Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิโคลัส โคเปอร์นิคัส

นิโคลัส โคเปอร์นิคัส

Published by 945sce00473, 2021-08-31 07:48:44

Description: นิโคลัส โคเปอร์นิคัส

Search

Read the Text Version

นิโคลัส โคเปอรน์ ิคัส

ในวงการดาราศาสตร์ ต่ างยกย่อง ให้นิ โคลั ส โคเปอร์นิ คั ส เปนบิดา แห่งดาราศาสตร์สมั ยใหม่ ผู้ปฏิ วัติ แนวคิ ด “จั กรวาล” ในช่วงศตวรรษที 16 กั บข้อเสนอว่า “ดวงอาทิ ตย์คื อศู นย์กลาง ของระบบสุ ริยะ” ส่ วนโลกและดาวเคราะห์ ดวงอืนๆ ล้ วนโคจรรอบดวงอาทิ ตย์ทั งสิ น แนวคิ ดของเขาจะเปนที ต่ อต้ านจาก ศาสนจั กรโรมั นคาทอลิ กในขณะนั น ด้ วยเหตุ ที ว่า แนวคิ ดของเขาขัดกั บความ เชือในพระคั มภี ร์ แต่ ปจจุ บันแนวคิ ด ของเขาได้ รับการพิสู จน์ และเปนที ยอมรับ ของสั งคม

นิ โคลัส โคเปอร์นิ คัส เกิดเมือวันที 19 กุมภาพันธ์ ป 1473 ทีเมืองโทรู ซึ งอยู่ตอนกลางของแม่นาวิสทูลา ในโปแลนด์ พ่อของเขาเปนพ่อค้าและเจ้าหน้ าทีประจาํ ท้องถิน เมืออายุได้ 10 ขวบ พ่อของเขาเสียชี วิตลง ลุงของโคเปอร์นิ คัส ผู้เปนพระอธิการได้อุปการะ โคเปอร์นิ คัส และช่ วยเหลือให้ได้เรียนทีมหาวิทยาลัย คราคูฟ เขาศึกษาศิลปศาสตร์รวมถึงดาราศาสตร์และ โหราศาสตร์ จากนั นก็เรียนต่อทีมหาวิทยาลัยปาดัว

ในป ค.ศ. 1503 โคเปอร์นิ คัส ได้รับ ป ริ ญ ญ า เ อ ก ด้ า น ก ฎ ห ม า ย จ า ก ม ห า วิ ท ย า ลั ย เฟอร์รารา เขากลับไปทีโปแลนด์ และได้ กลายเปนผู้ดูแลโบสถ์และแพทย์ ในเวลา ว่างของเขา นิ โคลัส อุทิศตัวให้กับการ แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ ท า ง วิ ช า ก า ร ร ว ม ถึ ง ง า น ด้ า น ด า ร า ศ า ส ต ร์

ในปค. ศ. 1514 ชือเสียงของเขาในฐานะ นักดาราศาสตร์ส่งผลให้ ได้ เปนที ปรึกษาของผู้นาํ คริสตจักรที พยายามปฏิ รู ปปฏิ ทิ นจู เลี ยน ผลงานที สร้างชือให้ กั บเขาในฐานะผู้ปฏิ วัติ ความเชือของ คริสตจักรคื อหนังสือ “เด ริโวลูทิ โอนิบุ ส ออร์เบียม โคเอเลสทิ อุ ม” (DE REVOLUTIONIBUS ORBIUM COELESTIUM) หรือ “หนังสือ 6 เล่ ม เกี ยวกั บการหมุ นของวัตถุทรงกลมบนท้ องฟา” เปนผลงานที ได้ เผยแพร่ในป 1543 ปที เขาได้ เสีย ชีวิตลง เดิ มที ในช่วงศตวรรษที 16 แนวคิ ดเรือง จักรวาลวิทยาของทางยุ โรป โลกถื อว่าเปน ศู นย์กลางของจักรวาลที อยู่กั บที โดยมีท้ องฟาและ กลุ่มดาวต่ างๆ โคจรรอบโลก อี กทั งดวงอาทิ ตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว คื อสิงที สวรรค์ เปนผู้จัด เรียงมันขึนเปนวงกลม แนวคิ ดนี เปนสิงนัก ปรัชญาโบราณหรือแม้แต่ อริสโตเติ ลให้ การ สนับสนุนและยอมรับมัน รวมทั งทางศาสนจักร

กระทั งผลงานชินดั งกล่ าวได้ ปรากฏต่ อสาธารณะชน ซึงเปนสิ งที หั กล้ างกั บ ความเชือแบบเดิ มในเรื องจักรวาล แน่ นอนว่าย่อมต้ องมีกระแสต่ อต้ านแนวคิ ด ของหนั งสื อเด ริ โวลู ทิ โอนิ บุ ส จากพวกที ยึดถื อความเชือเดิ ม โดยเฉพาะทาง ศาสนจักรที กําหนดให้ หนั งสื อเล่ มนี เปนหนั งสื อต้ องห้ าม เนื องจากเปนสิ งที บิดเบือนและตรงกั นข้ามกั บหลั กคําสอนของคริ สตจักรนิ กายโรมันคาทอริ ก เห็ นได้ จากในป 1545 พระสั นตะปาปาพอลที สาม ได้ เรี ยกประชุ มสภาแห่ ง แทรนต์ เพือหารื อเกี ยวกั บการปฏิ รู ปศาสนจักร และเพิมมาตราการปราบปราม พวกนอกรี ต การตี พิมพ์บทบัญญัติ ของสภาจึงเริ มขึนในสมัยสั นตะปาปาพิอุ ส ที สี การตี ความหมายของคําสอนทางศาสนาถูกจาํ กั ดให้ เปนงานของสงฆ์ ตามสมณศั กดิ และทางศาสนจักรไม่ต้ องการให้ ความคิ ดของนั กเทววิทยา สมัครเล่ นคนหนึ งมาสร้ างความปนปวน (รวมถึ ง นิ โคลั ส โคเปอร์ นิ คั ส) จึงทําให้ วาติ กั นสั งห้ ามหนั งสื อของโคเปอร์ นิ คั ส แต่ นั นก็ ไม่ใช่เรื องง่ายเพราะการที วาติ กั นในขณะนั นอยู่ในช่วงปฏิ รู ปปฏิ ทิ นเปนระบบเกรกอเรี ยนในป 1582 เพือ กําหนดวันอี สเตอร์ จาํ เปนต้ องใช้องค์ ความรู้ ด้ านดาราศาสตร์ ซึงในหนั งสื อ เด ริ โวลู ทิ โอนิ บุ ส ก็ มีข้อมู ลการสั งเกตการณ์ ดวงอาทิ ตย์และดวงจันทร์

กระทังในป 1616 เด ริโวลูทิโอนิ บุ ส เปนหนั งสือต้ องห้ามที กํากั บไว้ว่า “จนกว่าจะมีการแก้ ไข” จนเมือผ่านไป 4 ปก็ มีการ ประกาศว่ามีการแก้ ไขสิบจุด อย่างเช่น ชือของหนั งสือเล่ มที 1 บทที 11 “คําอธิบายโดยละเอี ยดถึ งการหมุนสามทบของโลก” ถูกแก้ เปน “สมมติ ฐานเกี ยวกั บการหมุนสามทบของโลกและคํา อธิบายโดยละเอี ยด” เปนต้ น แม้ว่าหนั งสือเด ริโวลูทิโอนิ บุ ส ของโคเปอร์นิ คั ส จะเปนสิงที ถูกกี ดกั นและดั ดแปลงจากศาสนจั กร แต่ เด ริโวลูทิโอนิ บุ ส ก็ เปน หนั งสือทีสาํ คั ญเกี ยวกั บดาราศาสตร์ของมนุ ษย์ เช่นเดี ยวกั บ การอภิ ปรายเกี ยวกั บระบบสาํ คั ญสองระบบของโลกของกาลิ เลโอ ซึงทาํ ให้ทางศาสนจั กรถูกวิพากษ์ วิจารณ์ อย่างหนั ก หนั งสือ ต้ องห้ามก็ เริมค่ อยๆ หายไปจากรายชือ “หนั งสือต้ องห้าม”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook