ งตา่ งกนั 1 จะมคี วามสวา่ งตา่ งกนั ประมาณ 2.5 เทา่ ) 3. สแี ละอณุ หภมู ผิ วิ ของดาวฤกษ์ สขี องดาวฤกษท์ มี่ องเหน็ มคี วามสมั พนั ธก์ บั อณุ หภมู ผิ วิ ของดาวฤกษ ์ นกั ดาราศาสตรแ์ บ่งออกเปน็ 7 ชนดิ หลกั ๆ ดังนี้ ดาวทมี่ อี ายนุ อ้ ย จะมอี ณุ หภมู ผิ วิ สงู มสี ขี าว นำ้ เงนิ สว่ นดาวทม่ี อี ายมุ าก ใกลถ้ งึ จดุ สดุ ทา้ ยของชวี ติ จะมอี ณุ หภมู ผิ วิ ตำ่ มสี แี ดง

~  28 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 กำเนิดระบบสรุ ิยะ นักดาราศาสตร ์ แบ่งเขตพน้ื ทร่ี อบดวงอาทิตย์ ตามลักษณะการก่อตัว เปน็ 4 เขต คอื 1. ดาวเคราะห์ช้นั ใน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศกุ ร ์ โลก และดาวองั คาร 2. แถบดาวเคราะห์น้อย คือ บริเวณระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบด ี เป็นเศษท่ีเหลือจากการ พอกพนู เปน็ ดาวเคราะหห์ นิ แลว้ ถกู อทิ ธพิ ลรบกวนจากดาวพฤหสั บด ี ซงึ่ มขี นาดใหญแ่ ละเกดิ มากอ่ น ทำใหไ้ มส่ ามารถจบั ตวั กันมขี นาดใหญ่ได้ 3. ดาวเคราะหช์ นั้ นอก หรอื ดาวเคราะหย์ กั ษ ์ เปน็ ดาวเคราะหท์ มี่ ขี นาดใหญ ่ ไดแ้ ก ่ ดาวพฤหสั บด ี ดาวเสาร ์ ดาวยเู รนสั และดาวเนปจูน มอี งค์ประกอบหลัก เช่น แกส๊ ไฮโดรเจนและฮเี ลยี มทง้ั ดวง จึงเรยี กวา่ ดาวเคราะห์แก๊ส หมายเหต ุ : ดาวพลโู ต เปน็ ดาวเคราะหช์ นั้ นอกทอี่ ยไู่ กลและเลก็ ทสี่ ดุ มสี มบตั คิ ลา้ ยดาวเคราะหน์ อ้ ย ดงั นน้ั ปจั จบุ นั ดาวพลโู ต จงึ ถกู ตัดออกจากคุณสมบตั กิ ารเป็นดาวเคราะห ์ เพราะดาวพลูโตไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูดและวงโคจรของ ส่ิงตา่ งๆ ทอ่ี ย่นู อกระบบสรุ ยิ ะ และมีวงโคจรเปน็ วงรีท่ีทบั ซ้อนกับดาวเนปจูน (เป็นดวงจันทร์ของดาวเนปจูน) 4. เขตของดาวหาง เป็นเศษท่ีเหลือจากดาวเคราะห์ยักษ ์ มีจำนวนมากอยูร่ อบนอกระบบสุรยิ ะ ดวงอาทติ ย์ : เป็นดาวฤกษ์สีเหลือง ชนิดสเปกตรมั G มีอณุ หภูมผิ วิ ประมาณ 6,000 เคลวนิ ลมสุริยะ : ประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน ที่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ การระเบิดจ้า บนดวงอาทิตย์ จะมองเห็นเปน็ จุดสว่างบนดวงอาทติ ย ์ ซ่ึงจะเกิดมากในทุกๆ 11 ป ี สง่ ผลทำให้มี อนุภาคจำนวนมากถูกปลดปลอ่ ยออกมาและมีอตั ราเร็วมากกวา่ ลมสุรยิ ะ เรียกว่า พายสุ รุ ยิ ะ ซ่งึ จะ สง่ ผลกระทบตอ่ โลก ดังน้ที ำใหเ้ กิดแสงเหนอื – แสงใต,้ ทำใหไ้ ฟฟ้าแรงสูงดบั ในประเทศทอี่ ยูใ่ กล ้ ขว้ั โลก, ทำให้เกิดการติดขัดทางการสอ่ื สาร หมายเหตุ : ฝนดาวตกคอื อนุภาคของดาวหางขณะตกผา่ นชั้นบรรยากาศของโลกจะลุกเป็นไฟ ดเู หมอื นฝนที่เป็นลกู ไฟ เทคโนโลยีอวกาศ 1. ดาวเทยี มและยานอวกาศ n การส่งดาวเทียมและยานอวกาศข้ึนสู่อวกาศ จะต้องเอาชนะแรงดึงดูดของโลก โดยอาศัยจรวดท่ีมีแรงขับดันสูง และความเรว็ ทีม่ ากกว่า 7.91 กิโลเมตรต่อวนิ าท ี จึงจะสามารถข้นึ ไปโคจรรอบโลกในระดบั ตำ่ ทีส่ ดุ ได้ ถ้าหากจะ ใหย้ านอวกาศออกไปโคจรรอบดวงอาทติ ย ์ จะตอ้ งใชค้ วามเรว็ ท ่ี 11.2 กโิ ลเมตรตอ่ วนิ าท ี เรยี กวา่ ความเรว็ หลดุ พน้ n พ.ศ. 2446 ไชออลคอฟสก ี ชาวรัสเซีย ได้ค้นคว้าเกี่ยวกับเช้ือเพลิงที่จะใช้ในเคร่ืองยนต์จรวด เสนอว่า ควรใช ้ เช้ือเพลิงเหลว ซ่ึงต้องแยกเชือ้ เพลิงและสารทชี่ ว่ ยในการเผาไหมอ้ อกจากกนั และการนำจรวดมาต่อเป็นชนั้ ๆ จะ ช่วยลดมวลของจรวดลง โดยเมือ่ จรวดช้ันแรกใช้เชอ้ื เพลงิ หมดกป็ ลดทงิ้ ไป และให้จรวดชัน้ ตอ่ ไปทำหน้าทีต่ ่อแลว้ ปลดทิ้งไปเรื่อยๆ จนถึงจรวดช้ันสุดท้ายท่ีติดกับดาวเทียมหรือยานอวกาศ ซ่ึงจะทำให้มีความเร็วสูงพอท่ีจะ เอาชนะแรงดงึ ดูดของโลกได้ n พ.ศ. 2469 โรเบริ ต์ กอดดารด์ ชาวอเมรกิ นั ประสบความสำเรจ็ ในการสรา้ งจรวดเชอื้ เพลงิ เหลว โดยใชไ้ ฮโดรเจน เหลวเปน็ เชอื้ เพลงิ และออกซเิ จนเหลวเปน็ สารที่ช่วยในการเผาไหม้และแยกอยู่ต่างถงั กัน n สหภาพโซเวยี ต ไดป้ ระสบความสำเรจ็ ในการใชจ้ รวดสามทอ่ นสำหรบั สง่ ยานอวกาศหรอื ดาวเทยี ม เปน็ ประเทศแรก ระบบขนสง่ อวกาศ ประกอบดว้ ย 3 ส่วน คอื จรวดเชอ้ื เพลงิ แข็ง ขนาบ 2 ข้าง, ถงั เชอื้ เพลงิ ภายนอก (เช้อื เพลิงเหลว), ยานขนสง่ อวกาศ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานของยานขนสง่ อวกาศ 1. ส่งขนึ้ จากฐานสง่ โดยจรวดเช้อื เพลงิ แขง็ ท่ขี นาบ 2 ข้าง 2. ลำจรวดเชอื้ เพลงิ แข็งหลดุ ออกและตกลงสู่ทะเล 3. ถังเช้อื เพลงิ เหลวทำงาน เมอ่ื เช้อื เพลงิ หมด ก็แยกตัวออก และยานจะหนั ด้านบนเขา้ สู่โลก 4. ประตหู ้องสัมภาระเปดิ ออก เพือ่ ปล่อยดาวเทยี ม แล้วยานจะหนั หวั ไปทางโลก 5. ใชม้ มุ ร่อนลงเอยี ง 20 องศา และลงส่พู น้ื ดนิ ดว้ ยความเร็ว 200 กโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง

~  29 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 หมายเหต ุ : นักบนิ อวกาศ ท่ีถกู คดั เลือกใหเ้ ดนิ ทางขน้ึ สูอ่ วกาศ จะตอ้ งมรี า่ งกายแขง็ แรงสูงสดุ เพือ่ ใหส้ ามารถอยู่ในสภาพ ไรน้ ำ้ หนักได ้ เพราะเม่อื อยใู่ นอวกาศ หัวใจจะทำงานชา้ ลง กลา้ มเนื้อจะเลก็ ลง 2. การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ n ดาวเทียมอนิ เทลแซท อยูใ่ นวงโคจรรอบโลก 3 แหง่ คือ n เหนือมหาสมุทรอนิ เดยี เพอ่ื ติดต่อระหวา่ งทวปี เอเชยี กับยโุ รป n เหนือมหาสมทุ รแปซิฟิก เพ่อื ติดตอ่ ระหวา่ งทวปี เอเชยี กบั อเมรกิ า n เหนือมหาสมทุ รแอตแลนตกิ เพือ่ ติดต่อระหว่างทวีปอเมรกิ ากบั ยุโรป n ดาวเทยี มสื่อสารของไทย ชอ่ื ไทยคม สรา้ งโดยบริษัทฮวิ จ ์ แอรค์ ราฟท์ สหรฐั อเมรกิ า และสง่ ขึ้นสูอ่ วกาศ โดย บรษิ ทั แอเรยี น สเปซ ฝรง่ั เศส จากฐานส่งที่เมอื งคูร ู ดินแดนเฟรนซ ์ เกยี นา

~  30 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525

~  31 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 (ขอ้ 1 - 20 หวั ข้อทท่ี ดสอบ สาระที่ 1: สง่ิ มชี วี ิตกับการดำรงชีวติ และ สาระที ่ 2: สิ่งมชี ีวิตกับส่งิ แวดลอ้ ม) 1. โครงสร้างเซลลข์ องส่ิงมชี วี ติ 4 ชนดิ ในนำ้ เปน็ ดงั น ี้ ชนิดสิ่งมีชวี ติ ผนงั เซลล์ โครงสร้างของเซลล์ นวิ เคลยี ส แวควิ โอล คลอโรฟลิ ล ์ ก.  -  - ข. -  -  ค. -    ง.  - - - ส่งิ มชี ีวิตในข้อใดจดั อยใู่ นอาณาจกั รมอเนอรา 2. ข และ ค 1. ก และ ข 4. ก และ ง 3. ค และ ง 2. สง่ิ ใดต่อไปนีไ้ มส่ ามารถใช้ในการตรวจลายพมิ พ์ดเี อ็นเอเพอ่ื ใช้พิสูจน์บคุ คล 1. กระดูก 2. เลอื ด 3. นำ้ เหลอื ง 4. ปลายเสน้ ผม 3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเฉพาะของไวรัส HIV 1. ทำลายเซลลเ์ ม็ดเลือดทุกชนิด 2. กลายพนั ธุ์ไดง้ ่าย 3. ถา่ ยทอดไดท้ างเพศสมั พันธ ์ หรอื รบั เลือดจากผตู้ ิดเชื้อ 4. เพมิ่ จำนวนโดยใช้วตั ถุดิบจากเซลลท์ ่ถี กู ทำลาย 4. ไวรสั เพม่ิ จำนวนได้ในสภาวะใด ข. ในเซลล์พืช ก. ในเซลล์สตั ว ์ ง. ในซากส่งิ มชี ีวิต ค. ในอาหารสงั เคราะห ์ 2. ค และ ง 1. ก และ ข 4. ก ข ค และ ง 3. ก ข และ ง 5. จากการตรวจเซลล ์ 4 ชนิด พบส่วนประกอบดังนี้ เซลล์ ผนงั เซลล์ นิวเคลยี ส คลอโรพลาสต ์ ก.  - - ข.    ค.   - ง. -  - ขอ้ ใดเปน็ เซลลท์ ่ีมาจากพืช 2. ข. และ ค. 1. ก. และ ข. 4. ข. และ ง. 3. ค. และ ง.

~  32 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 6. ลกั ษณะของส่ิงมชี ีวิตขอ้ ใดในตารางเป็นลักษณะของไบรโอไฟต์ (เช่น มอส) เนอื้ เยื่อ สร้างอาหารเอง ผนังเซลล ์ 1. ม ี ได้ ม ี 2. ไมม่ ี ได้ ม ี 3. มี ไมไ่ ด้ ม ี 4. ม ี ได ้ ไม่ม ี 7. ส่ิงมีชีวิตในขอ้ ใดต่อไปน ้ี เรยี งตามลำดบั ววิ ฒั นาการไดถ้ ูกตอ้ ง 1. เหด็ → แบคทีเรยี → อะมีบา 2. สาหร่ายสเี ขยี ว → สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน→ มอส 3. หนอนตัวแบน → ฟองน้ำ → ดาวทะเล 4. สาหร่ายสีนำ้ ตาล → สนสองใบ → พืชเลย้ี งค่ ู 8. สิง่ มีชีวติ ในขอ้ ใดตอ่ ไปน ี้ เรยี งตามลำดบั วิวัฒนาการได้ถูกต้อง 1. อะมบี า → สาหรา่ ยสเี ขียวแกมน้ำเงนิ → หนอนตัวแบน 2. แบคทีเรยี → ราเมือก → เหด็ 3. ไสเ้ ดอื นดิน → แมลง → หอย 4. โพรทิสต ์ → ยีสต์ → สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้ เงิน 9. ปรากฏการณ์ใดต่อไปน้ีจะเกดิ กบั เซลล์พชื ท่แี ช่ในสารละลายไฮโพโทนคิ 1. เซลล์เต่ง 2. เซลลแ์ ตก 3. เซลลเ์ หีย่ ว 4. เซลลเ์ หมือนเดิม 10. การหลัง่ เพปซิโนเจนออกจากเซลลผ์ นังกระเพาะอาหารอาศยั กระบวนการใด 1. กระบวนการแพร่ 2. กระบวนการเอกโซไซโทซสิ 3. การลำเลียงแบบฟาซลิ เิ ทต 4. การลำเลียงแบบใช้พลงั งาน 11. ขอ้ ใดต่อไปนี้อาศยั กระบวนการเอกโซไซโทซสิ 1. การทำลายเชอ้ื โรคของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว 2. การนำอนภุ าคขนาดใหญเ่ ขา้ สเู่ ซลล์ของอะมบี า 3. การขับเกลือแรส่ ่วนเกินออกทางเหงอื กของปลาทะเล 4. การหลง่ั เอนไซมย์ อ่ ยอาหารออกมาจากเยอื่ บุผิวลำไส้เล็ก 12. ลอกผิวใบว่านกาบหอยแล้วแช่ลงในสารละลายน้ำตาลกลโู คส เม่อื นำมาสอ่ งดดู ว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์เหน็ ลกั ษณะดังภาพ สารละลายน้ำตาลกลูโคสน้เี ป็นสารละลายประเภทใดเมื่อเทียบกับสารละลายในเซลล์ผวิ ใบ 1. สารละลายไฮโพโทนคิ 2. สารละลายไฮเพอรโ์ ทนิค 3. สารละลายไอโซโทนิค 4. อาจเปน็ ขอ้ 2 หรือ 3 ก็ได ้

~  33 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 13. เมอ่ื ใสป่ ุ๋ยตน้ ไม้มากเกนิ ไป ตน้ ไม้ไม่เจรญิ งอกงามสมความตอ้ งการ แตก่ ลบั เหย่ี วเฉาลงเพราะเหตุใด 1. สารละลายในดินมแี รงดันออสโมตกิ สูงกวา่ ในเซลล ์ ทำใหน้ ้ำแพร่จากเซลล์ออกสดู่ ิน 2. สารละลายในดนิ มีแรงดนั ออสโมติกสงู กว่าในเซลล ์ ทำใหน้ ้ำแพร่จากดนิ เขา้ ส่เู ซลล์ 3. สารละลายในดินมีแรงดันออสโมติกตำ่ กวา่ ในเซลล ์ ทำใหน้ ้ำแพร่จากเซลล์ออกสดู่ ิน 4. สารละลายในดนิ มแี รงดนั ออสโมตกิ ต่ำกวา่ ในเซลล ์ ทำใหน้ ้ำแพรจ่ ากดินเข้าสูเ่ ซลล์ 14. สัตวข์ ้อใดทีอ่ ุณหภมู ริ า่ งกายแปรผนั ตามอุณหภมู ิของสิ่งแวดลอ้ ม 1. ม้านำ้ 2. แมวนำ้ 3. นกเปด็ น้ำ 4. หมนู ้ำ (พะยูน) 15. ก. และ ข. เปน็ กราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งอุณหภูมิร่างกายและอณุ หภมู สิ ่ิงแวดลอ้ มของสัตวช์ นิดใดตามลำดบั 1. ปลาฉลาม และ กบ อุณหภูมิร่างกาย 40 ก 2. นกกางเขน และ กิง้ ก่า 30 ข 3. หนู และ นกเพนกวนิ 20 4. เตา่ และ โลมา 10 10 20 30 40 อณุ หภมู ิสิ่งแวดลอ้ ม 16. สตั วช์ นดิ ใดทไ่ี มม่ กี ลไกในการรกั ษาอณุ หภมู ขิ องรา่ งกายใหค้ งท ี่ อณุ หภมู ขิ องรา่ งกายจงึ แปรผนั ไปตามอณุ หภมู สิ งิ่ แวดลอ้ ม 1. จระเข ้ 2. นกเพนกวนิ 3. พะยูน 4. ปลาวาฬ 17. หลังจากการออกกำลังกายกลางแดดนานๆ รา่ งกายมีกลไกในการรกั ษาดุลยภาพของอณุ หภมู อิ ย่างไร 1. ลดอตั ราเมแทบอลซิ มึ และหลอดเลือดขยายตวั 2. ลดอตั ราเมแทบอลิซึม และหลอดเลือดหดตัว 3. เพมิ่ อตั ราเมแทบอลิซึม และหลอดเลอื ดขยายตวั 4. เพ่ิมอัตราเมแทบอลิซมึ และหลอดเลือดหดตวั 18. ขณะทีส่ ง่ิ แวดล้อมมอี ณุ หภมู สิ งู ขึ้น ขอ้ ใดเปน็ สง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในร่างกายของเรา อตั ราเมแทบอลิซึม หลอดเลือดฝอยที่ผิวหนัง กลา้ มเนอ้ื ยดึ โคนเสน้ ขน คลายตวั 1. สูงข้นึ ขยายตวั คลายตวั 2. ลดลง ขยายตวั หดตวั 3. สงู ข้ึน หดตัว หดตัว 4. ลดลง หดตวั 19. ข้อใดกลา่ วถึงการรักษาดุลยภาพของนำ้ และแรธ่ าตุของปลานำ้ จดื ไดถ้ กู ตอ้ ง 1. ไตขับปัสสาวะทีม่ คี วามเข้มขน้ สงู และปรมิ าณนอ้ ย 2. ไตขับปัสสาวะเจอื จางและปริมาณนอ้ ย 3. ไตขับปัสสาวะทมี่ ีความเขม้ ข้นสงู และปรมิ าณมาก 4. ไตขับปสั สาวะเจอื จางและปรมิ าณมาก 20. สารใดทไ่ี ม่พบในปสั สาวะของคนปกต ิ 2. ยูเรีย 1. โปรตีน 4. เกลอื โซเดียม 3. ยูริก

~  34 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 (ขอ้ 21- 40 หัวขอ้ ทีท่ ดสอบ สาระที ่ 3: สาร และสมบัตขิ องสาร) 21. จากแผนภาพแบบจำลองอะตอม I, II และ III เปน็ แบบจำลองอะตอมของใครตามลำดบั 1. ดอลตนั รัทเทอร์ฟอรด์ ทอมสัน 2. ดอลตนั ทอมสัน รทั เทอรฟ์ อร์ด 3. รัทเทอรฟ์ อร์ด ทอมสนั ดอลตนั 4. รัทเทอร์ฟอร์ด ดอลตัน ทอมสนั 22. ธาตุ Z เปน็ ธาตุในจินตนาการ มโี ปรตอน 111 อนภุ าค, นวิ ตรอน 141 อนภุ าค ขอ้ ใดแทนอะตอมของ Z .1 .2 .3 Z141 .4 Z141 30 111 Z252 Z252 111 141 23. A และ B เป็นธาตไุ อโซโทปกนั , A มจี ำนวนโปรตอนเทา่ กบั 10 และมีเลขมวลเท่ากบั 20 ส่วน B มจี ำนวนนวิ ตรอน มากกวา่ A อยู่ 2 นวิ ตรอน ข้อใดเป็นสัญลักษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ B .1 .2 .3 B20 .4 B22 12 10 12 B B12 8 10 24. ธาตุสมมตมิ สี ญั ลักษณน์ ิวเคลยี ร์ 73 A, 147 , B 32 X และ 3919 Y ธาตใุ ดอย่ใู นหมู่เดยี วกัน 1. A กับ B 16 2. X กับ Y 3. A กบั Y 4. B กับ X 25. ขอ้ ใดเปน็ การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนในอะตอมทีม่ ีเลขมวล 40 และมจี ำนวนนิวตรอนเทา่ กบั 21 1. 2 , 8 , 9 2. 2 , 8 , 8 , 1 3. 2 , 8 , 18 , 8 , 4 4. 2 , 8 , 9 , 2 26. พจิ ารณาข้อมูลแสดงตำแหนง่ ของธาตตุ า่ งๆ ในตารางธาตุ ขอ้ ใดสรปุ ผิด ธาตุ คาบที่ หมทู่ ่ี A4 1A B2 4A C3 1A D3 4A 1. ธาตุ A และ C มเี วเลนซ์อิเล็กตรอนเทา่ กนั 2. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ C และ D อยใู่ นระดบั พลังงานเดยี วกนั 3. จำนวนอเิ ล็กตรอนในระดับพลงั งานทีส่ องของธาตุ A B และ C เท่ากัน 4. จำนวนอิเลก็ ตรอนทงั้ หมดในอะตอมของธาต ุ A มคี ่ามากกว่าของธาตุ C 8 อิเลก็ ตรอน 27. พิจารณาข้อมูลต่อไปน ี้ ข้อใดถกู D ธาตุ A B C 38 เลขอะตอม 11 18 31 2. D มีเวเลนซ์อเิ ล็กตรอนสูงสุด 1. A และ D อยูห่ มเู่ ดยี วกัน 4. C และ D อยูใ่ นคาบเดยี วกนั 3. B อยเู่ ป็นอะตอมเดยี่ วอย่างอสิ ระได้

~  35 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 28. ธาตทุ ม่ี ีเลขอะตอมต่อไปน้ีมสี งิ่ ใดเหมือนกัน 1 3 11 19 37 2. มเี วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนเทา่ กนั 4. อยใู่ นระดับพลังงานเดยี วกัน 1. เป็นอโลหะเหมือนกนั 3. มจี ำนวนอนุภาคมลู ฐานเท่ากนั 29. ธาต ุ X อยใู่ นหมู่ 7A คาบท่ี 5 มีเลขมวล 129 ธาตุ X เปน็ ไปตามขอ้ ใด ก. มีสัญลักษณ์นวิ เคลยี ร์เปน็ 12953 X ข. เป็นก่ึงโลหะ และมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเทา่ กบั 7 ค. มีการจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนเปน็ 2 8 18 18 5 ง. เป็นไอโซโทปกบั ธาต ุ 12753 I 1) ก และ ข 2) ข และ ค 3) ค และ ง 4) ก และ ง 30. เลขอะตอมของ F และ Ca เทา่ กบั 9 และ 20 ตามลำดบั ธาตทุ ั้งสองรวมกนั เปน็ สารประกอบไอออนกิ การจัดเรยี ง อเิ ล็กตรอนของไอออนทัง้ สองเป็นดงั ข้อใด แคลเซยี มไอออน ฟลูออไรดไ์ อออน 1. 2 8 8 2. 2 8 8 282 3. 2 8 8 2 28 27 4. 2 8 8 1 281 31. ถา้ A B C D และ E เปน็ สัญลกั ษณ์สมมตขิ องธาตุ และมจี ำนวนอนุภาคมลู ฐานดังแสดงในตาราง สญั ลกั ษณ์ จำนวนโปรตอน จำนวนนิวตรอน จำนวนอิเลก็ ตรอน A 9 10 9 B9 10 10 C 10 12 10 D 11 10 11 E 11 11 10 จากข้อสรปุ ต่อไปน ี้ ข้อใดถูกตอ้ ง A และ B เป็นไอโซโทปเดียวกัน แต่ B เปน็ ไอออนลบ C มีสัญลักษณน์ วิ เคลียร์ 2210C และ D มสี ัญลักษณน์ วิ เคลียร์ 2111D D และ E เป็นธาตุชนิดเดยี วกนั แต ่ D เป็นไอออนลบ B C และ E เปน็ ไอโซโทปกนั โดยท่ี B มีเลขมวลนอ้ ยที่สุดและ E เปน็ ไอออนบวก 1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ข และ ง 4. ก และ ค 32. จงพิจารณาธาตุสมมติต่อไปน้ ี 9 A 11B 12C 15D 17E ธาตคุ ใู่ ดทำปฏิกิรยิ ากันไดส้ ารประกอบไอออนกิ และคใู่ ดไดส้ ารประกอบโควาเลนซ ์ สารประกอบไอออนกิ สารประกอบโควาเลนซ ์ 1. A กับ B A กบั C 2. A กบั D B กบั D 3. B กับ E B กบั D 4. A กับ C A กับ E

~  36 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 33. พจิ ารณาขอ้ ความตอ่ ไปน้ี ก. แก๊สโซฮอลเ์ ป็นสารผสมระหวา่ งเอทานอลและนำ้ มนั เบนซนิ ข. แกส๊ หุงต้ม หรือ LPG เป็นแก๊สผสมระหว่างโพรเพนและบวิ เทน ค. แก๊สธรรมชาตจิ ัดเปน็ พลงั งานสะอาดเพราะสามารถเกดิ การเผาไหม้ได้สมบูรณ ์ ขอ้ ใดถูก 1. ก และ ข เทา่ นั้น 2. ก และ ค เทา่ นัน้ 3. ข และ ค เท่าน้นั 4. ทง้ั ก ข และ ค 34. ในการกลั่นน้ำมนั ดบิ ผปู้ ระกอบการจะใชก้ ารกลั่นลำดบั ส่วนแทนทจี่ ะใช้การกล่นั แบบธรรมดาขอ้ ใดคือเหตผุ ลหลกั 1. ในนำ้ มนั ดบิ มสี ารท่ีมจี ดุ เดือดใกลเ้ คียงกัน จึงแยกด้วยการกลน่ั แบบธรรมดาไม่ได้ 2. การกลั่นแบบธรรมดาตอ้ งใช้เช้อื เพลิงมากกวา่ การกลน่ั ลำดับสว่ น 3. การกลน่ั แบบธรรมดาจะไดส้ ารปรอทและโลหะหนักออกมาด้วย 4. การกลนั่ ลำดบั สว่ นจะไมม่ เี ขมา่ ทเ่ี กดิ จากการเผาไหมไ้ ม่สมบรู ณ ์ 35. พิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปน้ี ก. LPG เป็นแกส๊ หุงต้มและสามารถปรบั ใช้แทนน้ำมันเบนซนิ ได ้ ข. เลขออกเทนใช้บอกคณุ ภาพนำ้ มนั เบนซนิ สว่ นเลขซีเทนใช้บอกคุณภาพของนำ้ มนั ดเี ซล ค. แกส๊ โซฮอลเ์ ปน็ เชอ้ื เพลงิ ทไี่ ดจ้ ากการผสมเมทานอล(แอลกอฮอลช์ นดิ หนง่ึ )กบั นำ้ มนั เบนซนิ ในอตั ราสว่ น 1 : 9 ง. MTBE เป็นสารท่ีเตมิ ลงในนำ้ มนั เบนซินเพื่อเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการเผาไหม้และเรยี กวา่ น้ำมนั ไร้สารตะกัว่ 1. ก และ ข เทา่ นนั้ 2. ค และ ง เท่าน้ัน 3. ก ข และ ค 4. ก ข และ ง AB A B และ C น่าจะเปน็ สารใด 36. แป้ง → มอลโทส → C ABC 1. อะไมเลส มอลเทส กลูโคส 2. มอลเทส อะไมเลส ฟรักโทส 3. อะไมเลส มอลเทส ฟรกั โทส 4. มอลเทส อะไมเลส กลโู คส 37. การระบุชนดิ ของนำ้ ตาลโมเลกุลเดย่ี ว และ โมเลกุลคู่ ตอ่ ไปน้ี ข้อใดถูก น้ำตาลโมเลกลุ เด่ียว น้ำตาลโมเลกุลคู่ ก. ไรโบส แลกโทส ข. กลูโคส กาแลกโทส ค. ฟรักโทส มอลโทส ง. มอลโทส ซูโครส 1. ก เทา่ นน้ั 2. ข เท่าน้ัน 3. ข และ ง 4. ก และ ค

~  37 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 38. ไข่ขาว เนอื้ ไก่ และหอยนางรม ในขอ้ ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ใดทโ่ี ปรตนี ไม่ถกู ทำลาย หรือแปลงสภาพ 1. ไขข่ ่าวดิบท่ีคนไขก้ ลืนเขา้ ไปเพ่อื ขจัดยาพิษ 2. เนื้อทีแ่ ชไ่ ว้ในตูเ้ ย็นเพือ่ แกงใส่บาตร 3. ไก่ท่ที อดจนเหลืองกรอบจะปลอดภัยจากไขห้ วดั นก 4. หอยนางรมบบี มะนาวเป็นอาหารโปรดของมนสั 39. การทดสอบสารอาหาร A B C และ D ได้ผลดงั ตาราง ชนิดของ สารละลายไอโอดีน สารละลายเบเนดิกต์ สารละลาย NaOH สารอาหาร สีนำ้ เงิน ตะกอนสีแดงอฐิ ผสมกบั CuSO4 สีฟ้า A สนี ้ำตาลอมเหลอื ง สฟี ้า สีฟา้ B สนี ำ้ เงนิ ตะกอนสีแดงอิฐ สมี ่วง C สีฟ้า D สีนำ้ ตาลอมเหลือง สฟี ้า ถา้ นักเรียนต้องดูแลคนไขท้ ่มี ีระดับนำ้ ตาลในเลอื ดสูงกว่า 110 mg ตอ่ 100 cm3 ของเลือด และมีความดันสูง นักเรียนไม่ควรให้อาหารชนดิ ใดกบั คนไข ้ 1. A เทา่ นั้น 2. C ท่านั้น 3. A และ D 4. B และ C 40. เม่อื ทดลองแชข่ วดน้ำมนั A และขวดนำ้ มนั B ในต้เู ยน็ 1 คนื พบว่า นำ้ มนั A แขง็ ตวั แตน่ ำ้ มัน B ยงั เปน็ ของเหลว พจิ ารณาข้อสรปุ ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ใดถกู น้ำมนั A น้ำมัน B ก. มจี ดุ หลอมเหลวตำ่ มีจดุ หลอมเหลวสงู ข. มีกรดไขมนั อ่ิมตัวมาก มีกรดไขมันไมอ่ ิ่มตวั มาก ค. เหม็นหืนยาก เหมน็ หน่ื ง่าย 1. ก เท่าน้นั 2. ข และ ค เทา่ น้ัน 3. ก และ ค เท่าน้นั 4. ทง้ั ก ข และ ค (ขอ้ 41-60 หัวข้อท่ีทดสอบ สาระที่ 6 : โลกและการเปล่ียนแปลง และ สาระท่ ี 7 : ดาราศาสตร ์ และอวกาศ) 41. ปรากฏการณใ์ ดทส่ี นบั สนนุ “ทฤษฎบี กิ แบง” 2. การขยายตัวของเอกภพ 1. การชนกันของดาวหางกับดาวเคราะห์ 4. การยุบตัวของดาวฤกษ์ 3. การเกดิ ลมสรุ ยิ ะ 42. หลงั เกดิ บกิ แบงปริมาณอนุภาคกบั ปริมาณปฏอิ นุภาคควรเป็นตามขอ้ ใด จงึ เกิดกาแล็กซีและดาวต่างๆ ข้ึนดงั ที่เปน็ อย ู่ 1. มปี รมิ าณเท่ากัน 2. อนภุ าคมีปริมาณมากกวา่ 3. ปฏอิ นุภาคมีปริมาณมากกวา่ 4. เปน็ ไปได้ทกุ ข้อ 43. คำวา่ 1 ปีแสง หมายถงึ อะไร 2. ระยะทางจากดวงอาทติ ย์ถึงโลก 1. ระยะทางที่แสงใช้เวลาเดินทาง 1 ปี 4. หน่วยของเวลาแบบหนงึ่ 3. เวลาทแี่ สงเดนิ ทางจากดวงอาทติ ย์ถึงโลก 44. ปฏิกริ ิยาในขอ้ ใดเกิดข้ึนบนดวงอาทิตย์ 2. ฟิชชนั 1. ฟิวชัน 4. ออโรรา 3. ซูเปอร์โนวา

~  38 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 45. ดาวฤกษช์ นดิ ใดในข้อตอ่ ไปน้มี อี ุณหภูมผิ วิ สูงที่สดุ 2. ดาวทม่ี ีสเี หลอื ง 1. ดาวท่ีมมี ีแดง 4. ดาวท่ีมีสขี าว 3. ดาวทม่ี ีสนี ำ้ เงนิ 46. ตามวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์ ในช่วงทา้ ยทีส่ ดุ จะเป็นอะไร 1. ดาวแคระดำ 2. ดาวแคระขาว 3. หลมุ ดำ 4. ดาวนวิ ตรอน 47. ส่ิงทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ดาวฤกษท์ ุกดวงเมอื่ เขา้ สรู่ ะยะสดุ ท้ายเปน็ ตามข้อใด 1. ความหนาแนน่ เพิ่มข้ึน 2. การระเบิดซูเปอรโ์ นวา 3. การกลายสภาพเป็นดาวนิวตรอน 4. มวลสลายไปหมด 48. ดาวฤกษ์ในขอ้ ใด ทม่ี ีอณุ หภมู ขิ องผวิ ดาวต่ำทส่ี ุด 2. มีแสงสีแดง 1. มีแสงสนี ้ำเงนิ 4. มีแสงสสี ้ม 3. มแี สงสเี หลอื ง 49. ดวงอาทิตยไ์ ดร้ บั พลงั งานจากปฏิกิรยิ าหรือปรากฏการณ์ข้อใด 1. การรวมตัวกันของนิวเคลยี ส H เป็น He 2. การแตกตวั ของนวิ เคลียสใหญ่ 3.การเผาไหมอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง 4. การระเบิดอยา่ งต่อเน่ือง 50. ข้อใดถกู ต้องเกย่ี วกับปฏกิ ริ ิยานวิ เคลียร์ฟวิ ชนั (fusion) 1. เกดิ ทอี่ ณุ หภมู ติ ่ำ 2. ไม่สามารถทำให้เกดิ บนโลกได้ 3. เกิดจากนิวเคลยี สของธาตุเบาหลอมรวมกนั เปน็ ธาตุหนัก 4. เกดิ จากนวิ เคลียสของธาตหุ นักแตกตวั ออกเปน็ ธาตุเบา 51. ขอ้ ใดคือจดุ จบของดาวฤกษท์ มี่ ีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์มากๆ 1. เนบวิ ลา 2. หลุมดำ 3. ดาวแคระดำ 4. ดาวยักษแ์ ดง 52. ชนดิ ของสเปกตรัมในขอ้ ใดทีแ่ สดงว่าเปน็ ดาวฤกษส์ ีขาว และอณุ หภูมิของดาวอยทู่ ่ี 10,000 - 8,000 เคลวิน 1. M 2. G 3. A 4. O 53. ดาวเคราะหใ์ ดต่อไปนอี้ ยูใ่ กลด้ วงอาทิตยม์ ากกวา่ ดวงอน่ื 2. ดาวศกุ ร ์ 1. ดาวพฤหัสบดี 3. ดาวเสาร์ 4. ดาวเนปจูน 54. ดาวพฤหัสบดมี ีองคป์ ระกอบหลกั เป็นอะไร 2. ไฮโดรเจนและฮีเลยี ม 1. เหลก็ 4. แอมโมเนยี 3. หนิ 55. ในระบบสรุ ิยะ แถบดาวเคราะหน์ ้อยอยู่ในบรเิ วณใด 1. อยรู่ ะหว่างแถบดาวเคราะหช์ น้ั ในกบั ดาวเคราะหช์ น้ั นอก 2. อยรู่ ะหว่างดาวเคราะห์ชัน้ ในกบั เขตของดาวหาง 3. อยรู่ ะหวา่ งดาวเคราะหช์ ้ันนอกกบั เขตของดาวหาง 4. อยแู่ ถบนอกสดุ ของระบบสรุ ิยะ

~  39 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 56. ข้อใดไม่ไดเ้ กิดจากพายุสุริยะ 2. วงจรอิเล็กทรอนิกส์บนดาวเทียมเสียหาย 1. การเกิดแสงเหนอื แสงใต ้ 4. การตดิ ต่อสอ่ื สารโดยวิทยคุ ลืน่ ส้ันขัดข้อง 3. การเกดิ ฝนดาวตก 57. ขอ้ ใดจัดเป็นดาวเคราะหช์ ั้นนอกทั้งหมด 2. ดาวพฤหสั บด ี ดาวอังคาร ดาวยูเรนัส 1. ดาวเสาร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร ์ 4. ดาวเนปจนู ดาวเสาร ์ ดาวยเู รนัส 3. ดาวเสาร ์ ดาวยูเรนัส ดาวศุกร ์ 58. ขอ้ ใดท่เี กดิ จากลมสุริยะ 2. วงจรอเิ ล็กโทรนิกสข์ องดาวเทียมไหม้ 1. การเกิดแสงออโรราแถบข้วั โลกเหนือและใต้ 4. เข็มทศิ เบนไปมา 3. การตดิ ตอ่ สื่อสารโดยเส้นใยนำแสงขัดขอ้ ง 59. ช้นั “ฐานธรณภี าค” อยูต่ รงสว่ นใดของโครงสร้างโลก 2. รอยตอ่ ชัน้ เปลือกโลกกับช้ันเนือ้ โลก 1. ชน้ั เปลือกโลก 3. ชั้นเนอื้ โลก 4. รอยตอ่ ช้นั เน้ือโลกกับชนั้ แก่นโลก 60. ธรณีภาคมีความหมายตรงตามขอ้ ใด 2. ชั้นเนอื้ โลกสว่ นลา่ งกับชัน้ แก่นโลก 1. ชั้นเนื้อโลกสว่ นบนกบั ชน้ั เปลอื กโลก 4. ชั้นเปลอื กโลกเพียงอย่างเดียว 3. ช้นั ในเน้ือโลกทงั้ หมดกบั ชั้นเปลอื กโลก (ข้อ 61 - 78 หวั ข้อทท่ี ดสอบ สาระท่ี 4 : การเคลือ่ นท่ี และ สาระท่ี 5 : พลังงาน) 61. คลองท่ีตัดตรงจากเมือง A ไปเมอื ง B มีความยาว 65 กโิ ลเมตร ขณะทถี่ นนจากเมอื ง A ไปเมอื ง B มรี ะยะทาง 79 กโิ ลเมตร ถ้าชายคนหน่งึ ขนสนิ คา้ จากเมือง A ไปเมอื ง B โดยรถยนต์ ถามว่าสนิ ค้านั้นมขี นาดการกระจดั เท่าใด 1. 14 km 2. 65 km 3. 72 km 4. 79 km 62. เดก็ คนหนงึ่ เดนิ ไปทางทศิ เหนือได้ระยะทาง 300 เมตร จากนั้นเดนิ ไปทางทิศตะวันออกไดร้ ะยะทาง 400 เมตร ใชเ้ วลาเดินทาง ทงั้ หมด 500 วนิ าที เดก็ คนนเ้ี ดินดว้ ยอัตราเร็วเฉลย่ี กีเ่ มตร/วนิ าท ี 1. 0.2 m/s 2. 1.0 m/s 3. 1.4 m/s 4. 2.0 m/s 63. ชายคนหนงึ่ เดนิ ทางไปทางทิศเหนือ 100 เมตรใช้เวลา 60 วินาทีแล้วเดนิ ตอ่ ไปทางตะวนั ออกอีก 100 เมตร ใชเ้ วลา 40 วนิ าทีเขาเดินทางดว้ ยอัตราเรว็ เฉล่ยี เท่าใด 1. 1.0 m/s 2. 1.4 m/s 3. 2.0 m/s 4. 2.8 m/s 64. รถยนตค์ นั หน่ึงวิ่งดว้ ยอัตราเร็วเฉลยี่ 80 กิโลเมตรตอ่ ชั่วโมง จากเมอื ง A ไปเมอื ง B ทีอ่ ยู่หา่ งกนั 200 กโิ ลเมตร ถา้ ออกเดินทางเวลา 06.00 น. จะถึงปลายทางเวลาเท่าใด 1. 07.50 น. 2. 08.50 น. 3. 08.30 น. 4. 08.50 น. 65. รถยนตค์ นั หนึ่งวง่ิ ดว้ ยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรต่อวินาท ี นานเทา่ ใดจงึ จะเคล่อื นที่ไดร้ ะยะทาง 500 เมตร 1. 10 s 2. 15 s 3. 20 s 4. 25 s 66. รถยนต์ A เร่ิมเคลอื่ นทีจ่ ากหยุดนงิ่ โดยอตั ราเร็วเพม่ิ ข้นึ 2 เมตร/วินาท ี ทกุ 1 วนิ าที เมื่อสิน้ วินาทที ี่ 5 รถจะมี อัตราเร็วเทา่ ใด 1. 5.0 m/s 2. 10.0 m/s 3. 15.0 m/s 4. 20.0 m/s

~  40 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 67. การเคล่อื นที่แบบโปรเจกไทล ์ เมือ่ วัตถเุ คล่ือนทข่ี ึ้นไปถึงตำแหนง่ สูงสุด อัตราเร็วของวตั ถจุ ะเปน็ อย่างไร 1. มคี ่าเปน็ ศนู ย ์ 2. มีอตั ราเรว็ แนวราบเปน็ ศูนย์ 3. มีคา่ เท่ากบั อตั ราเรว็ แนวราบเมอื่ เร่มิ เคลอื่ นท ี่ 4. มีค่าเท่ากบั อัตราเร็วเม่ือเริ่มเคล่ือนท่ี 68. ในการเคลอ่ื นทเี่ ปน็ เส้นตรง กราฟข้อใดแสดงวา่ วัตถุกำลังเคลอ่ื นทด่ี ้วยความเร็วคงตัว ความเรง่ ความเร่ง 1. 2. 0 เวลา 0 เวลา ความเร่ง ความเรง่ 3. 4. 0 เวลา 0 เวลา 69. ยงิ วตั ถจุ ากหนา้ ผาออกไปในแนวระดบั ปรมิ าณใดของวตั ถุมคี ่าคงตวั 1. อัตราเร็ว 2. ความเร็ว 3. ความเร็วในแนวด่งิ 4. ความเร็วในแนวระดับ 70. วตั ถุทีเ่ คลอื่ นท่ีแบบโปรเจคไทล์ขณะท่วี ัตถุอยูท่ ี่จดุ สูงสดุ ขอ้ ใดต่อไปนถ้ี กู ต้อง 1. ความเรว็ ของวตั ถมุ คี า่ เปน็ ศนู ย์ 2. ความเรง่ ของวตั ถุมคี า่ เปน็ ศูนย์ 3. ความเร็วของวัตถใุ นแนวดงิ่ มีคา่ เป็นศูนย์ 4. ความเรว็ ของวตั ถใุ นแนวราบมคี า่ เป็นศูนย ์ 71. กราฟของความเร็ว v กับเวลา t ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกับการเคลอื่ นทีข่ องวตั ถุทีถ่ กู โยนขน้ึ ไปในแนวด่งิ v v 1. 2. 0 เวลา 0 เวลา v v 3. 4. 0 เวลา 0 เวลา 72. ถ้าปลอ่ ยให้กอ้ นหินตกลงจากยอดตกึ สูพ่ น้ื การเคลื่อนทีข่ องก้อนหนิ ก่อนจะกระทบพน้ื จะเป็นตามข้อใด ถา้ ไม่คิด แรงต้านของอากาศ 1. ความเรว็ คงท่ี 2. ความเรว็ เพมิ่ ขน้ึ อย่างสมำ่ เสมอ 3. ความเร็วลดลงอย่างสม่ำเสมอ 4. ความเรว็ เพม่ิ ขน้ึ แลว้ ลดลง 73. รถไต่ถงั เคลอ่ื นท่ดี ว้ ยอัตราเรว็ สม่ำเสมอและวงิ่ ครบรอบได ้ 5 รอบในเวลา 2 วนิ าท ี หากคิดในแงค่ วามถข่ี องการ เคล่อื นท่ี ความถจี่ ะเป็นเท่าใด 1. 2.5 Hz 2. 1.5 Hz 3. 0.5 Hz 4. 0.4 Hz

~  41 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 74. เหวย่ี งจกุ ยางใหเ้ คลอ่ื นทเ่ี ปน็ แนววงกลมในระนาบระดบั ศรี ษะ 20 รอบ ใชเ้ วลา 5 วนิ าท ี จกุ ยางเคลอื่ นทด่ี ว้ ยความถเี่ ทา่ ใด 1. 0.25 รอบ/วินาที 2. 4 รอบ/วินาท ี 3. 5 รอบ/วนิ าที 4. 10 รอบ/วินาที 75. อนุภาคใดในนิวเคลยี ส 236 U และ 234 Th ท่ีมีจำนวนเทา่ กัน 1. โปรตอน 92 90 2. อิเลก็ ตรอน 3. นวิ ตรอน 4. นวิ คลีออน 76. ในธรรมชาติ ธาตคุ าร์บอนมี 3 ไอโซโทป คือ 12 C 13 C และ 14 C 6 6 6 1. แตล่ ะไอโซโทปมีจำนวนอิเลก็ ตรอนต่างกัน 2. แต่ละไอโซโทปมีจำนวนโปรตอนตา่ งกัน 3. แตล่ ะไอโซโทปมจี ำนวนนิวตรอนตา่ งกนั 4. แต่ละไอโซโทปมีจำนวนโปรตอนเทา่ กับจำนวนนวิ ตรอน 77. คารบ์ อนเป็นธาตุท่เี ป็นส่วนสำคัญของส่ิงมชี วี ติ สญั ลักษณ์นวิ เคลียร์ 12 C แสดงว่านิวเคลียสของธาตุคารบ์ อนนีม้ ี อนุภาคตามข้อใด 6 1. โปรตอน 12 ตวั นิวตรอน 6 ตวั 2. โปรตอน 6 ตัว นวิ ตรอน 12 ตัว 3. โปรตอน 6 ตวั อิเลก็ ตรอน 6 ตัว 4. โปรตอน 6 ตวั นิวตรอน 6 ตัว 78. ขอ้ ใดถูกต้องสำหรบั ไอโซโทปของธาตุหนง่ึ ๆ 2. มีจำนวนโปรตอนเทา่ กัน แตจ่ ำนวนนวิ ตรอนตา่ งกัน 1. มีเลขมวลเทา่ กัน แต่เลขอะตอมต่างกัน 4. มีผลรวมของจำนวนโปรตอน และนวิ ตรอนเท่ากัน 3. มีจำนวนนวิ ตรอนเทา่ กัน แต่โปรตอนตา่ งกัน ชีววทิ ยา 79. การสร้างเซลลส์ ืบพนั ธุข์ องคน เกดิ จากการแบ่งเซลล์แบบใด 1. ไมโทซิสที่มกี ารลดจำนวนโครโมโซม 2. ไมโทซสิ ทไ่ี มม่ ีการลดจำนวนโครโมโซม 3. ไมโอซิสทม่ี ีการลดจำนวนโครโมโซม 4. ไมโอซิสท่ไี มม่ กี ารลดจำนวนโครโมโซม 80. คนมีจำนวนโครโมโซมในเซลลร์ ่างกาย 46 แหง่ ระหว่างการแบ่งเซลล ์ แตล่ ะโครโมโซมประกอบดว้ ยกีโ่ ครมาติด 1. 2 2. 23 3. 46 4. 92 81. ขอ้ ความใดถูกตอ้ งเกี่ยวกับการแบ่งเซลล์บริเวณปลายรากหอม 1. เปน็ การแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ 2. เมอื่ สน้ิ สดุ การแบ่งเซลลจ์ ะไดเ้ ซลลใ์ หม่ 4 เซลล ์ 3. เซลล์ใหมท่ ่เี กิดขึน้ มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดมิ 4. เซลล์ใหม่ทเี่ กดิ ขึ้นเกิดจากการคอดของเย่ือหุ้มเซลล ์ 82. ลักษณะพันธกุ รรมของคนในขอ้ ใด ท่มี ียีนควบคมุ อย่บู นออโตโซม (autosome)หรอื โครโมโซมรา่ งกาย 1. โรคธาลสั ซเี มยี 2. ตาบอดสี 3. โรคฮีโมฟิเลยี (เลอื ดไหลไมห่ ยุด) 4. ภาวะพรอ่ งเอนไซมก์ ลูโคส-6-ฟอสเฟต ดไี ฮโดรจเี นส 83. ลกั ษณะพันธกุ รรมของคนในขอ้ ใด ท่ีมียีนควบคมุ อยูบ่ นโครโมโซมเพศ 1. ลกั ษณะผวิ เผอื ก 2. ตาบอดสี 3. ลกั ษณะนิ้วเกนิ 4. โรคธาลัสซีเมีย

~  42 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 84. ชายคนหนง่ึ มีลักษณะน้ิวเกินแต่งงานกบั หญงิ ท่ีมีนวิ้ ปกติ มีบุตรชาย 1 คนที่มีน้ิวปกต ิ และบตุ รสาว 1 คน ทม่ี ีลกั ษณะ นิว้ เกนิ บุตรชายแต่งงานกบั หญงิ ทีม่ ีจำนวนน้วิ ปกต ิ แล้วมบี ตุ รชาย 2 คนทมี่ จี ำนวนน้ิวปกต ิ ขอ้ ใดคอื เพดดีกรขี องครอบครวั น ี้ 85. ชายคนหนึ่งมีลักษณะผิวเผือกแต่งงานกับหญิงท่ีมีผิวปกต ิ มีบุตรชาย 1 คนท่ีมีผิวปกต ิ และบุตรสาว 1 คน ท่ีมี ลกั ษณะผวิ เผือก บตุ รชายแต่งงานกบั หญงิ ท่มี ีจำนวนผวิ ปกต ิ แล้วมบี ตุ รสาว 2 คนทีม่ ีจำนวนผวิ ปกต ิ ข้อใดคอื เพดดีกรขี องครอบครัวน ้ี 86. สามภี รรยาคูห่ น่ึงเปน็ พาหะของธาลัสซีเมยี ที่เหมือนกนั โอกาสท่ีลูกคนแรกจะเปน็ ธาลสั ซเี มยี มีเทา่ ใด 1. 1/2 2. 1/3 3. 1/4 4. 3/4 87. ลักษณะผวิ เผอื กควบคุมโดยยีน a ท่ีอยบู่ นออโตโซม ส่วนลกั ษณะผวิ ปกติควบคมุ โดยยีน A ครอบครวั หนึ่ง พอ่ แม่ผิว ปกติมีบุตรคนแรกลักษณะผวิ เผอื ก โอกาสท่ีบุตรคนต่อไปจะมีฟโี นไทปป์ กตเิ ป็นเท่าใด 1. 0 % 2. 25 % 3. 50 % 4. 75 % 88. ข้อใดต่อไปน้แี สดงการใหเ้ ลอื ดไดถ้ กู ตอ้ งโดยไมเ่ ป็นอนั ตรายต่อผู้รบั

~  43 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 89. พ่อมีเลือดหม ู่ O แม่มเี ลือดหมู่ AB ลูกของพ่อแม่คู่นี้จะมหี มเู่ ลือดใดไดบ้ ้าง 1. หมู่ A หรือหมู ่ AB 2. หม ู่ B หรอื หมู่ AB 3. หม่ ู A หรือหม ู่ B 4. หม ู่ O หรือหมู่ AB 90. หมเู่ ลือดของพ่อแม่คใู่ ดทลี่ ูกทกุ คนจะมเี ลือดหมู่เดียวกัน 2. B x B 1. A x A 3. AB x AB 4. O x O 91. ลกั ษณะตาบอดสีพบในเพศชายมากกวา่ เพศหญงิ เพราะเหตุใด 1. ลกั ษณะตาบอดสเี กิดจากยนี ด้อยบนโครโมโซม X และเพศชายมีโครโมโซม X เพยี ง 1 โครโมโซม 2. ลกั ษณะตาบอดสเี กิดจากยนี เดน่ บนโครโมโซม X และเพศชายมโี ครโมโซม X เพียง 1 โครโมโซม 3. ลักษณะตาบอดสีเกิดจากยีนดอ้ ยบนโครโมโซม Y และแสดงออกเมอ่ื มีฮอร์โมนเพศชาย 4. ลกั ษณะตาบอดสเี กดิ จากยนี เด่นบนโครโมโซม Y และแสดงออกเมื่อมีฮอรโ์ มนเพศชาย 92. สามภี รรยาค่หู นึง่ เป็นพาหะของธาลัสซีเมียท้ังสองคน โอกาสท่ลี ูกคนแรกจะไมเ่ ปน็ ธาลัสซเี มยี มีเทา่ ใด 1. 1/2 2. 2/3 3. 3/4 4. 1/4 93. หญิงหมเู่ ลอื ด A มีลูกหมเู่ ลอื ด O ซึ่งหญงิ คนนี้อา้ งว่าเปน็ เลือดของชายที่มหี มู่เลือด AB ชายผ้นู ีส้ ามารถ ปฏิเสธข้อกล่าวหานไี้ ด้หรือไม่ 1. ปฏเิ สธได ้ เพราะ จโี นไทป์ของชายผนู้ ไ้ี ม่มยี นี i 2. ปฏเิ สธไมไ่ ด ้ เพราะ จโี นไทปข์ องชายผนู้ ้ีมยี นี i 3. ปฏเิ สธได้ เพราะ จีโนไทปข์ องชายผูน้ ม้ี ยี นี i 4. ปฏิเสธไมไ่ ด ้ เพราะ จโี นไทปข์ องชายผูน้ ี้มยี นี IA และ IB 94. เมือ่ นำเนือ้ เยอ่ื ของส่งิ มีชวี ติ ท่อี าศัยอยู่ในสระนำ้ ทวั่ ไปมาตรวจหาปรมิ าณสารกำจดั แมลงชนดิ หนึง่ ทปี่ นเปอื้ น อยใู่ นนำ้ พบวา่ มีการสะสมของสารนี้สูงสดุ ในปลาชอ่ นเสมอ แสดงว่าปลาชอ่ น 1. ผู้บริโภคพืชอนั ดบั แรกของโซ่อาหาร 2. ผ้บู ริโภคทัง้ สตั ว์และพชื 3. ผบู้ รโิ ภคสตั ว์อนั ดบั แรกของโซอ่ าหาร 4. ผูบ้ ริโภคสตั ว์อันดับสดุ ท้ายของโซอ่ าหาร 95. สายใยอาหารข้างล่างน้ี ค. และ ง เป็นสิง่ มีชีวติ กลุม่ ใด 1. ผู้ผลติ และ ผู้บรโิ ภค 2. ผบู้ ริโภคทัง้ พืชและสตั ว ์ และ ผู้ยอ่ ยสลายอินทรยี สาร 3. ผูบ้ รโิ ภคพืช และ ผบู้ ริโภคสัตว ์ 4. ผู้บรโิ ภคท้ังพืชและสัตว ์ และ ผู้บริโภคสตั ว ์ 96. แผนภาพแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง และการหายใจ ก. และ ข. อาจเปน็ สารใด 1. CO2 , H2O 2. CO2 , O2 3. O2 , CO2 4. H2O , O2

~  44 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 97. จากสายใยอาหารข้างลา่ งนี้ ข. และ ง เปน็ สง่ิ มชี วี ิตกลุ่มใด 1. ผผู้ ลิต และผบู้ รโิ ภคสตั ว์ 2. ผู้บริโภคทัง้ พชื และสัตว์ และผ้ยู ่อยสลายสารอนิ ทรยี ์ 3. ผู้บริโภคพืช และผ้บู ริโภคสตั ว์ 4. ผบู้ ริโภคทงั้ พชื และสตั ว์ และผบู้ ริโภคสตั ว ์ 98. ข้อใดตอ่ ไปนเี้ ปน็ ส่ิงมชี ีวิตทผ่ี ่านกระบวนการพนั ธุวศิ วกรรม 1. มะละกอต้านไวรัสทีไ่ ด้รบั การผสมและคดั เลอื กพนั ธ์ ุ 2. ขา้ วพันธุ์ กข 6 ท่ีไดร้ บั การปรบั ปรุงพันธ์ุข้าวขาวดอกมะลิ 105 ดว้ ยรงั สีแกมมา 3. ฝา้ ย บที ี ซ่งึ เป็นฝ้ายทไี่ ดร้ บั การถ่ายฝากยนี ของแบคทเี รยี Bacillus thuringiensis 4. ววั นมชือ่ “องิ ” ที่ได้รับการโคลนโดยใช้เซลล์ใบหู เคมี 99. จากโครงสร้างของโมเลกลุ เพปไทดท์ ่ีกำหนดใหจ้ ำนวนพนั ธะเพปไทต์ และชนิดของกรดอะมิโน ข้อใดถกู จำนวนพนั ธะเพปไทด์ จำนวนชนิดของกรดอะมิโน ก. 3 ข. 3 3 ค. 4 4 ง. 4 3 1. ก เท่านัน้ 4 3. ข และ ง 2. ข เท่าน้นั 4. ก และ ค 100. โปรตีนท่ีมีสูตรโครงสรา้ งต่อไปน ้ี เฉพาะสว่ นที่แสดงน้ี มพี ันธะเพปไทด์ทีพ่ ันธะ เกดิ จากกรดอะมิโนกโี่ มเลกลุ และมีจำนวนกรดอะมโิ นกีช่ นิด ขอ้ จำนวนพันธะ จำนวนโมเลกลุ จำนวนชนิดของกรดอะมโิ น 1. 2 2. 2 2 3 3. 3 3 2 4. 3 3 2 4 3

~  45 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 101. มคี ำแนะนำให้รับประทานผักบงุ้ และเตา้ ห้อู ยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง ถ้าอาหารกลางวนั ม้อื หน่ึงรับประทานขา้ วกบั ผกั บุ้งผดั น้ำมนั และแกงจืดเต้าหหู้ มูสบั อาหารมอื้ น้จี ะไดร้ ับสารชีวโมเลกุลประเภทใหพ้ ลังงานกี่ชนิด อะไรบา้ ง 1. 2 ชนิด โปรตีนและคาร์โบไฮเดรต 2. 3 ชนิด ไขมัน โปรตนี และคารโ์ บไฮเดรต 3. 4 ชนดิ ไขมัน โปรตีน กรดนิวคลอิ กิ และเซลลโู ลส 4. 4 ชนิด ไขมัน โปรตนี คารโ์ บไฮเดรตและกรดนิวคลอิ กิ 102. พิจารณาข้อความต่อไปน ้ี ขอ้ ใดถกู ก. กรดไขมันในรา่ งกายคน เป็นกรดไขมนั ไมอ่ ม่ิ ตัวเป็นสว่ นมาก ข. น้ำมนั สตั วเ์ หมน็ หนื ง่ายกวา่ น้ำมันพชื เพราะไม่มวี ิตามนิ E ชว่ ยยับยัง้ การเกดิ ปฏิกริ ยิ า ค. อาหารที่ทอดโดยนำ้ มนั เกา่ จะทำใหเ้ ศษอาหารทต่ี กค้างในนำ้ มันไหมเ้ กรยี มสลายเปน็ สารก่อมะเร็ง ง. โรคหัวใจ และอมั พาตมสี าเหตสุ ำคญั จากการรบั ประทานอาหารท่ีมคี อเลสเทรอลสูง และขาดการออกกำลงั กาย 1. ก และ ข เทา่ นั้น 2. ค และ ง เท่าน้ัน 3. ก ข และ ค 4. ข ค และ ง 103. พิจารณาข้อความตอ่ ไปน ้ี ก. การฉดี อินซลู นิ เขา้ สรู่ ่างกายเพ่อื เพ่ิมปรมิ าณกลโู คสในเสน้ เลอื ด ข. อนิ ซลู นิ มีหน้าท่เี พมิ่ ประสทิ ธิภาพการเปลี่ยนกลูโคสเปน็ ไกลโคเจน ค. คนทีเ่ ป็นเบาหวานแสดงว่ารา่ งกายมอี นิ ซูลนิ มากเกินไป ง. คนท่ีเปน็ โรคเบาหวานควรลดอาหารประเภทแป้งและน้ำตาล ข้อใดถกู 1. ก และ ข 2. ข และ ง 3. ค และ ง 4. ข และ ค 104. น้ำมันพืชเกิดจากการรวมตัวของสาร 2 ชนดิ โครงสร้างของน้ำมนั พชื จึงประกอบด้วย 2 สว่ น พิจารณาน้ำมันพชื A และ B ต่อไปน ้ี ชนิดของน้ำมนั พชื สว่ นท ี่ 1 ส่วนของโครงสร้างของน้ำมันพืช A X ส่วนท่ี 2 B Y กรดโอเลอิก : CH3 – (CH2)7 – CH = CH – (CH2)7 – CO2 H กรดสเตียริก : CH3 – (CH2)16 – CO2H ก. X และ Y ของนำ้ มนั พชื A และ B เปน็ สารชนดิ เดียวกัน ข. กรดไขมันของนำ้ มันพชื A เปน็ กรดไขมันไมอ่ ่ิมตวั ค. น้ำมันพชื B สามารถเกิดปฏกิ ริ ิยาการเตมิ ไฮโดรเจนได้ ง. เมอ่ื เติมสารละลายไอโอดนี ลงในน้ำมันพืช A สีของไอโอดีนจะจางลง ขอ้ ใดถูก 1. ก ข และ ค 2. ก ข และ ง 3. ข ค และ ง 4. ข และ ง เทา่ น้นั

~  46 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนที่ 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 105. จากการทดสอบน้ำมัน 4 ชนิด ปริมาณเท่ากัน กับทิงเจอรไ์ อโอดนิ ไดผ้ ลดังน้ี ชนดิ ของนำ้ มัน จำนวนหยดของทิงเจอร์ไอโอดนิ ท่ีใช้ A 15 B 18 C 30 D 47 จากขอ้ มูลขา้ งต้น จงพจิ ารณาวา่ (ก) การบรโิ ภคนำ้ มันชนดิ ใดมโี อกาสเปน็ โรคหวั ใจขาดเลอื ดมากทสี่ ดุ และ (ข) น้ำมนั ชนดิ ใดทใี่ ช้ทอดอาหารโดยใชไ้ ฟอ่อนๆ แต่ใชเ้ วลานาน แลว้ ผบู้ ริโภคจะปลอดภัยทส่ี ดุ ข้อ (ก) บริโภคแล้วมีโอกาสเปน็ โรค (ข) ใชท้ อดด้วยไฟออ่ นๆ หัวใจขาดเลอื ด บอ่ ยๆ ยังปลอดภัย 1A A 2A C 3D B 4D D 106. ในการทดสอบอาหารเช้าชดุ หน่งึ ได้ผลดงั น ้ี ข้อ วธิ กี ารทดสอบ ผลทสี่ ังเกตได ้ ก. เตมิ สารละลายไอโอดิน สารละลายสีน้ำเงิน ข. เติมสารละลายเบเนดกิ ต ์ สารละลายสฟี า้ ไมม่ ตี ะกอน ค. เติมสารละลาย NaOH และCuSO4 สารละลายสีม่วง ง. แตะบนกระดาษ โปรง่ แสง อาหารทน่ี ำมาทดสอบ นา่ จะเปน็ อาหารชุดใดตอ่ ไปน้ี 1. มนั ทอด + นำ้ อัดลม 2. สลัดผลไม้ + นมเปร้ยี ว 3. มนั ฝรั่งบด + นำ้ ผลไม้ 4. ขนมปงั ทาเนย + นมถัว่ เหลือง 107. พจิ ารณาขอ้ มลู ของสาร A B และ C ต่อไปน้ ี โครงสร้าง การละลายนำ้ โซ่กงิ่ ไม่ละลายนำ้ สาร แหลง่ ทีพ่ บ สายยาว ไมล่ ะลายนำ้ A ในคนและสัตว ์ ละลายน้ำได้เล็กนอ้ ย B ในพชื เทา่ นัน้ โซต่ รงและโซ่กงิ่ C ในพชื ท่ีเป็นเมล็ดและหัว สาร A B และ C นา่ จะเปน็ สารใด ขอ้ A B C 1. ไกลโคเจน 2. ไกลโคเจน เซลลูโลส แปง้ 3. เซลลูโลส แป้ง เซลลูโลส 4. แปง้ ไกลโคเจน แป้ง เซลลโู ลส ไกลโคเจน

~  47 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 108. ข้อใดเป็นโพลเิ มอรธ์ รรมชาติทงั้ หมด 2. โปรตีน โพลิไอโซพรนี กรดนิวคลอี ิก 1. แป้ง เซลลูโลส โพลสิ ไตลีน 4. ไกลโคเจน ไขมัน ซิลโิ คน 3. ยางพารา โพลิเอทิลีน เทฟลอน 109. พจิ ารณาข้อความต่อไปน้ ี ข้อใดถกู ก. ไนลอนและอพี อกซีจดั เป็นเทอร์โมพลาสติก ข. เอทลี ีนจัดเปน็ โมโนเมอรท์ ม่ี ีขนาดเล็กทสี่ ดุ ในการผลิตพอลเิ มอร ์ ค. ซลิ ิโคนที่ใช้ในงานศัลยกรรม จัดเป็นพอลเิ มอร์ชนิดหน่ึง ง. ยางธรรมชาติ และยางเทียม IR ตา่ งมไี อโซพรนี เป็นโมโนเมอร์ 1. ก ข และ ค 2. ข ค และ ง 3. ก ข และ ง 4. ก ค และ ง 110. ขอ้ ใดจดั ประเภทของพลาสตกิ ได้ถกู ตอ้ ง เทอร์มอพลาสติก พลาสติกเทอรม์ อเซต 1. โฟม เกา้ อพ้ี ลาสตกิ 2. ถุงพลาสติก ดอกไมพ้ ลาสติก 3. กระดาษตดิ ผนัง เต้าเสียบไฟฟ้า 4. ด้ามจบั เตารดี ฟลิ ์มถา่ ยภาพ 111. ขอ้ ใดเปน็ กิจกรรมหรือผลติ ภัณฑท์ ่ีเกี่ยวข้องกบั ปฏิกริ ิยาเคมที ง้ั หมด 1. การสังเคราะห์แสงของพืช กล่ินหอมทเ่ี กิดจากยาดบั กล่ิน 2. การเกิดหินงอก หินยอ้ ย การเผากระดาษ 3. การจดุ พลดุ อกไมไ้ ฟ เมฆรวมตวั เปน็ ฝน 4. การเกดิ สนิมเหล็ก การสบู ลมยางล้อรถยนต ์ 112. พจิ ารณาข้อมูลการสลายตัวของธาตุกมั มันตรงั ส ี M N O และ P ดังตารางต่อไปน้ี ธาตุ มวลเริ่มต้น (g) ระยะเวลาทป่ี ล่อยท้ิงไว ้ (วนั ) มวลท่ีเหลอื (g) 2.5 M 40 32 1.875 N 30 60 0.25 O 16 36 0.125 P2 100 ธาตใุ ดมคี รึง่ ชวี ติ นอ้ ยท่สี ุด 2. N 1. M 4. P 3. O 113. น้ำมันเบนซิน A และ B มีเลขออกเทน 91 และ 75 ตามลำดบั มีองคป์ ระกอบ เป็นสารท่มี สี ูตรโครงสรา้ งดงั (1) และ (2) พิจารณาข้อความเก่ียวกบั นำ้ มันเบนซนิ A และ B ต่อไปน ี้ ขอ้ ใดถกู

~  48 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 ก. น้ำมนั เบนซิน A มสี าร (2) มากกวา่ เบนซิน B ข. น้ำมันเบนซนิ A มีสาร (1) 91 สว่ นแต่สาร B มสี าร (1) เพยี ง 75 สว่ น ค. สาร (2) ทำให้ประสทิ ธิภาพการเผาไหม้ของน้ำมนั เบนซิน A ดกี ว่าเบนซิน B ง. การเติม (2) ลงในน้ำมันเบนซิน A และ B เปน็ การเพ่มิ คุณภาพเพราะเลขออกเทนของนำ้ มันสูงขึ้น 1. ข เทา่ น้ัน 2. ก ค และ ง 3. ข ค และ ง 4. ถูกทุกขอ้ โลกและดาราศาสตร์ 114. ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหว อันเนือ่ งมาจากการกระทบกันของแผ่นธรณภี าคคู่ใดมากท่ีสดุ 1. แผ่นยเู รเซยี กบั แผ่นแปซิฟกิ 2. แผน่ ยเู รเซยี กับแผ่นอินเดยี 3. แผ่นแปซฟิ กิ กบั แผน่ นาสกา 4. แผ่นแอนตาร์กติกากับแผ่นออสเตรเลีย-อินเดีย 115. เทอื กเขาหิมาลยั เกิดจากปรากฏการณท์ างธรณภี าคแบบใด 1. การเกดิ แผน่ ดนิ ไหว 2. การแยกตัวของแผ่นเปลอื กโลก 3. การชนกันของแผ่นเปลอื กโลก 4. การระเบดิ ของภเู ขาไฟ 116. ตามทฤษฎีการแปรสณั ฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonics) ข้อใดไม่ได้รวมอยูใ่ นทวปี ”กอนด์วานา” 1. ทวีปแอฟริกา 2. ทวีปอินเดยี 3. ทวปี อเมริกาเหนอื 4. ทวปี ออสเตรเลีย 117. การเกิดสนึ ามเิ มอ่ื วันท ่ี 26 ธันวาคม 2547 เกิดจากการชนกนั ของแผน่ ทวีปใด 1. ออสเตรเลีย-อินเดีย กับ แผ่นยูเรเซยี 2. แผน่ อินโดนีเซีย กับ แผน่ แปซิฟิก 3. แผ่นยูเรเซีย กับ แผน่ แปซิฟกิ 4. แผน่ อินโดนเี ซยี กบั แผ่นฟลิ ิปปินส ์ 118. พ้นื ทีใ่ นข้อใดที่อยู่ในบรเิ วณท่ีเรยี กว่า “วงแหวนแหง่ ไฟ” 2. บรเิ วณเทอื กเขากลางมหาสมุทรแอตแลนตกิ 1. แนวรอยตอ่ ภเู ขาหมิ าลัยในทวีปเอเชยี 3. บริเวณขอบมหาสมทุ รแปซฟิ กิ ทัง้ หมด 4. บรเิ วณรอยต่อภูเขาแอลปใ์ นทวปี ยุโรป 119. ขอ้ ใดไมอ่ ยใู่ นบรเิ วณท่เี รียกวา่ “วงแหวนแหง่ ไฟ (ring of fire)” 1. บริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟกิ ทัง้ หมด 2. บรเิ วณรอยต่อภูเขาแอลป์และภูเขาหมิ าลัย 3. ประเทศญปี่ นุ่ ทง้ั หมด 4. บริเวณดา้ นตะวันตกของประเทศเมก็ ซิโก 120. ข้อใดคอื สาเหตุของการเกิดแผ่นดนิ ไหว 2. โลกหมุน 1. คล่ืนสนึ าม ิ 4. การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลอื กโลก 3. น้ำข้ึน-นำ้ ลง 121. มาตราท่ีใช้บอกความเสยี หายเนอื่ งจากแผน่ ดินไหวคอื ข้อใด 1. ริกเตอร ์ 2. เมอรค์ ลั ล ี 3. โมห์ 4. เวนสเ์ วอร์ด 122. การเกิดแผ่นดินไหวเกดิ ข้ึนท่ีส่วนใดของโครงสร้างโลก 2. ธรณภี าค 1. ฐานธรณีภาค 3. แกน่ โลก 4. ชั้นของโครงสร้างโลกท่มี ีหนิ หลอมละลาย 123. หนิ ชนั้ ชิ้นหนง่ึ มีการสะสมตัวเปน็ ช้นั ๆ ของหินทราย หินกรวดมน หนิ ปนู และหนิ ดินดาน หนิ ชนดิ ใดมีอายุมากที่สดุ 1. หนิ ทราย 2. หนิ กรวดมน 3. หินปนู 4. หนิ ดินดาน

~  49 ~ สาํ นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 124. ซากดึกดำบรรพ์ส่วนใหญ่จะพบอยใู่ นหินชนิดใด 2. หนิ อคั น ี 1. หินแปร 4. หนิ ตะกอน 3. หนิ ชสี ต ์ 125. ความพรนุ ของหินทีเ่ กดิ ข้นึ ภายหลังภเู ขาไฟระเบดิ ข้นึ อยกู่ ับปจั จยั ใด 1. รปู รา่ งและความสูงของภูเขาไฟ 2. ตำแหนง่ ของรอยแยกบนพนื้ 3. อัตราการเย็นตวั ของลาวา 4. องค์ประกอบทางเคมขี องแมกมา 126. หินของภเู ขาใดต่อไปนีไ้ ม่ใชห่ นิ ภเู ขาไฟ 1. ภูพระอังคาร จงั หวัดบุรีรมั ย์ 2. ดอยผาคอกหนิ ฟู จงั หวัดลำปาง 3. ภูเขาพนมรุ้ง จงั หวัดบรุ ีรัมย์ 4. ภชู ้ีฟา้ จงั หวัดเชียงราย 127. การพบหลกั ฐานในขอ้ ใดที่แสดงวา่ ในอดตี ประเทศไทยเคยมภี ูเขาไฟในบางพื้นท ่ี 1. หนิ บะซอลต ์ 2. หินแกรนติ 3. รอยแตกเลอื่ นของช้ันหิน 4. น้ำพุรอ้ น 128. นกั ธรณีวิทยาใช้วธิ ีใดในการหาอายุหนิ ตะกอน 1. โดยใชว้ ธิ ีกัมมันตรงั สหี าอายุหิน 2. โดยการคน้ หาซากดึกดำบรรพ์ เชน่ โทรโลไบต ์ 3. โดยวิธกี ัมมันตภาพรังสี C-14 หาอายุซากดกึ ดำบรรพ์ 4. ใชล้ ักษณะโครงสรา้ งทางธรณีวทิ ยาของหนิ ฟสิ กิ ส์ 129. คลื่นวทิ ยทุ ี่สง่ ออกจากสถานวี ทิ ยสุ องแห่ง มคี วามถี ่ 90 เมกะเฮิรต์ ซ ์ และ 100 เมกะเฮริ ต์ ซ ์ ความยาวคลื่นของ คลน่ื วิทยทุ ั้งสองนีต้ ่างกันเท่าใด 1. 3.33 m 2. 3.00 m 3. 0.33 m 4. 0.16 m 130. คลืน่ วิทย ุ FM ความถ่ ี 88 เมกะเฮริ ตซ์ มคี วามยาวคลน่ื เทา่ ใด (กำหนดใหค้ วามเร็วของคล่นื วิทยเุ ท่ากับ 3.0 x108 เมตร/วนิ าที) 1. 3.0 m 2. 3.4 m 3. 6.0 m 4. 6.8 m 131. คลื่นใดต่อไปนี ้ เป็นคล่นื ทีต่ ้องอาศัยตวั กลางในการเคลื่อนที ่ ก. คลนื่ แสง ข. คลืน่ เสยี ง ค. คล่นื ผิวน้ำ คำตอบที่ถูกตอ้ งคอื 1. ทัง้ ก ข และ ค 2. ขอ้ ข และข้อ ค 3. ขอ้ ก เทา่ นน้ั 4. ผิดทุกขอ้ 132. ข้อใดเป็นการเรียงลำดบั คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้าจากความยาวคลน่ื นอ้ ยไปมากท่ถี ูกตอ้ ง 1. รงั สเี อกซ์ อนิ ฟราเรด ไมโครเวฟ 2. อินฟราเรด ไมโครเวฟ รงั สีเอกซ์ 3. รังสเี อกซ์ ไมโครเวฟ อินฟราเรด 4. ไมโครเวฟ อนิ ฟราเรด รงั สเี อกซ์

~  50 ~ สํา นั ก เ ก รี ย ง ไ ก รสาํ นักเกรียงไกร (คิดแบบวิทย...จิ ตวิ ไทย - สงั คม - คณติ - วทิ ย - เคมี - ฟส กิ ส - ชวี ฯ P' เกรยี ง ( คะแนนท่ี 1 ของประเทศ )Tel. 08-67499525 133. คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ ชนดิ ใดต่อไปน้ที ี่มคี วามยาวคลื่นสน้ั ท่ีสดุ 1. อินฟราเรด 2. ไมโครเวฟ 3. คล่นื วิทยุ 4. อลั ตราไวโอเลต 134. ถา้ ดีดกีตาร์แล้วพบว่าเสยี งทีไ่ ดย้ ินตำ่ กวา่ ปกติ จะมวี ิธีปรับแกไ้ ขให้เสยี งสงู ขน้ึ ได้อย่างไร 1. เปลย่ี นใช้สายเสน้ ใหญข่ ้นึ 2. ปรบั สายใหห้ ยอ่ นลง 3. ปรบั ตำแหน่งสายใหย้ าวขึ้น 4. ปรับสายใหต้ ึงข้ึน 135. คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ ท่นี ิยมใช้ในรีโมทควบคุมการทำงานของเคร่ืองโทรทศั นค์ ือขอ้ ใด 1. อนิ ฟราเรด 2. โมโครเวฟ 3. คลน่ื วทิ ย ุ 4. อลั ตราไวโอเลต 136. ระดับเสยี งและคณุ ภาพเสยี งขึ้นอยู่กับสมบัติใดตามลำดับ 1. ความถ่ี รูปรา่ งคล่ืน 2. รปู รา่ งคลืน่ ความถ่ี 3. แอมพลิจูด ความถี่ 4. ความถ ี่ แอมพลจิ ูด 137. สนามแมเ่ หลก็ ที่เป็นสว่ นหน่งึ ของคลื่นแสงนัน้ มที ิศทางตามขอ้ ใด 1. ขนานกับทศิ ทางการเคล่อื นท่ีของแสง 2. ขนานกบั สนามไฟฟ้า แต่ตัง้ ฉากกับทิศการเคลือ่ นทข่ี องแสง 3. ตั้งฉากกบั ทัง้ สนามไฟฟ้าและทศิ การเคลอ่ื นทีข่ องแสง 4. ต้ังฉากกบั สนามไฟฟ้าแตข่ นานกบั ทิศของการเคลอ่ื นท่ขี องแสง 138. เคร่อื งหมายดงั รปู แทนอะไร 1. เครอื่ งกำเนิดไฟฟ้าโดยกังหนั ลม 2. การเตอื นว่ามีอันตรายจากกมั มนั ตภาพรงั สี 3. การเตือนวา่ มีอันตรายจากสารเคม ี 4. เครือ่ งกำเนิดไฟฟ้าโดยเซลลแ์ สงอาทิตย์ 139. รงั สีในขอ้ ใดท่ีมอี ำนาจในการทะลทุ ะลวงผา่ นเนือ้ สารได้นอ้ ยท่สี ดุ 1. รงั สีแอลฟา 2. รังสีบดี า 3. รังสแี กมมา 4. รงั สเี อกซ์ 140. ขอ้ ความใดตอ่ ไปน้ถี กู ตอ้ งเกี่ยวกับรังสแี อลฟา รงั สบี ีตา และรงั สีแกมมา 1. รังสแี อลฟามปี ระจ ุ +4 2. รังสแี อลฟามีมวลมากทส่ี ุด และอำนาจทะลุทะลวงผา่ นสูงท่ีสดุ 3. รงั สบี ตี ามมี วลนอ้ ยท่สี ุด และอำนาจทะลุทะลวงตำ่ ทส่ี ุด 4. รังสแี กมมามอี ำนาจทะลุทะลวงสงู ทีส่ ุด 141. ธาตุกัมมันตรังสีใดทใี่ ชใ้ นการคำนวณหาอายขุ องวตั ถุโบราณ คอื 1. I-131 2. Co-60 3. C-14 4. P-32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook