Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการติดตามประเมินผลฉบับสมบูรณ์

รายงานการติดตามประเมินผลฉบับสมบูรณ์

Description: รายงานการติดตามประเมินผลฉบับสมบูรณ์

Keywords: e Book วิทยาลัยการปกครอง

Search

Read the Text Version

บทท่ี 3 ขอบเขตและวธิ กี ารศึกษา การศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เปน็ การศกึ ษาวิจัย แบบผสมผสาน ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากข้าราชการท่ีผ่านการฝึกอบรม และผู้บังคับบัญชาของข้าราชการที่ผ่านการฝึก อบรม และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth interview) จากผู้ผ่านการฝึกอบรม และผู้บังคับบัญชาของผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรของวิทยาลัยการปกครอง จำนวน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรปลัดอำเภอ รุ่นท่ี 248 - 250 และหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง รนุ่ ที่ 50 ทำการประเมินผลภายหลังการฝึกอบรมใน 2 มิติ คือ มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ทไ่ี ด้รับจากการฝกึ อบรมไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน ประเมินผลจากข้าราชการท่ีผ่านการฝึกอบรม โดยตรง และมิติท่ี 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏิบัติตน การปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลัง ผา่ นการฝึกอบรม ประเมินผลจากผู้บังคับบัญชาของข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรม มีขอบเขตและวิธีการศึกษา ดงั ต่อไปน้ี 1. การวิจยั เชิงปรมิ าณ 1.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากร คือ ข้าราชการผู้ผ่านการฝึกอบรม และผู้บังคับบัญชาของข้าราชการท่ีผ่านการฝึก อบรมหลกั สูตรการฝึกอบรมของวิทยาลยั การปกครอง 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรปลัดอำเภอ รุน่ ท่ี 248 - 250 ประกอบด้วย ข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรม จำนวน 220 คน และผู้บังคับบัญชา จำนวน 220 คน รวมท้ังสิ้น 440 คน และหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง รุ่นท่ี 50 ประกอบด้วยข้าราชการท่ีผ่านการฝึก อบรม จำนวน 96 คน และผูบ้ งั คับบญั ชา จำนวน 96 คน รวมทงั้ สิน้ 192 คน กลุ่มตัวอย่างท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังนี้ ใช้ประชากรเป็นกลุ่มตัวอย่างและจำนวนประชากรท้ังหมด เป็นขนาดตัวอย่าง โดยจัดส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมและผู้บังคับบัญชา ของขา้ ราชการท่ผี ่านการฝกึ อบรมทุกคน ตามบญั ชรี ายชื่อผู้ทผ่ี ่านการฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตร 1.2 เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการศึกษา เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวบข้อมูล คือ แบบสอบถาม (รายละเอียดปรากฏตามภาคผนวก) โดยในแตล่ ะหลักสตู รประกอบด้วยแบบสอบถาม จำนวน 2 ชดุ คือ 1.2.1 ชุดที่ 1 เป็นแบบสอบถามที่ใช้ประกอบการประเมินผลการฝึกอบรมในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ปฏิบัติงาน โดยประเมินผล จากข้าราชการทผี่ า่ นการฝึกอบรมโดยตรง ประกอบด้วย 3 สว่ น ได้แก่ หน้า | 37

1) ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ อายุราชการ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง ระดับ ของตำแหน่ง และรุ่นที่ผา่ นการฝกึ อบรม 2) ส่วนที่ 2 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจาก การฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงาน เป็นข้อคำถามท่ีวัดระดับคะแนนความเห็นการนำไปใช้ในการปฏิบัติงานแบบ ลเิ คิรท์ สเกล (Likert scale) 5 ระดบั คะแนนความเห็น ดงั นี้ ระดบั ความเห็นการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน คะแนนท่ไี ด้ นำไปใช้มากท่ีสุด 5 นำไปใช้มาก 4 นำไปใชป้ านกลาง 3 นำไปใช้น้อย 2 นำไปใช้นอ้ ยทสี่ ุด 1 หลังจากนนั้ จะนำคะแนนทไ่ี ด้ในแตล่ ะขอ้ คำถามมาคำนวณหาค่าเฉลีย่ เพอื่ ปรับเป็นระดับ ความเห็นในการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงานใน 5 ระดบั ความเห็น ดงั น้ี คะแนนเฉลยี่ ท่ีได้ ระดับความเหน็ การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน 1.00 - 1.80 นำไปใช้นอ้ ยท่สี ุด 1.81 - 2.61 นำไปใช้นอ้ ย 2.62 - 3.42 นำไปใช้ปานกลาง 3.43 - 4.23 นำไปใช้มาก 4.24 - 5.00 นำไปใช้มากที่สดุ 3) ส่วนที่ 3 ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะเกยี่ วกบั การจดั อบรมหลักสูตรของวทิ ยาลัย การปกครอง ซึ่งจัดทำเป็นข้อคำถามปลายเปิด (Open-ended) ประกอบด้วย ด้านหลักสูตร ด้านกระบวนการ ฝึกอบรม ด้านวิทยากร และด้านอน่ื ๆ 1.2.2 ชุดท่ี 2 เป็นแบบสอบถามท่ีใช้ประกอบการประเมินผลการฝึกอบรมในการปรับเปล่ียน พฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงานภายหลังผ่านการฝึกอบรม โดยประเมินผล จากผูบ้ ังคบั บญั ชาของข้าราชการทผ่ี ่านการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 สว่ น ไดแ้ ก่ 1) ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ อายุราชการ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง ระดับ ของตำแหน่ง รุ่นที่ผู้ใต้บังคับบัญชาผ่านการฝึกอบรมและการเป็นผู้บังคับบัญชาของผู้เข้ารับการฝึกอบรมก่อน หรือหลงั การฝึกอบรม หนา้ | 38

2) ส่วนที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม เป็นข้อคำถามที่วัด ระดับคะแนนความเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมแบบลิเคิร์ทสเกล (Likert scale) 5 ระดบั คะแนนความเหน็ ดังนี้ ระดบั ความเหน็ การปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม คะแนนที่ได้ ดขี ึน้ อยา่ งมาก 5 ดขี นึ้ 4 เหมือนเดิม 3 ควรปรับปรุง 2 ควรปรับปรงุ อยา่ งยิ่ง 1 หลังจากน้ันจะนำคะแนนที่ได้ในแตล่ ะข้อคำถามมาคำนวณหาค่าเฉลย่ี เพ่อื ปรบั เปน็ ระดับ ความเหน็ การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมของผทู้ ่ีผา่ นการฝึกอบรมใน 5 ระดบั ความเหน็ ดังน้ี คะแนนเฉล่ียทไี่ ด้ ระดับความเห็นการปรบั เปล่ียนพฤติกรรม 1.00 - 1.80 ควรปรับปรุงอย่างยง่ิ 1.81 - 2.61 ควรปรับปรุง 2.62 - 3.42 เหมือนเดิม 3.43 - 4.23 ดขี ึน้ 4.24 - 5.00 ดขี น้ึ อยา่ งมาก 3) ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการฝึกอบรมของวิทยาลัยการปกครอง ซึ่งจัดทำเป็น ข้อคำถามปลายเปิด (Open-ended) 1.3 การวิเคราะหข์ ้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป โดยใช้สถิติเชิง พรรณนา (Descriptive Statistics) ในการอธิบายลักษณะท่ัวไปของข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน เสอนผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ในลักษณะการบรรยายประกอบตาราง หน้า | 39

2. การวิจยั เชงิ คุณภาพ 2.1 กลุ่มตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศกึ ษาวิจัยคร้ังน้ี เป็นขา้ ราชการที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสตู รของวิทยาลัย การปกครองในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการท่ีผ่านการฝึกอบรม ใช้การสุ่ม ตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) วิธีการสุ่มตามวัตถุประสงค์ (Purposive sampling) ซ่ึงคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างภายในเง่ือนไข คือ ต้องเป็นผู้บังคับบัญชาทั้งก่อนและหลังการฝึกอบรม เพอ่ื ประเมินผลความเปลยี่ นแปลงของผู้ผา่ นการฝึกอบรม โดยกำหนดขนาดตวั อยา่ งดงั นี้ 1) หลักสตู รปลัดอำเภอ จำนวน 3 รนุ่ คอื รุ่นที่ 248 - 250 เก็บข้อมลู จากข้าราชการท่ีผ่านการฝึก อบรมและผู้บงั คบั บญั ชาของข้าราชการที่ผา่ นการฝึกอบรม รวมทง้ั สิน้ 12 คน 2) หลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง จำนวน 1 รุ่น คือ รุ่นที่ 50 เก็บข้อมูลจาก ข้าราชการทผ่ี า่ นการฝึกอบรมและผู้บังคับบญั ชาของข้าราชการท่ผี า่ นการฝึกอบรม รวมทง้ั สิน้ 4 คน รายช่ือผู้ให้สมั ภาษณ์ ข้าราชการผผู้ ่านการฝกึ อบรม 1. นายสริ วิชญ์ ทองศรีนุช ตำแหนง่ ปลดั อำเภอ อำเภอเกาะช้าง จังหวดั ตราด 2. นายทรงวิทย์ อินไชยยา ตำแหน่ง เจา้ พนักงานปกครอง ทีท่ ำการปกครองจังหวดั บึงกาฬ 3. นางสาวธญั ญารัตน์ เหล่าบุตรศรี ตำแหน่ง ปลดั อำเภอ อำเภอหวา้ นใหญ่ จงั หวดั มุกดาหาร 4. นางสาวอมรรตั น์ จิรนนทว์ งศ์ ตำแหน่ง นิตกิ ร กองการเจา้ หน้าที่ กรมการปกครอง 5. นายกติ ติพงศ์ วงคส์ วัสด์ิ ตำแหนง่ ปลดั อำเภอ อำเภอบา้ นลาด จังหวัดเพชรบรุ ี 6. นายจรูญวิทย์ ภกั ภิรมย์ ตำแหน่ง ปลัดอำเภอ อำเภอกนั ตงั จังหวดั ตรงั 7. นางสาวนันทิยา ฟอ้ งเสยี ง ตำแหน่ง ปลัดอำเภอ อำเภอกุดชุม จงั หวดั ยโสธร 8. นายประเสรฐิ ศกั ดิ์ ทองดุลย์ ตำแหน่ง ปลดั อำเภอ อำเภอเมืองอทุ ยั ธานี จงั หวัดอทุ ยั ธานี 1. นายฉัตรชยั ทองหลี ผู้บงั คบั บัญชาของผู้ผา่ นการฝกึ อบรม 2. นายชยั ณรงค์ สุระดะนัย ตำแหน่ง นายอำเภอเกาะช้าง 3. นายสมศักด์ิ บุญจนั ทร์ ตำแหน่ง ป้องกันจงั หวัดบงึ กาฬ 4. นายธนณัฏฐ์ นวไพบลู ย์ ตำแหน่ง นายอำเภอหวา้ นใหญ่ 5. นายไพศาล ช่อผกา ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการส่วนงานวินัย กองการเจ้าหน้าท่ี 6. นายจักรพงษ์ รชั นกี ุล ตำแหน่ง นายอำเภอบ้านลาด 7. นายดสุ ิต สุทธปิ ระภา ตำแหน่ง นายอำเภอกันตัง ตำแหน่ง ปลดั อำเภอ หน.กง.บรหิ ารงานปกครอง 8. นายศภุ โชค วนิ ยั พาณชิ อำเภอกดุ ชมุ จังหวดั ยโสธร ตำแหนง่ ปลดั อำเภอ หน.กง.บรหิ ารงานปกครอง หนา้ | 40 อำเภอเมือง จงั หวัดอุทยั ธานี

2.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศกึ ษา โดยใช้แบบสัมภาษณ์ก่ึงมโี ครงสรา้ งประกอบดว้ ยขอ้ คำถามปลายเปดิ ทง้ั 2 หลักสตู ร ดังนี้ 1.1 แบบสัมภาษณ์ สำหรับข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ และหลักสูตร สืบสวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง จำนวน 5 คำถาม ตามกรอบแนวคดิ ในการศกึ ษาวิจยั ดังน้ี 1) หลงั ผ่านการฝึกอบรม ท่านได้รบั องค์ความรู้อะไรบา้ ง 2) หลังผา่ นการฝึกอบรม ทา่ นไดน้ ำหลกั สมรรถนะไปปฏิบัติงานดขี ึ้นหรอื ไม่ อยา่ งไร 3) หลังผ่านการฝกึ อบรม ทา่ นได้นำแนวคดิ และวิสยั ทศั น์ไปปฏบิ ัตงิ านดขี น้ึ หรือไม่ อยา่ งไร 4) หลังผ่านการฝึกอบรม ทา่ นมีการปรบั เปล่ียนทัศนคตติ ่อตำแหนง่ หน้าท่ีอยา่ งไร 5) ทา่ นมปี ัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเกยี่ วกบั การจดั อบรมหรือไม่ อย่างไร 1.2 แบบสัมภาษณ์เชิงลึก สำหรับผู้บังคับบัญชาของผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ และหลักสตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง จำนวน 4 คำถาม ตามกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัย ดังนี้ 1) ภายหลังการฝึกอบรมผู้ใตบ้ งั คบั บัญชาของท่านมกี ารปรับเปล่ียนพฤติกรรม ในการปฏบิ ตั ติ นหรือไม่ อยา่ งไร 2) ภายหลังการฝึกอบรมผใู้ ต้บงั คบั บัญชาของทา่ นมีการปรับเปลยี่ นพฤติกรรม ในการปฏิบัตงิ านหรอื ไม่ อย่างไร 3) ภายหลังการฝึกอบรมผู้ใต้บงั คับบัญชาของท่านมีการปรับเปลยี่ นพฤติกรรม ทางดา้ นหน่วยงาน (การสรา้ งภาพลักษณท์ ี่ดีใหก้ ับองค์กร) หรอื ไม่ อยา่ งไร 4) ทา่ นมขี ้อเสนอแนะเกีย่ วกับการฝึกอบรมของวิทยาลยั การปกครองหรือไม่ อย่างไร 2.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีระบบ (Systems theory) คือ ทำการประเมินผลผลิต ทไ่ี ดจ้ ากการฝึกอบรม ภายหลงั การฝึกอบรมใน 2 มิติ คือ มติ ิที่ 1 ประเมนิ ผลจากขา้ ราชการทีผ่ ่านการฝึกอบรม โดยตรง และ มิติที่ 2 ประเมินผลจากผู้บังคับบัญชาของข้าราชการท่ีผ่านการฝึกอบรม ท้ังน้ี จะทำการติดตาม และประเมนิ ผล 2 ดา้ น คือ 1) การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ ในการปฏิบตั งิ าน ประเมนิ ผลจากข้าราชการทผ่ี า่ นการฝกึ อบรมโดยตรง 2) การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในการปฏิบัตติ น การปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลังผ่าน การฝึกอบรม ประเมินผลจากผ้บู ังคบั บัญชาของข้าราชการทผ่ี ่านการฝึกอบรม หน้า | 41

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นการติดตาม ประเมินผลการฝึกอบรมของวิทยาลัยการปกครอง 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรปลัดอำเภอ รุ่นที่ 248 - 250 และหลกั สูตรสบื สวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง รนุ่ ที่ 50 ทำการประเมินผลภายหลงั การฝึกอบรมใน 2 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ทัศนคติ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ ในการปฏิบัตงิ าน ประเมนิ ผลจากข้าราชการท่ีผ่านการฝึกอบรมโดยตรง และมติ ทิ ี่ 2 การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม ในการปฏิบัติตน การปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลังผ่านการฝึกอบรม ประเมินผลจากผู้บังคับบัญชา ของข้าราชการทผี่ า่ นการฝึกอบรม สามารถอธิบายผลการศกึ ษาวจิ ัยไดด้ ังตอ่ ไปนี้ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถาม 1. หลกั สูตรปลดั อำเภอ รนุ่ ที่ 248 - 250 ผลการศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หลักสูตร ปลดั อำเภอ รุน่ ที่ 248 - 250 สามารถจำแนกได้ตามมติ ิของการประเมนิ ผล ดังตอ่ ไปนี้ 1.1 มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม หลกั สูตรปลัดอำเภอไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน การประเมินผลในมิติที่ 1 น้ีใช้วิธีการประเมินผลจากข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอ รนุ่ ท่ี 248 - 250 ปรากฏผลดังนี้ 1.1.1 ขอ้ มลู ทั่วไป กลุม่ ตวั อยา่ งที่ตอบแบบสอบถาม จำนวน 134 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 60.9 เป็นเพศชาย มากท่ีสุด จำนวน 86 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64.2 และเป็นเพศหญิง จำนวน 48 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 35.8 มีอายุ 26-35 ปี มากที่สุด จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 66.4 รองลงมามีอายุ 36-45 ปี จำนวน 33 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 24.6 มีอายุต่ำกวา่ 26 ปี จำนวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.5 และมีอายุมากกว่า 46 ปีขึ้นไป จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1.5 ตามลำดับ และผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดมีอายุราชการอยู่ ระหว่าง 1-10 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มากที่สุด จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 77.6 และสำเร็จ การศึกษาระดบั ปริญญาโท จำนวน 30 คน คดิ เป็นร้อยละ 22.4 ปฏิบัติงานในตำแหน่งปลัดอำเภอ มากที่สุด จำนวน 127 คน คิดเป็นร้อยละ 94.8 รองลงมา ปฏิบัติงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานปกครอง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 3.7 และปฏิบัติงานในตำแหน่งนิติกร จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1.5 อยู่ในตำแหน่งระดับปฏิบัติการ มากที่สุด จำนวน 133 คน คิดเป็นร้อยละ 99.3 รองลงมา คือ ระดับชำนาญการ จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.7 หน้า | 42

ผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตรปลัดอำเภอ รนุ่ ท่ี 250 มากท่ีสดุ จำนวน 68 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.7 รองลงมารุ่นที่ 249 จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 25.4 และรุ่นที่ 248 จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 23.9 ตามลำดบั รายละเอยี ดปรากฏตามตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4-1 ข้อมูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีผ่านการฝกึ อบรมหลกั สูตรปลัดอำเภอ รุน่ ที่ 248 - 250 1. เพศ ขอ้ มูลท่ัวไป ความถี่ (คน) ร้อยละ 2. อายุ ชาย 86 64.2 3. อายรุ าชการ หญิง 48 35.8 4. ระดับการศกึ ษา ตำ่ กว่า 26 ปี 10 7.5 5. ตำแหนง่ 26 - 35 ปี 89 66.4 36 - 45 ปี 33 24.6 6. ระดับ 46 ปขี นึ้ ไป 2 1.5 7. รุ่นท่ีเขา้ รบั การฝกึ อบรม 1 - 10 ปี 134 100 ปริญญาตรี 104 77.6 ปริญญาโท 30 22.4 ปลัดอำเภอ 127 94.8 เจ้าพนักงานปกครอง 5 3.7 นติ ิกร 2 1.5 ปฏิบัตกิ าร 133 99.3 ชำนาญการ 1 0.7 รนุ่ ท่ี 248 32 23.9 รนุ่ ที่ 249 34 25.4 ร่นุ ท่ี 250 68 50.7 หนา้ | 43

แผนภมู ทิ ี่ 1 กราฟแสดงขอ้ มลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามท่ีผา่ นการฝึกอบรมหลกั สูตรปลดั อำเภอ รุน่ ที่ 248 - 250 140 134 133 120 127 100 68 104 32 34 86 89 21 80 60 48 33 30 40 5 20 10 2 0 1.1.2 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม หลักสตู รปลัดอำเภอไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอไปใช้ในการปฏิบัติงานในภาพรวม ปรากฏตามตารางที่ 4-2 สามารถอธิบายผลการนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณท์ ่ีไดร้ บั จากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงาน โดยจำแนกแต่ละดา้ นได้ดงั นี้ ตารางท่ี 4-2 ผลการนำความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณท์ ี่ไดร้ บั จากการฝึกอบรม หลักสูตรปลดั อำเภอในภาพรวมไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน ภาพรวมของการนำความรู้ ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน ไปใช้ในการปฏบิ ัติงานแต่ละด้าน มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ 1. ความรคู้ วามเขา้ ใจในการเปน็ ที่สดุ มาก กลาง น้อย ทส่ี ุด แปลผล ปลัดอำเภอของกรมการปกครอง 27.6 61.2 11.2 - - 4.16 0.60 มาก 2. ความรู้ความเขา้ ใจในการเปน็ ตวั แทนของรัฐบาลในพน้ื ที่ 38.8 50.7 10.4 - - 4.28 0.64 มาก 68.8 29.9 1.5 - ที่สุด 3. ความรู้ความเข้าใจในการเป็น ปลัดอำเภอทม่ี คี ุณธรรม - 4.67 0.50 มาก ท่ีสุด หนา้ | 44

ภาพรวมของการนำความรู้ ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน ไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านแตล่ ะดา้ น มาก ปาน น้อย ̅X S.D. การ 4. ความร้คู วามเขา้ ใจในการเสรมิ ทส่ี ุด มาก กลาง นอ้ ย ทส่ี ุด แปลผล สร้างภาวะผนู้ ำ 38.1 57.5 4.5 - - 4.33 0.56 มาก 5. การนำทักษะและความรู้ 50.7 44.8 4.5 - ทส่ี ดุ ในการเรยี นรูเ้ ชงิ ปฏิบตั ิ 51.5 41.8 6.7 - - 4.46 0.58 มาก 6. การนำความรู้จากการศึกษา ที่สดุ ดูงานเก่ยี วกับงานในหนา้ ท่ี - 4.45 0.62 มาก ที่สดุ แผนภมู ิท่ี 2 กราฟแสดงผลการนำความรู้ท่ีไดร้ ับจากการฝกึ อบรมหลักสูตรปลดั อำเภอในแต่ละด้านไปใช้ ปฏิบัตงิ าน การศึกษาดูงาน การเปน็ ปลัดอาเภอของกรมการปกครอง 19% 10% การเป็นตวั แทนรัฐบาลในพนื้ ที่ 14% การเรยี นรู้เชงิ ปฏิบัติ 18% การเปน็ ปลัดอาเภอทมี่ ีคุณธรรม 25% 1) ผลการนำความรู้ความเข้าใจในการเปน็ ปลัดอำเภอของกรมการปกครองไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจ ในการเป็นปลัดอำเภอของกรมการปกครองไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย อยู่ระหว่าง 3.63-4.59 หากพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบัติงาน มากที่สุด ได้แก่ ปรัชญาของการเป็นข้าราชการที่ดีประโยชน์ของแผ่นดินและบทบาทหน้าที่ จิตสำนึกของ การเป็นข้าราชการที่มีคุณธรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.59 รองลงมาได้แก่ ความรู้ ทักษะ หน้า | 45

สมรรถนะที่จำเปน็ ต่อการปฏิบัติราชการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 ความรู้และทักษะเพื่อการดำรงตนอย่างสมดุล ในศตวรรษที่ 21 มีค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 4.34 และการรักษาความสงบเรียบร้อยในหน้าท่ีของฝ่ายปกครอง มีค่าเฉล่ีย เท่ากบั 4.31 รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 4-3 ตารางท่ี 4-3 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอ “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในการเป็นปลัดอำเภอของกรมการปกครองไปใช้ใน การปฏิบัติงาน” ขอบเขตวิชาการเปน็ ปลัดอำเภอ ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน ของกรมการปกครอง มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ 1. ปรชั ญาของการเป็นขา้ ราชการที่ดี ที่สดุ มาก กลาง นอ้ ย ท่สี ุด แปลผล ประโยชนข์ องแผ่นดินและบทบาท หนา้ ท่ี จิตสำนึกของการเป็น 59.0 41.0 - - - 4.59 0.49 มาก ขา้ ราชการทม่ี ีคุณธรรม ทส่ี ดุ 2. ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะที่จำเป็น 54.5 44.0 1.5 - - 4.53 0.53 มาก ตอ่ การปฏิบัติราชการ ที่สดุ 3. ความรู้และทักษะเพื่อการดำรงตน 41.8 50.7 7.5 - - 4.34 0.61 มาก อย่างสมดลุ ในศตวรรษที่ 21 ท่สี ดุ 4. การบูรณาการแผนพัฒนาในพน้ื ท่ี 29.1 56.7 14.2 - - 4.15 0.64 มาก 5. งานการคลงั การงบประมาณ 14.9 47.8 35.1 2.2 - 3.75 0.73 มาก และงานพสั ดุ 38.8 47.8 13.4 - - 4.25 0.67 มาก 6. กฎหมายวิธีปฏบิ ัตริ าชการทาง ที่สดุ ปกครอง ความรบั ผิดทางละเมดิ 40.3 47.0 11.2 1.5 - 4.26 0.71 มาก ของเจา้ หน้าที่ และสิทธใิ นการ ทสี่ ุด เข้าถึงข้อมูลขา่ วสารของราชการ 7. การบรหิ ารงานสารบรรณ 23.1 53.0 23.9 - - 3.99 0.68 มาก 41.0 51.5 6.7 0.7 - 4.33 0.63 มาก 8. การบันทึกรายงานการประชมุ 9. งานดา้ นการปกครองท้องที่ ที่สดุ หน้า | 46

ขอบเขตวิชาการเปน็ ปลัดอำเภอ ระดับการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน ของกรมการปกครอง มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ ท่ีสดุ มาก กลาง นอ้ ย ทีส่ ุด แปลผล 10. งานดา้ นการทะเบียนราษฎร 32.8 46.3 18.7 2.2 - 4.10 0.77 มาก ทะเบียนท่วั ไปทะเบยี นบัตร ประจำตวั ประชาชนและกฎหมาย ว่าด้วยสญั ชาติ 11. การอำนวยความเปน็ ธรรม 40.3 42.5 16.4 0.7 - 4.22 0.74 มาก 12. การรักษาความสงบเรียบรอ้ ย 44.0 43.3 11.9 0.7 - 4.31 0.70 มาก ในหน้าท่ขี องฝ่ายปกครอง ท่ีสดุ 13. การสืบสวนสอบสวนคดอี าญา 27.6 50.0 18.7 3.0 0.7 4.01 0.80 มาก ของพนักงานฝา่ ยปกครอง 14. งานกองอาสารักษาดินแดน (อส.) 39.6 42.5 13.4 4.5 - 4.17 0.82 มาก 15. งานกิจการความม่นั คงภายใน 29.1 46.3 21.6 3.0 - 4.01 0.79 มาก 16. งานดา้ นการขา่ ว 27.6 46.3 23.9 2.2 - 3.99 0.78 มาก 17. การปฏบิ ัติงานดา้ นการสื่อสาร 23.9 42.5 29.9 3.7 - 3.87 0.82 มาก กรมการปกครอง 18. นติ ิวิทยาศาสตร์ทเ่ี กี่ยวข้อง 13.4 47.0 31.3 6.0 2.2 3.63 0.87 มาก กับฝ่ายปกครอง 19. การขบั เคลื่อนการดำเนินงาน 32.1 51.5 16.4 - - 4.16 0.68 มาก ของคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) 20. ยุทธวธิ กี ารตรวจค้น 25.1 34.3 23.1 5.2 2.2 3.95 0.99 มาก 2) ผลการนำความรคู้ วามเข้าใจในการเปน็ ตัวแทนของรัฐบาลในพื้นที่ไปใช้ในการปฏิบตั งิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจ ในการเปน็ ตัวแทนของรัฐบาลในพื้นที่ไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน” อย่ใู นระดับมากถงึ มากท่ีสุด มคี ่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.60-4.64 หากพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า ความรู้ที่ผู้ผา่ นการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบตั ิงานมากที่สุด ได้แก่ สถาบันพระมหากษัตริย์กับประเทศไทย มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.64 รองลงมา ได้แก่ การขับ เคลื่อนนโยบายการปกป้องเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 และการพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ี ประยุกตต์ ามแนวพระราชดำริ มคี า่ เฉล่ียเทา่ กบั 4.48 รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 4-4 หน้า | 47

ตารางท่ี 4-4 การนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ไี ด้รบั จากการฝึกอบรม หลักสูตรปลัดอำเภอ “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในการเป็นตัวแทนของรัฐบาล ในพ้ืนท่ีไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน” ขอบเขตวชิ า ระดับการนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน การเป็นตัวแทนของรัฐบาลในพน้ื ที่ มาก ปาน น้อย ̅X S.D. การ ท่สี ดุ มาก กลาง นอ้ ย ทสี่ ุด แปลผล 1. สถาบนั พระมหากษตั ริยก์ บั 67.2 29.9 3.0 - - 4.64 0.54 มาก ประเทศไทย ทส่ี ุด 2. การพฒั นาชนบทเชงิ พ้ืนที่ประยกุ ต์ 53.7 40.3 6.0 - - 4.48 0.61 มาก ตามแนวพระราชดำริ ทีส่ ุด 3. การขบั เคล่ือนนโยบายการปกปอ้ ง 60.4 35.1 4.5 - - 4.56 0.58 มาก เทิดทนู สถาบนั หลกั ของชาติ ที่สดุ 4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา 45.5 41.8 12.7 - - 4.33 0.69 มาก ยาเสพตดิ ทสี่ ุด 5. ความสมั พนั ธก์ บั ประเทศ 20.9 37.3 27.6 9.0 5.2 3.60 1.07 มาก เพื่อนบ้าน 6. การกำกับดูแลองค์กรปกครอง 38.1 40.3 18.7 3.0 - 4.13 0.82 มาก สว่ นทอ้ งถนิ่ 7. การบรหิ ารจัดการภัยพิบตั ิ 40.3 39.6 17.9 2.2 - 4.18 0.80 มาก ในพน้ื ที่ 8. การขบั เคลื่อนงานสภากาชาดไทย 26.1 42.5 26.9 4.5 - 3.90 0.84 มาก 9. ศูนยร์ าชการสะดวก 30.6 49.3 17.2 3.0 - 4.07 0.77 มาก 10. การจัดงานพระราชพิธี รัฐพิธี 53.7 30.6 14.2 1.5 - 4.37 0.78 มาก และงานพธิ ตี า่ งๆ ท่สี ดุ 3) ผลการนำความรู้ความเข้าใจในการเปน็ ปลดั อำเภอทีม่ ีคุณธรรมไปใช้ในการปฏิบัตงิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจใน การเป็นปลัดอำเภอที่มีคุณธรรมไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน” อยใู่ นระดบั มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยรู่ ะหว่าง 4.63-4.64 ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบัติงานมากที่สุด ได้แก่ คุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการ มีค่า เฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.64 รองลงมาได้แก่ การบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล มีค่าเฉล่ีย เทา่ กบั 4.63 รายละเอียดดงั ตารางท่ี 4-5 หน้า | 48

ตารางท่ี 4-5 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝึกอบรม หลกั สตู รปลดั อำเภอ “ด้านการนำความรู้ความเขา้ ใจในการเป็นปลดั อำเภอที่มีคุณธรรมไปใช้ ในการปฏิบัติงาน ขอบเขตวชิ า ระดบั การนำไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน การเปน็ ปลัดอำเภอที่มีคณุ ธรรม มาก ปาน น้อย X̅ S.D. การ 1. คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของ ทีส่ ุด มาก กลาง นอ้ ย ที่สุด แปลผล ข้าราชการ 67.9 28.4 3.7 - - 4.64 0.55 มาก 2. การบรหิ ารราชการตามหลัก 64.9 32.8 2.2 - ท่ีสดุ ธรรมาภบิ าล - 4.63 0.53 มาก ที่สุด 4) ผลการนำความรคู้ วามเข้าใจในการเสริมสรา้ งภาวะผนู้ ำไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจใน การเสริมสร้างภาวะผู้นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.88-4.57 หากพิจารณาเป็นรายวิชาพบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบัติงานมากที่สุด ได้แก่ บุคลิกภาพ และการสมาคม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.57 รองลงมาได้แก่ หลักการและศิลปะการพูด ในที่ชุมชน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 และการวิเคราะห์ตนเอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 รายละเอียดดังตาราง ท่ี 4-6 ตารางที่ 4-6 การนำความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ไดร้ บั จากการฝึกอบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอ “ด้านการนำความรู้ความเขา้ ใจในการเสริมสร้างภาวะผนู้ ำไปใช้ในการปฏิบตั งิ าน” ขอบเขตวชิ า ระดับการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน การเสริมสรา้ งภาวะผู้นำ มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ 1. บุคลิกภาพและการสมาคม ทีส่ ดุ มาก กลาง นอ้ ย ที่สุด แปลผล 2. การวิเคราะหต์ นเอง 59.7 38.1 2.2 - - 4.57 0.54 มาก ที่สดุ 3. หลักการและศลิ ปะการพูด ในที่ชมุ ชน 50.7 44.8 4.5 - - 4.46 0.58 มาก ท่สี ุด 56.0 38.8 4.5 0.7 - 4.50 0.62 มาก ทีส่ ดุ หนา้ | 49

ขอบเขตวชิ า ระดบั การนำไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน การเสริมสร้างภาวะผู้นำ มาก ปาน น้อย X̅ S.D. การ 4. การบริหารเชิงกลยทุ ธ์ ทส่ี ดุ มาก กลาง นอ้ ย ที่สุด แปลผล 5. คอมพิวเตอรส์ ารสนเทศ 39.6 51.5 7.5 1.5 - 4.29 0.67 มาก ทีส่ ดุ 6. ภาษาอังกฤษสำหรับข้าราชการ กรมการปกครอง 41.0 44.0 14.9 - - 4.26 0.70 มาก ท่ีสุด 7. การฝึกยงิ ปนื พกระบบการต่อสู้ ป้องกนั ตวั แบบ P.P.C 21.6 49.3 24.6 4.5 - 3.88 0.79 มาก 8. การฝึกยิงปืนพกทดสอบของ 36.6 43.3 18.7 1.5 - 4.15 0.77 มาก วิทยาลัยการปกครอง 33.6 46.3 17.2 3.0 - 4.10 0.78 มาก 9. กิจกรรมเสรมิ สร้างคุณลกั ษณะ เฉพาะ“วิถีธัญบรุ ี” 46.3 42.5 11.2 - - 4.35 0.67 มาก ทสี่ ุด 5) ผลการนำทักษะและความรใู้ นการเรียนร้เู ชงิ ปฏบิ ตั ไิ ปใช้ในการปฏิบัตงิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ “ด้านการนำทักษะและความรู้ ในการเรยี นรเู้ ชิงปฏิบตั ิไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน” อยูใ่ นระดับมากที่สุด มคี า่ เฉลย่ี 4.46 รายละเอียดดงั ตารางที่ 4-7 ตารางที่ 4-7 การนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝกึ อบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอ“ดา้ นการนำทกั ษะและความรใู้ นการเรียนรูเ้ ชิงปฏิบัตไิ ปใช้ในการปฏบิ ัติงาน” ขอบเขตวิชา ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน การเรียนรูเ้ ชงิ ปฏิบัติ มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ การเรียนรเู้ ชิงปฏิบัติ (Action ท่สี ุด มาก กลาง นอ้ ย ทส่ี ดุ แปลผล Learning) 50.7 44.8 4.5 - - 4.46 0.58 มาก ที่สุด หนา้ | 50

6) การนำความรู้จากการศึกษาดูงานเก่ยี วกบั งานในหน้าที่ไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ “ด้านการนำความรู้จากการศึกษา ดูงานเกี่ยวกับงานในหน้าที่ไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.45 รายละเอียดดังตาราง ที่ 4-8 ตารางที่ 4-8 การนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ไดร้ บั จากการฝึกอบรมหลักสูตร ปลดั อำเภอ“ด้านการนำความรู้จากการศึกษาดงู านเกยี่ วกับงานในหน้าที่ไปใช้ในการปฏิบัติงาน” ขอบเขตวิชา ระดับการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน การศกึ ษาดงู าน มาก ปาน นอ้ ย X̅ S.D. การ ทสี่ ุด มาก กลาง นอ้ ย ที่สุด แปลผล ความรูจ้ ากการศึกษาดงู านเก่ียวกบั งาน 51.5 41.8 6.7 - - 4.45 0.62 มาก ในหน้าที่ ท่ีสดุ 1.2 มิติที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลังทผ่ี ่านการฝึกอบรมหลกั สตู รปลัดอำเภอ การประเมินผลในมิติท่ี 2 น้ี ใชว้ ิธกี ารประเมนิ ผลจากผบู้ ังคับบญั ชาของข้าราชการผูท้ ี่ผ่านการฝึก อบรมหลกั สตู รปลัดอำเภอ รนุ่ ท่ี 248 - 250 ปรากฏผลดงั นี้ 1.2.1 ข้อมลู ท่ัวไป กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จำนวน 134 คน เป็นเพศชาย มากที่สุด จำนวน 115 คน คดิ เป็นร้อยละ 88.5 และเปน็ เพศหญงิ จำนวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 14.2 มีอายุ 51-60 ปี มากที่สุด จำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 62.7 รองลงมา คือ อายุ 41-50 ปี จำนวน 41 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 30.6 และอายุ 30-40 ปี จำนวน 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.7 ตามลำดับ มอี ายรุ าชการ 21-30 ปี มากทส่ี ดุ จำนวน 74 คน คดิ เป็นร้อยละ 55.2 รองลงมามีอายุราชการ 10-20 ปี จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 25.4 และมีอายุราชการ 31-40 ปี จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 19.4 ตามลำดับ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท มากที่สุด จำนวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 79.1 รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 20.1 และระดับปริญญาเอก จำนวน 1 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.7 ตามลำดบั หน้า | 51

ปฏิบัติงานในตำแหน่งปลัดอำเภอหัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่ายบริหารงานปกครอง มากที่สุด จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 53.7 รองลงมาปฏิบัติงานในตำแหน่งนายอำเภอ จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 41.0 รองลงมาตำแหน่งปลัดจังหวัด จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.0 ตำแหน่งจ่าจังหวัด จำนวน 2 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 1.5 และตำแหน่งปอ้ งกนั จังหวัด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.7 ตามลำดับ ดำรงตำแหน่งระดับชำนาญการพิเศษ มากที่สุด จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 56.0 รองลงมา ตำแหน่งระดับอำนวยการสูง จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 29.1 และตำแหน่งระดับอำนวยการต้น จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.9 ตามลำดบั เป็นผู้บังคับบัญชาของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ รุ่นที่ 250 มากที่สุด จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 50.7 รองลงมารุ่นที่ 249 จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 25.4 และรุ่นที่ 248 จำนวน 32 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.9 ตามลำดบั เป็นผู้บังคับบัญชาก่อนผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึกอบรม มากที่สุด จำนวน 91 คน คิดเป็น ร้อยละ 67.9 และเป็นผู้บังคับบัญชาหลังผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 43 คน คิดเป็น ร้อยละ 32.1 รายละเอียดดงั ตารางที่ 4-9 ตารางที่ 4-9 ข้อมลู ทวั่ ไปของผ้บู ังคับบัญชาผผู้ ่านการฝึกอบรมหลักสูตรปลดั อำเภอ รุ่นที่ 248 - 250 1. เพศ ขอ้ มูลทั่วไป ความถ่ี (คน) ร้อยละ 2. อายุ 3. อายรุ าชการ ชาย 115 85.8 4. การศกึ ษา หญิง 19 14.2 5. ตำแหนง่ 30 - 40 ปี 9 6.7 41 - 50 ปี 41 30.6 51 - 60 ปี 84 62.7 10 - 20 ปี 34 25.4 21 - 30 ปี 74 55.2 31 - 40 ปี 26 19.4 ปริญญาตรี 27 20.1 ปรญิ ญาโท 106 79.1 ปริญญาเอก 1 0.7 ปลัดจงั หวัด 4 3.0 นายอำเภอ 55 41.0 จ่าจังหวัด 2 1.5 ปอ้ งกนั จังหวัด 1 0.7 ปลดั อำเภอหัวหนา้ กลมุ่ งาน/ฝ่ายบรหิ ารงานปกครอง 72 53.7 หนา้ | 52

ข้อมูลท่ัวไป ความถ่ี (คน) ร้อยละ 6. ระดบั ตำแหนง่ อำนวยการสงู 39 29.1 อำนวยการต้น 20 14.9 ชำนาญการพเิ ศษ 75 56.0 รนุ่ ที่ 248 32 23.9 รนุ่ ท่ี 249 34 25.4 รนุ่ ท่ี 250 68 50.7 เป็นผ้บู งั คับบัญชาก่อนการฝึกอบรม 91 67.9 เปน็ ผู้บงั คบั บญั ชาหลงั การฝึกอบรม 43 32.1 แผนภมู ิท่ี 3 กราฟแสดงขอ้ มลู ทว่ั ไปของผู้บงั คับบญั ชาผ้ผู า่ นการฝึกอบรมหลกั สูตรปลัดอำเภอ รุ่นที่ 248 - 250 1.2.2 ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลงั ทผ่ี ่านการฝึกอบรมหลกั สูตรปลดั อำเภอ ผลการศึกษาการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของข้าราชการผู้ท่ผี ่านการฝกึ อบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ ภาพรวมในแต่ละด้าน ปรากฏตามตารางที่ 4-10 สามารถอธิบายผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในแต่ละด้าน ได้ดงั น้ี หนา้ | 53

ตารางที่ 4-10 การปรับเปล่ียนพฤติกรรมในภาพรวมของผูท้ ี่ผา่ นการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ รุน่ ที่ 248 - 250 ระดับความเหน็ ของการปรับเปลย่ี นพฤติกรรม ภาพรวมของการปรบั เปลยี่ น ควร พฤติกรรมแต่ละดา้ น ดีขนึ้ เหมอื น ควร ปรบั ปรงุ X̅ S.D. การ 1. ด้านการปฏบิ ัติตน 2. ด้านการปฏิบตั งิ าน อย่างมาก ดีข้ึน เดมิ ปรับปรงุ อย่างยง่ิ แปลผล 3. ด้านหนว่ ยงาน 64.2 35.8 - - - 4.64 0.48 ดขี ้ึน 47.0 53.0 - - อยา่ งมาก 61.9 36.6 1.5 - - 4.47 0.50 ดขี น้ึ อยา่ งมาก - 4.60 0.52 ดีขนึ้ อย่างมาก แผนภูมทิ ี่ 4 กราฟแสดงผลการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมแตล่ ะด้านของผู้ผ่านการฝึกอบรมหลกั สูตรปลัดอำเภอ รนุ่ ท่ี 248 - 250 ด้านหน่วยงาน 36% ด้านการปฏบิ ตั ิตน 37% ดา้ นการปฏิบตั ิงาน 27% 1) ด้านการปฏิบัตติ น กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้าน การปฏิบัติตน อยู่ในระดับดีขึ้นอย่างมากทุกรายการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.53-4.68 หากพิจารณาแต่ละ ประเด็นย่อย พบว่า การมีคุณธรรมและจริยธรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.68 รองลงมาได้แก่ หนา้ | 54

การมีมนุษยสัมพันธ์และการสมาคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.66 และความมีระเบียบวินัย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.62 รายละเอียดดงั ตาราง ท่ี 4-11 ตารางท่ี 4-11 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน สามารถจำแนกรายละเอียดแต่ละประเด็นย่อย ได้ดังน้ี ระดบั ความเหน็ ของการปรับเปล่ียนพฤติกรรม ประเด็นย่อยดา้ นการปฏิบตั ิตน ควร ดขี ้นึ เหมอื น ควร ปรับปรงุ ̅X S.D. การ อยา่ งมาก ดขี ึน้ เดมิ ปรบั ปรุง อยา่ งยง่ิ แปลผล 1. ความเหมาะสมในการแต่งกาย 58.2 41.8 - - - 4.58 0.46 ดีขึ้น อย่างมาก 2. ความเหมาะสมในการวางตวั 61.2 38.8 - - - 4.61 0.48 ดีขนึ้ 3. ความมรี ะเบยี บวินยั 61.9 38.1 - - อยา่ งมาก 4. สุขภาวะด้านอารมณ์ 58.2 38.1 3.0 0.7 - 4.62 0.48 ดีขน้ึ อยา่ งมาก 5. การมีมนษุ ยสมั พันธ์ 65.7 34.3 - - และการสมาคม 67.9 32.1 - - - 4.53 0.63 ดีขนึ้ อยา่ งมาก 6. การมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม - 4.66 0.47 ดขี น้ึ อยา่ งมาก - 4.68 0.46 ดีขึ้น อยา่ งมาก 2) ดา้ นการปฏิบตั งิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเหน็ ต่อการปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมในด้าน การปฏิบัติงาน อยู่ในระดับดีขึ้นอย่างมากทุกรายการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.33-4.65 หากพิจารณาแต่ละ ประเด็นย่อย พบว่า การมีจิตสำนึกในการให้บริการที่ดี มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.65 รองลงมา ไดแ้ ก่ การสร้างความร่วมแรงร่วมใจและทีมงาน มคี า่ เฉล่ยี เท่ากับ 4.61 และการใช้เครอื่ งมือ คอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยีทที่ ันสมัย มีคา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 4.56 รายละเอียดดงั ตารางท่ี 4-12 หนา้ | 55

ตารางท่ี 4-12 การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมดา้ นการปฏบิ ัตงิ าน สามารถจำแนกรายละเอียดแต่ละประเดน็ ยอ่ ย ได้ดังน้ี ระดบั ความเหน็ ของการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม ประเดน็ ยอ่ ยด้านการปฏบิ ตั ิงาน ควร ดขี ้นึ เหมอื น ควร ปรับปรงุ X̅ S.D. การ อยา่ งมาก ดขี ้ึน เดิม ปรับปรงุ อย่างยิง่ แปลผล 1. การปฏบิ ัตงิ านมคี วามถูกต้อง 47.0 52.2 0.7 - - 4.45 0.58 ดขี น้ึ อย่างมาก 2. การปฏิบตั ิงานมคี วามเทย่ี งตรง 51.5 48.5 - - ตามกำหนดเวลา 44.8 54.5 0.7 - - 4.51 0.50 ดขี น้ึ อย่างมาก 3. การแกไ้ ขปญั หา - 4.44 0.51 ดีขน้ึ 4. การวางแผน 38.8 59.0 2.2 - อย่างมาก 5. การตดั สินใจ 44.8 54.5 0.7 - - 4.37 0.52 ดีขึ้น อยา่ งมาก 6. การประสานงาน 56.0 43.3 0.7 - - 4.44 0.51 ดีขน้ึ 7. การสื่อสารและสรา้ งแรงจูงใจ 45.5 54.5 - - อยา่ งมาก 8. การแสดงความคดิ เหน็ 54.5 48.5 - - - 4.55 0.51 ดขี ึ้น ในทีช่ มุ ชน 58.2 39.6 2.2 - อยา่ งมาก 53.0 45.5 1.5 - 9. การใชเ้ ครอ่ื งมือ คอมพวิ เตอร์ - 4.46 0.50 ดขี น้ึ และเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั อย่างมาก 10. การมีความคิดริเริ่ม - 4.51 0.50 ดขี ้นึ อยา่ งมาก 11. การคดิ เชงิ บรู ณาการ 50.7 46.3 3.0 - - 4.56 0.54 ดีขน้ึ 12. การคดิ เชิงวิเคราะห์ 48.5 47.8 3.7 - อย่างมาก 13. การคิดสร้างสรรค์นวตั กรรม 41.8 52.2 6.0 - - 4.51 0.53 ดีขน้ึ หรอื วิธีการทำงานใหม่ ๆ อยา่ งมาก - 4.48 0.55 ดขี น้ึ อย่างมาก - 4.45 0.56 ดีขึน้ อยา่ งมาก - 4.36 0.59 ดีขน้ึ อย่างมาก หนา้ | 56

ระดับความเหน็ ของการปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม ประเด็นย่อยด้านการปฏิบตั ิงาน ควร ดขี น้ึ เหมอื น ควร ปรบั ปรงุ ̅X S.D. การ อยา่ งมาก ดขี ้นึ เดมิ ปรบั ปรงุ อย่างยิง่ แปลผล 14. การทำงานเชิงรุก 50.0 49.3 0.7 - - 4.49 0.51 ดีขึน้ อยา่ งมาก 15. การมภี าวะความเปน็ ผู้นำ 49.3 47.0 3.7 - - 4.46 0.57 ดีขึ้น 16. การมจี ติ สำนึกในการให้ 64.9 35.1 - - อยา่ งมาก บรกิ ารท่ีดี 36.6 59.7 3.7 - 52.2 46.3 1.5 - - 4.65 0.47 ดีขึ้น 17. การมคี วามเช่ียวชาญในงาน อยา่ งมาก อาชพี - 4.33 0.54 ดขี ึ้น 18. การทำงานแบบมุง่ ผลสมั ฤทธิ์ อยา่ งมาก 19. การสร้างความร่วมแรงรว่ มใจ 63.4 34.3 2.2 - - 4.51 0.53 ดขี ้นึ และทีมงาน 41.8 52.2 6.0 - อย่างมาก 46.3 50.7 3.0 - 20. การทำงานเชงิ ยุทธศาสตร์ - 4.61 0.53 ดขี น้ึ และมวี สิ ยั ทัศน์ อย่างมาก 21. การตรวจสอบความถกู ต้อง - 4.36 0.59 ดีขนึ้ ของกระบวนการทำงาน อยา่ งมาก - 4.43 0.55 ดีขึ้น อย่างมาก 3) ดา้ นหนว่ ยงาน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้าน หน่วยงาน อยู่ในระดับดขี ึ้นอยา่ งมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.45-4.57 หากพิจารณาแตล่ ะประเด็นย่อย พบวา่ การเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานให้ดีขึ้น มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.57 รองลงมาได้แก่ การเสริมสร้างหรือปรับปรุงภารกิจของหน่วยงานที่ยังบกพร่องอยู่ให้ดีขึ้น มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45 รายละเอียด ดงั ตารางท่ี 4-13 หน้า | 57

ตารางท่ี 4-13 การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมด้านหนว่ ยงาน สามารถจำแนกรายละเอียดแตล่ ะประเด็นย่อย ได้ดังน้ี ระดับความเห็นของการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ประเดน็ ย่อยด้านหน่วยงาน ควร 1. การเสริมสรา้ งหรือปรับปรุง ดีขนึ้ เหมือน ควร ปรบั ปรุง ̅X S.D. การ ภารกิจของหน่วยงาน ทีย่ งั บกพร่องอยู่ให้ดขี ึน้ อยา่ งมาก ดีข้นึ เดมิ ปรบั ปรุง อย่างยิ่ง แปลผล 2. การเสรมิ สรา้ งภาพลกั ษณ์ 49.3 46.3 4.5 - - 4.45 0.58 ดีขน้ึ ของหน่วยงานให้ดีขึ้น อย่างมาก 58.2 40.3 1.5 - - 4.57 0.52 ดีขนึ้ อยา่ งมาก 1.3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะการฝึกอบรมหลกั สูตรปลัดอำเภอ รนุ่ ท่ี 248 - 250 สำหรับปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ รุ่นที่ 248 - 250 ผลการศึกษามีสาระสำคญั สามารถสรุปเป็นดา้ นตา่ งๆ ได้ดังน้ี 1. ด้านหลกั สูตร 1.1 ควรจดั ทำเน้ือหาหลักสูตรให้มีความกระชบั ตรงประเดน็ เนอื่ งจากหลักสูตรปลัดอำเภอ มีเนอื้ หามากแตม่ รี ะยะเวลาในการฝกึ อบรมนอ้ ย 1.2 ควรเพิ่มระยะเวลาการฝึกอบรมให้เหมาะสมกับอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ ปลัดอำเภอ 1.3 ควรจัดหัวขอ้ วชิ าใหท้ ันสมัย สอดคล้องกบั สถานการณใ์ นปัจจุบัน สามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในการทำงานของปลัดอำเภอได้ 1.4 ควรเพิ่มเวลาการบรรยายในหัวข้อวิชาที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของ ปลัดอำเภอ เช่น งานทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชน การสอบสวนคดีอาญาในหน้าที่ของพนักงานฝ่าย ปกครอง การอำนวยความเป็นธรรม ระเบียบงานสารบรรณ งานปกครอง นิติวิทยาศาสตร์ กฎหมายในความ รับผดิ ชอบของกรมการปกครอง การจัดทำแผน การใชอ้ าวุธและการต่อสู้ เปน็ ตน้ 1.5 ควรเพ่มิ หัวขอ้ วิชาท่สี ามารถนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงานในพื้นท่ี 1.6 ควรจัดเวลาการบรรยายแต่ละหัวข้อวิชาให้เหมาะสมกับเนื้อหาวิชา เนื่องจากบางหัวข้อ วิชามีเนอื้ หาจำนวนมากแต่มเี วลาการบรรยายน้อย และควรตดั หวั ขอ้ วิชาทไ่ี มจ่ ำเป็นออก 1.7 ควรเนน้ ประเดน็ ปญั หา อุปสรรคในการปฏิบตั ิงานจรงิ และแนะนำแนวทางแก้ไขหรือวิธี การจดั การกับปญั หาเพือ่ นำไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ านได้จรงิ หนา้ | 58

1.8 ควรลดการบรรยายและเพ่มิ การฝกึ ปฏบิ ัตใิ หม้ ากขึ้น โดยใหม้ ีการฝึกปฏิบัตใิ นพืน้ ท่ีจริง 1.9 ระยะเวลาการฝึกอบรมในแต่ละวนั มากเกินไป ควรหยดุ การฝึกอบรมในวันเสาร์-อาทิตย์ เพ่ือให้ผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมไดผ้ อ่ นคลายจากการฝึกอบรม หรอื จดั เป็นกจิ กรรมภาคปฏบิ ัติ เชน่ ยิงปืน 1.10 บางหวั ข้อวชิ ามีการบรรยายนอกเหนอื จากเน้ือหาในวิชา 1.11 ควรปรบั ปรุงหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน เน้นบทบาทหน้าที่ รูปแบบใหม่ของข้าราชการฝ่ายปกครองที่ต้องขับเคลื่อนให้ทันต่อเหตุการณ์และตรงตามความต้องการของ ประชาชนโดยเฉพาะการเปน็ ผูป้ ระสานงานกับทุกภาคสว่ นในพนื้ ท่ี 1.12 ควรเพิ่มเนอื้ หาวชิ ากฎหมายให้ครอบคลมุ การปฏบิ ตั ิงานในอำนาจหน้าท่ีของปลัดอำเภอ 1.13 ควรมวี ชิ าทีเ่ กี่ยวกับคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และสร้างทัศนคตใิ หเ้ ป็นข้าราชการมืออาชพี 1.14 ควรเพ่มิ การฝกึ อบรมเก่ียวกับงานพระราชพธิ ีให้มากข้ึน โดยเฉพาะรปู แบบของกิจกรรม จติ อาสาพระราชทาน 2. ดา้ นกระบวนการฝกึ อบรม 2.1 สถานที่ฝึกอบรมทรุดโทรม ลานฝึกปฏิบัติมีความคับแคบ ไม่เหมาะสมกับจำนวนผู้เข้า รบั การฝึกอบรมซึง่ มีจำนวนมาก ทำให้มปี ัญหาเวลาทำกจิ กรรม 2.2 โตะ๊ และเก้าอ้ีไมเ่ หมาะสมกับการจดบันทึก ทำกิจกรรมหรือนง่ั ฟงั บรรยายเปน็ เวลานาน 2.3 ควรปรับปรุงอาคารสถานที่พัก ระบบน้ำประปา เครื่องปรับอากาศให้มีความสะอาดอยู่ ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน และจัดทพ่ี กั ให้เพียงพอกบั ผ้เู ขา้ รบั การอบรมโดยไม่แออัดจนเกินไป 2.4 สถานท่ีจอดรถมไี มเ่ พยี งพอ โดยเฉพาะชว่ งเวลาฝนตกและมีนำ้ ขงั 2.5 ควรปรบั ปรงุ อาหาร รวมถงึ รสชาติ ความหลากหลาย และความสะอาดถูกหลักอนามัย 2.6 ควรจดั ให้มสี ัญญาณอนิ เตอร์เน็ตแบบไร้สายครอบคลมุ ทุกพื้นท่ี 2.7 เจ้าหนา้ ที่ฝกึ อบรมมจี ำนวนน้อยเมอ่ื เทยี บกับผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม 3. ดา้ นวทิ ยากร 3.1 วิทยากรบางท่านบรรยายไม่ครอบคลุมเนือ้ หาวชิ า 3.2 ควรจัดหาวิทยากรที่รับราชการอยู่ในปัจจุบันและมีแนวความคิดที่ทันสมัยมาบรรยาย จะทำให้สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆ ในการปฏิบัติราชการได้สอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน ซึ่งวทิ ยากรท่รี บั ราชการมาแล้วเปน็ เวลาหลายปีจะมีประสบการณ์การปฏบิ ัตริ าชการที่ไมส่ อดคล้องกนั ทำให้ไม่ สามารถนำแนวคิดมาใช้ในการปฏบิ ตั ริ าชการได้ 3.3 ควรเพิ่มวิทยากรดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอรท์ ีเ่ ก่ียวข้อง กับงานในอำนาจหน้าที่ของปลดั อำเภอ 3.4 วิทยากรบางท่านเนน้ บรรยายมากเกนิ ไป ควรจดั ใหม้ ีการทำกิจกรรมกลุ่มและมีกิจกรรม ทีห่ ลากหลายในแตล่ ะหัวข้อวิชา 3.5 ควรใหว้ ิทยากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเน้ือหาวิชามาบรรยาย ไมค่ วรให้ผู้แทนหรือบุคคล ทไี่ ม่ไดป้ ฏบิ ตั ิงานนน้ั ๆ มาบรรยายแทน หน้า | 59

4. ดา้ นอ่ืนๆ 4.1 ควรใหป้ ลัดอำเภอแต่ละคนไดป้ ฏบิ ัติงานในหนา้ ท่ีระยะเวลาหนงึ่ ก่อนเข้ารับการฝึกอบรม จะทำให้ทราบปญั หาในการปฏบิ ัติงานและนำมาสอบถามวิทยากรได้ 4.2 ควรเปล่ียนสถานที่ศึกษาดูงาน ควรศึกษาดงู านสถานท่ีทีเ่ ปน็ ต้นแบบ นวัตกรรมทันสมัย เปน็ การปฏบิ ัตงิ านจรงิ สามารถนำมาปรบั ใช้และเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิงานไดจ้ ริง 4.3 ควรเพม่ิ ระยะเวลาศกึ ษาดูงานบางสถานท่ีที่มีความสำคญั กับการนำไปใชป้ ฏิบตั ิงาน 4.4 ให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรมเสนอและคัดเลือกสถานที่ศึกษาดงู าน เนอ่ื งจากท่ีผ่านมาสถานที่พัก ในการศึกษาดงู านไมส่ ะอาด อากาศถ่ายเทไมส่ ะดวก 4.5 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สง่ ผลกระทบต่อ การฝึกอบรม ทำให้ระยะเวลาในการฝึกอบรมน้อยลงและไม่ได้ทำกิจกรรมบางประเภท เช่น กระโดดร่ม เนื่องจาก ต้องกักตวั อย่แู ตใ่ นสถานทฝี่ กึ อบรม 4.6 การฝกึ อบรมสามารถปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมได้เล็กน้อย ควรมีการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง จะทำให้ข้าราชการเกิดการพัฒนาตนเองและสง่ ผลการตอ่ พฒั นางานในหน้าท่ีมากขึน้ 2. หลกั สตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง รนุ่ ท่ี 50 ผลการศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หลักสูตร สืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง รนุ่ ท่ี 50 จำแนกตามมติ ิของการประเมินผลได้ดังต่อไปน้ี 2.1 มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม หลกั สูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครองไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน การประเมินผลในมิติที่ 1 น้ี ใช้วิธีการประเมินผลจากข้าราชการผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร สบื สวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง รุ่นท่ี 50 ปรากฏผลดังนี้ 2.1.1 ข้อมูลท่ัวไป กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 60.41 เป็นเพศชายมากที่สุด จำนวน 41 คน คิดเปน็ ร้อยละ 70.7 เป็นเพศหญงิ จำนวน 17 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.3 มีอายุ 36-45 ปี มากที่สุด จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 63.8 รองลงมา คือ อายุ 26-35 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 27.6 และมีอายุ 46 ปีขึน้ ไป จำนวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8.6 โดยมีอายุราชการ 1-10 ปี มากทส่ี ดุ จำนวน 45 คน คิดเปน็ ร้อยละ 77.6 รองลงมามีอายรุ าชการ 11-20 ปี จำนวน 10 คน คิดเป็น ร้อยละ 17.2 และมอี ายุราชการ 21-30 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท มากที่สุด จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 58.6 และระดับ ปรญิ ญาตรี จำนวน 24 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 41.4 ตามลำดบั หนา้ | 60

ปฏิบัติงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานปกครอง มากที่สุด จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 89.7 รองลงมา คอื ตำแหนง่ ปลัดอำเภอ จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.9 และตำแหนง่ นติ ิกร จำนวน 2 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 3.4 ตามลำดับ ปฏิบัติงานอยู่ในระดับปฏิบัติการ มากที่สุด จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 58.6 รองลงมา คือ ระดบั ชำนาญการ จำนวน 24 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 41.4 รายละเอยี ดตามตารางท่ี 4-14 ดังนี้ ตารางที่ 4-14 ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรสบื สวนสอบสวน พนักงานฝา่ ยปกครอง รนุ่ ที่ 50 1. เพศ ข้อมูลท่ัวไป ความถี่ (คน) รอ้ ยละ 2. อายุ ชาย 41 70.7 3. อายุราชการ หญงิ 17 29.3 26 - 35 ปี 16 27.6 4. การศึกษา 36 - 45 ปี 37 63.8 5. ตำแหน่ง 46 ปขี ึ้นไป 5 8.6 1 - 10 ปี 45 77.6 6. ระดับตำแหนง่ 11 - 20 ปี 10 17.2 21 - 30 ปี 3 5.2 ปริญญาตรี 24 41.4 ปริญญาโท 34 58.6 ปลัดอำเภอ 4 6.9 เจ้าพนกั งานปกครอง 52 89.7 นิติกร 2 3.4 ปฏิบัตกิ าร 34 58.6 ชำนาญการ 24 41.4 หนา้ | 61

แผนภมู ทิ ี่ 5 กราฟแสดงข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามท่ผี า่ นการฝึกอบรมหลักสตู รสบื สวนสอบสวน พนักงานฝ่ายปกครอง รุ่นที่ 50 60 53 39 38 46 50 36 40 30 16 13 12 18 20 2 10 5 7 1 1 3 0 2.1.2 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม หลกั สูตรสบื สวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครองไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม หลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครองไปใช้ในการปฏิบัติงานในภาพรวม ปรากฎตามตารางที่ 4-15 สามารถอธิบายผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ ในการปฏบิ ตั ิงาน โดยจำแนกแต่ละด้านไดด้ งั น้ี ตารางที่ 4-15 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ทไี่ ดร้ ับจากการฝึกอบรม หลักสตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครองในภาพรวมไปใชใ้ นการปฏิบัติงาน ภาพรวมของการนำความรู้ ระดบั การนำไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน ไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านแต่ละดา้ น มาก ปาน น้อย ̅X S.D. การ 1. ความรู้ความเข้าใจในวิชา ทส่ี ดุ มาก กลาง น้อย ทสี่ ุด แปลผล พืน้ ฐาน 43.1 46.6 10.3 - - 4.32 0.65 มาก 2. ความรคู้ วามเข้าใจในวชิ า 39.7 43.1 17.2 - ทีส่ ุด การสบื สวน - 4.22 0.72 มาก 3. ความรู้ความเขา้ ใจในวชิ า การฝกึ ทางยทุ ธวธิ ี 27.6 43.1 20.7 5.2 3.4 3.86 0.99 มาก หน้า | 62

ภาพรวมของการนำความรู้ ระดับการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน ไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานแตล่ ะดา้ น มาก ปาน น้อย ̅X S.D. การ 4. ความรู้ความเขา้ ใจในวิชา ที่สดุ มาก กลาง นอ้ ย ทสี่ ุด แปลผล การจับกุมปราบปราม 32.8 43.1 17.2 6.9 - 4.01 0.88 มาก 5. ความรคู้ วามเข้าใจในวิชา การสอบสวน 17.2 37.9 25.9 19.0 - 3.53 0.99 มาก 6. ความรูค้ วามเขา้ ใจในวชิ าพิเศษ 53.4 41.4 5.2 - - 4.48 0.59 มาก 36.2 51.7 12.1 - ทีส่ ุด 7. ความร้คู วามเข้าใจวชิ าศึกษา 31.0 56.9 12.1 - ดงู าน - 4.24 0.65 มาก ท่สี ดุ 8. ความรคู้ วามเขา้ ใจในวชิ าเสรมิ - 4.18 0.63 มาก แผนภมู ิที่ 6 กราฟแสดงผลการนำความร้ทู ี่ได้รับจากการฝึกอบรมหลกั สตู รสบื สวนสอบสวนพนักงาน ฝ่ายปกครองในแตล่ ะด้านไปใช้ปฏบิ ัตงิ าน วชิ าเสรมิ วิชาพื้นฐาน 11% 15% วชิ าศึกษาดูงาน วชิ าการสืบสวน 13% 14% วิชาพิเศษ วชิ าการฝกึ ทางยทุ ธวธิ ี 19% 10% วชิ าการสอบสวน วชิ าการจบั กุม 6% ปราบปราม 12% หนา้ | 63

1) ผลการนำความรคู้ วามเขา้ ใจในวิชาพนื้ ฐานไปใชใ้ นการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในวิชาพื้นฐานไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย อยู่ระหว่าง 4.14-4.40 หากพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบัติงาน มากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ อำนาจหนา้ ท่ีของพนักงานฝ่ายปกครองในการสบื สวนสอบสวนคดีอาญา มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ มากที่สุด เท่ากับ 4.40 รองลงมาได้แก่ นโยบายและบทบาทของพนักงานฝ่ายปกครองในการรักษาความสงบ เรียบร้อยและอำนวยความเป็นธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.40 และหลักกฎหมายอาญาทั่วไป มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.36 รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 4-16 ตารางที่ 4-16 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณท์ ี่ได้รบั จากการฝึกอบรม หลักสูตรสบื สวนสอบสวนพนักงานฝา่ ยปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเขา้ ใจ ในวิชา พ้ืนฐานไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน” ขอบเขตวชิ า ระดบั การนำไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน ความรู้ความเขา้ ใจในวิชาพื้นฐาน มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ 1. นโยบายและบทบาทของพนักงาน ท่สี ดุ มาก กลาง น้อย ที่สุด แปลผล ฝา่ ยปกครองในการรกั ษาความสงบ เรยี บรอ้ ยและอำนวยความเปน็ ธรรม 44.8 50.0 5.2 - - 4.40 0.59 มาก ท่สี ุด 2. หลกั กฎหมายอาญาทวั่ ไป 48.3 39.7 12.1 - - 4.36 0.69 มาก 3. หลักกฎหมายวธิ พี ิจารณาความ ทีส่ ดุ อาญาวา่ ดว้ ยการสืบสวนสอบสวน คดีอาญา 39.7 44.8 12.1 3.4 - 4.21 0.78 มาก 4. อำนาจหนา้ ทีข่ องพนกั งานฝ่าย 51.7 37.9 8.6 1.7 - 4.40 0.72 มาก ปกครองในการสืบสวนสอบสวน ที่สุด คดอี าญา 31.0 53.4 13.8 1.7 - 4.14 0.71 มาก 5. กระบวนการยุติธรรม สทิ ธิมนุษยชน และคณุ ธรรมของเจา้ หน้าทส่ี บื สวน สอบสวน หนา้ | 64

2) ผลการนำความรู้ความเข้าใจในวชิ าการสืบสวนไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในวิชาการสืบสวนไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยใู่ นระดับมากถึงมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย อยู่ระหว่าง 3.95-4.36 หากพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบัติงาน มากทสี่ ุด ได้แก่ หลกั การสืบสวนและเทคนิคการสบื สวน มคี ่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่สี ุด เทา่ กบั 4.36 รองลงมา ได้แก่ ปฏิบัติการสืบสวน และหลักการจัดทำรายงานการสืบสวน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 4.17 และ 3.97 ตามลำดบั รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 4-17 ตารางที่ 4-17 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ไดร้ ับจากการฝึกอบรม หลกั สูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝา่ ยปกครอง “ดา้ นการนำความรู้ความเขา้ ใจ ในวชิ า การสืบสวนไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน” ขอบเขตวิชา ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน ความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าการสืบสวน มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ ทสี่ ุด มาก กลาง น้อย ทส่ี ุด แปลผล 1. หลกั การสืบสวนและเทคนิค 46.6 44.8 6.9 1.7 - 4.36 0.69 มาก การสบื สวน ท่สี ดุ 2. การสบื สวนทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 27.6 44.8 22.4 5.2 - 3.95 0.84 มาก 3. หลกั การจัดทำรายงานการสบื สวน 32.8 36.2 25.9 5.2 - 3.97 0.89 มาก 4. ปฏิบัติการสืบสวน 39.7 41.4 15.5 3.4 - 4.17 0.81 มาก 3) ผลการนำความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าการฝึกทางยุทธวธิ ีไปใช้ในการปฏิบัตงิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในวิชาการฝึกทางยุทธวิธีไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับมากทุกรายการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.71-4.19 หากพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ ปฏิบัติงานมากที่สุด ได้แก่ การตั้งจุดตรวจ/สกัด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 4.19 รองลงมา ได้แก่ หลักการเผชิญเหตุของเจ้าหน้าที่ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91 การหยุด/ควบคุมยานพานะ (VEHICLE STOP AND OCCUPANTS CONTROL หรือ V.S.O.C.) และปฏิบัติการทางยุทธวิธีในสถานการณ์จำลอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90 รายละเอียดดงั ตารางท่ี 4-18 หนา้ | 65

ตารางท่ี 4-18 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รบั จากการฝึกอบรม หลกั สูตรสบื สวนสอบสวนพนกั งานฝา่ ยปกครอง “ดา้ นการนำความรู้ความเขา้ ใจ ในวิชา การฝึกทางยุทธวิธีไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน” ขอบเขตวชิ า ระดับการนำไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน การฝกึ ทางยุทธวิธี มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ 1. หลกั การเผชิญเหตุของเจา้ หน้าที่ ที่สดุ มาก กลาง น้อย ทสี่ ดุ แปลผล 2. การยิงปืนระบบต่อสู้ปอ้ งกันตัว 3. ยทุ ธวิธีการรอดพ้นอันตรายของ 27.6 44.8 19.0 8.6 - 3.91 0.90 มาก 25.9 39.7 19.0 10.3 5.2 3.71 1.12 มาก เจา้ หนา้ ท่ี (Officer Survival 19.0 48.3 20.7 8.6 3.4 3.71 0.99 มาก Tactics หรือ O.S.T.) 4. การเข้าตรวจคน้ และปฏิบัตกิ าร 27.6 44.8 17.2 6.9 3.4 3.86 1.01 มาก ในอาคาร (Close Quarters Battle หรือ C.Q.B.) 29.3 43.1 19.0 5.2 3.4 3.90 1.00 มาก 5. การหยดุ /ควบคุมยานพานะ (VEHICLE STOP AND 44.8 37.9 12.1 1.7 3.4 4.19 0.96 มาก OCCUPANTS CONTROL 32.8 37.9 19.0 6.9 3.4 3.90 1.05 มาก หรอื V.S.O.C.) 6. การตง้ั จดุ ตรวจ/สกัด 7. ปฏบิ ัติการทางยทุ ธวธิ ใี นสถานการณ์ จำลอง 4) ผลการนำความร้คู วามเขา้ ใจในวิชาการจบั กุมปราบปรามไปใช้ในการปฏิบตั งิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในวิชาการจับกุมปราบปรามไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับปานกลาง ถึงมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.05-4.40 หากพิจารณาเป็นรายวชิ า พบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรม นำไปใช้ปฏิบัติงานมากที่สุด ได้แก่ การป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดตามกฎหมายที่อยู่ในความ รับผิดชอบของพนักงานฝ่ายปกครอง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.40 รองลงมาได้แก่ การจัดทำ บันทึกการจับกุม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 และการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 4-19 หนา้ | 66

ตารางที่ 4-19 ผลการนำความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณท์ ีไ่ ดร้ ับจากการฝึกอบรม หลกั สูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ดา้ นการนำความรู้ความเข้าใจ ในวชิ า การจบั กุมปราบปรามไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน” ขอบเขตวิชา ระดับการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน การจบั กมุ ปราบปราม มาก ปาน น้อย ̅X S.D. การ 1. หมายคน้ /หมายจบั และหมาย ท่ีสดุ มาก กลาง น้อย ทส่ี ดุ แปลผล อาญาตา่ งๆ 29.3 39.7 17.2 12.1 1.7 3.83 1.04 มาก 2. ฝึกภาคปฏบิ ตั ิการขอหมายค้น และหมายจับ 29.3 37.9 19.0 10.3 3.4 3.79 1.08 มาก 3. การจัดทำบันทึกการจบั กมุ 48.3 43.1 3.4 3.4 1.7 4.33 0.84 มาก ท่ีสดุ 4. การปอ้ งกนั และปราบปราม การกระทำความผดิ ตามกฎหมาย 53.4 32.8 13.8 - - 4.40 0.72 มาก ทีอ่ ยู่ในความรบั ผิดชอบของ ทส่ี ดุ พนักงานฝ่ายปกครอง 39.7 37.9 13.8 8.6 - 4.09 0.94 มาก 5. การปอ้ งกนั และปราบปราม คดอี าชญากรรมท่ัวไป 50.0 32.8 10.3 6.9 - 4.26 0.90 มาก ที่สดุ 6. การปอ้ งกนั และปราบปราม ยาเสพตดิ 46.6 36.2 12.1 5.2 - 4.24 0.86 มาก ท่สี ดุ 7. การสืบสวนปราบปรามคดียาเสพติด 31.0 32.8 24.1 10.3 1.7 3.81 1.05 มาก 8. การป้องกนั และปราบปราม การคา้ มนุษย์ 29.3 31.0 22.4 6.9 10.3 3.62 1.26 มาก 9. การสบื สวนปราบปรามคดี 29.3 27.6 25.9 10.3 6.9 3.62 1.21 มาก ค้ามนุษยแ์ ละการคดั แยกผู้เสียหาย 25.9 41.4 15.5 10.3 6.9 3.69 1.17 มาก จากการค้ามนุษย์ 10. การสบื สวนปราบปรามคดปี า่ ไม้ และทรพั ยากรธรรมชาติ 11. การสืบสวนปราบปราม อาชญากรรมรปู แบบใหม่ หนา้ | 67

ขอบเขตวิชา ระดบั การนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน การจับกมุ ปราบปราม มาก ปาน น้อย X̅ S.D. การ 12. การดำเนินคดีความผดิ ที่อยู่ใน ที่สดุ มาก กลาง นอ้ ย ท่สี ุด แปลผล อำนาจหน้าทีข่ อง ป.ป.ท./ป.ป.ช. 13.8 39.7 31.0 8.6 6.9 3.45 1.06 มาก 13. การดำเนนิ คดีความผดิ ที่อยู่ใน อำนาจหน้าทขี่ อง ปปง. 6.9 32.8 32.8 13.8 13.8 3.05 1.14 ปาน กลาง 14. ฝึกภาคปฏบิ ัติการจัดทำบันทกึ การจบั กมุ 46.6 27.6 13.8 5.2 6.9 4.02 1.20 มาก 5) ผลการนำความรคู้ วามเขา้ ใจในวิชาการสอบสวนไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในวิชาการสอบสวนไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน” อยู่ในระดบั ปานกลางถึงมาก มคี ่าเฉลี่ย อยู่ระหว่าง 3.16-4.16 หากพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบัติงาน มากที่สุด ได้แก่ ระเบียบการสอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวนฝ่ายปกครอง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 4.16 รองลงมาได้แก่ การจัดทำรายงานการสอบสวนและสำนวนการสอบสวน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.93 หลักการสอบสวนปากคำและการทำความเห็นของพนักงานสอบสวน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90 รายละเอียดดัง ตารางท่ี 4-20 หนา้ | 68

ตารางที่ 4-20 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณท์ ี่ได้รับจากการฝึกอบรม หลกั สตู รสบื สวนสอบสวนพนกั งานฝา่ ยปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเขา้ ใจ ในวชิ า การสอบสวนไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน” ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน ขอบเขตวิชาการสอบสวน มาก ปาน น้อย X̅ S.D. การ ท่สี ุด มาก กลาง น้อย ท่สี ดุ แปลผล 1. ระเบียบการสอบสวนคดีอาญาของ 36.2 46.6 13.8 3.4 - 4.16 0.70 มาก พนักงานสอบสวนฝา่ ยปกครอง 2. อำนาจเปรียบเทียบปรับของ 17.2 44.8 29.3 8.6 - 3.71 0.85 มาก พนักงานสอบสวนและการสอบสวน คดลี ะเมดิ ข้อบญั ญัติทอ้ งถิ่นและ กฎหมายในอำนาจหน้าที่องค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่นิ 3. ฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิการทำสำนวน 29.3 31.0 29.3 6.9 3.4 3.76 1.06 มาก เปรียบเทียบปรับ 4. หลักกฎหมายลกั ษณะพยาน 13.8 48.3 20.7 13.8 3.4 3.55 1.01 มาก และการชงั่ น้ำหนกั พยาน 5. หลักการดำเนนิ คดีในเขตอำนาจ 22.4 41.4 13.8 12.1 10.3 3.53 1.26 มาก ศาลแขวง 6. หลกั การดำเนนิ คดีในเขตอำนาจ 13.8 43.1 19.0 13.8 10.3 3.36 1.19 ปาน ศาลเยาวชนและครอบครัว กลาง 7. หลกั การวางรปู คดีและการรวบรวม 25.9 39.7 15.5 10.3 8.6 3.64 1.22 มาก พยานหลกั ฐาน 8. หลกั การสอบสวนปากคำและการทำ 29.3 44.8 12.1 13.8 - 3.90 0.98 มาก ความเห็นของพนักงานสอบสวน 9. ฝกึ ภาคปฏิบตั ิการทำสำนวน 25.9 36.2 17.2 12.1 8.6 3.59 1.24 มาก การสอบสวนในเขตอำนาจศาลแขวง 10. การตรวจสอบการทจุ ริตบตั ร 24.1 51.7 13.8 8.6 1.7 3.88 0.93 มาก ประจำตัวประชาชนและทะเบยี น ราษฎร 11. การจดั ทำรายงานการสอบสวน 36.2 32.8 20.7 8.6 1.7 3.93 1.04 มาก และสำนวนการสอบสวน หนา้ | 69

ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน ขอบเขตวิชาการสอบสวน มาก ปาน น้อย ̅X S.D. การ ที่สดุ มาก กลาง น้อย ท่ีสุด แปลผล 12. ฝกึ ภาคปฏิบัตกิ ารทำสำนวน การสอบสวนคดีบัตรประจำตัว 24.1 44.8 17.2 8.6 5.2 3.74 1.08 มาก ประชาชนและทะเบยี นราษฎร 15.5 43.1 25.9 12.1 3.4 3.55 1.01 มาก 13. การรกั ษาและการตรวจสถานท่ี เกดิ เหตุ 6.9 37.9 34.5 10.3 10.3 3.21 1.07 ปาน กลาง 14. นติ วิ ิทยาศาสตร์และการตรวจ พสิ จู น์หลกั ฐานทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 6.9 41.4 27.6 15.5 8.6 3.22 1.07 ปาน กลาง 15. นติ ิวิทยาศาสตรแ์ ละการชนั สูตร พลิกศพ 12.1 36.2 32.8 10.3 8.6 3.33 1.09 ปาน กลาง 16. การจดั ทำรายงานการชันสตู ร พลิกศพ 13.8 31.0 24.1 19.0 12.1 3.16 1.24 ปาน กลาง 17. เทคนคิ การสอบสวนคดวี ิสามัญ ฆาตกรรม 13.8 36.2 27.6 13.8 8.6 3.33 1.14 ปาน กลาง 18. เทคนิคการสอบสวนคดปี ่าไม้ และทรพั ยากรธรรมชาติ 20.7 41.4 17.2 8.6 12.1 3.50 1.26 มาก 19. การทำสำนวนการสอบสวนในเขต 27.6 37.9 10.3 13.8 10.3 3.59 1.31 มาก อำนาจศาลจงั หวดั 19.0 34.5 19.0 13.8 13.8 3.31 1.31 ปาน 20. สัมมนาการจดั ทำสำนวน กลาง การสอบสวนคดีอาญาของ พนักงานสอบสวนฝา่ ยปกครอง 12.1 39.7 19.0 12.1 17.2 3.17 1.30 ปาน กลาง 21. การเบิกความในชั้นศาล 15.5 39.7 15.5 12.1 17.2 3.24 1.34 ปาน 22. การค้มุ ครองพยานในคดีอาญา กลาง 23. วธิ ีการรักษาความปลอดภัยพยาน ในคดีอาญาและบคุ คลสำคญั อืน่ ๆ หน้า | 70

6) ผลการนำความรคู้ วามเขา้ ใจในวชิ าพเิ ศษไปใช้ในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในวิชาพิเศษไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย อยู่ระหว่าง 4.16-4.50 หากพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบัติงาน มากทีส่ ุด ไดแ้ ก่ สถาบันพระมหากษตั ริย์กับประเทศไทย มีคา่ เฉล่ยี อยู่ในระดับมากทสี่ ุด เท่ากับ 4.50 รองลงมา ไดแ้ ก่ การขบั เคลอ่ื นงานสภากาชาดไทย มคี า่ เฉล่ียเท่ากับ 4.16 รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 4-21 ตารางท่ี 4-21 ผลการนำความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั จากการฝกึ อบรม หลกั สูตรสบื สวนสอบสวนพนักงานฝา่ ยปกครอง “ด้านการนำความรคู้ วามเข้าใจ ในวิชา พเิ ศษไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน” ขอบเขตวิชา ระดับการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน ความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าพิเศษ มาก ปาน นอ้ ย X̅ S.D. การ 1. สถาบันพระมหากษัตริย์ ทสี่ ุด มาก กลาง น้อย ทสี่ ดุ แปลผล กับประเทศไทย 53.4 43.1 3.4 - - 4.50 0.57 มาก 2. การขบั เคล่ือนงานสภากาชาดไทย ทสี่ ดุ 34.5 48.3 15.5 1.7 - 4.16 0.74 มาก 7) การนำความรู้ความเขา้ ใจจากการศกึ ษาดงู านไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจจากการศึกษาดูงานไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.24 รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 4-22 ตารางท่ี 4-22 การนำความรู้ ทักษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ทไี่ ดร้ บั จากการฝึกอบรม หลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้จากการศึกษา ดงู านไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน” ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน ขอบเขตวชิ าการศึกษาดงู าน มาก ปาน นอ้ ย ̅X S.D. การ ความรคู้ วามเข้าใจจากการศึกษาดูงาน ท่สี ุด มาก กลาง น้อย ทีส่ ดุ แปลผล หนา้ | 71 36.2 51.7 12.1 - - 4.24 0.65 มาก ท่สี ดุ

8) การนำความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าเสริมไปใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความเห็นในการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจในวิชาเสริมไปใช้ในการปฏิบัติงาน” อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย อยู่ระหว่าง 4.09-4.43 หากพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า ความรู้ที่ผู้ผ่านการศึกษาอบรมนำไปใช้ปฏิบัติงาน มากที่สุด ได้แก่ ประสบการณ์สืบสวนสอบสวน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.43 รองลงมาได้แก่ การประสานงานและการบริหารจดั การสือ่ มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 4.26 และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น มีค่าเฉลี่ยอยู่ ในระดบั มาก มีคา่ เฉลยี่ เท่ากับ 4.09 รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 4-23 ตารางที่ 4-23 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม หลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝา่ ยปกครอง “ด้านการนำความรู้ความเข้าใจ ในวิชา เสริมไปใช้ในการปฏิบัติงาน” ขอบเขตวชิ า ระดบั การนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน ความรู้ความเข้าใจในวิชาเสริม มาก ปาน น้อย ̅X S.D. การ 1. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ที่สุด มาก กลาง น้อย ทสี่ ดุ แปลผล 2. ประสบการณ์สืบสวนสอบสวน 27.6 55.2 15.5 1.7 - 4.09 0.70 มาก 3. การประสานงานและการบริหาร 48.3 46.6 5.2 - - 4.43 0.59 มาก จดั การสอื่ ท่สี ดุ 36.2 53.4 10.3 - - 4.26 0.63 มาก ทส่ี ดุ 2.2 มิติที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลังทผี่ ่านการฝึกอบรมหลักสตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง การประเมินผลในมิติที่ 2 น้ี ใช้วิธีการประเมินผลจากผู้บังคับบัญชาของข้าราชการผู้ที่ผ่าน การฝกึ อบรมหลักสตู รสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง รนุ่ ที่ 50 ปรากฏผลดงั นี้ 2.2.1 ข้อมูลท่ัวไป กลุ่มตวั อย่างท่ีตอบแบบสอบถาม จำนวน 58 คน เปน็ เพศชายมากที่สดุ จำนวน 53 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.4 และเป็นเพศหญิง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 8.6 มีอายุ 51-60 ปี มากที่สุด จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 67.2 รองลงมา คือ อายุ 41-50 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 27.6 และอายุ 30-40 ปี จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 5.2 ตามลำดบั หน้า | 72

มอี ายุราชการ 21-30 ปี มากที่สุด จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 65.5 รองลงมามีอายุราชการ 31-40 ปี จำนวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 22.4 และมอี ายุราชการ 10-20 ปี จำนวน 7 คน คดิ เป็นร้อยละ 12.1 ตามลำดบั สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท มากที่สุด จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 79.3 และระดับ ปรญิ ญาตรี จำนวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.7 ปฏิบัติงานในตำแหน่งนายอำเภอ มากที่สุด จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 62.1 รองลงมา ปฏบิ ตั ิงานในตำแหน่งปลดั อำเภอหัวหน้ากลุม่ งาน/ฝา่ ยบรหิ ารงานปกครอง จำนวน 18 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31.0 รองลงมา คือ ตำแหน่งป้องกันจังหวัด จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.4 รองลงมาเป็นตำแหน่งปลัดจังหวัด และจ่าจังหวัด ตำแหน่งละ 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.7 ตามลำดับ ดำรงตำแหน่งในระดับอำนวยการสูง มากที่สุด จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 53.4 รองลงมา คือ ตำแหน่งระดับชำนาญการพิเศษ จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 36.2 และตำแหน่งระดับอำนวยการต้น จำนวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.3 ตามลำดบั เป็นผู้บังคับบัญชาก่อนผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึกอบรม มากที่สุด จำนวน 46 คน คิดเป็น ร้อยละ 79.3 และเป็นผู้บังคับบัญชาหลังผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 20.7 รายละเอียดตามตารางที่ 4-24 ดงั นี้ ตารางที่ 4-24 ข้อมูลท่วั ไปของผูบ้ ังคับบญั ชาผู้ผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่าย ปกครอง ร่นุ ท่ี 50 ข้อมูลทั่วไป ความถี่ (คน) รอ้ ยละ 1. เพศ ชาย 53 91.4 2. อายุ หญิง 5 8.6 3. อายรุ าชการ 30 - 40 ปี 3 5.2 4. การศกึ ษา 41 - 50 ปี 16 27.6 5. ตำแหนง่ 51 - 60 ปี 39 67.2 10 - 20 ปี 7 12.1 หนา้ | 73 21 - 30 ปี 38 65.5 31 - 40 ปี 13 22.4 ปรญิ ญาตรี 12 20.7 ปริญญาโท 46 79.3 ปลัดจังหวัด 1 1.7 นายอำเภอ 36 62.1 จ่าจังหวดั 1 1.7

ข้อมูลทั่วไป ความถี่ (คน) รอ้ ยละ 5. ตำแหน่ง (ต่อ) ป้องกันจังหวดั 2 3.4 ปลดั อำเภอหวั หน้ากลมุ่ งาน/ฝา่ ยบริหารงานปกครอง 18 31.0 31 53.4 6. ระดับตำแหน่ง อำนวยการสงู 6 10.3 อำนวยการต้น 21 36.2 ชำนาญการพเิ ศษ 46 79.3 7. การเป็นผู้บงั คับบัญชาของผูท้ ี่ผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตรสบื สวนสอบสวนฯ 12 20.7 เป็นผบู้ งั คบั บัญชาก่อนการฝึกอบรม เป็นผูบ้ งั คับบัญชาหลังการฝึกอบรม แผนภมู ทิ ่ี 7 กราฟแสดงข้อมูลทวั่ ไปของผบู้ งั คับบญั ชาผูผ้ า่ นการฝึกอบรมหลกั สูตรสบื สวนสอบสวนพนักงาน ฝา่ ยปกครอง รนุ่ ท่ี 50 60 53 50 46 46 40 39 38 36 31 30 20 16 21 13 12 18 12 10 5 3 7 6 0 1 12 2.2.2 ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลงั ทผ่ี ่านการฝกึ อบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง ผลการศึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของข้าราชการผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวน สอบสวนพนักงานฝ่ายปกครองในภาพรวม ปรากฏตามตารางที่ 4-25 สามารถอธิบายผลการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมแตล่ ะดา้ นได้ดงั นี้ หนา้ | 74

ตารางที่ 4-25 การปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมในภาพรวมของผู้ผ่านการฝึกอบรมหลกั สูตรสืบสวนสอบสวน พนกั งานฝา่ ยปกครอง รนุ่ ที่ 50 ระดับความเห็นของการปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม ภาพรวมของการปรับเปล่ียน ควร พฤติกรรมแต่ละด้าน ดขี นึ้ เหมอื น ควร ปรับปรงุ ̅X S.D. การ อย่างมาก ดีขึ้น เดิม ปรับปรุง อย่างยงิ่ แปลผล 1. ด้านการปฏิบตั ติ น 51.7 46.6 1.7 - - 4.50 0.53 ดขี ้ึน อย่างมาก 2. ดา้ นการปฏิบัติงาน 25.9 69.0 5.2 - - 4.20 0.52 ดีขน้ึ 3. ด้านหน่วยงาน 43.1 53.4 3.4 - - 4.39 0.56 ดขี ้นึ อย่างมาก แผนภูมทิ ่ี 8 กราฟแสดงผลการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมแต่ละด้านของผู้ผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตรสืบสวน สอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง รุน่ ที่ 50 ด้านหน่วยงาน การปฏบิ ตั ติ น 36% 43% การปฏบิ ัตงิ าน 21% 1) ด้านการปฏิบตั ติ น กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้าน การปฏิบัติตน อยู่ในระดับดีขึ้นอย่างมากทุกรายการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.40-4.50 หากพิจารณาแต่ละ ประเด็นย่อย พบวา่ การมมี นุษยสัมพนั ธ์และการสมาคม มคี า่ เฉลีย่ อยู่ในระดบั มากที่สุด เทา่ กับ 4.50 รองลงมา ได้แก่ ความมีระเบียบวินัย สุขภาวะด้านอารมณ์ และการมีคุณธรรมและจริยธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 รายละเอียดดงั ตารางท่ี 4-26 หน้า | 75

ตารางท่ี 4-26 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏบิ ตั ิตน สามารถจำแนกรายละเอยี ดแตล่ ะประเดน็ ย่อย ไดด้ ังน้ี ระดับความเห็นของการปรับเปล่ยี นพฤติกรรม ประเด็นยอ่ ยดา้ นการปฏิบตั ิตน ควร ดขี ้ึน เหมือน ควร ปรบั ปรุง ̅X S.D. การ อยา่ งมาก ดขี นึ้ เดิม ปรับปรงุ อยา่ งยิง่ แปลผล 1. ความเหมาะสมในการแต่งกาย 48.3 46.6 5.2 - - 4.43 0.59 ดขี ้ึน อยา่ งมาก 2. ความเหมาะสมในการวางตัว 46.6 46.6 6.9 - - 4.40 0.62 ดีขนึ้ 3. ความมีระเบียบวนิ ัย 50.0 46.6 3.4 - อย่างมาก 4. สขุ ภาวะดา้ นอารมณ์ 48.3 50.0 1.7 - - 4.47 0.56 ดขี ึ้น อย่างมาก 5. การมมี นษุ ยสมั พนั ธ์ 55.2 39.7 5.2 - และการสมาคม 53.4 43.1 1.7 1.7 - 4.47 0.53 ดีขน้ึ อย่างมาก 6. การมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม - 4.50 0.60 ดีขึ้น อยา่ งมาก - 4.47 0.70 ดีขึ้น อยา่ งมาก 2) ดา้ นการปฏิบตั งิ าน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นต่อการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในด้าน การปฏิบัตงิ าน อยใู่ นระดับดขี ้นึ ถึงดขี ึ้นอยา่ งมาก มคี า่ เฉลย่ี อยูร่ ะหวา่ ง 3.93-4.34 หากพิจารณาในประเดน็ ย่อย พบว่า การปฏิบัตงิ านมคี วามถูกต้อง และการปฏิบตั งิ านมคี วามเท่ียงตรงตามกำหนดเวลา มีค่าเฉล่ยี อยู่ในระดับ มากท่ีสดุ เทา่ กับ 4.34 รองลงมาได้แก่ การสบื สวนสอบสวนคดียาเสพติด มคี า่ เฉล่ยี เท่ากับ 4.29 รายละเอียดดัง ตารางท่ี 4-27 หน้า | 76

ตารางที่ 4-27 การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏบิ ัติงาน สามารถจำแนกรายละเอยี ดแต่ละประเดน็ ย่อย ได้ดังน้ี ระดับความเห็นของการปรับเปลย่ี นพฤติกรรม ประเดน็ ยอ่ ยดา้ นการปฏิบตั ิงาน ควร ดีขึ้น เหมือน ควร ปรบั ปรุง ̅X S.D. การ อย่างมาก ดีขึ้น เดิม ปรับปรุง อยา่ งยิ่ง แปลผล 1. การปฏิบตั ิงานมีความถกู ต้อง 36.2 62.1 1.7 - - 4.34 0.51 ดีขึ้น อยา่ งมาก 2. การปฏิบัติงานมีความเทยี่ งตรง 39.7 55.2 5.2 - ตามกำหนดเวลา - 4.34 0.57 ดขี ึ้น 20.7 77.6 1.7 - อย่างมาก 3. การสบื สวนคดีอาญาทั่วไป 19.0 81.0 - - 4. การสอบสวนคดอี าญาทั่วไป 17.2 77.6 5.2 - - 4.19 0.43 ดขี นึ้ 5. การรวบรวมพยานหลักฐาน - 4.19 0.39 ดขี ึ้น 10.3 77.6 12.1 - - 4.12 0.46 ดีขน้ึ คดอี าญา 15.5 74.1 10.3 - 6. การขอออกหมายค้น หมายจบั - 3.98 0.47 ดีขน้ึ 7. การสอบสวนและเปรียบเทียบ 10.3 72.4 17.2 - - 4.05 0.51 ดีขึ้น คดลี ะเมิดกฎหมายท้องถิ่น 17.2 72.4 10.3 - - 3.93 0.52 ดีขึ้น 8. การสอบสวนคดวี ิสามัญ 15.5 74.1 10.3 - - 4.07 0.52 ดีขึ้น ฆาตกรรม 24.1 65.5 10.3 - - 4.05 0.51 ดขี นึ้ 9. การชันสูตรพลกิ ศพ 36.2 56.9 6.9 - 10. การสบื สวนสอบสวนคดปี ่าไม้ - 4.14 0.57 ดีขน้ึ 27.6 69.0 3.4 - - 4.29 0.59 ดีขึ้น และทรพั ยากรธรรมชาติ 11. การสืบสวนสอบสวนคดที ี่ดิน 27.6 69.0 3.4 - อย่างมาก 12. การสืบสวนสอบสวนคดี - 4.24 0.50 ดีขน้ึ ยาเสพติด อยา่ งมาก 13. การสบื สวนสอบสวนคดี - 4.24 0.50 ดขี ้ึน ตามกฎหมายการทะเบยี น อยา่ งมาก ราษฎร 14. การสืบสวนสอบสวนคดี ตามกฎหมายบตั รประจำตวั ประชาชน หน้า | 77

ระดับความเห็นของการปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม ประเด็นยอ่ ยดา้ นการปฏบิ ตั ิงาน ควร ดขี นึ้ เหมอื น ควร ปรับปรุง ̅X S.D. การ อยา่ งมาก ดขี ้นึ เดิม ปรบั ปรุง อยา่ งยิง่ แปลผล 15. การสบื สวนสอบสวนคดี 37.9 55.2 6.9 - - 4.31 0.59 ดขี น้ึ ตามกฎหมายการพนนั อย่างมาก 16. การสืบสวนสอบสวนคดี 29.3 67.2 3.4 - - 4.26 0.51 ดขี น้ึ ตามกฎหมายโรงแรม อยา่ งมาก 17. การสบื สวนสอบสวนคดี 25.9 67.2 6.9 - - 4.19 0.54 ดีขึ้น ตามกฎหมายอาวุธปืนฯ 18. การสืบสวนสอบสวนคดี 32.8 60.3 6.9 - - 4.26 0.57 ดีขึน้ ตามกฎหมายสถานบริการ อย่างมาก 19. การสืบสวนสอบสวนคดี 32.8 60.3 6.9 - - 4.26 0.57 ดขี น้ึ ตามกฎหมายขายทอดตลาด อย่างมาก และคา้ ของเก่า 20. การสืบสวนสอบสวนคดี 27.6 65.5 6.9 - - 4.21 0.55 ดีขึ้น ตามกฎหมายโรงรับจำนำ และการเรี่ยไร 21. การทำสำนวนการสอบสวน 17.2 67.2 15.5 - - 4.02 0.57 ดีขึ้น คดีในอำนาจศาลเด็กเยาวชน และครอบครัว 22. การทำสำนวนการสอบสวน 17.2 72.4 10.3 - - 4.07 0.52 ดีข้ึน คดใี นอำนาจศาลแขวง 3) ด้านหนว่ ยงาน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้าน หน่วยงาน อยู่ในระดับดีขึ้นอย่างมาก ทั้งการเสริมสร้างหรือปรับปรุงภารกิจของหน่วยงานที่ยังบกพร่องอยู่ให้ ดขี ึน้ และการเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงานใหด้ ขี ้นึ มีคา่ เฉล่ียเท่ากบั 4.38 รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 4-28 หน้า | 78

ตารางที่ 4-28 การปรับเปลย่ี นพฤติกรรมด้านหนว่ ยงาน สามารถจำแนกรายละเอยี ดแต่ละประเด็นย่อย ไดด้ ังนี้ ระดับความเหน็ ของการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม ประเด็นยอ่ ยด้านหน่วยงาน ควร 1. การเสรมิ สร้างหรือปรับปรุง ดขี นึ้ เหมอื น ควร ปรับปรุง X̅ S.D. การ ภารกจิ ของหนว่ ยงาน ทย่ี งั บกพรอ่ งอยู่ใหด้ ีข้ึน อยา่ งมาก ดขี น้ึ เดมิ ปรบั ปรงุ อยา่ งย่งิ แปลผล 2. การเสริมสร้างภาพลักษณ์ 41.4 55.2 3.4 - - 4.38 0.55 ดขี ้ึน ของหน่วยงานใหด้ ขี น้ึ อย่างมาก 41.4 55.2 3.4 - - 4.38 0.55 ดขี ้ึน อยา่ งมาก 2.3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่าย ปกครอง รุ่นที่ 50 สำหรับปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่าย ปกครอง รุ่นท่ี 50 ผลการศกึ ษามีสาระสำคญั สรปุ แยกเป็นด้านตา่ งๆ ได้ดงั น้ี 1. ด้านหลกั สตู ร 1.1 ควรแยกอบรมหลักสูตรการสืบสวนและหลักสูตรการสอบสวนออกจากกัน เพื่อให้มี ระยะเวลาในการฝึกอบรมการสืบสวนและการสอบสวนมากขึ้น ซึ่งจะทำให้มีความเชี่ยวชาญทั้งในการสืบสวน และสอบสวน 1.2 ควรเพิ่มระยะเวลาการฝึกปฏบิ ตั ิ และจัดให้มีการฝึกปฏิบัติทกุ ขัน้ ตอนต้ังแต่การสบื สวน จนถึงการดำเนนิ คดี โดยแบ่งกล่มุ ตามประเภทคดที พี่ นักงานฝา่ ยปกครองมีอำนาจสบื สวนสอบสวน 1.3 ควรเน้นการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เช่น การสอบข้อเท็จจริง การสอบสวนทางวินัย และการสอบสวนความรับผิดทางละเมิดขององค์กรปกครอง สว่ นท้องถิ่น 1.4 บางวิชามีเนื้อหาจำนวนมากแต่ชั่วโมงการบรรยายน้อย ทำให้วิทยากรบรรยายเนื้อหาวิชา ได้ไม่ละเอียด ควรเพม่ิ ช่ัวโมงการบรรยายบางรายวิชา เช่น การกำกบั ดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน การจัดซื้อ จดั จ้าง เปน็ ต้น 2. ดา้ นกระบวนการฝึกอบรม 2.1 สถานทฝี่ กึ อบรมคบั แคบ ควรจดั สถานทใ่ี ห้มพี ้นื ทีม่ ากข้นึ สำหรบั การฝกึ ภาคปฏบิ ัติ 2.2 ควรปรบั ปรงุ อาหารใหม้ คี วามหลากหลาย 2.3 อาคารทีพ่ กั ชำรดุ ทรุดโทรม ระบบนำ้ ประปาใช้งานมานาน ควรมกี ารปรับปรงุ ซอ่ มแซม หน้า | 79

3. ด้านวิทยากร 3.1 วิทยากรบางท่านถ่ายทอดความรู้ได้ไม่ดี บรรยายไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของหัวข้อวชิ า เนอ่ื งจากระยะเวลาในการฝกึ อบรมนอ้ ยเกนิ ไป 3.2 ควรจัดหาวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จากหน่วยงานภายนอกมาถ่ายทอดประสบการณ์จริง ในการปฏิบตั งิ าน 4. ด้านอื่น ๆ 4.1 ควรเพม่ิ ระยะเวลาการศึกษาดงู านในสถานทปี่ ฏิบัติงานจรงิ เช่น การชนั สูตรพลกิ ศพ 4.2 จำนวนชวั่ โมงการฝึกอบรมในแต่ละวนั มากเกนิ ไป 4.3 ควรใหผ้ ู้เข้ารับการฝกึ อบรมทกุ คนได้ฝึกทำสำนวนให้ครบทุกประเภทคดี 4.4 ควรให้ปลัดอำเภอทุกคนเข้ารับการฝึกอบรม หรือควรเพิ่มการฝึกอบรมให้ทุกอำเภอ มปี ลัดอำเภออยา่ งน้อยอำเภอละ 2 คน ไดผ้ า่ นการฝกึ อบรม หรอื มกี ารฝกึ อบรมทบทวนความรู้ประจำปี 4.5 ควรมเี อกสารประกอบการฝึกอบรมแยกเปน็ รายวิชา และจดั ทำเป็นรูปเล่ม ผลการสมั ภาษณ์เชิงลกึ ทำการประเมนิ ผลภายหลังการฝกึ อบรมใน 2 มติ ิ คือ มติ ทิ ี่ 1 การนำความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงาน ประเมินผลจากข้าราชการผู้ที่ผ่านการฝึก อบรมโดยตรง และมิติท่ี 2 การปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมดา้ นการปฏบิ ัตติ น ด้านการปฏิบัตงิ าน และด้านหน่วยงาน ภายหลังผา่ นการฝึกอบรม ซึง่ ประเมินผลจากผู้บังคบั บญั ชาของผทู้ ่ีผา่ นการฝกึ อบรม 1. หลกั สตู รปลัดอำเภอ รุ่นที่ 248 - 250 ผลการสัมภาษณ์ มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ ในการปฏิบัติงาน ซึ่งประเมินผลจากข้าราชการผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมโดยตรง มีความคิดเห็นแยกตาม ประเด็นข้อคำถามดังต่อไปนี้ 1. การนำความรูท้ ี่ไดร้ บั จากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน “ความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมสามารถนำกลับมาใช้ปฏิบัติงานในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการประสานงาน การสร้างความสัมพันธ์กับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าส่วนราชกร และประชาชน ในพ้ืนท่ี และความรู้เกย่ี วกับกฎหมาย ทำใหป้ ฏบิ ตั ิงานถูกต้องตามระเบยี บกฎหมายมากย่งิ ข้ึน โดยเฉพาะในช่วง สถานการณ์เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้นำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมมาใช้ในการ ตั้งด่านตรวจคัดกรอง โดยได้ดำเนินการตามที่ระเบียบกฎหมายกำหนด เริ่มตั้งแต่การแต่งตั้งคณะกรรมการ ให้ครอบคลุมบุคลากรจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน โดยเฉพาะหน่วยงานด้านสาธารณสุขที่ให้คำแนะนำในการตั้งด่านตรวจคัดกรองให้เป็นไปตาม หน้า | 80

มาตรการป้องกันและควบคุมโรค โดยเน้นการประสานงานในการปฏิบัติงานและการดำเนินการให้เป็นไปตาม กฎหมาย” (นายสริ วิชญ์ ทองศรีนุช ปลดั อำเภอเกาะชา้ ง, สัมภาษณ)์ “ก่อนเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอมีความรู้ในการปฏิบัติงานจากการอ่าน หนังสือสอบเข้ารับราชการตำแหน่งปลัดอำเภอเท่านั้น แต่หลังจากผ่านการฝึกอบรมแล้วได้รับความรู้และ แนวทางในการปฏิบตั ิงานในอำนาจหนา้ ที่ของปลัดอำเภอมากยิง่ ข้ึน โดยเฉพาะความรู้เกีย่ วกับระเบียบกฎหมาย และงานอาสารักษาดินแดน” (นายทรงวิทย์ อินไชยยา เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ ที่ทำการปกครอง จงั หวัดบึงกาฬ, สัมภาษณ)์ “ได้รับองค์ความรู้ที่หลากหลาย เช่น บทบาทหน้าที่ และระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ อำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครอง แนวทางในการปฏิบัติงาน ความรู้เชิงลึกทั้งจากวิทยากรและผู้มีประสบการณ์ ทำให้มีความมนั่ ใจในการทำงานมากขึ้น” (นางสาวธญั ญารัตน์ เหลา่ บุตรศรี ปลดั อำเภอหว้านใหญ่, สัมภาษณ์) “หลังจากผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ สิ่งแรกที่ได้รับโดยตรงจากการอบรม หลกั สูตรดงั กล่าว ไดแ้ ก่ ความรู้พืน้ ฐานเกีย่ วกบั การปฏบิ ตั หิ น้าทปี่ ลดั อำเภอ และแนวทางปฏบิ ัติงานท่ีเกี่ยวข้อง กับตำแหน่งปลัดอำเภอทั้งหมด เช่น ความรู้เกี่ยวกับสัญชาติ การขอสัญชาติ การทำบัตรประจำตัวประชาชน การแจ้งเกิด แจ้งตาย ซึ่งต้องใช้ปฏิบัติหน้าที่ด้านงานทะเบียน ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำหนังสือราชการ และ งานสารบรรณ การจัดทำโครงการ การจัดซ้ือจัดจ้าง การตรวจรบั งานโครงการต่างๆ การแสวงหาพยานหลักฐาน การชันสูติพลิกศพ การฝึกยุทธวิธีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งปลัดอำเภอ นอกจากแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ทกี่ ลา่ วมาข้างต้นแล้ว ยังมรี ะเบยี บ ข้อกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องอกี ด้วย เนอื่ งจากการอบรมหลักสตู รปลัดอำเภอเป็น การจดั อบรมในลักษณะกลุ่มใหญ่ สิง่ ทไี่ ดร้ ับนอกเหนือจากเนื้อหาในรายวิชาแล้วนั้น ยังไดฝ้ ึกฝนการปฏิบัติงาน ร่วมกับผู้อื่น การทำงานเป็นทีม และได้ฝึกฝนภาวะผู้นำอีกด้วย” (นางสาวอมรรัตน์ จิรนนท์วงศ์ นิติกร กองการเจา้ หน้าท,ี่ สมั ภาษณ์) “หลังจากที่เข้ารับการฝึกอบรมมาแล้วได้รับความรใู้ นการปฏบิ ัติงานหลายดา้ น เชน่ ทักษะ การพูดในที่ชุมชน กฎระเบียบต่างๆ ในการปฏิบัติงาน ทำให้มีทักษะในการทำงานที่ดี และทำงานได้อย่างเป็น ระบบมากข้นึ ” (นางสาวนนั ทิยา ฟ้องเสยี ง ปลดั อำเภอกดุ ชมุ , สัมภาษณ)์ “ได้รับการพัฒนาทั้งทางดา้ นวิชาการ ร่างกาย บคุ ลกิ ภาพ รวมถึงด้านจิตใจ โดยผู้เข้าอบรม จะต้องปฏิบัติภายใต้กฎกติกาอย่างเดียวกัน โดยแต่ละโครงการฝึกอบรมจะใช้ชีวิตร่วมกัน ร่วมกิน ร่วมนอน รว่ มเรียน ร่วมกจิ กรรม ทเ่ี รียกวา่ วถิ ีธัญบรุ ี ซึ่งบง่ บอกถึงความเรียบง่าย ประหยัด สามัคคี มีวนิ ัย และชว่ ยตนเอง สะท้อนการใช้ชีวิตร่วมกัน หล่อหลอมให้ผู้เข้าอบรมมีความสามัคคีผูกพันรักใคร่ แบ่งหน้าที่กันทำ ฝึกการเป็น ผู้นำความอดทน รู้จักการอยู่ร่วมกันในหมู่คณะ โดยมีผู้อำนวยการโครงการฝึกอบรมและคณะคอยช่วยเหลือ ให้คำปรกึ ษาเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลกั สตู รตลอดระยะเวลาฝึกอบรม 6 สปั ดาห์” (นายประเสริฐศักด์ิ ทองดลุ ย์ ปลัดอำเภอเมอื งอุทัยธานี, สมั ภาษณ)์ หนา้ | 81

2. การนำหลกั สมรรถนะท่ีไดร้ บั จากการฝึกอบรมไปใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน “การปฏิบัติงานหลังการฝึกอบรมแตกต่างจากการปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกอบรม อย่างมาก ก่อนเข้ารับการฝึกอบรมจะเป็นการปฏิบัติงานโดยการสอบถามจากปลัดอำเภอท่านอื่นๆ และ ปฏิบัติงานตามที่เคยปฏิบัติกันมา แต่หลังจากเข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมมาใช้ ในการปฏิบัติงาน โดยการศึกษาระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความถูกต้องมี ความละเอียดรอบคอบ และมคี วามมัน่ ใจในการปฏิบตั ิงานมากขึ้น” “ได้นำความรู้เกยี่ วกับกฎหมายท่ีดินมาใช้ในการปฏิบัติงานจริง เนื่องจากในพ้ืนท่ีมีข้อพิพาท เกี่ยวกับที่ดินจำนวนมาก โดยเป็นข้อพิพาทระหว่างประชาชนในพื้นที่กับหน่วยงานของรัฐซึ่งการปฏิบัติงาน มีความจำเป็นต้องลงปฏิบัติงานในพื้นที่จริง โดยจะต้องรู้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกรณีพิพาทและต้องประสานงาน กับสำนักงานที่ดินเกี่ยวกับทะเบียนที่ดิน การรังวัดที่ดิน และการระวังชี้แนวเขตท่ีดิน นอกจากนั้นได้นำความรู้ เกี่ยวกับงานการอาสารักษาดินแดน ศิลปะการป้องกันตัว และการใช้อาวุธมาใช้ในการปฏิบัตงิ านจริงอีกด้วย” (นายสิรวิชญ์ ทองศรีนชุ ปลัดอำเภอเกาะชา้ ง, สมั ภาษณ)์ “มีการปฏิบัติงานด้วยความถูกต้องตามขั้นตอนตามระเบียบกฎหมาย ป้องกันการถูก ดำเนนิ คดจี ากการปฏิบตั ิหน้าที่ในภายหลงั ทำให้มคี วามมั่นใจในการปฏบิ ัติงานมากกว่าก่อนเข้ารับการฝึกอบรม เชน่ การจับกมุ มีการประชมุ สมาชกิ กองอาสารักษาดนิ แดนก่อนการปฏิบัติงาน มกี ารวางแผนการจบั กมุ เตรยี ม บนั ทกึ การจบั กมุ การเตรียมกำลังพล การหาข่าวโดยใหส้ ายลับเขา้ ไปในพน้ื ทกี่ อ่ น เพ่ือใหท้ ราบว่าขา่ วท่ไี ด้รับมา เป็นขา่ วจริงหรือไม่ การทำงานจิตอาสา มกี ารประชุมและมอบหมายงานในหนา้ ท่ใี ห้ทมี งานแต่ละคนรับผิดชอบ ดำเนินการ มีการจัดกำลังพลสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนประจำด่านตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งการปฏิบัติงานต้องประสานการปฏิบัติกับหน่วยงานอื่นๆ หลายหน่วยงาน เช่น ตำรวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานราชการ มีการทำงานเป็นทีมและใช้ทักษะการประสานงาน ซึ่งก่อน เข้ารับการฝึกอบรมไม่มีแนวทางในการปฏิบัติงานและไม่มีทักษะการพูดในที่สาธารณะ แต่หลังจากผ่าน การฝกึ อบรมมแี นวทางในการปฏิบัตงิ านและมีทักษะการพูด การสอ่ื สาร การประสานงานมากยง่ิ ข้นึ ” “วิชาการอาสารักษาดินแดนสามารถนำมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการเรียกแถว การฝึกบคุ คลท่ามือเปล่า ซึ่งกอ่ นเขา้ รับการฝึกอบรมยังไม่มีความรูม้ ากนกั แต่หลังจาก ผา่ นการฝึกอบรมแล้วมคี วามมนั่ ใจในการสัง่ แถวกำลงั พลมากขึ้น” “ได้นำวิถีธัญญบุรีมาถ่ายทอดให้กับสมาชิกกองอาสารักษาดินแดน ได้ฝึกการตื่นเช้าและ ฝกึ ระเบียบวินยั ” (นายทรงวทิ ย์ อินไชยยา เจา้ พนักงานปกครองปฏิบัติการ ที่ทำการปกครองจังหวัดบึงกาฬ, สมั ภาษณ์) “นำแนวคิดที่ได้รับจากวิทยากรมาปรับใช้กับการทำงาน ทำให้การทำงานมีความถูกต้อง และนำความรู้ที่ได้รับมาต่อยอดในการทำงานทำให้การทำงานนั้นดีขึ้น” (นางสาวธัญญารัตน์ เหล่าบุตรศรี ปลัดอำเภอหว้านใหญ่, สัมภาษณ์) หน้า | 82

“ก่อนเข้ารับการฝึกอบรมข้าพเจ้าดำรงตำแหน่งนิติกร ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการดำเนินการ ทางวินัยของข้าราชการกรมการปกครอง ลักษณะงานดังกล่าวต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงาน ของตำแหน่งปลัดอำเภอค่อนขา้ งเยอะ ซึ่งหลังจากท่ีได้รบั การอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ ทำให้ข้าพเจ้าสามารถ ปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ได้เข้าใจมากขึ้น เนื่องจากได้ทราบระเบียบข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่ง ปลัดอำเภอ แนวทาง ขั้นตอน ในการปฏิบัติงานของปลัดอำเภอเพิ่มมากขึ้น แต่เนื่องจากข้าพเจ้าไม่ได้ลงไป ปฏิบตั ิหน้าที่ปลัดอำเภอโดยตรงก็อาจจะทำให้ไม่สามารถรับทราบหรือเข้าใจถงึ กระบวนการและข้ันตอนทั้งหมด ในการปฏิบตั หิ นา้ ที่ดงั กล่าวได้” (นางสาวอมรรตั น์ จริ นนท์วงศ์ นิติกร กองการเจา้ หนา้ ท่ี, สมั ภาษณ)์ “ก่อนการฝึกอบรมยังจับต้นชนปลายไม่ถูกเพราะไม่เคยทำงานราชการมาก่อน หลังผ่าน การฝึกอบรมดิฉันได้รับผิดชอบฝ่ายทะเบียนฯ สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น รู้แนวทางในการดำเนินงานและมีคอนเนคชั่นที่สามารถปรึกษา สอบถาม ระหว่างเพื่อน ร่วมรนุ่ สามารถชว่ ยแก้ไขปัญหาการทำงานได้ดีข้ึน เช่น งานทะเบียน งานสัญชาติ” (นางสาวนนั ทยิ า ฟอ้ งเสียง ปลดั อำเภอกดุ ชมุ , สัมภาษณ์) “ไดร้ บั ความรู้ใหม่ๆ ทำให้มีความรู้ ทักษะ และทัศนคตทิ ี่จำเป็นในการปฏบิ ัติงาน ช่วยเพิ่ม ขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน และมีกลุ่มเพื่อนท่ีผ่านการฝกึ อบรมในรุ่นเดียวกันสามารถชว่ ยเหลอื ในเรือ่ ง การทำงาน ซง่ึ เป็นประโยชนต์ ่อการปฏบิ ตั งิ านในหน้าท่ี เป็นเครือขา่ ยช่วยเหลอื แบ่งปนั ข้อมูลและประสบการณ์ ร่วมกนั ทำให้เพิ่มประสทิ ธิภาพในการทำงานและเขา้ ใจในบทบาทหนา้ ที่ท่ีดำรงตำแหนง่ มากขนึ้ ” (นายประเสรฐิ ศักด์ิ ทองดุล ปลดั อำเภอเมืองอทุ ัยธานี, สมั ภาษณ)์ 3. การนำแนวคดิ และวสิ ัยทศั น์ทไ่ี ด้รับจากการฝึกอบรมไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน “ปลัดอำเภอเป็นอาชีพทีต่ ้องมคี วามพรอ้ มในการปฏิบัติงานอยู่ตลอดเวลา ผมจะเนน้ ปรึกษา ปลัดอำเภอที่ทำงานมาก่อนและศึกษาการทำงานของคนเก่าแล้วจึงนำมาปรับใช้กับการทำงานของเรา อีกทั้ง ต้องศึกษาข้อกฎหมายเพื่อนำมาประกอบการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน และวางแผนขั้นตอนการทำงาน กอ่ นลงพืน้ ท”ี่ (นายสิรวิชญ์ ทองศรีนุช ปลดั อำเภอเกาะช้าง, สัมภาษณ์) “การปฏิบัติงานที่สำคัญของปลัดอำเภอนอกจากทำงานได้หลากหลายภารกิจแล้ว ต้องมี การทำงานเป็นทีม มีการทำงานเป็นขั้นตอน ต้องใช้ทักษะในการประสานงาน และทักษะการพูดในที่ชุมชน” (นายทรงวทิ ย์ อินไชยยา เจา้ พนกั งานปกครองปฏิบัติการ ท่ีทำการปกครองจงั หวดั บึงกาฬ, สมั ภาษณ)์ “ยึดการทำงานตามค่านิยมของกรม คือการทำให้ประชาชนทุกข์น้อยลง สุขมากขึ้น และ การทำงานแบบบูรณาการในภารกิจของกรมการปกครอง โดยการใช้กำลัง อส. มาช่วยทำงานและสร้างที ม การทำงานใหเ้ กิดความเข้มแข็ง” (นางสาวธญั ญารตั น์ เหล่าบตุ รศรี ปลดั อำเภอหว้านใหญ่, สมั ภาษณ์) หนา้ | 83

“แนวคิดและวิสัยทัศน์สำหรับการปฏิบัติงานไม่ว่าท่านจะปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ใด ส่งิ สำคญั ทีส่ ุดในการปฏิบัตงิ านเก่ียวกบั ตำแหน่งหน้าทีน่ ั้น คอื การศึกษาเรยี นรู้และทำความเข้าใจภารกิจหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด” (นางสาวอมรรัตน์ จิรนนท์วงศ์ นิติกร กองการเจ้าหน้าที่, สัมภาษณ)์ “รู้สึกมีความมั่นใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น บวกกับได้รู้ว่างานที่เราทำส่งผลดีต่อใครบ้าง สิ่งสำคัญหลังการฝกึ อบรมคอื ไดป้ ระสบการณ์ มีทักษะในงานเพม่ิ ข้ึนและสามารถนำไปต่อยอดได้” (นางสาวนนั ทิยา ฟ้องเสียง ปลดั อำเภอกดุ ชุม, สัมภาษณ)์ “ตำแหนง่ ปลัดอำเภอ ตอ้ งมลี ักษณะของความเป็นผู้นำทด่ี ีหรือมีคุณสมบตั ิของนักปกครอง โดยภารกจิ ของกรมการปกครองมีความเกย่ี วข้องกับการดำรงชีวิตประจำวนั ของประชาชนเป็นอันมากต้ังแต่เกิด จนกระทั่งตาย ความเกี่ยวข้องดังกล่าวมีลักษณะเป็นหน้าที่ในการให้บริการแก่ประชาชน ทั้งเรื่องที่กฎหมาย กำหนดไว้และงานทางปกครอง ปลัดอำเภอจึงจำเป็นต้องมจี ติ ใจที่พร้อมจะเสียสละและรบั ใช้ประชาชน ควบคู่ไป กับความสามารถในการปกครองคนดว้ ย” (นายประเสรฐิ ศักด์ิ ทองดุลย์ ปลดั อำเภอเมืองอทุ ัยธานี, สมั ภาษณ์) 4. การปรับเปล่ยี นทศั นคติทีด่ ตี อ่ ตำแหนง่ หน้าทีภ่ ายหลังจากการฝกึ อบรม “การมาเป็นปลัดอำเภอต้องทำงานอย่างทุ่มเท เป็นอาชีพที่เป็นผู้ให้ เสียสละ ทำงานเพื่อ ประชาชน” (นายสริ วชิ ญ์ ทองศรีนชุ ปลดั อำเภอเกาะชา้ ง, สมั ภาษณ์) “มีความรู้สกึ ภาคภูมิใจกบั อาชีพรับราชการ กอ่ นเข้ามาทำงานในหน้าทฝี่ ่ายปกครอง มองว่า ตำแหน่งปลัดอำเภอมีภารกิจหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดเท่านั้น พอเข้ามาทำงานจริงๆ หน้าที่อื่นใดที่อยู่ นอกเหนือจากภารกจิ หนา้ ที่ ถือว่าเป็นหน้าท่ีของฝ่ายปกครองต้องทำเพ่ือประโยชนส์ ขุ ของประชาชน” (นายทรงวิทย์ อนิ ไชยยา เจา้ พนกั งานปกครองปฏบิ ตั กิ าร ท่ที ำการปกครองจงั หวดั บงึ กาฬ, สัมภาษณ)์ “หลังผ่านการฝึกอบรมมาแล้ว ทำให้รู้บริบทการทำงานและความรับผิดชอบในตำแหน่ง หน้าที่ของปลัดอำเภอมากขึ้น นอกจากภารกิจงานของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยแล้ว ยังมีภารกิจ งานที่ต้องปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาล และงานของกระทรวงอื่นที่อยู่ในพื้นท่ี เพื่อบำบัดทุกข์ บำรุงสุขของ ประชาชนและประโยชน์สว่ นรวม” (นางสาวธญั ญารตั น์ เหลา่ บตุ รศรี ปลัดอำเภอหว้านใหญ่, สมั ภาษณ์) “การทำงานในตำแหน่งหน้าที่ควรใช้ความระมัดระวัง คิดให้รอบคอบ ยอมรับในความผิด พลาดของตนเอง และพร้อมที่จะปรับปรุงตัวเอง พัฒนาตัวเองให้ดีขึ้น และทุกตำแหน่งหน้าที่มีความสำคัญ เท่ากนั ” (นางสาวอมรรตั น์ จิรนนท์วงศ์ นิตกิ ร กองการเจา้ หนา้ ที่, สัมภาษณ์) “คิดว่าตำแหน่งที่เราเป็นอยู่สามารถสร้างประโยชน์ให้กับประชาชนอย่างมากมายและ กว้างขวาง ทำให้มีความกระตือรือร้นในการทำงาน รักและมีความสุขในการทำงานมากขึ้น” (นางสาวนันทิยา ฟอ้ งเสยี ง ปลัดอำเภอกุดชุม, สมั ภาษณ์) หนา้ | 84

“ตำแหนง่ ปลัดอำเภอ เปน็ ตำแหนง่ ทสี่ ำคัญท่ีใกล้ชิดกับประชาชนหรือชาวบ้าน ปลัดอำเภอ เปรยี บเสมอื นหน้าดา่ นหรือเป็นตัวแทนของรฐั ในระดับพน้ื ที่ ท้ังนี้ยงั เป็นผู้ประสานความต้องการของประชาชน ในพืน้ ทก่ี ับการดำเนินการของรฐั ในทุกระดบั และเป็นกลไกสำคัญที่ขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติด้วย อีกทั้ง แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในความรับผิดชอบในพื้นท่ี รักษาความสงบเรียบร้อย เยียวยาและ ดำรงไว้ซึ่งความเป็นธรรมในสังคม หากสามารถแก้ไขปัญหาไดส้ ำเร็จสิ่งท่ีสะท้อนกลับมาคือความภาคภูมิใจท่ีเรา สามารถแกป้ ัญหาหรือช่วยเหลือคนเขาทเ่ี ดือดร้อนได้ เป็นกลไกสว่ นหน่ึงที่ทำให้สังคมมีความสงบสุข ซึ่งเป็นสิ่ง ตอบแทนที่มีคา่ มากกว่าเงนิ ทองอยใู่ นจิตวิญญาณของนักปกครอง” (นายประเสริฐศักดิ์ ทองดุลย์ ปลัดอำเภอ เมอื งอุทัยธานี, สัมภาษณ์) 5. ขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกับหลักสตู รปลัดอำเภอ “ควรเพิ่มระยะเวลาการฝึกอบรมซึ่งจะทำให้ได้เนื้อหาวิชาที่ครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน และควรเพ่ิมการฝึกปฏิบตั ิควบคู่กับการเรียนทฤษฎี ส่วนวถิ ีธัญบุรีเป็นเสนห่ ์อย่างหน่ึงของหลักสูตรปลัดอำเภอ เป็นการฝึกวินัยในตนเองให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานตลอดเวลา” (นายสิรวิชญ์ ทองศรีนุช ปลัดอำเภอ เกาะชา้ ง, สมั ภาษณ์) “เนื้อหาในการฝึกอบรมค่อนข้างมากไม่สอดคล้องกับระยะเวลาการฝึกอบรม ทำให้เวลา เรียนบางวิชาบีบอัดมากเกินไปจึงไม่ได้รับความรู้เต็มที่ ควรขยายเวลาจากเดิมออกไปเป็น 60 วัน เจ้าหน้าที่ โครงการฯ ใหก้ ารดแู ลดี การจดั เวลาเรยี นและการศกึ ษาดูงานจัดไดด้ ี สว่ นอาคารสถานที่ควรได้รบั การปรับปรุง ใหด้ ีข้ึน” (นางสาวธญั ญารัตน์ เหล่าบุตรศรี ปลดั อำเภอหว้านใหญ่, สมั ภาษณ์) “การจัดอบรมมีวิชาจำนวนที่ค่อนข้างเยอะ ถ้าเปรียบเทียบกับระยะเวลาการฝึกอบรม ทำให้ไม่ได้รับความรู้อย่างเต็มที่ ควรปรับเวลาการฝึกอบรมให้เหมาะสมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏบิ ตั หิ น้าทีไ่ ด้ทันทีและมีความถูกต้องมากทสี่ ุด อกี ทั้งยงั ขาดการฝึกภาคปฏิบัติที่สามารถ ส่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานได้อย่างแท้จริง” (นางสาวอมรรัตน์ จิรนนท์วงศ์ นิติกร กองการเจ้าหน้าท่ี, สัมภาษณ์) “ควรเพิ่มเวลา/ชัว่ โมง ในวชิ าทีไ่ ด้นำมาใชป้ ฏิบัตงิ านจริง เช่น งานสำนกั งาน แผนโครงการ งานทะเบยี นฯ ควรเน้นใหค้ วามรกู้ ับปลดั อำเภอทร่ี ับผดิ ชอบงานในหนา้ ที่มากขึ้น การใหค้ วามรทู้ างด้านวชิ าการ และภาคปฏิบตั ิควรทำควบคู่กนั เพ่ือให้การนำไปใช้ปฏิบัติงานมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประโยชน์สูงสดุ ” (นางสาวนนั ทยิ า ฟ้องเสยี ง ปลัดอำเภอกดุ ชุม, สมั ภาษณ์) “ตารางเรยี นแน่นไป ควรขยายเวลาการฝึกอบรมออกไปเป็น 2 เดอื น ควรเพม่ิ จำนวนเวลา เรียนในวิชาอำนวยความเป็นธรรม และเน้นการฝกึ ปฏิบัติมากขึ้น” (นายประเสริฐศักดิ์ ทองดุลย์ ปลัดอำเภอ เมืองอทุ ัยธานี, สมั ภาษณ์) หนา้ | 85

มิติที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลังผ่านการฝึกอบรม โดยประเมินผลจากผู้บังคับบัญชาของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม มีความคิดเห็น ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การปรับเปล่ียนพฤติกรรมดา้ นการปฏบิ ตั ติ น “ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นคนสุภาพเรียบร้อย ให้ความเคารพผู้อาวุโส มีความสัมพันธ์ที่ดี กบั ผูร้ ่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา หลงั ผา่ นการฝึกอบรมมีการปฏบิ ัติตนเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีขึ้น ซ่ึงกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าส่วนราชการ และผู้ใต้บังคับบัญชาต่างให้ความชื่นชม” (นายฉัตรชัย ทองหลี นายอำเภอ เกาะช้าง, สัมภาษณ์) “หลังผ่านการฝึกอบรมมาแล้วมีความมั่นใจมากขึ้น มีการแต่งกายได้เหมาะสม ปรับปรุง ตนเองอยู่ในระดับที่ดี มีบุคลิกภาพที่ดีขึ้นมีความเป็นผู้นำและสุขุม สุภาพเรียบร้อย สามารถปฏิบัติหน้าที่ ร่วมกับเพือ่ นร่วมงานไดด้ ี” (นายชยั ณรงค์ สรุ ะดะนัย ป้องกนั จังหวดั บงึ กาฬ, สมั ภาษณ์) “ก่อนเข้ารับการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมขาดทักษะในการบังคบั บัญชาสมาชิกกอง อาสารกั ษาดนิ แดน (อส.) แตห่ ลงั ผ่านการฝึกอบรมผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมกล้าตดั สนิ ใจและกล้าแสดงออกมากข้ึน สามารถบังคับบัญชาสมาชิกกองอาสารักษาดินแดน (อส.) ให้มีระเบียบวินัยมากขึ้น มีการแต่งกายถูกต้องตาม ระเบียบเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่สมาชิกกองอาสารักษาดินแดน (อส.)” (นายสมศักดิ์ บุญจันทร์ นายอำเภอ หวา้ นใหญ่, สัมภาษณ์) “ก่อนการฝึกอบรมยังขาดเรื่องวัฒนธรรมองค์กร หลังจากที่ผ่านการฝึกอบรมมาแล้ว สามารถทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานและองค์กรต่างๆ ได้ดีขึ้น การเสนองานต่อผู้บังคับบัญชามีขั้นตอนและ กระบวนการที่ชัดเจนและถูกต้องมากขึ้น” (นายธนณัฏฐ์ นวไพบูลย์ ผอ.ส่วนงานวินัย กองการเจ้าหน้าที่, สัมภาษณ์) “หลังจากผ่านการฝกึ อบรมแลว้ ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมมีการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดขี นึ้ มีความ เชื่อมั่นในตนเอง มีระเบียบวินัย แต่งกายถูกกฎระเบียบ มีการวางตัวที่ดี มีความเป็นผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีการประสานงานมากขึ้น มีทักษะในการสอื่ สาร การพดู ในท่ชี ุมชน กล้าแสดงออกมากขน้ึ และมจี ิตบริการที่ดี” (นายดุสิต สทุ ธปิ ระภา ปลัดอำเภอหัวหนา้ กลมุ่ งานบริหารงานปกครอง อำเภอกดุ ชุม, สมั ภาษณ์) “ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมมาแล้วมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ประสานงานกบั ทุกส่วนราชการได้ดี สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะ การประสานงานและการศึกษาระเบียบกฎหมาย” (นายศุภโชค วินัยพาณิช ปลัดอำเภอหัวหน้ากลุ่มงาน บริหารงานปกครอง อำเภอเมอื งอุทัยธานี, สมั ภาษณ์) 2. การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมดา้ นการปฏิบตั ิงาน “ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมมาใช้ในการปฏิบัติงานได้ เป็นอย่างดี ความรู้จากการฝึกอบรมบางเรื่องไม่สามารถนำมาใช้ในการปฏิบัติงานในพื้นที่ได้โดยตรง เนื่องจาก พื้นท่ีมีบริบทและสภาพแวดล้อมแตกต่างจากพื้นที่อื่นๆ แต่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมก็ได้นำความรู้มาประยุกต์ใช้ หน้า | 86