ให้เข้ากับบริบทงานและสภาพแวดล้อมในพื้นที่ โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดโรคระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาท่องเที่ยวในพื้นที่ลดลง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ มีเพียงนักท่องเที่ยวชาวไทยเดินทางมาท่องเที่ยว ซึ่งต้องมีการคัดกรองการเดินทางเข้าออก พื้นท่ี โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจากจังหวัดที่เป็นพื้นที่สีแดงเข้ม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้นำความรู้ ประสบการณ์ เทคนิคต่างๆ ที่ได้รับจากการฝึกอบรมมาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน โดยผู้เข้ารับการฝึกอบรบได้เป็นกำลังหลัก ในชุดตรวจคัดกรองนักท่องเที่ยว ทำให้ได้รับความชื่นชมจากภาคธุรกิจและประชาชนในพื้นที่” (นายฉัตรชัย ทองหลี นายอำเภอเกาะชา้ ง, สัมภาษณ์) “ปลัดอำเภอที่ผ่านการฝึกอบรมมานั้นเป็นคนที่มีประสบการณ์ในการทำงานมาก่อนซึ่ง ในระยะแรกยังไม่เข้าใจในบทบาทของปลัดอำเภอเท่าที่ควร หลังจากอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอมาแล้วทำให้ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของปลัดอำเภอมากขึ้น เป็นผู้ช่วยประสานงานได้ดีโดยเฉพาะงานที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้บังคับบัญชา เช่น งานกิจการชายแดน งานรักษาความสงบเรียบร้อย ปฏิบัติงานด้วยคล่องแคล่วและเป็นไป อยา่ งราบรนื่ ” (นายชยั ณรงค์ สุระดะนัย ปอ้ งกันจงั หวดั บึงกาฬ, สัมภาษณ์) “ปลัดอำเภอผู้ผ่านการฝึกอบรมมีความมุ่งมั่นตั้งใจทำงานให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี ทำงานได้ อย่างรวดเรว็ ให้ทนั ตามเงื่อนไขเวลา เช่น งานโครงการตา่ งๆ ต้องให้เสรจ็ ตามเวลา และสามารถประสานงานกับ ชมุ ชนและประชาชนได้เปน็ อย่างดี” (นายสมศักด์ิ บุญจันทร์ นายอำเภอหว้านใหญ่, สัมภาษณ)์ “นอกจากผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้ระเบียบกฎหมายเกี่ยวกับวินัยข้าราชการ และ การดำเนินการสอบสวนทางวินัยข้าราชการแล้ว ผู้ปฏิบัติงานยังต้องมีความรู้เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ ขั้นตอน การปฏิบัติงาน และระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของข้าราชการในสังกัดกรมการปกครอง และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ดำเนินการสอบสวน ซึ่งมีอยู่จำนวนมาก ผู้ปฏิบัติงานจึงจะพิจารณา สำนวนการสอบสวนทางวินัยได้ถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย อีกทั้งยังต้องมีความเข้าใจบริบท พฤติการณ์ ในการปฏิบัติงานในพื้นที่จริง เพื่อให้การพิจารณามีความเป็นธรรมแก่ผู้ถูกกล่าวหาทางวินัย โดยก่อนเข้ารับ การฝกึ อบรมผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมไมม่ ีความรู้พื้นฐานท่ีเกี่ยวข้องกบั การปฏิบตั ิงานของกรมการปกครอง แต่หลัง ผา่ นการฝึกอบรมทำให้มองภาพรวมของงานในอำนาจหน้าท่ีความรับผิดชอบได้ดีข้นึ สามารถปฏิบตั ิงานท่ีอยู่ใน ความรับผิดชอบได้ดีขึ้นมาก ทำให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี” (นายธนณัฏฐ์ นวไพบูลย์ ผอ.ส่วนงานวินัย กองการเจ้าหน้าท,่ี สัมภาษณ์) “ก่อนการฝึกอบรมยังไม่รู้ทศิ ทางการทำงานที่ชัดเจน ส่วนใหญ่เป็นการถามเพื่อนร่วมงาน และได้รบั คำแนะนำจากผู้บังคบั บญั ชา หลงั ผา่ นการฝึกอบรมมาแล้วมีการทำงานท่ถี ูกตอ้ งตามระเบียบกฎหมาย มากขึ้น ทำงานเสรจ็ ตามวัน เวลา ที่ได้รับมอบหมาย มีการนำความรู้มาปฏิบัติงานได้ดีขึ้นในเร่ืองการให้บริการ ประชาชน มที กั ษะการทำงานท่ีดี และสามารถทำงานกับผรู้ ว่ มงานได้ดีขนึ้ ” (นายดุสติ สทุ ธิประภา ปลัดอำเภอ หวั หน้ากลมุ่ งานบริหารงานปกครอง อำเภอกุดชมุ , สัมภาษณ์) “ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมสามารถปฏิบตั งิ านได้ดขี ้นึ มีการศึกษาระเบียบกฎหมายตา่ งๆ มีการ ประสานงานและปฏิบตั ิงานกบั เพื่อนรว่ มงานได้เปน็ อย่างดี” (นายศภุ โชค วินยั พาณชิ ปลดั อำเภอหวั หน้ากลุ่ม งานบริหารงานปกครอง อำเภอเมืองอุทัยธานี, สัมภาษณ์) หน้า | 87
3. การปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมด้านหนว่ ยงาน “ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้นำความรู้ ประสบการณ์จากการฝกึ อบรมมาใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน ได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีบุคลิกภาพ ความประพฤติ และทัศนคติที่ดีในการทำงาน ทำให้ได้รับความชื่นชมจาก หัวหน้าสว่ นราชการ ผู้ร่วมงาน ผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชา ภาคธรุ กิจ และประชาชนในพื้นที่ ซ่ึงชว่ ยเสริมสร้างภาพลกั ษณ์ ทีด่ ีใหแ้ ก่กรมการปกครอง” (นายฉัตรชัย ทองหลี นายอำเภอเกาะชา้ ง, สัมภาษณ์) “ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถทำงานตามที่ได้รับมอบหมายและมีทักษะในการติดต่อ ประสานงานกบั หนว่ ยงานต่างๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี เช่น งานสาธารณสขุ งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ทำให้ การปฏิบตั ิงานเป็นไปดว้ ยความรวดเรว็ และสำเร็จลุล่วงได้ดี” (นายชัยณรงค์ สรุ ะดะนยั ปอ้ งกนั จงั หวัดบึงกาฬ, สัมภาษณ)์ “ปลัดอำเภอที่เข้าอบรมสามารถนำความรู้มาทำงานบำบัดทุกข์ บำรุงสุขให้กับประชาชน นำหลักคุณธรรม จริยธรรม มาชว่ ยแก้ปญั หาของประชาชนให้ได้รบั ความยุตธิ รรมและเป็นกลาง โดยประชาชน ไดร้ บั ประโยชน์สงู สุด” (นายสมศกั ด์ิ บญุ จนั ทร์ นายอำเภอหวา้ นใหญ่, สัมภาษณ์) “ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีการรักษาภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร โดยปฏิบัติตัวด้วยความมี ระเบียบวินัยและเป็นแบบอย่างที่ดีของข้าราชการ ทำหน้าท่ีเป็นผู้ติดต่อประสานงานด้านกฎหมายกับส่วน ราชการท่ีเกีย่ วขอ้ งไดเ้ ปน็ อย่างดี ” (นายธนณัฏฐ์ นวไพบลู ย์ ผอ.สว่ นงานวินัย กองการเจา้ หน้าที่, สัมภาษณ์) “ปลัดอำเภอที่อบรมมาแล้วมีการให้บริการที่ดี สามารถช่วยเหลือให้คำแนะนำประชาชน ในด้านงานทะเบียน และมีการลงพื้นที่ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน โดยเฉพาะในช่วง การระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำใหป้ ระชาชนทุกขน์ อ้ ยลงและมคี วามสุขมากขนึ้ ” (นายดสุ ติ สทุ ธปิ ระภา ปลัดอำเภอหวั หน้ากล่มุ งานบรหิ ารงานปกครอง อำเภอกดุ ชมุ , สมั ภาษณ์) “ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถนำความรทู้ ่ีไดร้ ับจากการฝกึ อบรมมาใช้ในการแก้ไขปัญหา บรรเทาความเดือดร้อนในเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ให้กับประชาชน เป็นที่พึ่งของประชาชนได้ ทำให้ประชาชน ไดร้ บั ความพึงพอใจและช่นื ชมในตำแหนง่ ปลดั อำเภอ” (นายศุภโชค วินัยพาณชิ ปลัดอำเภอหัวหน้ากลุ่มงาน บริหารงานปกครอง อำเภอเมืองอุทัยธานี, สัมภาษณ์) 4. ข้อเสนอแนะเกย่ี วกบั หลักสตู รปลัดอำเภอ “หลักสูตรปลัดอำเภอเป็นหลักสูตรหลักทีช่ ่วยพัฒนาปลดั อำเภอให้สามารถปฏบิ ัตงิ านได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงควรจัดให้มีการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอต่อไป เนื่องจากมีการเปลี่ยน แปลงทางสังคม วัฒนธรรม วิทยาการและเทคโนโลยี รวมถึง องค์ความรู้ต่างๆ จึงควรปรับปรุงหลักสูตร ปลดั อำเภอให้มคี วามทันสมยั ซ่งึ การปฏิบตั งิ านของปลดั อำเภอในปจั จุบันจะเป็นลักษณะของการประสานงาน กับหนว่ ยงานต่างๆ ในพนื้ ที่ ทง้ั หน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชน ดงั นน้ั ทกั ษะการสื่อสารและการประสานงาน จงึ มีความจำเป็นต่อการปฏิบตั ิงาน” (นายฉตั รชยั ทองหลี นายอำเภอเกาะชา้ ง, สมั ภาษณ์) หนา้ | 88
“ควรให้ปลัดอำเภอได้รับการฝึกความเป็นผู้นำมากขึ้น จะทำให้ปลัดอำเภอกล้าแสดงออก มีความเชื่อม่นั และมน่ั ใจในตนเองมากย่ิงขึน้ ” (นายชยั ณรงค์ สรุ ะดะนัย ป้องกนั จังหวดั บึงกาฬ, สัมภาษณ์) “การฝึกอบรมไม่ควรใช้เวลามากเกินไป ควรอยู่ระหว่าง 1 - 2 เดอื น หลังผา่ นการฝึกอบรม ไปประมาณ 1- 2 ปี ควรมีการอบรมเพิ่มเติมความรู้เฉพาะด้านเพื่อให้มีความเชี่ยวชาญมากขึ้น และสิ่งที่น่า ชื่นชมในหลักสูตรคือความรู้ด้านการสืบสวนสอบสวน ผู้ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้มาใช้อำนวยความ เปน็ ธรรมใหก้ บั ประชาชนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี” (นายสมศักดิ์ บญุ จนั ทร์ นายอำเภอหว้านใหญ่, สมั ภาษณ์) “หลักสตู รปลัดอำเภอชว่ ยหล่อหลอมให้ปลดั อำเภอมคี วามรู้ความสามารถ มคี วามเป็นผู้นำ มีการประสานงานที่ดีและเห็นภาพรวมในการปฏิบัติงาน ดังนั้นควรเน้นการฝึกภาคปฏิบัติเพื่อให้รู้ขั้นตอนและ กระบวนการทำงานมากขนึ้ ” (นายธนณัฏฐ์ นวไพบูลย์ ผอ.ส่วนงานวินยั กองการเจ้าหน้าท่ี, สัมภาษณ์) “ควรให้ปลัดอำเภอได้รับการฝึกอบรมเฉพาะในเรื่องท่ีอยู่ในความรับผิดชอบจะได้มีความ เชี่ยวชาญในงานที่ทำมากขึ้น ในสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การฝึกอบรม ออนไลนถ์ ือวา่ มีความเหมาะสมและสามารถนำความรู้มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานได้ แต่ยังขาดการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผเู้ ขา้ อบรมด้วยกันเอง” (นายดุสิต สุทธิประภา ปลดั อำเภอหวั หนา้ กลุ่มงานบรหิ ารงานปกครอง อำเภอ กุดชุม, สมั ภาษณ์) “ควรจัดให้มีการอบรมออนไลน์ เพื่อช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แต่การอบรมออนไลน์จะมีประสิทธภิ าพหรอื ไม่ข้ึนอยู่กับความสนใจของผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมดว้ ย” (นายศภุ โชค วินยั พาณิช ปลัดอำเภอหัวหน้ากลุม่ งานบริหารงานปกครอง อำเภอเมืองอุทัยธานี, สัมภาษณ์) 2. หลักสูตรสบื สวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง รนุ่ ที่ 50 ผลการสมั ภาษณ์ มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ ในการปฏิบตั งิ าน ซึ่งประเมินผลจากข้าราชการผูท้ ่ีผา่ นการฝกึ อบรมโดยตรง มคี วามคิดเห็นดังต่อไปน้ี 1. การนำความรู้ท่ีได้รบั จากการฝกึ อบรมไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน “ความรู้ท่ีได้จากการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครองมีหลายดา้ น ประกอบด้วย ความรู้ในบทบาทหน้าที่ของพนักงานฝ่ายปกครองในการรักษาความสงบเรียบร้อย การอำนวย ความเป็นธรรม การสืบสวนสอบสวนคดีอาญา ความรู้ในด้านการสืบสวน (การจับกุม การค้น การยึด) การลงมือ ปฏิบัติสถานที่จริงในการสืบสวนรูปแบบเดินดินและการสืบสวนอิเลกทรอนิกส์ เทคนิคต่างๆ ในการทำบันทึก จับกุม ความรู้ในด้านการสอบสวนคดีอาญาบางประเภท (๑๖ ฉบับ) ความรู้ในการสอบสวน เขตอำนาจศาล แขวง ศาลจังหวัด และการลงมือปฏิบัติจริงในการทำสำนวนเขตอำนาจศาลแขวง และศาลจังหวัด ความรู้ใน ด้านยุทธวิธีต่างๆ เช่น การหยุดยานพาหนะและควบคุมผู้ขับขี่ (V.S.O.C) การปฏิบัติการในระยะประชิด (C.Q.B) ยุทธวิธีการเอาตวั รอดในการเผชญิ เหตุ (O.S.T) และการใชอ้ าวุธปืนในรปู แบบต่างๆ และความร้ดู ้านอื่นๆ หน้า | 89
เช่น การชันสูตรพลกิ ศพ และการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ (การทำ CPR)” (นายกิตตพิ งศ์ วงค์สวัสดิ์ ปลัดอำเภอ บา้ นลาด, สัมภาษณ์) “ความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมนอกจากวิชาพื้นฐานและหลักการสืบสวนสอบสวนแล้ว การฝกึ เขยี นสำนวน ความรจู้ ากวทิ ยากร เช่น ผู้พพิ ากษา อยั การ วทิ ยากรจาก สน.สก. และวิทยากรคดเี กยี่ วกับ ป่าไม้ มีประโยชนก์ บั การทำงานเป็นอยา่ งมาก” (นายจรญู วิทย์ ภักภิรมย์ ปลัดอำเภอกันตัง, สัมภาษณ์) 2. การนำหลักสมรรถนะท่ไี ดร้ บั จากการฝกึ อบรมไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน “หลังจากผ่านการฝึกอบรมได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานด้านอำนวยความเป็นธรรม ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญาของฝ่ายปกครอง การร่วมชันสูตรพลิกศพ การไกล่เกลี่ย ทางแพ่งและอาญา และการดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าดว้ ยการทวงถามหน้ี โดยผลจากการฝึกอบรมทำให้มี ความม่ันใจในการทำงาน สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในการสนับสนุนการทำงานของฝ่ายอื่นๆ ได้ด้วย” (นายกิตติพงศ์ วงค์สวสั ดิ์ ปลดั อำเภอบา้ นลาด, สัมภาษณ์) “หลังจากผ่านการฝึกอบรมมาแล้วมีความมั่นใจในการทำงานมากขึ้น ทำให้มีแนวทาง การทำงานที่ถูกต้อง รู้จักวิธีการหาข้อมูลเพื่อนำมาปรับใช้กับการทำงาน การนำหลักการสืบสวนสอบสว นมา ปรบั ใช้ เช่น การขอเพ่มิ ชอ่ื ในงานทะเบียน” (นายจรญู วิทย์ ภกั ภริ มย์ ปลัดอำเภอกันตงั , สัมภาษณ์) 3. การนำแนวคิดและวิสัยทัศน์ท่ีได้รบั จากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน “หลังจากผ่านการฝึกอบรมมแี นวคิดท่จี ะนำความรมู้ าปฏิบตั ิงานให้ถูกต้องในดา้ นการบังคับ ใช้กฎหมายสนับสนุนการทำงานของฝา่ ยต่างๆ ตามภารกิจ และถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั ผูป้ ฏิบัติงานในพื้นที่ เช่น กำนนั ผ้ใู หญ่บา้ น เพอ่ื เสรมิ สร้างสมรรถนะในการรักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นท่ี” (นายกิตตพิ งศ์ วงค์สวัสดิ์ ปลดั อำเภอบ้านลาด, สมั ภาษณ์) “ภารกิจ หน้าที่ทีร่ บั ผิดชอบของปลัดอำเภอมคี ่อนข้างมาก แต่ยังมีข้อจำกัดอยู่หลายอย่าง ที่ทำให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มกำลัง เช่น บุคลากรไม่เพียงพอ ขาดงบประมาณในการดำเนินงาน ดังนั้น เพื่อให้ภารกิจงานในหน้าทีส่ ำเร็จลุล่วงได้ดว้ ยดี ต้องคำนึงถึงการทำงานที่มีศักยภาพและร่วมบูรณาการ ทำงานกับหน่วยงานอืน่ ภายใตข้ อ้ จำกดั ให้ดที ี่สดุ ” (นายจรญู วทิ ย์ ภกั ภิรมย์ ปลัดอำเภอกนั ตงั , สัมภาษณ์) 4. การปรับเปลย่ี นทศั นคตทิ ่ีดีต่อตำแหนง่ หน้าทภ่ี ายหลังจากการฝึกอบรม “หลังผ่านการฝึกอบรมมีทัศนคติที่ดีต่อตำแหน่งหน้าท่ี ต้องการที่จะทำงานในตำแหน่ง ปลัดอำเภอใหด้ ยี ่งิ ขน้ึ กว่าเดิม เพอ่ื ที่จะปฏิบตั หิ น้าท่ีในการรกั ษาความสงบเรียบร้อย การอำนวยความเป็นธรรม ให้กับประชาชน” (นายกติ ตพิ งศ์ วงคส์ วสั ดิ์ ปลดั อำเภอบา้ นลาด, สมั ภาษณ์) “ตำแหนง่ ปลดั อำเภอโดยอำนาจหนา้ ที่สว่ นใหญ่มีบทบาทหน้าท่ีท่ีเข้าไปมสี ่วนเกี่ยวข้องกับ ความทุกข์สุขของประชาชน เป็นตำแหน่งที่อยู่ใกล้ชิดและคอยช่วยเหลือประชาชนในทุกๆ เรื่องไม่ใช่เรื่องใด เร่ืองหนึง่ เปน็ ผ้ปู ระสานงานการขับเคลื่อนงานในตำบลทร่ี ับผิดชอบและชว่ ยสนับสนุนและบูรณาการทำงานกับ หน่วยงานอื่น” (นายจรูญวิทย์ ภกั ภิรมย์ ปลดั อำเภอกนั ตงั , สัมภาษณ)์ หน้า | 90
5. ขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง “หลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง มีความจำเป็นอย่างมากในการบังคับใช้ กฎหมายใหถ้ ูกต้องของพนักงานฝา่ ยปกครอง ซง่ึ แต่ละปงี บประมาณมีผู้เข้าฝึกอบรมจำนวนไม่มาก ควรจัดให้มี การฝึกอบรมมากขึ้น และให้มกี ารฝกึ อบรมในภูมิภาคดว้ ย เชน่ การสืบสวน การทำบันทึกจับกุม การทำสำนวน ศาลแขวง เพอื่ ทบทวนความรู้ใหก้ ับผู้ทผ่ี ่านการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครองมาแล้ว ให้มคี วามชำนาญมากขึน้ ” (นายกติ ติพงศ์ วงค์สวสั ดิ์ ปลดั อำเภอบ้านลาด, สมั ภาษณ์) “ภาพรวมของหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง ทง้ั วิทยากรที่มาบรรยายให้ ความรู้และการศึกษาดูงานมีความเหมาะสมดี เพราะทำให้ได้เรียนรู้และเข้าใจวิธีการทำงานกับหน่วยงานอ่ืน ได้ดีขึ้น ได้ฝึกปฏิบัติจริง (Learning by doing) ซึ่งเป็นแนวทางที่ดีสำหรับนำไปใช้ปฏิบัติงาน ควรจัดให้มีวิชา การสอบสวนข้อเท็จจรงิ ในการละเมิดของพนักงานสว่ นท้องถิ่นดว้ ย เพราะเกิดปัญหาในพื้นท่ีแตย่ ังไม่มีแนวทาง ในการแกไ้ ขปญั หาดังกล่าว” (นายจรูญวิทย์ ภักภริ มย์ ปลดั อำเภอกนั ตัง, สมั ภาษณ์) มิติท่ี 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลังผ่านการฝึกอบรม โดยประเมินผลจากผู้บังคับบัญชาของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม มีความคิดเห็น ดังต่อไปน้ี 1. การปรบั เปล่ียนพฤติกรรมด้านการปฏบิ ัติตน “ปลัดอำเภอผู้ผ่านการอบรมมาแล้วมีความมั่นใจในการทำงานและสามารถแก้ไขปัญหา การรอ้ งเรยี นและให้คำแนะนำในเร่ืองการอำนวยความเป็นธรรมให้กับประชาชนได้ มคี วามเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย มีวินัย รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดีและประสานงานกับหน่วยงาน ราชการในพน้ื ทไ่ี ดด้ ”ี (นายไพศาล ชอ่ ผกา นายอำเภอบา้ นลาด, สัมภาษณ์) “ปลดั อำเภอทเ่ี ขา้ อบรมมีการเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีขนึ้ อย่างเหน็ ไดช้ ัด เช่น บุคลิกภาพ การแต่งกาย สามารถวางตัวและปฏิบัติตนต่อผู้บังคับบัญชาได้อย่างเหมาะสม ทำงานร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชา ไดด้ ี มที ักษะดา้ นบรกิ ารสามารถนำมาปรับใช้ในงานได้ดี” (นายจักรพงษ์ รชั นีกุล นายอำเภอกนั ตงั , สัมภาษณ์) 2. การปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมดา้ นการปฏิบตั ิงาน “หลังผ่านการฝึกอบรมปลัดอำเภอทำงานดีขึ้น สามารถแก้ไขปัญหาการทำงานได้ดีและ ปฏิบัติงานรว่ มกับหน่วยงานสาธารณสุข ตำรวจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และ อสม. ในการตั้งด่านตรวจคัดกรองเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับผู้ที่เดนิ ทางเข้ามาในพื้นที่” (นายไพศาล ช่อผกา นายอำเภอบ้านลาด, สัมภาษณ์) “สามารถปฏิบตั งิ านตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาได้ดีข้ึน และนำความรู้ท่ีได้รับ จากการฝกึ อบรม รวมทั้งเทคนิคต่างๆ มาปรับใชก้ ับงานทะเบียนไดด้ ี เช่น การสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงาน ทะเบียนและงานสญั ชาติ” (นายจักรพงษ์ รัชนีกุล นายอำเภอกันตงั , สัมภาษณ์) หน้า | 91
3. การปรบั เปล่ียนพฤติกรรมดา้ นหนว่ ยงาน “ปลัดอำเภอได้รับความพึงพอใจจากประชาชนในการลงพื้นที่แก้ไขปัญหาการร้องเรียน ต่างๆ เช่น ปัญหาทส่ี าธารณประโยชน์ และสามารถบูรณาการทำงานรว่ มกบั หน่วยงานอื่นในพ้ืนที่ เชน่ ลงพื้นท่ี การตรวจสอบข้อเท็จจริงร่วมกับ อปท. ร่วมมือกับสาธารณสขุ และตำรวจตั้งด่านในการตรวจ ค้นหากลุ่มเสี่ยง ในการป้องกันการระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)” (นายไพศาล ชอ่ ผกา นายอำเภอบ้านลาด, สมั ภาษณ์) “ปลัดอำเภอสามารถให้คำแนะนำประชาชนทม่ี าตดิ ต่อขอใช้บริการทางทะเบียนด้วยความ สุภาพ เป็นทพ่ี อใจของประชาชนและได้รบั คำชื่นชมจากผ้มู าใช้บริการ นอกจากนีย้ งั สามารถลงพ้ืนทรี่ ว่ มประชุม และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนร่วมกับ อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในฐานะปลัดอำเภอผู้เป็น หัวหนา้ ประจำตำบล” (นายจักรพงษ์ รัชนีกลุ นายอำเภอกนั ตัง, สัมภาษณ์) 4. ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง “ควรเพิ่มเติมกฎหมายใหม่ๆ ท่ีนำมาปรับใช้กับงานในอำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครองและ เน้นกฎหมายท่ใี ชป้ ฏิบัตงิ านรว่ มกับหนว่ ยงานอนื่ ” (นายไพศาล ชอ่ ผกา นายอำเภอบ้านลาด, สัมภาษณ์) “การเขา้ ใจบทบาทอำนาจหน้าที่ของปลัดอำเภอ ภารกจิ ของกรมการปกครอง และภารกิจ กระทรวงมหาดไทย รวมท้ังเทคนคิ แนวทางในการทำงานถือว่ามีความสำคญั มาก ดังน้นั ควรใหป้ ลดั อำเภอใหม่ ได้เข้ารับการฝึกอบรมก่อนที่จะลงพื้นที่ปฏิบัติงาน และควรให้ความสำคัญกับกฎหมายที่เกี่ยวกับงานในหน้าที่ ของฝ่ายปกครอง รวมทั้งเน้นกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองให้มากขึ้นด้วย” (นายจักรพงษ์ รัชนีกุล นายอำเภอกนั ตัง, สมั ภาษณ์) การวเิ คราะห์ผลการสัมภาษณ์เชิงลกึ ผลการวิเคราะห์การประเมินผลภายหลังการฝึกอบรม โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกใน 2 มิติ คือ มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงาน โดยประเมินจากข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมโดยตรง และมิติที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ดา้ นการปฏิบัติงาน และดา้ นหน่วยงานภายหลังผ่านการฝึกอบรม ซง่ึ ประเมินจากผบู้ ังคับบัญชาของข้าราชการ ที่ผ่านการฝึกอบรม สรุปได้ว่า ผู้บังคับบัญชาของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมและผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมทั้ง 2 หลักสูตร มีการให้ความเห็นครบถว้ นทกุ ด้านทง้ั 2 มิติ จากการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมมีความ คิดเห็นว่าข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภายหลังการฝึกอบรม ด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงานดีขึ้นทั้ง 3 ด้าน สำหรับข้าราชการผู้ผ่านการฝึกอบรม หลักสูตรปลัดอำเภอ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าภายหลังการฝึกอบรมได้มีการนำความรู้ความเข้าใจที่ได้รับจาก การฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานครบทุกด้าน ได้แก่ ด้านอำนาจหน้าที่ สมรรถนะ แนวคิด วิสัยทัศน์ และด้าน ทศั นคติทด่ี ีตอ่ ตำแหนง่ หนา้ ที่ หน้า | 92
ส่วนผลการสัมภาษณ์เชิงลึกหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง พบว่า ผู้บังคับบัญชา ของข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมมีความคิดเห็นว่า ข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวน พนกั งานฝ่ายปกครอง มีการปรับเปลยี่ นพฤติกรรมภายหลังการฝกึ อบรมด้านการปฏิบตั ิตน ดา้ นการปฏิบัติงาน และดา้ นหนว่ ยงานดขี น้ึ ท้ัง 3 ดา้ น สำหรบั ข้าราชการผู้ผา่ นการฝึกอบรมหลักสตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่าย ปกครอง ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าภายหลังการฝึกอบรมมีการนำความรู้ความเข้าใจไปใช้กับการปฏิบัติงาน บางส่วนเนื่องจากความรู้ที่ได้รับไม่ตรงกับภารกิจหน้าที่ที่รับผิดชอบ จึงนำความรู้ไปปรับใช้กับการปฏิบัติงาน ในหน้าที่อน่ื แทน ดังนั้น ผลการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพโดยภาพรวม สรุปได้ว่า ข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอ มีการนำความรู้ความเข้าใจด้านอำนาจหน้าที่ ด้านสมรรถนะ แนวคิด วิสัยทัศน์ และด้านทัศนคติ ที่ดีต่อตำแหน่งหน้าที่ไปใช้ในการปฏิบัติงานครบทุกด้าน ในขณะที่ข้าราชการผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร สืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง มีการนำความรู้ความเข้าใจไปใช้กับการปฏิบัติงานบางส่วนเนื่องจาก ความรู้ที่ได้รับไม่ตรงกับภารกิจหน้าที่ที่รับผิดชอบ จึงนำความรู้ไปปรับใช้กับการปฏิบัติงานในหน้าที่อื่นแทน ส่วนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏิบัติตน การปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน พบว่า ข้าราชการผู้ที่ผ่าน การฝกึ อบรมมกี ารปรับเปลีย่ นพฤติกรรมดขี นึ้ ทงั้ 2 หลกั สตู ร หนา้ | 93
บทที่ 5 สรปุ และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาวจิ ยั โครงการประเมนิ ผลการฝกึ อบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีวัตถุประสงค์ เพอ่ื ประเมินผลการฝึกอบรมของวิทยาลัยการปกครอง 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรปลัดอำเภอ หลกั สูตรสืบสวน สอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง และเพือ่ ศึกษาปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการฝึกอบรมของวิทยาลัย การปกครอง โดยประเมนิ ผลภายหลังการฝกึ อบรมใน 2 มิติ คือ มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ทีไ่ ด้รบั จากการฝกึ อบรมไปใชใ้ นการปฏิบัติงาน ประเมินผลจากข้าราชการท่ีผ่านการฝึกอบรม โดยตรง และมิติท่ี 2 การปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการปฏิบัติตน การปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลัง ผา่ นการฝึกอบรม ประเมินผลจากผบู้ ังคบั บญั ชาของข้าราชการที่ผา่ นการฝกึ อบรม สามารถสรปุ ผลไดด้ งั ต่อไปน้ี 1. สรปุ ผลการประเมินจากหลักสูตรการฝกึ อบรมของวิทยาลัยการปกครอง การประเมนิ ผลหลักสูตรการฝึกอบรมของวทิ ยาลยั การปกครอง สามารถสรุปสาระสำคญั โดยจำแนก ออกเปน็ มติ ิของแต่ละหลักสตู ร ได้ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 หลักสตู รปลดั อำเภอ รุ่นท่ี 248 - 250 มิติที่ 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝึกอบรม หลกั สตู รปลดั อำเภอในภาพรวมไปใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอไปใช้ในการปฏิบัติงานในภาพรวม พบว่า ข้าราชการผ้ผู ่านการฝึกอบรมมีการนำความรู้ความเข้าใจ ในการเป็นปลัดอำเภอท่ีมีคุณธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.67 รองลงมา คือ การนำทักษะและความรู้ในการเรียนรู้เชิงปฏิบัติไปใช้ในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 การนำความรู้จากการศึกษาดูงานเกี่ยวกับงานในหน้าที่ไปใช้ในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45 การนำ ความรู้ความเข้าใจในการเสริมสร้างภาวะผู้นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.33 การนำความรู้ ความเข้าใจในการเป็นตัวแทนของรัฐบาลในพื้นท่ีไปใช้ในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28 และการนำ ความรู้ความเข้าใจในการเป็นปลัดอำเภอของกรมการปกครองไปใช้ในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.16 ตามลำดบั รายละเอยี ดดังตารางที่ 5-1 หน้า | 94
ตารางท่ี 5-1 ผลการนำความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณท์ ่ไี ด้รบั จากการฝึกอบรม หลักสตู รปลดั อำเภอในภาพรวมไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน ภาพรวมของการนำความรู้ ระดับการนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน ไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านแต่ละด้าน มาก ปาน น้อย การ 1. ความรูค้ วามเขา้ ใจในการเปน็ ที่สุด มาก กลาง นอ้ ย ท่สี ุด S.D. แปลผล ปลดั อำเภอของกรมการปกครอง 27.6 61.2 11.2 - - 4.16 0.60 มาก 2. ความรคู้ วามเขา้ ใจในการเป็น ตัวแทนของรฐั บาลในพ้นื ที่ 38.8 50.7 10.4 - - 4.28 0.64 มาก 68.8 29.9 1.5 - ที่สดุ 3. ความรู้ความเขา้ ใจในการเป็น 38.1 57.5 4.5 - ปลดั อำเภอทม่ี คี ุณธรรม 50.7 44.8 4.5 - - 4.67 0.50 มาก 51.5 41.8 6.7 - ที่สุด 4. ความรู้ความเขา้ ใจในการเสริม สร้างภาวะผู้นำ - 4.33 0.56 มาก ทส่ี ุด 5. การนำทกั ษะและความรู้ ในการเรยี นรเู้ ชงิ ปฏบิ ตั ิ - 4.46 0.58 มาก ทีส่ ดุ 6. การนำความรู้จากการศึกษา ดูงานเกยี่ วกบั งานในหน้าที่ - 4.45 0.62 มาก ทีส่ ดุ มิติที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลงั ทผ่ี า่ นการฝกึ อบรมหลักสูตรปลดั อำเภอ ผลการศึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของข้าราชการผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ ภาพรวมในแต่ละด้าน พบว่า ภายหลังที่ผ่านการฝึกอบรมผู้ผ่านการฝึกอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การปฏิบตั ิตน อย่ใู นระดับดีขึ้นอย่างมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.64 รองลงมา คือ ด้านหน่วยงาน มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.60 และการปฏบิ ตั งิ าน มคี า่ เฉล่ียเท่ากับ 4.47 รายละเอียดดังตารางท่ี 5-2 หนา้ | 95
ตารางที่ 5-2 การปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมในภาพรวมของผู้ท่ีผา่ นการฝกึ อบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ ร่นุ ท่ี 248 - 250 ระดบั ความเหน็ ของการปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม ภาพรวมของการปรบั เปล่ยี น ควร พฤตกิ รรมแตล่ ะด้าน ดีขนึ้ เหมือน ควร ปรบั ปรุง S.D. การ แปลผล อยา่ งมาก ดีขน้ึ เดมิ ปรบั ปรุง อย่างยงิ่ 1. ด้านการปฏิบัติตน 64.2 35.8 - - - 4.64 0.48 ดขี นึ้ อย่างมาก 2. ด้านการปฏบิ ตั ิงาน 47.0 53.0 - - - 4.47 0.50 ดขี น้ึ อย่างมาก 3. ดา้ นหนว่ ยงาน 61.9 36.6 1.5 - - 4.60 0.52 ดขี ้ึน อย่างมาก จากการวเิ คราะหผ์ ลการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่า ผู้บังคับบัญชาของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอ รุ่นท่ี 248 - 250 ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าผู้ผ่านการฝึกอบรมมีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมภายหลัง การฝึกอบรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงานดีขึ้น ทั้ง 3 ด้าน สำหรับข้าราชการท่ผี ่าน การฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอ ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าภายหลังการฝึกอบรมได้มีการนำความรู้ความเข้าใจ ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานครบทุกด้าน ท้ังด้านอำนาจหน้าที่ สมรรถนะ แนวคิด วิสัยทัศน์ และด้านทศั นคติท่ีดตี ่อตำแหน่งหน้าที่ 1.2 หลกั สตู รสบื สวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง รุ่นที่ 50 มิติท่ี 1 การนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝึกอบรม หลักสตู รสบื สวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครองในภาพรวมไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝึกอบรมหลักสูตร สบื สวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครองไปใช้ในการปฏิบัติงานในภาพรวม พบว่า ข้าราชการผู้ผ่านการฝึกอบรม มีการนำความรู้ความเข้าใจในวิชาพิเศษไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.48 รองลงมา คือ การนำความรู้ความเข้าใจในวิชาพ้ืนฐานไปใช้ในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.32 และการนำ ความรู้ความเขา้ ใจในวิชาศึกษาดูงานไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 4.24 สว่ นการนำความรู้ความเข้าใจ ในวิชาการสืบสวนไปใช้ในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22 รองลงมา คือ การนำความรู้ ความเข้าใจในวิชาเสรมิ ไปใชใ้ นการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.18 การนำความรู้ความเข้าใจในวิชาการจับกุม ปราบปรามไปใช้ในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.01 การนำความรู้ความเข้าใจในวิชาการฝึกทางยุทธวิธี หนา้ | 96
ไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน มีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 3.86 และนำความรู้ความเข้าใจในวิชาการสอบสวนไปใช้ในการปฏิบัติงาน มีคา่ เฉล่ียเท่ากับ 3.53 ตามลำดบั รายละเอียดดงั ตารางที่ 5-3 ตารางที่ 5-3 ผลการนำความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สมรรถนะ และประสบการณ์ทไี่ ดร้ บั จากการฝึกอบรม หลกั สตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝา่ ยปกครองในภาพรวมไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน ภาพรวมของการนำความรู้ ระดับการนำไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน ไปใช้ในการปฏิบตั งิ านแตล่ ะด้าน มาก ปาน น้อย การ S.D. แปลผล ทีส่ ุด มาก กลาง น้อย ทสี่ ุด 1. ความรู้ความเข้าใจในวิชา 43.1 46.6 10.3 - - 4.32 0.65 มาก พ้ืนฐาน ท่ีสุด 2. ความรคู้ วามเขา้ ใจในวชิ า 39.7 43.1 17.2 - - 4.22 0.72 มาก การสืบสวน 3. ความรคู้ วามเข้าใจในวิชา 27.6 43.1 20.7 5.2 3.4 3.86 0.99 มาก การฝกึ ทางยทุ ธวธิ ี 4. ความรคู้ วามเขา้ ใจในวชิ า 32.8 43.1 17.2 6.9 - 4.01 0.88 มาก การจบั กมุ ปราบปราม 5. ความรู้ความเข้าใจในวชิ า 17.2 37.9 25.9 19.0 - 3.53 0.99 มาก การสอบสวน 6. ความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าพิเศษ 53.4 41.4 5.2 - - 4.48 0.59 มาก ทส่ี ุด 7. ความรู้ความเขา้ ใจในวิชา 36.2 51.7 12.1 - - 4.24 0.65 มาก ศึกษาดูงาน ที่สดุ 8. ความรู้ความเขา้ ใจในวิชาเสรมิ 31.0 56.9 12.1 - - 4.18 0.63 มาก มิติที่ 2 การปรับเปล่ียนพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ภายหลงั ทผ่ี ่านการฝกึ อบรมหลกั สตู รสบื สวนสอบสวนพนกั งานฝา่ ยปกครอง ผลการศึกษาการปรับเปล่ียนพฤติกรรมของข้าราชการผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวน สอบสวนพนักงานฝ่ายปกครองในภาพรวม พบว่า ภายหลังที่ผ่านการฝึกอบรมผู้ผ่านการฝึกอบรมมีการปรับ เปล่ียนพฤติกรรมการปฏิบตั ิตน อยู่ในระดับดีขนึ้ อย่างมาก มคี ่าเฉลยี่ เทา่ กบั 4.50 รองลงมา คอื ด้านหน่วยงาน มคี ่าเฉล่ยี เทา่ กับ 4.39 และการปฏิบัติงาน อยใู่ นระดับดีขนึ้ มีค่าเฉลยี่ เทา่ กับ 4.20 รายละเอยี ดดังตารางที่ 5-4 หน้า | 97
ตารางท่ี 5-4 การปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมในภาพรวมของผู้ผา่ นการฝึกอบรมหลกั สูตรสบื สวนสอบสวน พนกั งานฝา่ ยปกครอง รุ่นที่ 50 ระดับความเห็นของการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม ภาพรวมของการปรบั เปลยี่ น ควร พฤติกรรมแตล่ ะด้าน ดีข้ึน เหมอื น ควร ปรบั ปรงุ S.D. การ แปลผล อย่างมาก ดีขนึ้ เดิม ปรับปรงุ อย่างยงิ่ 1. ด้านการปฏบิ ัติตน 51.7 46.6 1.7 - - 4.50 0.53 ดขี น้ึ อย่างมาก 2. ด้านการปฏบิ ัติงาน 25.9 69.0 5.2 - - 4.20 0.52 ดขี ึน้ 3. ด้านหน่วยงาน 43.1 53.4 3.4 - - 4.39 0.56 ดขี นึ้ อย่างมาก จากการวเิ คราะหผ์ ลการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่า ผู้บังคับบัญชาของผู้ที่ผา่ นการฝึกอบรมหลักสูตร สืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง รุ่นท่ี 50 ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าผู้ผ่านการฝึกอบรมมีการปรับเปล่ียน พฤติกรรมภายหลังการฝึกอบรมด้านการปฏิบัติตน ด้านการปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน ดีขึ้นทั้ง 3 ด้าน สำหรับข้าราชการที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง ส่วนใหญ่มีความเห็นว่า ภายหลังการฝึกอบรมมีการนำความรู้ความเข้าใจไปใช้กับการปฏิบัติงานบางส่วน เนื่องจากในพ้ืนที่ไม่มีภารกิจ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั ิหนา้ ทโ่ี ดยตรง จึงนำความรู้ไปปรบั ใช้กบั การปฏิบัตงิ านในหน้าทอ่ี ่นื แทน สรปุ ผลการศึกษา ผลการศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยใช้ วิธีการสำรวจด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์เชิงลึก สรุปได้ว่า ข้าราชการผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร ปลัดอำเภอมีการนำความรคู้ วามเข้าใจด้านอำนาจหน้าท่ี สมรรถนะ แนวคิด วิสัยทัศน์ และด้านทัศนคติที่ดีต่อ ตำแหน่งหน้าท่ีไปใช้ในการปฏิบัติงานครบทุกด้าน ในขณะที่ข้าราชการผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรสืบสวน สอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง มีการนำความรู้ความเข้าใจไปใช้กับการปฏิบัติงานบางส่วนเน่ืองจากในพ้ืนที่ ไม่มีภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่โดยตรง จึงนำความรู้ไปปรับใช้กับการปฏิบัติงานในหน้าท่ีอ่ืนแทน ส่วนการปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการปฏิบัติตน การปฏิบัติงาน และด้านหน่วยงาน พบว่า ข้าราชการผู้ที่ผ่าน การฝึกอบรมมีการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมดขี นึ้ ทงั้ 2 หลักสูตร หนา้ | 98
2. ขอ้ เสนอแนะจากหลักสูตรการฝกึ อบรมของวทิ ยาลัยการปกครอง 1. ด้านหลักสูตร 1.1 หลักสูตรปลดั อำเภอ มขี อ้ เสนอแนะดงั นี้ 1) ควรจัดทำเนื้อหาหลักสูตรให้มีความกระชับ ตรงประเด็น เน่ืองจากหลักสูตรปลัดอำเภอ มีเนือ้ หามากแตม่ ีระยะเวลาในการฝึกอบรมน้อย 2) ควรปรบั ปรุงหลักสูตรให้มคี วามทนั สมัยและสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ในปัจจบุ นั เน้นวิชา ที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่รูปแบบใหม่ของฝ่ายปกครองท่ีต้องขับเคล่ือนให้ทันต่อเหตุการณ์และตรงตาม ความต้องการของประชาชนโดยเฉพาะการเปน็ ผปู้ ระสานงานกับทุกภาคส่วนในพ้นื ที่ 3) ควรเพ่ิมระยะเวลาการบรรยายในหัวข้อวิชาที่จำเป็นและเก่ียวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ ของปลัดอำเภอ เช่น งานทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชน การสอบสวนคดีอาญาในหน้าที่ของพนักงาน ฝ่ายปกครอง การอำนวยความเป็นธรรม ระเบียบงานสารบรรณ นิติวิทยาศาสตร์ กฎหมายในความรับผิดชอบ ของกรมการปกครอง การใช้อาวุธและการต่อสู้ เป็นตน้ 4) ควรจัดเวลาการบรรยายแต่ละหัวข้อวิชาให้เหมาะสมกับเน้ือหาวชิ าเนอ่ื งจากบางหัวข้อวิชา มีเน้ือหาจำนวนมากแต่มีเวลาการบรรยายน้อย และควรตัดหัวข้อวิชาท่ีไม่จำเป็นออกเพ่ิมหัวข้อวิชาที่สามารถ นำไปใชใ้ นการปฏิบัตงิ านในพ้นื ที่ 5) ควรเน้นประเด็นปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงาน แนะนำแนวทางแก้ไขหรือวิธีจัดการ กบั ปญั หาเพอ่ื นำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านไดจ้ ริง 6) ควรลดการบรรยายและเพ่ิมการฝึกปฏิบัติให้มากข้ึน โดยให้มีการฝึกปฏิบัติในพ้ืนท่ีจริง เพอ่ื ใหร้ ้ขู ้ันตอนและกระบวนการทำงานมากขนึ้ 7) ระยะเวลาการฝึกอบรมในแต่ละวันมากเกินไป ควรหยุดการฝึกอบรมในวันเสาร์-อาทิตย์ เพื่อให้ผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมไดผ้ อ่ นคลายจากการฝกึ อบรม หรือจัดเป็นกจิ กรรมภาคปฏบิ ัติ เช่น ยิงปนื 8) ควรเพม่ิ เน้ือหาวิชากฎหมายใหค้ รอบคลุมการปฏิบตั งิ านในอำนาจหนา้ ที่ของปลัดอำเภอ 9) ควรมวี ิชาทเี่ กี่ยวกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการสร้างทัศนคติให้เปน็ ข้าราชการมอื อาชพี 10) ควรเพ่ิมการฝึกอบรมเก่ียวกบั งานพระราชพิธีให้มากขึ้น โดยเฉพาะรูปแบบของกิจกรรม จิตอาสาพระราชทาน 11) การฝึกอบรมควรให้ความสำคัญกับกฎหมายที่เก่ียวกับงานในหน้าท่ีของฝ่ายปกครอง รวมท้งั เน้นกฎหมายวธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครองให้มากขึน้ ดว้ ย 12) เนื้อหาในการฝึกอบรมค่อนข้างมากไม่สอดคล้องกับระยะเวลาการฝึกอบรม ทำให้เวลา เรยี นบางวชิ าบีบอดั มากเกนิ ไปจึงไม่ได้รบั ความร้เู ตม็ ท่ี บางหัวข้อวิชามกี ารบรรยายนอกเหนือจากเน้อื หาในวชิ า 13) ควรเพิ่มจำนวนช่ัวโมงในวิชาที่ได้นำมาใช้ปฏิบัติงานจริง เช่น งานสำนักงาน การจัดทำ แผนงานโครงการ งานทะเบยี นฯ การให้ความรู้ทางด้านวิชาการและภาคปฏิบัติควรทำควบคู่กัน เพ่ือใหก้ ารนำ ไปใชป้ ฏิบตั ิงานมีประสิทธิภาพและเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ หนา้ | 99
14) ควรขยายระยะเวลาในการฝึกอบรมเป็น 60 วัน และเพิ่มเวลาเรียนในวิชาอำนวยความ เป็นธรรม โดยเน้นการฝึกปฏบิ ัตมิ ากขน้ึ 15) เน่ืองจากมีการเปล่ียนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม วิทยาการและเทคโนโลยี รวมถึง องค์ความรู้ต่างๆ จึงควรปรับปรุงหลักสูตรปลัดอำเภอให้มีความทันสมัย ซ่ึงการปฏิบัติงานของปลัดอำเภอใน ปัจจุบันจะเป็นลักษณะของการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ ทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ดังนน้ั ทกั ษะการสอื่ สารและการประสานงานจงึ มีความจำเป็นต่อการปฏิบตั ิงาน 16) ควรให้ปลดั อำเภอได้รับการฝกึ ความเปน็ ผู้นำมากขนึ้ จะทำให้ปลัดอำเภอกล้าแสดงออก มคี วามเชอ่ื มั่นและม่นั ใจในตนเองมากยิง่ ขน้ึ 1.2 หลกั สูตรสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง มขี อ้ เสนอแนะดงั น้ี 1) ควรแยกอบรมหลักสตู รการสืบสวนและหลักสูตรการสอบสวนออกจากกัน เพื่อใหม้ ีระยะ เวลาในการฝึกอบรมการสืบสวนและการสอบสวนมากข้ึน ซึ่งจะทำให้มีความเช่ียวชาญทั้งในการสืบสวนและ สอบสวน 2) ควรเพ่ิมระยะเวลาการฝึกปฏิบัติและจัดให้มีการฝึกปฏิบัติทุกข้ันตอนตั้งแต่การสืบสวน จนถึงการดำเนินคดี โดยแบ่งกลุม่ ตามประเภทคดีทีพ่ นักงานฝา่ ยปกครองมีอำนาจสบื สวนสอบสวน 3) ควรเน้นการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าท่ีในการกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การสอบข้อเท็จจริง การสอบสวนทางวินัย และการสอบสวนความรับผิดทางละเมิดขององค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถ่ิน 4) บางวชิ ามีเน้อื หาจำนวนมากแตช่ ่ัวโมงการบรรยายน้อย ทำให้วิทยากรบรรยายเน้ือหาวชิ า ได้ไม่ละเอียด ควรเพิ่มช่ัวโมงการบรรยายบางรายวิชา เช่น การกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน การจัดซื้อ จัดจา้ ง เปน็ ต้น 5) หลักสตู รสบื สวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง ควรจดั ใหม้ ีการฝึกอบรมมากขึ้นและให้มี การฝึกอบรมในภูมิภาคดว้ ย เช่น การสืบสวน การทำบันทึกจบั กมุ การทำสำนวนศาลแขวง เพื่อทบทวนความรู้ ใหก้ บั ผู้ท่ผี ่านการฝกึ อบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนักงานฝา่ ยปกครองมาแล้วให้มคี วามชำนาญมากขนึ้ 6) ควรเพมิ่ เติมกฎหมายใหม่ๆ ท่ีสามารถนำมาปรับใช้กับงานปกครองและเน้นกฎหมายท่ีใช้ ปฏิบัติงานร่วมกบั หนว่ ยงานอ่ืน 2. ดา้ นกระบวนการฝกึ อบรม 2.1 หลักสตู รปลัดอำเภอ มขี ้อเสนอแนะดังน้ี 1) สถานที่ฝกึ อบรมทรุดโทรม ลานฝกึ ปฏิบัติมีความคับแคบ ไม่เหมาะสมกับจำนวนผู้เข้ารับ การฝึกอบรมซง่ึ มจี ำนวนมากทำให้มีปัญหาเวลาทำกจิ กรรม 2) โตะ๊ และเกา้ อี้ไมเ่ หมาะสมกับการจดบันทึก ทำกจิ กรรมหรือนั่งฟงั บรรยายเป็นเวลานาน 3) ควรปรับปรุงอาคารสถานที่พัก ระบบน้ำประปา เครื่องปรับอากาศให้มีความสะอาดอยู่ใน สภาพพร้อมใชง้ าน และจดั ทพ่ี กั ให้เพียงพอกับผู้เขา้ รับการอบรมโดยไมแ่ ออัดจนเกนิ ไป หนา้ | 100
4) สถานทจี่ อดรถมไี มเ่ พียงพอ โดยเฉพาะช่วงเวลาฝนตกและมนี ้ำขงั 5) ควรปรบั ปรงุ อาหาร รวมถงึ รสชาติ ความหลากหลาย และความสะอาดถูกหลกั อนามัย 6) ควรจดั ใหม้ สี ญั ญาณอินเตอร์เน็ตแบบไรส้ ายครอบคลุมทกุ พน้ื ท่ี 7) เจ้าหนา้ ทโี่ ครงการฝึกอบรมให้การดูแลดี แตม่ ีจำนวนนอ้ ยเมือ่ เทยี บกับผ้เู ขา้ อบรม 2.2 หลกั สูตรสบื สวนสอบสวนพนกั งานฝา่ ยปกครอง มขี อ้ เสนอแนะดังนี้ 1) สถานทฝ่ี ึกอบรมคับแคบ ควรจดั สถานท่ใี ห้มีพนื้ ทมี่ ากขน้ึ สำหรับการฝึกภาคปฏิบัติ 2) ควรปรบั ปรุงอาหารใหม้ คี วามหลากหลาย 3) อาคารทพ่ี กั ชำรุดทรดุ โทรม ระบบน้ำประปาใช้งานมานาน ควรมกี ารปรบั ปรุงซอ่ มแซม 3. ดา้ นวทิ ยากร 3.1 หลักสูตรปลดั อำเภอ มขี อ้ เสนอแนะดงั น้ี 1) วิทยากรบางทา่ นบรรยายไม่ครอบคลุมเน้ือหาวชิ า 2) ควรจัดหาวิทยากรที่รับราชการอยู่ในปัจจุบันและมีแนวความคิดท่ีทันสมัยมาบรรยาย จะทำให้สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆ ในการปฏิบัติราชการได้สอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน ซ่ึงวิทยากรที่รบั ราชการมาแลว้ เป็นเวลาหลายปีจะมีประสบการณ์การปฏิบัตริ าชการทไี่ ม่สอดคล้องกัน ทำให้ไม่ สามารถนำแนวคดิ มาใช้ในการปฏิบัติราชการได้ 3) ควรเพิ่มวิทยากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เก่ียวข้อง กบั งานในอำนาจหน้าทขี่ องปลดั อำเภอ 4) วิทยากรบางท่านเน้นบรรยายมากเกินไป ควรจัดให้มีการทำกิจกรรมกลุ่มและมีกิจกรรม ทหี่ ลากหลายในแตล่ ะหัวข้อวชิ า 5) ควรให้วิทยากรท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชามาบรรยาย ไม่ควรให้ผแู้ ทนหรือบุคคล ท่ีไมไ่ ดป้ ฏบิ ัตงิ านนั้นๆ มาบรรยายแทน 3.2 หลกั สตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝา่ ยปกครอง มีขอ้ เสนอแนะดังนี้ 1) วิทยากรบางท่านถ่ายทอดความรู้ได้ไม่ดี บรรยายไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา เน่อื งจากระยะเวลาในการฝึกอบรมนอ้ ยเกนิ ไป 2) ควรจัดหาวิทยากรผู้ทรงคณุ วุฒิจากหน่วยงานภายนอกมาบรรยายให้ความรู้และถ่ายทอด ประสบการณ์จรงิ เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารับการฝกึ อบรมสามารถนำความรู้ไปปรับใชใ้ นการปฏิบัตงิ านได้ 4. ดา้ นอื่นๆ 4.1 หลกั สูตรปลดั อำเภอ มขี ้อเสนอแนะดงั น้ี 1) ควรให้ปลัดอำเภอแต่ละคนได้ปฏบิ ัติงานในหน้าที่ระยะเวลาหน่ึงก่อนเข้ารบั การฝึกอบรม จะทำใหท้ ราบปัญหาในการปฏิบัตงิ านและนำมาสอบถามวทิ ยากรได้ หน้า | 101
2) ควรเปลี่ยนสถานท่ีศึกษาดูงาน ควรศึกษาดูงานสถานที่ท่ีเป็นต้นแบบ นวัตกรรมทันสมัย เปน็ การปฏบิ ตั งิ านจรงิ สามารถนำมาปรบั ใช้และเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติงานได้จริง 3) ควรเพิ่มระยะเวลาศึกษาดูงานบางสถานท่ีท่ีมีความสำคญั กับการนำไปใชป้ ฏบิ ัติงาน 4) ให้ผู้เข้ารับการอบรมเสนอและคัดเลือกสถานที่ศึกษาดูงาน เนื่องจากที่ผ่านมาสถานท่ีพัก ในการศกึ ษาดูงานไมส่ ะอาด อากาศถ่ายเทไม่สะดวก 5) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ส่งผลกระทบ ต่อการฝึกอบรม ทำให้ระยะเวลาในการฝึกอบรมน้อยลงและไม่ได้ทำกิจกรรมบางประเภท เช่น กระโดดร่ม เนอ่ื งจากตอ้ งกกั ตัวอยู่แตใ่ นสถานท่ฝี ึกอบรม 6) การฝึกอบรมสามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมได้เล็กน้อย ควรมีการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง จะทำใหข้ ้าราชการเกิดการพัฒนาตนเองและสง่ ผลการต่อการพฒั นางานในหน้าทมี่ ากขน้ึ 7) ควรให้ปลัดอำเภอได้รับการอบรมในเร่ืองเฉพาะทางท่ีได้รับผิดชอบจะได้มีความเชี่ยวชาญ ในงานท่ีทำมากข้ึน และในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) การฝึกอบรม ออนไลน์ถือว่ามีความเหมาะสม สามารถนำความรู้มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานได้ แต่ยังขาดการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผเู้ ขา้ อบรมด้วยกันเอง 8) การฝึกอบรมควรอยู่ระหว่าง 1 - 2 เดือน หลังผ่านการฝึกอบรมไปประมาณ 1- 2 ปี ควรมี การอบรมเพิ่มเติมความรู้เฉพาะด้าน เพ่ือให้มีความเชี่ยวชาญมากขึ้น และสิ่งที่น่าช่ืนชมในหลักสูตรคือความรู้ ด้านการสืบสวนสอบสวน ผู้ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาอำนวยความเป็นธรรม ให้กับประชาชนไดเ้ ป็นอย่างดี 4.2 หลักสูตรสบื สวนสอบสวนพนกั งานฝา่ ยปกครอง มขี อ้ เสนอแนะดังนี้ 1) ควรเพิม่ ระยะเวลาการศึกษาดงู านในสถานที่ปฏิบตั ิงานจรงิ เช่น การชนั สตู รพลกิ ศพ 2) จำนวนช่วั โมงการฝกึ อบรมในแต่ละวันมากเกนิ ไป 3) ควรใหผ้ ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมทกุ คนไดฝ้ ึกทำสำนวนใหค้ รบทุกประเภทคดี 4) ควรให้ปลัดอำเภอทุกคนเข้ารับการฝึกอบรม หรือควรเพ่ิมการฝึกอบรมให้ทุกอำเภอ มปี ลัดอำเภออยา่ งนอ้ ยอำเภอละ 2 คน ไดผ้ า่ นการฝึกอบรม หรือมีการฝกึ อบรมทบทวนความรู้ประจำปี 5) ควรมเี อกสารประกอบการฝึกอบรมแยกเป็นรายวิชา และจัดทำเปน็ รปู เล่ม 6) ควรจัดให้มีการอบรมออนไลน์ เพ่ือช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แต่การอบรมออนไลน์จะมปี ระสิทธิภาพหรือไม่ขึ้นอยู่กับความสนใจของผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมด้วย หน้า | 102
บรรณานุกรม ภาษาไทย ฆนทั ธาตุทอง. (2550). เทคนคิ การพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เพชรเกษม. โฉมเพ็ญ สนธยานนท์. การติดตามผลการฝกึ อบรมผู้บงั คับบญั ชาระดับกลาง หลักสูตรการบรหิ ารงาน เพอื่ การพฒั นาองคก์ ารของโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง. สารนพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ , 2527 ชูชัย สมทิ ธไิ กร. การฝกึ อบรมบคุ ลากรในองคก์ าร. พมิ พ์ครัง้ ที่ 4. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั 2548 ณรงค์ สมบูรณส์ ุทธ์ิ. การตดิ ตามผลการนำความร้ทู างวชิ าการไปปรับใช้ในการปฏิบัตงิ านในหน้าท่ี การฝกึ อบรมหลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สูง วิทยาลัยการปกครอง วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,์ 2540 ดนยั เทยี นพฒุ . การประเมินระบบ 360. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital, 2547. เดือนเพ็ญ หอมหวล. (2550). หลกั สตู ร. คน้ เมอ่ื 10 พฤษภาคม 2559, จากเวบ็ ไซต์ https://www.l3nr.org/posts/69828 พฒั นา สขุ ประเสริฐ. กลยุทธ์ในการฝกึ อบรม. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2540 มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง, (2555) การพัฒนาหลักสตู ร, สำนกั บริการข้อมูลและสารสนเทศ, ค้นเมอื่ 1 กันยายน 2555 จากเว็บไซต์ http://www.idis.ru.ac.th วนดิ า กมลกุลาจารย์ และคณะ. การติดตามผลการฝกึ อบรมของขา้ ราชการครูกรงุ เทพมหานคร รนุ่ ท่ี 8. รายงานการวจิ ยั เสนอต่อคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบนั บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร,์ 2537 วลิ าส สิงหวสิ ยั . การประเมนิ ผลการฝกึ อบรม. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ ุสภา, 2520 สาธติ บำเพญ็ . การประยุกต์ความร้ทู ี่ได้จากการศึกษาอบรมไปใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน : ศึกษาเฉพาะกรณี การศึกษาอบรมหลกั สตู รนายอำเภอ. ภาคนพิ นธ์ ปรญิ ญามหาบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร,์ 2539 สำนักงาน ก.พ. (2548) คู่มือสมรรถนะราชการพลเรือนไทย. คณะทำงานโครงการสมรรถนะ, คน้ เมอื่ 13 มิถนุ ายน 2560 จากเว็บไซต์ http://www.ocsc.go.th สนุ ีย์ ภพู่ นั ธ.์ (2546). แนวคดิ พ้นื ฐานการสร้างและการพัฒนาหลกั สูตร. เชยี งใหม่: โรงพิมพแ์ สงศิลป.์ สรุ พล ไมยวงษ.์ การประเมนิ ผลหลกั สูตรการฝึกอบรมนายอำเภอของวิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง. วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2536 อุทยั หิรญั โต. การบริหารงานฝกึ อบรม. (อัดสำเนา), 2531 หนา้ | 103
ภาคผนวก
แบบสอบถาม ปอ.ชดุ ท่ี 1 โครงการประเมินผลการฝกึ อบรม สำหรบั นกั ศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นกั ศึกษา หลักสตู รปลดั อำเภอ คำช้ีแจง แบบสอบถามนี้จดั ทำข้ึนเพอื่ ใชเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มูลในเชงิ วชิ าการประกอบการตดิ ตามประเมินผล การศกึ ษาอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมของวิทยาลัยการปกครองเท่านั้น สว่ นท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไป กรณุ าทำเคร่อื งหมาย ลงใน [ ] และเติมขอ้ ความลงในชอ่ งว่างตามความเปน็ จริง ขอ้ 1. เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง ข้อ 2. อายุ [ ] ตำ่ กวา่ 26 ปี [ ] 26 - 35 ปี [ ] 36 - 45 ปี [ ] 46 ปีขนึ้ ไป ข้อ 3. อายุราชการ [ ] 1 - 10 ปี [ ] 11 - 20 ปี ขอ้ 4. ระดับการศึกษา [ ] ปรญิ ญาตรี [ ] ปรญิ ญาโท [ ] ปริญญาเอก ขอ้ 5. ตำแหน่งปัจจุบัน 5.1 ช่อื ตำแหนง่ [ ] ปลัดอำเภอ [ ] เจ้าพนักงานปกครอง [ ] นิติกร [ ] อืน่ ๆ (ระบุ)........................... 5.2 ระดบั [ ] ปฏบิ ัตกิ าร [ ] ชำนาญการ ข้อ 6. ผ่านการอบรมหลกั สูตรปลัดอำเภอ ร่นุ ท่ี ................. สว่ นท่ี 2 การนำความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและสมรรถนะทไ่ี ด้รบั จากการฝกึ อบรมหลักสูตรปลัดอำเภอไปใช้ใน การปฏิบัตงิ าน ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและสมรรถนะ ระดบั การนำไปใช้ปฏบิ ัตงิ าน ทผี่ ผู้ า่ นการฝึกอบรม มากท่ี ุสด (5) หลกั สูตรปลัดอำเภอนำไปใชใ้ นการปฏิบัติงาน มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อย ี่ทสุด (1) 1. ทา่ นไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจในการเปน็ ปลัดอำเภอของกรมการปกครอง (Dopa Function) ในเรื่องดงั ต่อไปน้ีไปใช้ในการปฏบิ ตั ิงานในระดบั ใด 1.1 ปรัชญาของการเป็นข้าราชการทด่ี ี ประโยชนข์ องแผน่ ดนิ และบทบาทหนา้ ที่ จติ สำนึกของการเปน็ ขา้ ราชการท่มี ีคุณธรรม 1.2 ความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่จำเป็นตอ่ การปฏบิ ัติราชการ 1.3 ความรูแ้ ละทักษะเพือ่ การดำรงตนอย่างสมดลุ ในศตวรรษที่ 21 1.4 การบรู ณาการแผนพัฒนาในพน้ื ที่ 1.5 งานการคลงั และการงบประมาณ งานพัสดุ
-2- ระดบั การนำไปใช้ปฏิบัติงาน ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและสมรรถนะ มากท่ี ุสด (5) ท่ีผ้ผู า่ นการฝกึ อบรม มาก (4) ปานกลาง (3) หลักสูตรปลดั อำเภอนำไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน น้อย (2) น้อยท่ี ุสด (1) 1.6 กฎหมายวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง ความรบั ผดิ ทางละเมิด ของเจ้าหนา้ ท่ี และสทิ ธิในการเขา้ ถงึ ข้อมลู ข่าวสารของราชการ 1.7 การบรหิ ารงานสารบรรณ 1.8 การบนั ทกึ รายงานการประชุม 1.9 งานด้านการปกครองท้องท่ี 1.10 งานด้านการทะเบียนราษฎร ทะเบียนทว่ั ไป ทะเบยี นบัตรประจำตัว ประชาชน และกฎหมายวา่ ด้วยสญั ชาติ 1.11 การอำนวยความเป็นธรรม 1.12 การรกั ษาความสงบเรยี บร้อยในหน้าที่ของฝา่ ยปกครอง 1.13 การสืบสวนสอบสวนคดีอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง 1.14 งานกองอาสารกั ษาดนิ แดน (อส.) 1.15 งานกจิ การความมนั่ คงภายใน 1.16 งานดา้ นการขา่ ว 1.17 การปฏิบตั ิงานด้านการส่อื สาร กรมการปกครอง 1.18 นิติวิทยาศาสตร์ที่เกีย่ วข้องกับฝา่ ยปกครอง 1.19 การขบั เคลือ่ นการดำเนินงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) 1.20 ยุทธวิธีการตรวจคน้ 2. ท่านได้นำความรู้ ความเข้าใจในการเปน็ ตวั แทนของรฐั บาลในพืน้ ที่ (Area Manager) ในเร่อื งดังต่อไปน้ีไปใช้ในการปฏิบตั งิ านในระดบั ใด 2.1 สถาบนั พระมหากษตั รยิ ก์ ับประเทศไทย 2.2 การพัฒนาชนบทเชงิ พื้นที่ประยกุ ต์ตามแนวพระราชดำริ 2.3 การขับเคล่ือนนโยบายการปกปอ้ งเทดิ ทนู สถาบันหลกั ของชาติ 2.4 การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ 2.5 ความสมั พนั ธ์กับประเทศเพอื่ นบ้าน 2.6 การกำกับดูแลองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ 2.7 การบริหารจัดการภัยพิบัติในพ้นื ท่ี
-3- ระดบั การนำไปใช้ปฏบิ ัตงิ าน ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและสมรรถนะ มากท่ี ุสด (5) ทผ่ี ผู้ ่านการฝึกอบรม มาก (4) ปานกลาง (3) หลกั สตู รปลัดอำเภอนำไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน น้อย (2) น้อยท่ี ุสด (1) 2.8 การขบั เคลื่อนงานสภากาชาดไทย 2.9 ศนู ย์ราชการสะดวก 2.10 การจัดงานพระราชพิธี รฐั พิธี และงานพิธตี า่ งๆ 3. ท่านไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจในการเป็นปลดั อำเภอท่มี ีคุณธรรม (The good officer) ในเรอ่ื งดังต่อไปนี้ไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงานในระดบั ใด 3.1 คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของข้าราชการ 3.2 การบรหิ ารราชการตามหลกั ธรรมาภิบาล 4. ทา่ นไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจในการเสริมสร้างภาวะผูน้ ำ (Leadership) ในเร่อื งดังต่อไปนี้ไปใช้ในการปฏิบัติงานในระดบั ใด 4.1 บคุ ลิกภาพและการสมาคม 4.2 การวิเคราะห์ตนเอง 4.3 หลักการและศิลปะการพูดในที่ชุมชน 4.4 การบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ 4.5 คอมพิวเตอรส์ ารสนเทศ 4.6 ภาษาอังกฤษสำหรบั ข้าราชการกรมการปกครอง 4.7 การฝกึ ยิงปนื พกระบบการตอ่ สู้ปอ้ งกนั ตัวแบบ P.P.C 4.8 การฝึกยงิ ปนื พกทดสอบของวทิ ยาลยั การปกครอง 4.9 กิจกรรมเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะเฉพาะ“วิถีธัญบุรี” 5. ทา่ นไดน้ ำทักษะและความรู้ในการเรียนรู้เชิงปฏบิ ัติไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานในระดบั ใด 5.1 การเรยี นรู้เชงิ ปฏบิ ตั ิ (Action Learning) 6. ท่านได้นำความรู้ ความเข้าใจจากการศึกษาดงู านเกี่ยวกบั งานในหน้าท่ี (The Best Practice) ไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงานในระดบั ใด 6.1 ความรจู้ ากการศกึ ษาดูงาน
-4- ส่วนที่ 3 ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจดั ฝึกอบรมหลักสูตรปลัดอำเภอของวิทยาลัยการปกครอง 1. ด้านหลักสตู ร เช่น วัตถุประสงค์ของหลกั สูตร รายวชิ า ขอบเขตและเนื้อหาวิชา วิทยากร วธิ ีการฝึกอบรมและเวลาใน การฝกึ อบรม เปน็ ตน้ ............................................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... .................................................................................................................................................. ...................................... .................................................................................................. ...................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... 2. ด้านกระบวนการฝึกอบรม เช่น การบริหารโครงการ การอำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สถานท่ี ฝึกอบรม และบคุ ลากรผใู้ ห้บรกิ ารดา้ นการฝึกอบรม เปน็ ตน้ ................................................................................................ ........................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... ..................................................... ............................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................ ............................................................ 3. ด้านวิทยากร เช่น วิทยากรเป็นผู้มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ วิธีถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรเหมาะสม หรือไม่ เป็นต้น ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... .................................................................................................................................................. ...................................... ........................................................................................................... ............................................................................. 4. ด้านอน่ื ๆ เชน่ จำนวนชว่ั โมงเหมาะสมกับเน้อื หาวิชาหรอื ไม่ การศกึ ษาดงู านเปน็ เชน่ ไร ปัญหาหรอื ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... .................................................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................. ....................................................................................... หมายเหตุ แบบสอบถามนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งเป็นตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกรมการปกครอง ดังนั้น วิทยาลัยการปกครอง ขอความร่วมมือมายังท่าน กรุณาตอบแบบสอบถามและบรรจุแบบสอบถามที่ตอบเรียบร้อยแล้วลงในซองจดหมาย ทีแ่ นบมาพรอ้ มนี้ สง่ คนื วิทยาลยั การปกครองด้วย จกั ขอบคุณย่ิง ส่วนวิจัยและพฒั นาระบบงานฝึกอบรม วิทยาลยั การปกครอง โทร. 02-577-4913-8 ต่อ 146 โทรสาร 02-577-1832
แบบสอบถาม ปอ.ชุดที่ 2 โครงการประเมินผลการฝกึ อบรม สำหรบั ผู้บงั คับบัญชา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หลกั สตู รปลัดอำเภอ คำชี้แจง แบบสอบถามน้ี จัดทำขน้ึ เพื่อใชเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มูลในเชิงวชิ าการประกอบการติดตามประเมินผล การศกึ ษาอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมของวทิ ยาลยั การปกครองเท่านน้ั ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไป กรณุ าทำเครื่องหมาย ลงใน [ ] และเติมข้อความลงในชอ่ งวา่ งตามความเป็นจริง ขอ้ 1. เพศ [ ] ชาย [ ] หญงิ ข้อ 2. อายุ [ ] 30 - 40 ปี [ ] 41 - 50 ปี [ ] 51 - 60 ปี ขอ้ 3. อายรุ าชการ [ ] 10 - 20 ปี [ ] 21 - 30 ปี [ ] 31 - 40 ปี ขอ้ 4. ระดบั การศึกษา [ ] ปริญญาตรี [ ] ปริญญาโท [ ] ปรญิ ญาเอก ขอ้ 5. ตำแหน่งปัจจุบนั 5.1 ชื่อตำแหนง่ [ ] ปลดั จังหวดั [ ] นายอำเภอ [ ] จ่าจังหวดั [ ] ป้องกนั จงั หวดั [ ] ปลัดอำเภอหวั หน้ากลุ่มงาน/ฝ่ายบรหิ ารงานปกครอง 5.2 ระดับ [ ] อำนวยการสงู [ ] อำนวยการต้น [ ] ชำนาญการพเิ ศษ [ ] อนื่ ๆ (โปรดระบุ)…………………. ข้อ 6. ผใู้ ต้บงั คบั บัญชาของท่านผ่านการศึกษาอบรมหลกั สูตรปลัดอำเภอ รุ่นที่ ................... ขอ้ 7. ทา่ นเป็นผู้บังคับบัญชาของขา้ ราชการผ้นู อ้ี ยู่ก่อนที่ขา้ ราชการผูน้ ้จี ะเข้ารับการศึกษาอบรมหรือไม่ [ ] เป็นผบู้ ังคับบัญชากอ่ นเขา้ รบั การศึกษาอบรม [ ] ไม่ไดเ้ ปน็ ผบู้ ังคับบัญชากอ่ นเข้ารบั การศึกษาอบรม
ดี ึ้ขนอย่างมาก (5) -2- ดี ้ึขน (4) เห ืมอนเดิม (3)ส่วนท่ี 2 ผลการปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมของผู้ใต้บงั คบั บัญชาภายหลังที่ผา่ นการศกึ ษาอบรมหลกั สตู รปลดั อำเภอ ควรปรับปรุง (2)(กรุณาทำเคร่ืองหมาย ลงในช่องระดับการปรับเปล่ยี นพฤติกรรม ซึ่งตรงกับระดับความคิดเห็นของทา่ น) ควรปรับปรุงอย่าง ่ิยง (1) ระดับการปรับเปล่ียนพฤติกรรม การปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมของผู้ทผี่ ่านการศกึ ษาอบรม หลกั สตู รปลัดอำเภอ 1. ภายหลังการศกึ ษาอบรม ผใู้ ต้บังคบั บัญชาของท่านมีการปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม ด้านการปฏิบตั ติ น ในเรอ่ื งดังต่อไปน้ีอยใู่ นระดับใด 1.1 ความเหมาะสมในการแต่งกาย 1.2 ความเหมาะสมในการวางตวั 1.3 ความมีระเบียบวนิ ัย 1.4 สขุ ภาวะด้านอารมณ์ 1.5 การมีมนุษยสมั พันธ์และการสมาคม 1.6 การมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม 2. ภายหลังการศกึ ษาอบรม ผู้ใต้บงั คับบัญชาของทา่ นมกี ารปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดา้ นการปฏบิ ัตงิ าน ในเรอ่ื งดังต่อไปน้ีอยูใ่ นระดบั ใด 2.1 การปฏิบัติงานมีความถูกต้อง 2.2 การปฏิบตั ิงานมีความเท่ียงตรงตามกำหนดเวลา 2.3 ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา 2.4 ความสามารถในการวางแผน 2.5 ความสามารถในการตัดสินใจ 2.6 ความสามารถในการประสานงาน 2.7 ความสามารถในการส่ือสารและสรา้ งแรงจงู ใจ 2.8 ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นในท่ีชุมชน 2.9 ความสามารถในการใช้เคร่ืองมือ/คอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีทท่ี ันสมัย 2.10 การมีความคิดรเิ ร่ิม 2.11 การคิดเชิงบูรณาการ 2.12 การคดิ เชิงวเิ คราะห์ 2.13 การคิดสร้างสรรคน์ วัตกรรมหรอื วิธีการทำงานใหม่ ๆ
ดี ึ้ขนอย่างมาก (5) -3- ดี ้ึขน (4) เห ืมอนเดิม (3) ระดบั การปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม ควรปรับปรุง (2) ควรปรับปรุงอย่าง ่ิยง (1)การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมของผู้ท่ผี ่านการศึกษาอบรม หลกั สตู รปลดั อำเภอ 2.14 การทำงานเชิงรุก 2.15 การมภี าวะความเปน็ ผูน้ ำ 2.16 การมจี ติ สำนึกในการให้บริการที่ดี 2.17 การมีความเชีย่ วชาญในงานอาชพี 2.18 การทำงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2.19 การสร้างความรว่ มแรงร่วมใจและทีมงาน 2.20 การทำงานเชิงยุทธศาสตร์และมีวสิ ยั ทศั น์ 2.21 การตรวจสอบความถกู ต้องของกระบวนการทำงาน 3. ผ้ใู ตบ้ ังคบั บัญชาของทา่ นมกี ารปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ด้านหน่วยงาน ในเรอ่ื งดงั ต่อไปน้ีอยู่ในระดบั ใด 3.1 การเสรมิ สรา้ งหรอื ปรับปรงุ ภารกิจของหน่วยงานท่ียงั บกพร่องอยู่ให้ดขี ้ึน 3.2 การเสริมสร้างภาพลกั ษณข์ องหนว่ ยงานให้ดขี น้ึ สว่ นที่ 3 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ......................................................................................................... ................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .......................................................................................................................................................... ............................... ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ หมายเหตุ แบบสอบถามนี้เป็นส่วนหน่ึงของโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกรมการปกครอง ดังนั้น วิทยาลัยการปกครอง ขอความร่วมมือมายังท่าน กรุณาตอบแบบสอบถามและบรรจุแบบสอบถามท่ีตอบเรียบร้อยแล้วลงในซองจดหมาย ท่แี นบมาพร้อมนี้ ส่งคืนวิทยาลยั การปกครองด้วย จกั ขอบคุณย่ิง สว่ นวิจยั และพฒั นาระบบงานฝึกอบรม วิทยาลัยการปกครอง โทร. 02-577-4913-8 ต่อ 146 โทรสาร 02-577-1832
สส.ชุดที่ 1 สำหรบั นักศกึ ษา แบบสอบถาม โครงการประเมนิ ผลการฝกึ อบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หลกั สูตรสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง คำช้แี จง แบบสอบถามน้ี จัดทำข้ึนเพอื่ ใช้เก็บรวบรวมขอ้ มูลในเชิงวชิ าการประกอบการตดิ ตามประเมินผล การศึกษาอบรมหลักสูตรการฝกึ อบรมของวิทยาลัยการปกครองเทา่ นั้น สว่ นที่ 1 ข้อมูลทั่วไป กรุณาทำเครื่องหมาย ลงใน [ ] และเติมขอ้ ความลงในชอ่ งวา่ งตามความเป็นจรงิ ขอ้ 1. เพศ [ ] ชาย [ ] หญงิ [ ] 26 - 35 ปี ขอ้ 2. อายุ [ ] ตำ่ กวา่ 26 ปี [ ] 46 ปขี ้นึ ไป [ ] 11 - 20 ปี [ ] 36 - 45 ปี [ ] ปรญิ ญาโท ขอ้ 3. อายรุ าชการ [ ] 1 - 10 ปี [ ] ปลดั อำเภอ [ ] 21 - 30 ปี [ ] ปฏบิ ัตกิ าร [ ] ปริญญาเอก ขอ้ 4. ระดบั การศึกษา [ ] ปริญญาตรี [ ] นิติกร ข้อ 5. ตำแหน่งปัจจบุ ัน 5.1 ชือ่ ตำแหน่ง [ ] เจ้าพนักงานปกครอง 5.2 ระดบั [ ] ชำนาญการ ส่วนที่ 2 การนำความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและสมรรถนะทไี่ ดร้ ับจากการฝกึ อบรมหลักสูตรสืบสวนสอบสวนพนกั งาน ฝ่ายปกครองไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน ระดับการนำไปใช้ปฏบิ ัตงิ าน ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและสมรรถนะ มาก ่ีทสุด (5) ทผ่ี ผู้ ่านการฝึกอบรมหลกั สตู รสบื สวนสอบสวนฯ มาก (4) ปานกลาง (3) นำไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน ้นอย (2) ้นอย ีท่ ุสด (1) 1. ท่านไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจในวชิ าพ้นื ฐานไปใช้ในการปฏิบตั งิ านในระดบั ใด 1.1 นโยบายและบทบาทของพนักงานฝ่ายปกครองในการรักษาความสงบเรียบร้อย และอำนวยความเป็นธรรม 1.2 หลกั กฎหมายอาญาทั่วไป 1.3 หลักกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา ว่าดว้ ยการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา 1.4 อำนาจหนา้ ท่ีของพนักงานฝ่ายปกครองในการสบื สวนสอบสวนคดอี าญา 1.5 กระบวนการยุติธรรม สิทธิมนุษยชนและคุณธรรมของเจา้ หนา้ ท่สี บื สวนสอบสวน
-2- ระดับการนำไปใช้ปฏบิ ตั งิ าน ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและสมรรถนะ มากท่ี ุสด (5) ที่ผผู้ า่ นการฝกึ อบรมหลกั สตู รสบื สวนสอบสวนฯ มาก (4) ปานกลาง (3) นำไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน ้นอย (2) ้นอยที่ ุสด (1) 2. ท่านไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจในวิชาการสบื สวนไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านในระดับใด 2.1 หลกั การสืบสวนและเทคนิคการสืบสวน 2.2 การสืบสวนทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2.3 หลกั การจัดทำรายงานการสืบสวน 2.4 ปฏิบัตกิ ารสบื สวน 3. ท่านได้นำความรู้ ความเข้าใจในวิชาการฝกึ ทางยุทธวิธีไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงานในระดับใด 3.1 หลักการเผชิญเหตุของเจ้าหน้าท่ี 3.2 การยงิ ปืนระบบต่อสู้ป้องกนั ตัว 3.3 ยทุ ธวิธีการรอดพ้นอันตรายของเจา้ หน้าที่ (Officer Survival Tactics หรือ O.S.T.) 3.4 การเขา้ ตรวจค้นและปฏิบัติการในอาคาร (Close Quarters Battle หรือ C.Q.B.) 3.5 การหยดุ /ควบคุมยานพานะ (VEHICLE STOP AND OCCUPANTS CONTROL หรอื V.S.O.C.) 3.6 การต้ังจุดตรวจ/สกัด 3.7 ปฏบิ ัติการทางยุทธวิธีในสถานการณ์จำลอง 4. ท่านไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจในวิชาการจบั กุมปราบปรามไปใช้ในการปฏิบัตงิ านในระดับใด 4.1 หมายค้น / หมายจบั และหมายอาญาตา่ งๆ 4.2 ฝึกภาคปฏบิ ตั กิ ารขอหมายคน้ และหมายจบั 4.3 การจดั ทำบนั ทึกการจบั กุม 4.4 การป้องกันและปราบปรามการกระทำความผดิ ตามกฎหมาย ทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของพนักงานฝา่ ยปกครอง 4.5 การป้องกนั และปราบปรามคดีอาชญากรรมท่วั ไป 4.6 การปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด 4.7 การสืบสวนปราบปรามคดยี าเสพติด 4.8 การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 4.9 การสืบสวนปราบปรามคดีคา้ มนุษย์และการคดั แยกผู้เสยี หายจากการค้ามนษุ ย์ 4.10 การสบื สวนปราบปรามคดีปา่ ไม้และทรพั ยากรธรรมชาติ 4.11 การสืบสวนปราบปรามอาชญากรรมรูปแบบใหม่ 4.12 การดำเนนิ คดคี วามผิดท่ีอย่ใู นอำนาจหน้าท่ีของ ป.ป.ท. / ป.ป.ช.
-3- ระดบั การนำไปใช้ปฏบิ ตั ิงาน ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและสมรรถนะ มากท่ี ุสด (5) ทผ่ี ้ผู า่ นการฝึกอบรมหลกั สตู รสืบสวนสอบสวนฯ มาก (4) ปานกลาง (3) นำไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน ้นอย (2) ้นอยที่ ุสด (1) 4.13 การดำเนินคดีความผิดที่อยูใ่ นอำนาจหน้าที่ของ ปปง. 4.14 ฝกึ ภาคปฏิบตั กิ ารจดั ทำบนั ทึกการจับกมุ 5. ทา่ นได้นำความรู้ ความเข้าใจในวิชาการสอบสวนไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านในระดบั ใด 5.1 ระเบียบการสอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวนฝ่ายปกครอง 5.2 อำนาจเปรยี บเทยี บปรบั ของพนักงานสอบสวนและการสอบสวนคดีละเมดิ ขอ้ บญั ญตั ทิ ้องถ่นิ และกฎหมายในอำนาจหนา้ ท่ีองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 5.3 ฝกึ ภาคปฏบิ ัตกิ ารทำสำนวนเปรยี บเทียบปรบั 5.4 หลักกฎหมายลกั ษณะพยานและการชั่งนำ้ หนักพยาน 5.5 หลักการดำเนินคดใี นเขตอำนาจศาลแขวง 5.6 หลักการดำเนินคดีในเขตอำนาจศาลเยาวชนและครอบครัว 5.7 หลักการวางรปู คดีและการรวบรวมพยานหลักฐาน 5.8 หลกั การสอบสวนปากคำและการทำความเห็นของพนักงานสอบสวน 5.9 ฝกึ ภาคปฏิบตั ิการทำสำนวนการสอบสวนในเขตอำนาจศาลแขวง 5.10 การตรวจสอบการทุจริตบตั รประจำตัวประชาชนและทะเบียนราษฎร 5.11 การจัดทำรายงานการสอบสวนและสำนวนการสอบสวน 5.12 ฝึกภาคปฏิบัติการทำสำนวนการสอบสวนคดีบัตรประจำตัวประชาชน และทะเบียนราษฎร 5.13 การรกั ษาและการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุ 5.14 นติ ิวิทยาศาสตรแ์ ละการตรวจพสิ ูจนห์ ลักฐานทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 5.15 นติ ิวิทยาศาสตร์และการชันสูตรพลิกศพ 5.16 การจัดทำรายงานการชันสตู รพลกิ ศพ 5.17 เทคนคิ การสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรม 5.18 เทคนคิ การสอบสวนคดีป่าไมแ้ ละทรัพยากรธรรมชาติ 5.19 การทำสำนวนการสอบสวนในเขตอำนาจศาลจังหวดั 5.20 สมั มนาการจัดทำสำนวนการสอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวนฝา่ ยปกครอง 5.21 การเบิกความในชนั้ ศาล 5.22 การคุ้มครองพยานในคดอี าญา 5.23 วิธกี ารรกั ษาความปลอดภยั พยานในคดีอาญาและบคุ คลสำคัญอน่ื ๆ
-4- ระดบั การนำไปใช้ปฏิบตั ิงาน ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและสมรรถนะ มากท่ี ุสด (5) ทผ่ี ผู้ ่านการฝกึ อบรมหลกั สูตรสืบสวนสอบสวนฯ มาก (4) ปานกลาง (3) นำไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน ้นอย (2) ้นอยที่ ุสด (1) 6. ทา่ นไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจในวชิ าพเิ ศษไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ านในระดบั ใด 6.1 สถาบนั พระมหากษตั ริยก์ ับประเทศไทย 6.2 การขับเคล่ือนงานสภากาชาดไทย 7. ทา่ นไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจจากการศึกษาดงู านไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านในระดบั ใด 7.1 การศกึ ษาดงู าน 8. ทา่ นไดน้ ำความรู้ ความเข้าใจในวิชาเสริมไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ านในระดบั ใด 8.1 การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น 8.2 ประสบการณส์ ืบสวนสอบสวน 8.3 การประสานงานและการบริหารจดั การสื่อ ส่วนท่ี 3 ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะเกยี่ วกบั การจดั ฝึกอบรมหลักสตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง ของวทิ ยาลัยการปกครอง 1. ดา้ นหลักสูตร เช่น วตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร รายวชิ า ขอบเขตและเน้ือหาวชิ า วทิ ยากร วธิ กี ารฝึกอบรม และเวลา ในการฝึกอบรม เปน็ ตน้ ......................................................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................. ..................................................................................... ................................................ .......................................................................................................................... ........................................................................ 2. ด้านกระบวนการฝึกอบรม เช่น การบริหารโครงการ การอำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สถานที่ ฝกึ อบรม และบคุ ลากรผู้ให้บรกิ ารด้านการฝึกอบรม เป็นตน้ .................................................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................. ................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................................... .................................................................................................................................................. ................................................ ..................................................................................................................................................................................................
-5- 3. ด้านวิทยากร เช่น วิทยากรเป็นผู้มีความเช่ียวชาญในเร่ืองท่ีบรรยายหรือไม่ วิธีการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร เหมาะสมหรอื ไม่ เป็นต้น ............................................................................................................................................... ................................................... .................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................................... ................................................................................................................................... ............................................................... .................................................................................................................................................................................................. 4. ด้านอื่น ๆ เช่น จำนวนช่วั โมงเหมาะสมกบั เน้อื หาวชิ าหรือไม่ การศกึ ษาดูงานเป็นเชน่ ไร ปญั หาหรือข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................. .................................................... .................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................................... .................................................................................................................................. ................................................................ .................................................................................................................................................................................................. หมายเหตุ แบบสอบถามนี้เป็นส่วนหน่ึงของโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงเป็นตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกรมการปกครอง ดังนั้น วิทยาลัยการปกครอง ขอความร่วมมือมายังท่าน กรุณาตอบแบบสอบถามและบรรจุแบบสอบถามท่ีตอบเรียบร้อยแล้วลงในซองจดหมาย ที่แนบมาพร้อมน้ี ส่งคนื วทิ ยาลัยการปกครองดว้ ย จักขอบคณุ ย่ิง ส่วนวจิ ัยและพัฒนาระบบงานฝึกอบรม วิทยาลัยการปกครอง โทร. 02-577-4913-8 ตอ่ 146 โทรสาร 02-577-1832
สส.ชุดท่ี 2 สำหรับผู้บังคับบญั ชา แบบสอบถาม โครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หลักสตู รสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝา่ ยปกครอง คำชแี้ จง แบบสอบถามนี้ จัดทำข้นึ เพ่ือใชเ้ กบ็ รวบรวมข้อมูลในเชงิ วิชาการประกอบการตดิ ตามประเมินผล การศึกษาอบรมหลักสตู รการฝึกอบรมของวทิ ยาลัยการปกครองเทา่ นน้ั ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป กรุณาทำเคร่ืองหมาย ลงใน [ ] และเติมข้อความลงในชอ่ งว่างตามความเป็นจรงิ ขอ้ 1. เพศ [ ] ชาย [ ] หญงิ ขอ้ 2. อายุ [ ] 30 - 40 ปี [ ] 41 - 50 ปี [ ] 51 - 60 ปี ข้อ 3. อายุราชการ [ ] 10 - 20 ปี [ ] 21 - 30 ปี [ ] 31 - 40 ปี ขอ้ 4. ระดับการศึกษา [ ] ปรญิ ญาตรี [ ] ปริญญาโท [ ] ปริญญาเอก ข้อ 5. ตำแหนง่ ปจั จบุ ัน 5.1 ชื่อตำแหนง่ [ ] ปลดั จังหวดั [ ] นายอำเภอ [ ] จา่ จังหวดั [ ] ปอ้ งกันจังหวัด [ ] ปลัดอำเภอหัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่ายบรหิ ารงานปกครอง 5.2 ระดบั [ ] อำนวยการสงู [ ] อำนวยการต้น [ ] ชำนาญการพเิ ศษ [ ] อ่ืนๆ (โปรดระบุ)…………………. ข้อ 6. ผใู้ ตบ้ ังคับบัญชาของท่านผา่ นการศึกษาอบรมหลกั สูตรสืบสวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง รุ่นที่ .......... ข้อ 7. ท่านเปน็ ผ้บู งั คับบัญชาของข้าราชการผูน้ ีอ้ ยู่ก่อนท่ีขา้ ราชการผ้นู ี้จะเข้ารบั การศึกษาอบรมหรือไม่ [ ] เปน็ ผู้บังคับบัญชาก่อนเขา้ รบั การศึกษาอบรม [ ] ไม่ได้เป็นผู้บังคบั บัญชากอ่ นเขา้ รับการศกึ ษาอบรม
ดี ึ้ขนอย่างมาก (5) -2- ดี ้ึขน (4) เห ืมอนเดิม (3)ส่วนท่ี 2 ผลการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมของผู้ใตบ้ ังคบั บัญชาภายหลังทผ่ี า่ นการศกึ ษาอบรมหลักสตู รสบื สวนสอบสวน ควรปรับปรุง (2)พนกั งานฝ่ายปกครอง (กรณุ าทำเครือ่ งหมาย ลงในช่องระดับการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมซ่งึ ตรงกับระดบั ควรปรับปรุงอย่าง ่ิยง (1)ความคดิ เหน็ ของท่าน) ระดบั การปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ทผ่ี ่านการศกึ ษาอบรม หลกั สตู รสืบสวนสอบสวนพนักงานฝา่ ยปกครอง 1. ภายหลังการศึกษาอบรม ผใู้ ต้บังคับบัญชาของทา่ นมีการปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม ด้านการปฏิบัตติ น ในเร่ืองดังต่อไปนี้อยู่ในระดบั ใด 1.1 ความเหมาะสมในการแต่งกาย 1.2 ความเหมาะสมในการวางตวั 1.3 ความมีระเบียบวนิ ัย 1.4 สุขภาวะด้านอารมณ์ 1.5 การมีมนุษยสมั พนั ธ์และการสมาคม 1.6 การมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม 2. ภายหลังการศึกษาอบรม ผูใ้ ต้บังคับบัญชาของท่านมกี ารปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ด้านการปฏิบัตงิ าน ในเรือ่ งดงั ต่อไปนี้อยู่ในระดบั ใด 2.1 การปฏิบัติงานมีความถูกตอ้ ง 2.2 การปฏิบตั งิ านมีความเที่ยงตรงตามกำหนดเวลา 2.3 ความสามารถในการสืบสวนคดีอาญาท่วั ไป 2.4 ความสามารถในการสอบสวนคดีอาญาทั่วไป 2.5 ความสามารถในการรวบรวมพยานหลักฐานคดีอาญา 2.6 ความสามารถในการขอออกหมายค้น หมายจบั 2.7 ความสามารถในการสอบสวนและเปรยี บเทยี บคดีละเมิดกฎหมายท้องถ่ิน 2.8 ความสามารถในการสอบสวนคดวี ิสามัญฆาตกรรม 2.9 ความสามารถในการชันสูตรพลิกศพ 2.10 ความสามารถในการสืบสวนสอบสวนคดีป่าไมแ้ ละทรัพยากรธรรมชาติ 2.11 ความสามารถในการสืบสวนสอบสวนคดีทีด่ ิน 2.12 ความสามารถในการสืบสวนสอบสวนคดยี าเสพติด
-3- ระดบั การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การปรับเปลย่ี นพฤติกรรมของผู้ท่ผี า่ นการศึกษาอบรม ดี ึ้ขนอย่างมาก (5) หลักสูตรสบื สวนสอบสวนพนกั งานฝ่ายปกครอง ดี ้ึขน (4) เห ืมอนเดิม (3) ควรปรับปรุง (2) ควรปรับปรุงอย่าง ่ิยง (1) 2.13 ความสามารถในการสบื สวนสอบสวนคดตี ามกฎหมายการทะเบียนราษฎร 2.14 ความสามารถในการสบื สวนสอบสวนคดีตามกฎหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 2.15 ความสามารถในการสืบสวนสอบสวนคดตี ามกฎหมายการพนนั 2.16 ความสามารถในการสืบสวนสอบสวนคดตี ามกฎหมายโรงแรม 2.17 ความสามารถในการสบื สวนสอบสวนคดีตามกฎหมายอาวุธปืนฯ 2.18 ความสามารถในการสบื สวนสอบสวนคดตี ามกฎหมายสถานบริการ 2.19 ความสามารถในการสบื สวนสอบสวนคดีตามกฎหมายขายทอดตลาดและคา้ ของเก่า 2.20 ความสามารถในการสบื สวนสอบสวนคดีตามกฎหมายโรงรบั จำนำและการเร่ียไร 2.21 ความสามารถในการทำสำนวนการสอบสวนคดใี นอำนาจศาลเด็กเยาวชนและครอบครวั 2.22 ความสามารถในการทำสำนวนการสอบสวนคดีในอำนาจศาลแขวง 3. ผู้ใต้บังคับบัญชาของท่านมกี ารปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ด้านหน่วยงาน ในเร่อื งดงั ต่อไปน้ีอยใู่ นระดบั ใด 3.1 การเสริมสร้างหรือปรับปรุงภารกิจของหนว่ ยงานทย่ี งั บกพร่องอยู่ใหด้ ขี น้ึ 3.2 การเสริมสรา้ งภาพลักษณ์ของหนว่ ยงานใหด้ ขี ึ้น สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ .............................................................................................................. .............................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ....................................................... ........................................................................................... .......................................... .......................................................................................................................... .................................................................. หมายเหตุ แบบสอบถามน้ีเป็นส่วนหน่ึงของโครงการประเมินผลการฝึกอบรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกรมการปกครอง ดังน้ัน วิทยาลัยการปกครอง ขอความร่วมมือมายังท่าน กรุณาตอบแบบสอบถามและบรรจุแบบสอบถามที่ตอบเรียบร้อยแล้วลงในซองจดหมาย ท่แี นบมาพรอ้ มน้ี ส่งคืนวิทยาลยั การปกครองดว้ ย จกั ขอบคณุ ย่งิ ส่วนวจิ ัยและพัฒนาระบบงานฝึกอบรม วทิ ยาลัยการปกครอง โทร. 02-577-4913-8 ตอ่ 146 โทรสาร 02-577-1832
ทีป่ รึกษาคณะวิจยั 1. นายธนาคม จงจิระ อธบิ ดีกรมการปกครอง รองอธิบดีกรมการปกครอง 2. นายศกั ดิ์ฤทธิ์ สลกั คำ รองอธิบดีกรมการปกครอง รองอธิบดีกรมการปกครอง 3. นายพิริยะ ฉันทดิลก รองอธิบดีกรมการปกครอง อธกิ ารวิทยาลัยการปกครอง 4. ร้อยตำรวจโท ภพชนก ชลานุเคราะห์ 5. นายสมยศ พมุ่ น้อย 6. นายอำนาจ เจริญศรี คณะวจิ ัย 1. นายมานติ โยธะพนั ธ์ ผอู้ ำนวยการสว่ นวิจัยและพัฒนาระบบงานฝกึ อบรม 2. นายปรวิ ัชร วชั รวิภา หวั หน้ากลุ่มงานวชิ าการ 3. นายไพบูรณ์ เสือนาค หวั หนา้ กลุ่มงานวจิ ยั 4. นายภัทรวีร์ สรุ ิยะธำรงกุล นกั ทรัพยากรบคุ คลชำนาญการพิเศษ 5. นายนพิ ัฒน์ ปรีศริ ิ นักทรพั ยากรบุคคลชำนาญการ 6. นางจริ ภา เจรญิ ภมู ิ นักทรัพยากรบคุ คลชำนาญการ 7. นางสาวน้ำฝน รกั สัตย์ นักทรพั ยากรบคุ คลชำนาญการ 8. นายวิริยะ มานาดี นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ 9. นางสาวพรนภา ญาติโสม นกั จัดการงานทว่ั ไปปฏิบตั กิ าร 10. นางสาวเครือมาส จนั ทร์แก้ว เจ้าหน้าท่ีธุรการ (พนักงานราชการ)
123
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135