Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรมไทย

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรมไทย

Published by pattakorn1322, 2021-12-13 13:59:46

Description: ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรมไทย

Keywords: วรรณคดี,สถาปัตยกรรม

Search

Read the Text Version

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวรรณคดีกบั สถาปัตยกรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย หมายถึง ศลิ ปะการก่อสร้างของไทย อนั ไดแ้ ก่ อาคาร บา้ นเรือน โบสถ์ วหิ าร วงั สถูป และส่ิงก่อสร้างอ่ืนๆท่ีมีมูลเหตุท่ีมาของการก่อสร้างการก่อสร้างอาคารบา้ นเรือน ในแต่ละทอ้ งถ่ินจะมีลกั ษณะ ผดิ แผกแตกต่างกนั ไปบา้ งตามสภาพทางภูมิศาสตร์และคตินิยมของแต่ละทอ้ งถิ่น แต่ส่ิงก่อสร้างทางศาสนา พุทธมกั จะมีลกั ษณะที่ไม่แตกต่างกนั มากนกั เพราะมีความเชื่อความศรัทธาและแบบแผนพิธีกรรมท่ีเหมือนกนั สถาปัตยกรรมที่มกั นิยมนามาเป็นขอ้ ศกึ ษามกั เป็นสถูปเจดียโ์ บสถว์ หิ ารหรือพระราชวงั เน่ืองจากเป็น สิ่งก่อสร้างที่คงทน มีการพฒั นารูปแบบมาอยา่ งต่อเนื่องยาวนาน และไดร้ ับการสรรคส์ ร้างจากช่างฝีมือ เช่ียวชาญ พร้อมท้งั มีความมาเป็นมาที่สาคญั ควรแก่การศึกษาอีกประเภทหน่ึงกค็ ือ สิ่งก่อสร้างเหล่าน้ีลว้ นมี ความทนทาน มีอายยุ นื ยาวนานปรากฏเป็นอนุสรณ์ใหเ้ ราไดศ้ ึกษาเป็นอยา่ งดี สถาปัตยกรรมไทยสามารถจดั หมวดหมู่ตามลกั ษณะการใช้งานได้ 2 ประเภทคือ 1. สถาปัตยกรรมทใ่ี ช้เป็ นที่อยู่อาศัย ไดแ้ ก่ บา้ นเรือน ตาหนกั วงั และพระราชวงั เป็นตน้ บา้ นเรือนเป็นท่ีอยอู่ าศยั ของสามญั ชนธรรมดาทวั่ ไป ซ่ึงมีท้งั เรือนไมแ้ ละเรือนปูนหรือใบไม้ ลกั ษณะเรือนไมข้ องไทยในแต่ละทอ้ งถ่ินแตกต่างกนั และโดยทว่ั ไป แลว้ จะมีลกั ษณะสาคญั ร่วมกนั คือเป็นเรือนไมช้ ้นั เดียวใตถ้ ุนสูงหลงั คาทรงจว่ั เรียงราชตาหนกั และวงั เป็น เรือนท่ีอยขู่ องชนช้นั สูงพระราชวงศห์ รือใชเ้ รียกท่ีประทบั ช้นั รองของพระมหากษตั ริยส์ าหรับพระราชวงั เป็นท่ีประทบั ของพระมหากษตั ริยพ์ ระท่ีนง่ั เป็นอาคารที่มีทอ้ งพระโรง ซ่ึงมีท่ีประทบั สาหรับออกวา่ ราชการ หรือกิจการอ่ืนๆ 2. สถาปัตยกรรมทเี่ กย่ี วข้องกบั ศาสนา ซ่ึงส่วนใหญ่อยใู่ นบริเวณสงฆท์ ี่เรียกวา่ วดั ซ่ึงประกอบดว้ ยสถาปัตยกรรมหลายอยา่ ง ไดแ้ ก่ โบสถ์ เป็นที่กระทาสงั ฆกรรมของพระภิกษวุ หิ ารใชป้ ระดิษฐานพระพทุ ธรูปสาคญั กฏุ ิ เป็นท่ีอยขู่ องพระภิกษุ สามเณร หอไตร เป็นที่เกบ็ รักษาพระไตรปิ ฎกและคมั ภีร์สาคญั ทางศาสนา หอระฆงั และหอกลอง เป็น ท่ีใชเ้ กบ็ ระฆงั หรือกลองเพอื่ ตีบอกโมงยาม เป็นท่ีระลึกอนั เกี่ยวเน่ืองกบั ศาสนาแบ่งได้ 4 ประเภทคือ 1.ธาตุเจดีย์ หมายถึง พระบรมธาตุและเจดียท์ ี่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจา้ 2.ธรรมเจดีย์ หมายถึง พระธรรมพระวนิ ยั คาส่ังสอนทุกอยา่ งของพระพุทธเจา้

3.บริโภคเจดีย์ หมายถึง ส่ิงของเครื่องใชข้ องพระพทุ ธเจา้ หรือของพระภิกษุสงฆ์ ไดแ้ ก่ เคร่ืองอฐั บริขาร ท้งั หลาย 4. อุเทสิกเจดีย์ หมายถึง ส่ิงท่ีสร้างข้ึนเพ่อื เป็นที่ระลึกถึงองคพ์ ระพุทธเจา้ เช่น สถูปเจดีย์ ณ สถานท่ีทรง ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา ปรินิพพานและรวมถึงสัญลกั ษณ์อยา่ งอ่ืน เช่น พระพทุ ธรูปธรรมจกั รตน้ โพธ์ิ เป็นตน้ สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั รัชกาลท่ี 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ไดร้ ับยกยอ่ งใหเ้ ป็นกษตั ริย์ นกั ประพนั ธผ์ ทู้ าใหช้ ่วงเวลาน้นั เป็นยคุ ทองของวรรณคดี เม่ือวา่ งเวน้ จากการทาสงครามพระองคจ์ ะทรงทานุ บารุงประเทศชาติในดา้ นศิลปะวรรณคดีและสถาปัตยกรรม วรรณคดีในสมยั ของพระองคถ์ ือเป็นแบบฉบบั อนั ยอดเยย่ี ม ไม่วา่ จะเป็น คากลอน ละครนอก ละครใน เสภา นิราศ กาพย์ ฉนั ท์ ลิลิต โคลงส่ีสุภาพ อาทิบท ละครเรื่องอิเหนา เสภาเรื่องขนุ ชา้ งขุนแผน บทพากยโ์ ขน บทละครเร่ืองไชยเชษฐ์ สงั ขท์ อง คาวี ไกรทอง มณี พชิ ยั ดา้ นศลิ ปกรรมพระองคท์ รงดาเนินการปฏิสังขรณ์วดั อรุณราชวราราม ทรงป้ันหุ่นพระพกั ตร์พระพุทธรูป พระราชทานดว้ ยฝีพระหตั ถข์ องพระองคเ์ อง หรือทรงแกะสลกั บานประตูบานกลางพระวหิ ารวดั สุทศั นเทพวรา รามเป็นลายสลกั ซบั ซอ้ น ท้งั น้ี เพราะเรือนเคร่ืองผูกเป็นเรือนของชาวบา้ นเป็นงานสถาปัตยกรรมสามญั ธรรมดา และเป็นส่ิงท่ีไม่อยู่ ในสายตาและความสนใจของนกั วชิ าการมาแต่ไหนแต่ไรแลว้ จึงไม่มีบนั ทึกเรื่องราวอนั ควรแก่ความสนใจ เก่ียวกบั เรือนประเภทน้ี ดงั น้นั วรรณคดีบางเร่ืองจึงเป็นแหล่งที่อาจคน้ หาขอ้ มูลเรือนเครื่องผกู ไดค้ ่อนขา้ งดี ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวรรณคดีกบั สถาปัตยกรรม: ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวรรณคดีกบั สถาปัตยกรรมมองเห็น ไดน้ อ้ ยท่ีสุด เพราะสถาปัตยกรรมเป็นศิลปะท่ีคานึงถึงประโยชนใ์ ชส้ อยค่อนขา้ งสูง จึงไม่อาจนาวรรณคดีไป ประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ยกเวน้ การสร้างสถาปัตยกรรมดว้ ยจุดประสงคเ์ ฉพาะ เช่น การสร้างอาคารบา้ นช่องหรือปราสาท ในเทพนิยายต่างๆ ในส่วนสนุกเพื่อสร้างความบนั เทิงต่ืนตาตื่นใจแก่เด็กๆ นอกจากน้ีการสร้างฉากในการถ่าย ทาภาพยนตร์บางเรื่องอยา่ งสมจริงตามท่ีบรรยายไวใ้ นวรรณคดี หลงั การถ่ายทาภาพยนตร์ อาจเกบ็ ฉากเหล่าน้นั เป็นแหล่งท่องเที่ยวเพอื่ ใหเ้ ขา้ ชม เช่น ฉากปราสาทราชวงั ของไทยจากภาพยนตร์เร่ือง The King and I ท่ี มาเลเซีย ซ่ึงเป็นสถานถ่ายทาภาพยนตร์เร่ืองน้ี กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสาคญั แห่งหน่ึง การอนุรักษ์ สืบสาน เผยแพร่ การออกกฎหมายคุม้ ครองสถาปัตยกรรมไทย อนั เป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ จึงควรมีกฎหมายคุม้ ครอง และต้งั หน่วยงานที่มีผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะสาขา เนื่องจากงานศิลปกรรมแต่ละประเภทน้นั มีความแตกต่างกนั การ ดูแลรักษาจึงตอ้ งเลือกใชว้ ธิ ีการท่ีถูกตอ้ ง สงวนรักษาและซ่อมบารุง โดยการรักษาของเก่าไวใ้ หไ้ ดม้ ากท่ีสุด ไม่ใช่การทาข้ึนใหม่ กนกรัตน์ อุ่นในธรรม 4/6 เลขที่ 7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook