Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01 Form AnnualReport 2021_ฝบท_use

01 Form AnnualReport 2021_ฝบท_use

Published by iamart, 2022-01-09 10:16:18

Description: 01 Form AnnualReport 2021_ฝบท_use

Search

Read the Text Version

[ปกนอก] รายงานประจำป 2564 ของ สำนักงานสหกรณจังหวดั ชลบุรี (ช่อื เดอื น / ป จดั ทำเปน เลมสมบรู ณเ สรจ็ ) สำนกั งานสหกรณจ งั หวดั ชลบุรี

[ปกใน] คำชีแ้ จง รายละเอยี ดเชนเดียวกนั กบั [ปกนอก]

สารจากสหกรณจังหวดั สำนักงานสหกรณจังหวัดชลบุรีเปนหนวยงานสวนภูมิภาค สังกัดกรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ สำหรับการดำเนินงานรอบปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผานมาได ขับเคลื่อนงานโครงการตาง ๆ ตามนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ แผนงาน โครงการกรมสงเสริมสหกรณ รวมทั้งภารกิจหลักในการสงเสริมพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงานของ สหกรณ กลุมเกษตรกรและกลุมอาชพี ตาง ๆ ซึ่งปนี้ภายใตส ถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ไดนำเทคโนโลยีเขามาชวยในการดำเนินงาน อาทิเชน การประชุมผานระบบ ออนไลน การติดตอประสานงานผานระบบแอพพลิเคชั่นไลน เปนตน โดยยึดกรอบแนวทางตาม ตวั ชวี้ ดั การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานสงเสรมิ สหกรณและกลุมเกษตรกรในดานการสงเสรมิ และพัฒนา สหกรณและกลุมเกษตรกรใหสามารถดำเนินกิจการเพื่ออำนวยประโยชนแกมวลสมาชิกตามวัตถุประสงค ซ่ึงจะสง ผลใหการพัฒนาดานเศรษฐกจิ และสังคมในระดบั ฐานรากเปน ไปอยา งมนั่ คงย่ังยนื รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงภารกิจและความกาวหนาของการดำเนินงาน ในรอบปท่ีผานมา หวังเปนอยางยิ่งวาขอมูลจากรายงานผลการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ จังหวัดชลบุรี ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับนี้ จะเปนประโยชน ในการพัฒนางานสงเสริม สหกรณและกลมุ เกษตรกรในจังหวัดชลบุรีและผูท่ีสนใจไดน ำไปใชประโยชนใ นอนาคต สุดทายนี้ ขอขอบคุณผูรับบริการ ประกอบดวย สหกรณ กลุมเกษตรกร กลุมอาชีพ และผูมี สวนไดสวนเสีย ประกอบดวย หนวยงานสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชนในจังหวัดชลบุรี ท่ี เกี่ยวของทุกหนวยงาน รวมทั้งบุคลากร สำนักงานสหกรณจังหวัดชลบุรี ทุกทาน ที่รวมแรงรวมใจ ใน การผลักดันงานกรมสงเสริมสหกรณใหสำเร็จลุลวงไปดวยดี และขอสงความปรารถนาดีมายงั สหกรณ และกลุมเกษตรกรใหม ีความเขมแข็ง ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าลและเปน ท่ีพง่ึ ของมวลสมาชกิ สืบไป สามารถ Click ท่ี  เพื่อรับชมวิดีโอ (นายอดลุ ย คนมัน่ ) สหกรณจ งั หวัดชลบุรี ธันวาคม 2564











บทสรปุ ผบู้ รหิ าร (Executive Summary) สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดชลบรุ ี มีหนา ที่ความรบั ผดิ ชอบ ดำเนินการตามกฎหมายวาดว ยสหกรณ กฎหมายวาดวยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ในการสงเสริมสหกรณ และกลุมเกษตรกร รวมทั้งใหความรูเกี่ยวกับอุดมการณสหกรณ หลักการและวิธีการสหกรณ ใหแก บุคลากรสหกรณ กลมุ เกษตรกร เกษตรกร และประชาชนท่วั ไป โดยมีอัตรากำลงั ในการขบั เคล่ือนตาม แผนงาน/โครงการประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 จำนวนท้งั สิ้น 46 คน แบง เปน ขา ราชการ 30 คน พนักงานราชการ 16 คน ไดรับงบประมาณรายจายจากกรมสงเสริมสหกรณ รวมทั้งสิ้น 7.815 ลานบาท แยกเปนเงินบคุ ลากร 4.099 ลา นบาท งบดำเนินงาน 3.630 ลานบาท และงบลงทนุ 85,000 บาท ผลการเขาแนะนำสง เสริมสหกรณและกลมุ เกษตรกร ประจำปง บประมาณ 2564 สหกรณและกลุมเกษตร อยูในความรับผิดชอบในการแนะนำสงเสริม พัฒนา กำกับดูแล ประจำปงบประมาณ 2564 รวมท้ังสิ้น 144 แหง โดยแยกเปนสหกรณ 118 แหง กลมุ เกษตรกร 26 แหง และสหกรณในจังหวัดชลบุรี มีสมาชิกจำนวน 122,028 คน จำนวนสมาชิกที่มีสวนรวมในการดำเนิน ธุรกิจ จำนวน 93,693 คน คิดเปนรอยละ 76.78 คน มีปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น 34.31 ลานบาท ผลการดำเนินงานของสหกรณในภาพรวม กำไรสุทธิ 1,970,85 ลานบาท ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ ระดับชน้ั 1 จำนวน 48 แหง ระดับช้นั 2 จำนวน 53 แหง ระดับช้ัน 3 จำนวน 3 แหง และระดบั ชนั้ 4 จำนวน 14 แหง (ชำระบัญชี) ในสวนของกลุมเกษตรกร มีสมาชิกจำนวนทั้งสิ้น 1,787 คน สมาชิกมี สวนรวมในการดำเนนิ ธุรกจิ จำนวน 725 คน คิดเปนรอยละ 40.57 มีปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น 28.71 ลานบาท ผลการดำเนินงานภาพรวมกำไรสุทธิ 1.53 ลานบาท ซึ่งสหกรณและกลุมเกษตรกรมี ครอบคลุมทกุ อำเภอในจงั หวดั ชลบรุ ี ผลจากการเขา แนะนำสงเสริมสหกรณทน่ี ำมาจัดมาตรฐานในปง บประมาณพ.ศ.2564 จำนวน 95 แหง สหกรณผานเกณฑมาตรฐานจำนวน 67 แหง คิดเปนรอยละ 70.53 ไมผานเกณฑมาตรฐาน จำนวน 28 แหง คิดเปน รอยละ 29.47 ในสวนผลของการเขา แนะนำสง เสรมิ กลมุ เกษตรกรที่นำมาจัด มาตรฐานจำนวน 24 แหง กลมุ เกษตรกรทผี่ า นเกณฑม าตรฐานจำนวน 20 แหง คิดเปนรอยละ 83.33 ไมผา นเกณฑม าตรฐานจำนวน 4 แหง คดิ เปน รอ ยละ 16.67 ปญ หาอปุ สรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร 1. สถานการณก ารแพรร ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สง ผลกระทบตอการเขาไปแนะนำ สงเสริมสหกรณที่สำนักงานของสหกรณ ซึ่งเปนพื้นที่ของบริษัทหรือโรงงานที่มีระบบตรวจสอบเช้ือ ไวรัสโคนา 2019 อยางเครงครัด และสงผลกระทบตอการบริหารงานของสหกรณและกลุมเกษตรกร

เชน กรณีสหกรณในสถานประกอบการซึ่งมีโครงการใหสมาชิกสมัครใจลาออก หรือกรณีถูกเลิกจาง พนักงานบริษทั ซึ่งเปน สมาชิกของสหกรณ 2. สหกรณออมทรัพยที่อยูในสถานประกอบการ คณะกรรมการมีงานประจำไมมีเวลา เพียงพอในการจดั ประชุมกรรมการ และสถานประกอบการไมส ะดวกในการเขา ไปตรวจเยีย่ มหรือเขา ตรวจการสหกรณประกอบกับสหกรณไมม ีการจัดจา งเจาหนาทำใหงานสหกรณใ นการจัดทำบัญชีหรือ จัดทำเอกสารตา ง ๆ เกิดความลา ชา 3. สมาชิกยังขาดความรู ความเขาใจในบทบาทหนาที่ อุดมการณ หลักการ และวิธีการของ สหกรณ สหกรณไมมกี ารใหค วามรูแกส มาชกิ เพือ่ ใหม ีความรู ความเขาใจ เก่ยี วกับแนวทางสหกรณ ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญ หา 1. ใหคำแนะนำสหกรณ ในการกำหนดมาตรการในการชวยเหลือดานหนี้สินและการปรับ โครงสรา งหน้ขี องสมาชิกสหกรณ/กลมุ เกษตรกรท่ีไดร ับผลกระทบจากสถานการณการระบาดของโรค ตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2. จากสถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไดมีการปรับแผนการ ปฏิบัติงานและกระบวนการทำงาน พรอมทั้งการนำเทคโนโลยีเขามาชวยในการปฏิบัติงาน อาทิเชน การประชุมผานสื่อออนไลน, แอพลิเคชัน Line, การใหคำแนะนำสหกรณและกลุมเกษตรกรทางส่ือ ออนไลน เปน ตน 3. เนนการใหการศึกษาอบรม เพอื่ ปลูกจติ สำนึกความเปนเจา ของสหกรณ การมสี วนรวมของ สมาชิก การใหความรูเ กี่ยวกับบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการดำเนินการ การเพิ่มทักษะในการ บริหารงานของคณะกรรมการดำเนนิ การ/ฝายจดั การ การเพม่ิ ทกั ษะในการนำเทคโนโลยกี ารผลิตท่ีลด ตน ทนุ ประหยดั และทนั สมยั มาใชในการผลิต

สารบญั บทสรปุ ผบู ริหาร ก สว นที่ 1 ขอมูลภาพรวมของหนวยงาน 1 1 1) วสิ ัยทศั น พนั ธกิจ และอำนาจหนาทข่ี องสำนักงานสหกรณจงั หวดั ...... 2 2) แนวทางการขับเคล่ือนงาน/โครงการที่สอดคลอ งกบั แผนระดบั 2 ของ ... กรมสง เสริมสหกรณรวมถึงนโยบายและทศิ ทางการพฒั นาจงั หวัดในระดบั พืน้ ที่ ... ... 3) โครงสรางและกรอบอตั รากำลงั ประจำป 2564 4) งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ... (แยกตามยทุ ธศาสตรจ ดั สรรงบประมาณ) 5) สรุปขอ มลู สหกรณ กลุม เกษตรกร และกลมุ อาชพี ในสังกัดสหกรณ สว นท่ี 2 ผลสัมฤทธิข์ องการปฏบิ ตั ิงาน และผลการปฏบิ ตั ิงาน/โครงการภายใต แผนปฏบิ ตั งิ านและงบประมาณรายจายประจำปง บประมาณ 1) ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั งิ านและงบประมาณรายจา ยประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอืน่ ทหี่ นวยงานไดรับ ยุทธศาสตรชาติ ดา นที่ 2 การสรางความสามารถในการแขงขนั ประเด็นแผนแมบ ท 3 การเกษตร • แผนงานพน้ื ฐาน แผนงานพ้ืนฐานดานการสรา งความสามารถในการแขงขัน - งานสงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกรใหมีความเขมแข็งตาม ศกั ยภาพ - โครงการพฒั นาและสงเสริมสหกรณ/ กลมุ เกษตรกรสูด เี ดน - โครงการพฒั นาศักยภาพสหกรณน อกภาคการเกษตรสูความเขมแข็ง - โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการ Coop Financial Analyst - โครงการชับเคล่ือนการสง เสริมสหกรณออมทรัพยและสหกรณเครดิตยูเน่ียน เพอ่ื เขาสูเ กณฑการกำกับดูแลตามมาตรา 89/2 แหง พรบ.สหกรณ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพ่มิ เติม - การประชุมแนวทางปฏบิ ตั ติ ามกฎกระทรวงดำเนนิ งานและการกำกบั ดูแล สหกรณออมทรพั ยแ ละสหกรณเครดิตยูเนี่ยน

- โครงการสงเสริมพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรสูมาตรฐานสหกรณ/ กลุมเกษตรกร - โครงการอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณเกี่ยวกับ กฎหมายวาดวยการปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมายวาดวยการปองกัน และปราบปรามการสนับสนุนทางการเงนิ แกการกอ การรา ย และการแพร ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายลางสูงแกสหกรณ ผานระบบออนไลนดวย โปรแกรม Zoom Meeting - การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณออมทรัพยและสหกรณ เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ตาม พรบ.สหกรณฯ กฎกระทรวง และ กฎหมายอืน่ ที่เกยี่ วขอ ง (ตามเขา แนะนำสง เสริม และติดตามรายขอที่กบส. รายงาน) - รายงานผลการวิเคราะหขอมูลธรุ กรรมระหวางสหกรณ - โครงการพัฒนาบุคลากรในสถานศกึ ษาและประชาชนทัว่ ไป พัฒนาบุคลากรในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-2019) - โครงการฝกอบรมผานระบบสื่อสารออนไลน หลักสูตร “การบริหาร จดั การแกไข ขอบกพรอ งของสหกรณ” ดว ยระบบ Zoom Meeting - โครงการฝกอบรม หลักสูตร“ผูชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกร ข้ันปลาย” ผานระบบสือ่ สารทางไกล (ระบบ Zoom) - โครงการฝกอบรม หลักสูตร“ผูชำระบัญชีสหกรณและกลุมเกษตรกรขั้น พนื้ ฐาน” - โครงการฝกอบรม หลักสูตร “พัฒนาศักยภาพใหแกขาราชการและ พนกั งานราชการ ในตำแหนงนติ กิ ร” ดว ยระบบ Zoom Meeting - โครงการฝกอบรม หลักสูตร “ผูตรวจการสหกรณ ระดับพื้นฐาน” รุนท่ี 1 - 3 ผา นระบบสื่อสารทางไกล (ระบบ Zoom) - งานการกำกบั ดแู ล การแกไขขอ บกพรองสหกรณ และงานตรวจการ ยทุ ธศาสตรชาติ ดา นท่ี 4 การสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ประเดน็ แผนแมบท 15 พลังทางสงั คม • แผนงานยุทธศาสตร แผนงานยุทธศาสตรเ สรมิ สรา งพลงั ทางสังคม - โครงการสงเสริมและพัฒนาสหกรณในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ

- โครงการสงเสริมกิจกรรมสหกรณนักเรียน และการสงเสริม กลุมอาชีพ ประชาชน ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจากรมสมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี - โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณและ กลมุ เกษตรกร - โครงการเกษตรทฤษฎใี หม - โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห สมเด็จพระบรม โอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร แผนงานยุทธศาสตรเพอ่ื สนับสนุนดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม - โครงการชวยเหลอื ดานหนสี้ ินสมาชิกสหกรณ/ กลุมเกษตรกร ประเด็นแผนแมบท 16 เศรษฐกิจฐานราก • แผนงานบูรณาการ แผนงานบรู ณาการพฒั นาและสงเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก - โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแกไขปญหาที่ดินทำกินของ เกษตรกร - โครงการสงเสริมและสรางทักษะในการประกอบอาชีพฯ (นำลูกหลาน เกษตรกรกลบั บานฯ) - โครงการสงเสริมพฒั นาระบบตลาดภายในสำหรบั สนิ คา เกษตร - โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ กลุมเกษตรกร และ ธรุ กจิ ชมุ ชน กิจกรรมที่ 1 เพิ่มศักยภาพการดำเนินธุรกิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูป ผลผลติ การเกษตรในสหกรณแ ละกลุม เกษตรกร กิจกรรมที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ/ กลุมเกษตรกรใหเปน องคกรหลักในการพฒั นาเศรษฐกจิ ระดบั อำเภอ 2) ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปงบประมาณ 2564 ... • งานสงเสริมและพัฒนา - โครงการปรับโครงสรางการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบัน เกษตรกรรองรับผลผลิตทางการเกษตร (พระราชกำหนดใหอำนาจ กระทรวงการคลังกูเงนิ เพ่ือฟนฟูเศรษฐกิจและสงั คมท่ีไดร ับผลกระทบจากการ ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019)

• งานกำกบั ติดตามและงานแกปญ หา เชน ... - โครงการกระจายผลไมผานเครือขายสหกรณเพื่อบรรเทาความ เดอื ดรอ นของสมาชกิ เกษตรกรจากสถานการณการระบาดของโรคโควิด-19 ... ... - กำหนดแนวทางการสงเสริมสหกรณใหความชวยเหลือเกษตรกร ... สมาชิกที่มีปญหาในการประกอบอาชีพทางการเกษตร (สนับสนุนวงเงินกู ... กองทุนพฒั นาสหกรณ) ... ... - แนวทางในการแกไขปญหาหนส้ี นิ ของเกษตรกร สมาชิกสหกรณ แ ล ะ ... กลมุ เกษตรกร ในป 2564 ... - โครงการชว ยเหลอื ดา นหนี้สินสมาชิกสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร ... - โครงการแกไขปญหาหนีค้ า งชำระของสมาชกิ สหกรณ - มาตรการและแนวทางชวยเหลือบรรเทาภาระชำระหน้ีใหแก สมาชกิ สหกรณและสหกรณทไ่ี ดร ับผลกระทบจากสถานการณ การแพรระบาด ข อ ง โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 มาตรการและแนวทางชวยเหลอื บรรเทาภาระหนี้ใหแก สมาชิกสหกรณและสหกรณ ทีไ่ ดร บั ผลกระทบจาก สถานการณโรคโควิด-19 สว นที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธง านสหกรณฯ โดดเดน ในรอบปงบประมาณ พ.ศ. 2564 1) งานบูรณาการรวมกบั หนว ยงานตา ง ๆ ภายในจงั หวดั 2) การจดั งาน/กจิ กรรมตาง ๆ ในวนั คลา ยวนั สถาปนากรมฯ ครบรอบ 49 ป 3) ภาพกิจกรรมของหนวยงานรว มกับจังหวัด ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 4) ภาพกจิ กรรมของหนว ยงานรว มกับสหกรณ/ กลุมเกษตรกร ปง บประมาณ 2564 สวนที่ 4 รายงานขอมูลงบการเงิน (ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564) 1) งบแสดงฐานะการเงิน (เปรยี บเทียบงบประมาณรายจา ยปป จ จบุ นั และปก อ น) 2) งบแสดงผลการดำเนนิ งานทางการเงิน 3) หมายเหตุประกอบงบการเงิน และบทวิเคราะหขอมูลดานงบประมาณของ หนว ยงาน สวนท่ี 5 บรรณานุกรม (เฉพาะการอา งอิงขอมลู ท่ีไมใชของหนวยงานหรือ นำขอ มูลภายนอกมาใชในการเขยี นและประกอบการจดั ทำเน้ือหา) หรอื ภาคผนวก (แสดงผลการสรุปขอมลู หรือสรุปสถติ ทิ ส่ี ำคญั )

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ภาพรวมของ สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 2 วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ และอํานาจหนา้ ที่ ของสํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั ชลบรุ ี วิสยั ทศั น์ ( Vision ) “เปนองคกรหลักมุงสง เสรมิ พัฒนาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร มีการบรกิ ารดว ยหลักธรรมาภบิ าล รวมบูรณาการหนวยงานและใหบริการดว ยใจ” พนั ธกิจ ( Mission ) ปี 2561 - 2564 1. สรางคานิยมในสหกรณใหมีการบริการงานตามหลักธรรมาภิบาล อุดมการณ หลักการสหกรณแบบ มีสวนรวมเพี่อสรา งสงั คมนา อยูต ามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. สงเสริมพัฒนาใหสหกรณและกลุมเกษตรกรมีความเขมแข็ง พึ่งตนเองได มีการดำเนินธุรกิจอยาง มีคุณภาพและเทีย่ งธรรม มคี วามรว มมอื เช่ือมโยงกันอยา งเปนระบบเพ่ือประโยชนมวลสมาชกิ 3. สนับสนนุ ใหส หกรณและกลมุ เกษตรกรมีสว นรว มในการพฒั นาชุมชน 4. ประสานความรว มมอื การพัฒนาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรรว มกับหนว ยงานท่เี กยี่ วของทุกระดับ 5. เสริมสรางคุณภาพทางคุณธรรมและจริยธรรมวุฒิภาวะทางอารมณเพื่อบริการสังคมที่ดีดวย จิตบริการ อํานาจหนา้ ท่ีของหน่วยงาน การบริหารราชการสวนภมู ิภาค มอี ำนาจหนาท่ดี งั ตอ ไปนี้ 1. ดำเนินการเกี่ยวกับงานดานกฎหมายวาดวยสหกรณ กฎหมายวาดวย การจัดทีด่ ิน เพื่อการครองชีพ และกฎหมายอนื่ ท่ีเก่ียวขอ ง 2. สงเสรมิ และพัฒนางานสหกรณท ุกประเภทและกลุมเกษตรกร 3. สง เสริม เผยแพร และใหความรูเกี่ยวกบั อดุ มการณ หลกั การและวิธีการสหกรณใ หแกบ คุ ลากรสหกรณ กลมุ เกษตรกร และประชาชนทว่ั ไป 4. สง เสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวดั ชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 3 5. ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่น ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย การแบงภารกิจในความรบั ผดิ ชอบ ฝายบรหิ ารทัว่ ไป มอี ำนาจหนาท่ี ดังตอไปน้ี 1. ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร ติดตาม รวบรวมแผนงาน จัดทำรายงานผลการ ปฏบิ ตั ิงาน และจดั ทำคำขอตงั้ งบประมาณของสำนักงาน 2. ดำเนนิ การเกี่ยวกับงานการเงนิ การบัญชี วสั ดุ ครภุ ัณฑ จดั ซือ้ จดั จาง และการบรหิ ารงานบุคคลของ สำนักงาน 3. ดำเนินการเก่ยี วกับงานสารบรรณและงานบริหารทวั่ ไปของสำนักงาน 4. ติดตามเรงรัด และประเมินผลการปฏิบัติราชการตามแผนงาน/โครงการและคำรับรองการปฏิบัติ ราชการของสำนกั งาน 5. เปนศูนยขอมูลสารสนเทศของสำนักงานและจัดทำปรับปรุงขอมูลของสารสนเทศของสหกรณและ กลุมเกษตรกร 6. ดำเนินงานดานเผยแพรและประชาสมั พนั ธ 7. ปฏบิ ัตงิ านรวมกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของหนว ยงานอื่นท่เี ก่ียวขอ งหรอื ท่ไี ดรับมอบหมาย กลมุ จดั ต้ังและสง เสรมิ สหกรณ มอี ำนาจหนาท่ี ดังตอไปน้ี 1. ศึกษา วเิ คราะห ความเปนไปไดและใหค วามเหน็ ในการขอจดั ตั้งสหกรณและกลุมเกษตรกรของกลุม บคุ คล รวมท้งั ติดตามและประเมินผลการดำเนนิ งานของสหกรณและกลมุ เกษตรกร ภายหลงั การจดั ตั้ง 2. ดำเนนิ การเก่ยี วกับงานดานกฎหมายวา ดวยสหกรณและกฎหมายอ่นื ท่ีเกยี่ วของ 3. ใหคำปรึกษา แนะนำ ในการจัดตั้งสหกรณ แกไขปญหาภารกิจที่เกี่ยวของของกลุมงาน ใหแก กลุมสง เสรมิ สหกรณ 4. ประสานงานและสนบั สนุนการดำเนนิ งานตามระบบสง เสริมสหกรณ 5. ศกึ ษา วเิ คราะห ประสาน และดำเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ และโครงการพเิ ศษ 6. สงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกร ใหผานเกณฑมาตรฐานของกรมสงเสริมสหกรณ และ รกั ษาระดบั มาตรฐานสหกรณและกลุมเกษตรกรเดิม 7. เผยแพรและใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับระบบสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ ใหแ กบ คุ ลากรสหกรณ กลมุ เกษตรกร และประชาชนท่วั ไป WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวดั ชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 4 8. การถายทอดองคความรู การจัดการฝกอบรม/การบริหารโครงการระดับจังหวัดใน ภารกจิ ท่ีเก่ยี วของ 9. ปฏบิ ัตงิ านรว มกับหรอื สนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหนว ยงานอน่ื ท่ีเกีย่ วขอ งหรือท่ไี ดร บั มอบหมาย กลมุ สงเสรมิ และพัฒนาธรุ กจิ สหกรณ มีอำนาจหนาที่ ดังตอไปนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห ใหค ำปรกึ ษา แนะนำ เก่ียวกับการพัฒนาธรุ กจิ และสง เสรมิ การตลาดแกสหกรณ และกลุมเกษตรกร 2. ศึกษาวเิ คราะห สง เสริมและพัฒนาสนิ คาการบรรจภุ ณั ฑแ ละรปู แบบการบริการเพื่อเพิ่มมูลคา สินคา 3. ศึกษา วิเคราะห ขอมูลดานการตลาด และสงเสริมการเชื่อมโยงธุรกิจ การตลาดสหกรณ ลูทาง การตลาดท้ังในและตางประเทศ 4. ใหคำปรึกษา แนะนำ ในการแกไขปญ หาดานพัฒนาธุรกจิ สหกรณใหแ กกลมุ สงเสรมิ สหกรณ 5. ประสานงานในความชว ยเหลือในการดแู ล รักษาและการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต 6. ติดตามและดำเนินการประเมินผลรายงานผลงาน และโครงการในหนาที่ความรับผิดชอบของ กลมุ งาน 7. สงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกรใหผานเกณฑมาตรฐานของกรมสงเสริมสหกรณและรักษา ระดับมาตรฐานสหกรณและกลุม เกษตรกร 8. ปฏิบัตงิ านรวมกับหรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นทเ่ี กี่ยวขอ งหรอื ทไ่ี ดรับมอบหมาย กลมุ สงเสริมและพฒั นาการบริหารการจดั การสหกรณ มีอำนาจหนา ท่ี ดังตอ ไปน้ี 1. ศึกษา วิเคราะห ใหคำแนะนำเกี่ยวกับโครงสรางการจัดระบบงาน การบริหารงานบุคคลและ การควบคุมภายในเพอ่ื พฒั นาใหสหกรณและกลมุ เกษตรกรเขมแข็ง 2. ศึกษา วิเคราะห และเสนอแนะเกี่ยวกับความเปนไปไดของโครงการ การจัดหาการลงทุน และ การบริหารเงินทุนของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร 3. ศึกษา วิเคราะห ความตองการสนับสนุนเงินทุนและสินเชื่อแกสหกรณ รวมท้ังการติดตามและ ประเมนิ ผล 4. ใหค ำปรึกษา แนะนำ ในการแกไ ขปญหาดา นการบริหารการจดั การสหกรณใ หแกก ลุมสง เสริมสหกรณ 5. ติดตามและดำเนินการประเมินผลรายงานและโครงการในหนาทีค่ วามรับผดิ ชอบของกลุมงาน WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวัดชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 5 6. สงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกรใหผา นเกณฑมาตรฐานของกรมสงเสริมสหกรณ และรักษา ระดับมาตรฐานสหกรณและกลุมเกษตรกร 7. ปฏบิ ตั ิงานรวมกบั หรือสนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานของหนว ยงานอื่นท่ีเก่ยี วของหรือท่ีไดรบั มอบหมาย กลุมตรวจการสหกรณ มีอำนาจหนาท่ี ดังตอไปน้ี 1. ศึกษา วิเคราะห และรวบรวมขอมูลเพื่อตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ เพื่อให สหกรณปฏิบัติหรืองดเวนปฏิบัติตามที่กฎหมายสหกรณหรือกฎหมายอื่นกำหนด รวมถึงขอบังคับ ระเบียบของสหกรณ ระเบียบหรือคำสั่งของนายทะเบียนสหกรณ พรอมจัดทำรายงานเสนอนายทะเบียนสหกรณ เพอ่ื ทราบหรอื พจิ ารณา 2. ดำเนินการเกี่ยวกับการรับจดทะเบียน การควบ การแยก การเลิก การชำระบัญชี การแกไขเพิ่มเติมขอบังคับ ระเบยี บของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร 3. ศกึ ษา วิเคราะห แนวทางการตรวจการสหกรณใหเกิดประสิทธิภาพ 4. ศึกษา วิเคราะห การแกไขขอบกพรองของสหกรณ การรองเรียนการดำเนินงานของสหกรณ เพื่อนำเสนอนายทะเบียนสหกรณวินิจฉัยหรือสั่งการแกไขไดอยางมีประสิทธิภาพ พรอมวางแนวทาง การปอ งกัน แกไ ข และฟนฟู 5. ศึกษา วิเคราะห เพื่อแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับกฎหมาย เชน การรองเรียนคดีความตางๆ รวมท้ัง เพ่ือแกไขขอบกพรองของสหกรณ 6. ดำเนนิ การเก่ียวกับเรื่องรองเรียน ตอบขอหารือ ท่เี กย่ี วของกับการใชอำนาจของนายทะเบียนสหกรณ 7. ชวยเหลอื นายทะเบียนสหกรณ หรือรองนายทะเบียนสหกรณในการเตรียมการหรอื ทำคำสงั่ ทางปกครองใหเ ปนไปตามกฎหมายวาดวยการปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง 8. ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานในหนาทีค่ วามรบั ผิดชอบ 9. ประสานการทำงานรว มกบั บุคคลหรอื หนว ยงานทีเ่ กย่ี วขอ ง เพอื่ ใหการปฏบิ ตั ิงานประสบผลสำเรจ็ 10. ปฏบิ ัติหนา ท่ตี ามท่นี ายทะเบยี นสหกรณมอบหมาย 11. ประสานงานและสนบั สนุนการดำเนนิ งานตามระบบการตรวจการสหกรณ 12. ปฏิบตั ิงานรว มกับหรอื สนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว ยงานอืน่ ทเี่ ก่ยี วของหรือท่ีไดร ับมอบหมาย กลมุ สงเสรมิ สหกรณ มีอำนาจหนา ที่ ดังตอไปน้ี 1. ดำเนนิ การใหเปนไปตามกฎหมายวาดว ยสหกรณ กฎหมายวา ดว ยกลมุ เกษตรกร และกฎหมายอ่ืนท่ี เกี่ยวขอ งในพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 6 2. สง เสรมิ และพฒั นาการบริหารงานสหกรณท ุกประเภทและกลมุ เกษตรกรในพืน้ ท่รี ับผิดชอบ 3. สงเสรมิ และพัฒนาธรุ กจิ ของสหกรณทุกประเภทและกลุมเกษตรกรในพน้ื ทร่ี บั ผิดชอบ 4. เผยแพรแ ละใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกบั ระบบสหกรณ อดุ มการณ หลักการ และวิธกี ารสหกรณ ใหแ กบุคลากรสหกรณ กลุม เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในพน้ื ที่รบั ผดิ ชอบ 5. สงเสรมิ และพฒั นาสหกรณและกลุม เกษตรกรใหผานเกณฑมาตรฐานของกรมสง เสริมสหกรณ และรกั ษาระดับมาตรฐานสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร 6. ประสานและสนบั สนนุ การดำเนนิ งานตามระบบสง เสรมิ สหกรณ และระบบการตรวจการสหกรณ 7. ปฏิบตั ิงานรวมกบั หรือสนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ านของหนวยงานอื่นทีเ่ กยี่ วของหรือท่ีไดร ับมอบหมาย WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 7 แนวทางการขบั เคลอื่ นงาน/โครงการท่ีสอดคลอ้ งกบั แผนระดบั 3 ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณร์ วมถึงนโยบายและทิศทางการพฒั นาจงั หวดั ในระดบั พ้ืนที่ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 8 โครงสรา้ งและอตั รากําลงั ของสํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั ชลบรุ ี WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 9 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 10  อตั รากำลงั ของสำนกั งานสหกรณจังหวัดชลบรุ ี 35% รวม 46 คน 65% ประเภทอตั รากำลัง ชาย หญงิ หนว ย : คน ขาราชการ 10 20 รวม พนกั งานราชการ 30 1 15 รวม 11 35 16 46 ทม่ี า ฝา ยบรหิ ารท่ัวไป ขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจงั หวัดชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 11 งบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ยุทธศาสตรชาติ ดา นที่ 2 การสรางความสามารถในการแขง ขนั ประเดน็ แผนแมบท 3 การเกษตร  แผนงานพืน้ ฐาน แผนงาน : แผนงานพ้ืนฐานดา นการสรา งความสามารถในการแขงขัน ผลผลิต/โครงการ : สหกรณและกลุมเกษตรกรไดร ับการสงเสริมและพัฒนาใหม คี วามเขมแข็งตามศกั ยภาพ กิจกรรมหลัก : สง เสรมิ และพัฒนาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร กิจกรรมรอง : สง เสริมและพัฒนาสหกรณ/กลุม เกษตรกรใหมคี วามเขมแขง็ ตามศักยภาพ* กจิ กรรมหลกั : การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (งบลงทนุ ) กจิ กรรมหลัก : สง เสรมิ ความรูด านการสหกรณ (งบลงทุน) หมายเหตุ : * กจิ กรรมรอง : สง เสริมและพัฒนาสหกรณฯ คร้ังที่ 1 (ระหวา งวนั ท่ี 1 ตลุ าคม - 31 ธันวาคม 2563), ครง้ั ที่ 2 (ฉบับปรับปรุง) ยุทธศาสตรชาติ ดานที่ 4 การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ประเด็นแผนแมบท 15 พลงั ทางสงั คม  แผนงานยุทธศาสตร  แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตรเ สรมิ สรา งพลังทางสังคม ผลผลติ /โครงการ : โครงการสงเสริมการดำเนินงานอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ กจิ กรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ/ กลมุ เกษตรกรในพื้นที่โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ กจิ กรรมรอง : สงเสริมและพัฒนาสหกรณ/ กลุมเกษตรกรในพ้นื ทโ่ี ครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ กิจกรรมที่ 2 : สงเสรมิ ความรูการสหกรณแกกลุมชาวบาน กจิ กรรมที่ 7 : คลนิ ิกเกษตรเคล่อื นท่ีฯ กิจกรรมที่ 8 : ขบั เคลือ่ นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสงเสรมิ การเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม ในสหกรณ/กลุมเกษตรกร  แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตรเ พือ่ สนับสนุนดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ผลผลติ /โครงการ : ชวยเหลอื ดานหนส้ี ินสมาชิกสหกรณและกลมุ เกษตรกร กิจกรรมหลัก : ชวยเหลอื ดา นหนสี้ นิ สมาชกิ สหกรณและกลุมเกษตรกร กจิ กรรมรอง : ลดดอกเบ้ยี เงินกใู หเกษตรกรสมาชิกสหกรณ/กลุม เกษตรกร WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจงั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 12 ยุทธศาสตรชาติ ดา นที่ 4 การสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ประเดน็ แผนแมบท 16 เศรษฐกจิ ฐานราก  แผนงานบรู ณาการ  แผนงาน : แผนงานบรู ณาการพฒั นาและสง เสรมิ เศรษฐกิจฐานราก ผลผลิต/โครงการ : โครงการสง เสรมิ และสรา งทกั ษะในการประกอบอาชีพท้ังในและนอกภาคเกษตร กจิ กรรมหลกั : นำลกู หลานเกษตรกรกลับบาน สานตออาชพี การเกษตร ผลผลิต/โครงการ : โครงการสงเสรมิ และพัฒนาอาชีพเพ่อื แกไ ขปญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก : สง เสรมิ และพัฒนาอาชีพภายใตโ ครงการจัดทด่ี นิ ตามนโยบายรฐั บาล ผลผลิต/โครงการ : โครงการพัฒนาศกั ยภาพการดำเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณ กลุมเกษตรกร และธรุ กิจชุมชน กจิ กรรมหลัก : เพมิ่ ขีดความสามารถในการดำเนินธรุ กิจของสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหเ ปนองคกรหลัก ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ระดบั อำเภอ กิจกรรมหลกั : เพ่มิ ศักยภาพการดำเนินธรุ กจิ รวบรวม จดั เก็บ และแปรรูปผลผลิตการเกษตรใน สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร ผลผลิต/โครงการ : โครงการสง เสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินคา เกษตร กจิ กรรมหลัก : พฒั นากลไกกการตลาดเพเื่ พิ่มชองทางการจำหนายสินคาของสหกรณและกลุมเกษตรกร  แผนงาน : แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ ผลผลิต/โครงการ : รายการคา ใชจ ายบคุ ลากรภาครฐั กจิ กรรมหลัก : คา ใชจา ยบุคลากรภาครฐั กรมสงเสริมสหกรณ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวัดชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 13 งบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564 แผนภมู ิแสดงงบประมาณรายจา่ ยประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2562-2564 จําแนกตามประเภทงบรายจา่ ย ลานบาท 5 เงนิ อดุ หนุน งบรายจา ยอื่น 4 3 2 1 0 งบบคุ ลากร งบดําเนนิ งาน งบลงทนุ ป 2562 ป 2563 ป 2564 ประเภทงบรายจาย ป 2562 ป 2563 หนว ย : บาท รวมท้ังสน้ิ 9,055,975.01 8,650,269.38 ป 2564 งบบุคลากร 3,802,993.00 3,842,469.48 งบดำเนนิ งาน 5,161,982.01 4,246,704.00 7,815,378.69 งบลงทุน 4,099,920.00 เงินอุดหนุน 91,000.00 18,000.00 3,630,458.69 0.00 543,095.90 85,000.00 0.00 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวดั ชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 14 สรปุ ขอ มูลสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564  ขอมูลสถิตขิ องสหกรณ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวนสหกรณและจำนวนสมาชกิ สหกรณ จำนวน จำนวนสมาชกิ จำนวนสมาชกิ ที่มี สหกรณ สวนรวมในการ ประเภทสหกรณ (แหง ) รวมสมาชิก สมาชกิ สมาชกิ ดำเนนิ ธรุ กิจ รอ ยละ สมทบ ทั้งหมด สามัญ (คน) (คน) 49.80 (คน) (คน) 50.09 11,425 0.00 1. สหกรณการเกษตร 17 22,942 22,744 198 272 86.33 0 82.76 2. สหกรณป ระมง 2 543 543 0 43.36 75,280 66.76 3. สหกรณนคิ ม 0 00 0 2,943 76.78 2,640 4. สหกรณอ อมทรัพย 50 87,201 79,127 8,074 1,133 5. สหกรณร านคา 4 3,556 2,944 612 93,693 6. สหกรณบรกิ าร 26 6,089 5,974 115 7. สหกรณเ ครดิตยเู นีย่ น 6 1,697 1,697 0 รวม 105 122,028 113,029 8,999 ท่ีมา : กลมุ สงเสรมิ และพฒั นาการบริหารการจัดการสหกรณ ขอ มูล ณ 30 กันยายน 2564 สถานะสหกรณ จำนวนสหกรณ (แหง) จำนวนสหกรณ ประเภทสหกรณ ดำเนินงาน/ หยุดดำเนนิ งาน/ เลิก จดั ตั้งใหม ทัง้ หมด ธรุ กิจ ธุรกิจ /ชำระบญั ชี (4) (1) + (2) + (3) (1) (2) (3) + (4) 1. สหกรณการเกษตร 17 0 30 20 2. สหกรณป ระมง 2 0 10 3 3. สหกรณนคิ ม 0 0 00 0 4. สหกรณออมทรพั ย 48 1 30 52 5. สหกรณร านคา 4 0 20 6 6. สหกรณบ รกิ าร 25 1 40 30 7. สหกรณเ ครดิตยเู นย่ี น 6 0 00 6 รวม 102 2 13 0 117 ทม่ี า : ฝายบรหิ ารทว่ั ไป ขอมลู ณ 30 กันยายน 2564 หมายเหตุ : 1. สถานะหยุดดำเนินงาน/ธรุ กิจ จำนวน 2 แหง คือ สหกรณบริการวทิ ยาลัยเทคนิคสัตหีบ จำกัด และ สหกรณอ อมทรพั ย ไทย เซอาห จำกัด 2. เลกิ ระหวางป 2564 จำนวน 1 แหง คือ สหกรณอ อมทรัพย ยูนิเวอรแ ซล โพลีแบค จำกัด WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 15 ปริมาณธุรกิจของสหกรณใ นปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ปริมาณ ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ ริการ (ลา นบาท) ธุรกจิ ประเภทสหกรณ ของ รับฝากเงิน ใหเ งนิ กู จดั หา รวบรวม แปรรปู บริการ รวมท้งั สิ้น 1. สหกรณก ารเกษตร สหกรณ สนิ คา มา ผลผลติ ผลผลติ และอ่ืน ๆ (แหง ) 105.312 จำหนาย 5,177.395 17 218.334 412.463 2,575.367 1,843.536 22.383 2. สหกรณป ระมง 2 0.006 1.360 0.103 0.000 0.000 0.000 1.528 3. สหกรณนคิ ม 0 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 4. สหกรณอ อมทรพั ย 50 6,245.75 22,340.780 0.000 0.000 0.000 0.004 28,586.540 5. สหกรณร า นคา 4 0.000 0.000 270.269 0.000 0.000 10.281 280.550 6. สหกรณบรกิ าร 27 7.843 38.500 27.862 0.000 0.000 10.814 85.019 7. สหกรณเ ครดิตยเู นียน 6 7.949 171.372 0.000 0.000 0.000 0.024 179.345 รวมทง้ั สน้ิ 106 6,366.925 22,770.346 710.696 2,575.367 1,843.536 43.505 34,310.376 ท่ีมา : กลมุ สง เสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ ขอมูล ณ 30 กันยายน 2564 ผลการดำเนนิ งานของสหกรณ ผลการดำเนินงานปลา สดุ ทม่ี ีการปด บญั ชีในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการดำเนนิ งานในภาพรวม การดำเนินงานมีผลกำไร - ขาดทนุ กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ ในภาพรวม ประเภทสหกรณ จำนวน รายได คาใชจาย สหกรณท ี่มีผลกำไร สหกรณท ีข่ าดทุน (ลานบาท) สหกรณ (ลานบาท) (ลา นบาท) (แหง ) จำนวน กำไร จำนวน ขาดทุน สหกรณ (ลา นบาท) สหกรณ (ลา นบาท) (แหง ) (แหง) 1. สหกรณก ารเกษตร 17 2,845.360 2,979.310 12 52.899 4 26.193 (133.950) 0.001 1 0.024 (0.023) 2. สหกรณป ระมง 2 0.053 0.076 1 0.000 0 0.000 0.000 2,111.437 1 2.346 3. สหกรณน คิ ม 0 0.000 0.000 0 10.989 0 0.000 2,109.437 5.414 6 5.351 10.989 4. สหกรณออมทรัพย 49 2,924.647 815.210 48 7.368 1 22.627 (0.340) (15.260) 5. สหกรณร านคา 4 326.800 315.811 4 2,188.107 13 56.540 1,970.853 6. สหกรณบ ริการ 26 53.027 53.367 18 7. สหกรณเ ครดิตยเู นี่ยน 6 13.576 28.836 5 รวมท้ังส้ิน 104 6,163.462 4,192.609 88 ทม่ี า : (ใชข อมูลผลการดำเนนิ งานจากงบการเงนิ ของสหกรณท ีไ่ ดร บั การตรวจสอบบญั ชแี ลว เทา น้ัน) หมายเหตุ ผลรวมของสหกรณในชอ ง (1) จะตอ งเทา กบั ผลรวมของชอ ง (4) + (6) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 16  ผลการจัดระดับชน้ั สหกรณ จำแนกตามประเภทของสหกรณ ขอมลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564 ประเภทสหกรณ สหกรณ สหกรณ สหกรณ สหกรณ รวม ช้นั 1 ชั้น 2 ช้ัน 3 ชน้ั 4 20 สหกรณภ าคการเกษตร 3 0 0 3 1. สหกรณก ารเกษตร 8 81 1 53 2. สหกรณน คิ ม 0 00 3 7 1 30 3. สหกรณประมง 0 20 4 6 2 118 สหกรณนอกภาคการเกษตร 14 4. สหกรณออมทรพั ย 26 22 1 5. สหกรณเ ครดติ ยเู นีย่ น 2 31 6. สหกรณบ รกิ าร 9 17 0 7. สหกรณร า นคา 3 10 รวม 48 53 3 ทมี่ า : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ชนั้ สหกรณ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน หมายเหต:ุ สหกรณเครดติ ยูเน่ยี นศรีราชา จำกัด มคี ำสง่ั ถอนชอ่ื ระหวา งป วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2564  ผลการจัดระดบั ชน้ั สหกรณ เปรียบเทียบ 3 ป (ป พ.ศ. 2560 – 2564) ระดับช้ัน ระดบั ชั้น ระดบั ชัน้ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564 ระดบั ชน้ั ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2563 (แหง/รอ ยละ) (แหง/รอยละ) (แหง /รอ ยละ) 48 / 40.68 ช้ัน 1 49 / 41.88 55 / 45.83 53 / 44.92 ชัน้ 2 55 / 47.01 45 / 37.50 3 / 2.54 ช้นั 3 5 / 4.27 6 / 5.00 14 / 11.86 ชั้น 4 8 / 6.84 14 / 11.67 118 / 100.00 รวม 117 / 100.00 120 / 100.00 ที่มา : รายงานสรุปผลการจดั ระดบั ชัน้ สหกรณ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 17 แผนภมู แิ สดงขอมลู เปรยี บเทียบ (รอ ยละ) ผลการจัดระดับชน้ั สหกรณ ป 2562 - 2564 41.88 45.83 40.68 ช้ัน 1 47.01 37.5 44.92 ชนั้ 2 ชั้น 3 ชั้น 4 ป 2562 ป 2563 ป 2564  ผลการดำเนินงานของสหกรณ ในรอบปบ ัญชลี าสดุ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการดำเนนิ งานของสหกรณ ในจงั หวัดชลบุรี มรี ายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ตารางที่ 1  ขอ มลู สถติ ิของกลมุ เกษตรกร ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวนกลมุ เกษตรกรและจำนวนสมาชิกกลุมเกษตรกร จำนวน จำนวนสมาชกิ จำนวนสมาชกิ ทีม่ ี สว นรว มในการ ประเภทกลุม เกษตรกร กลุม รวมสมาชิก สมาชกิ สมาชกิ ดำเนินธุรกิจ รอ ยละ เกษตรกร ทั้งหมด สามญั สมทบ (แหง ) (คน) (คน) (คน) (คน) 63.35 72.5 1. กลุมเกษตรกรทำนา 7 483 483 0 306 89.10 29 37.21 2. กลุม เกษตรกรทำสวน 1 40 40 0 49 23.23 160 40.57 3. กลมุ เกษตรกรเลย้ี งสตั ว 1 55 55 0 181 4. กลมุ เกษตรกรทำไร 7 430 430 0 725 5. กลมุ เกษตรกรทำประมง 8 779 779 0 รวม 24 1,787 1,787 0 ทมี่ า : กลุมสง เสรมิ และพัฒนาการบริหารการจดั การสหกรณ ขอมลู ณ 30 กนั ยายน 2564 WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 18 สถานะกลมุ เกษตรกร จำนวนกลุมเกษตรกร (แหง) จำนวนกลมุ เกษตรกรท้ังหมด ประเภทกลุมเกษตรกร ดำเนนิ งาน/ หยุด เลกิ จัดตัง้ ใหม ธุรกิจ ดำเนนิ งาน/ /ชำระบญั ชี (1) + (2) + (4) (3) + (4) (1) ธรุ กจิ (3) 0 (2) 0 7 0 1 1. กลุมเกษตรกรทำนา 700 0 1 0 8 2. กลมุ เกษตรกรทำสวน 1 0 0 0 9 26 3. กลุม เกษตรกรเล้ยี งสตั ว 1 0 0 4. กลุมเกษตรกรทำไร 701 5. กลุมเกษตรกรทำประมง 8 0 1 รวม 24 0 2 ทม่ี า : ฝายบรหิ ารทวั่ ไป ขอมลู ณ 30 กันยายน 2564 ปริมาณธุรกิจของกลุมเกษตรกรในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปริมาณ ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ ริการ (ลานบาท) ธุรกิจ ประเภท ของกลมุ รบั ฝาก ใหเ งนิ กู จัดหาสินคา รวบรวม แปรรปู บริการ รวมทัง้ สน้ิ กลมุ เกษตรกร เกษตรกร เงิน มาจำหนาย ผลผลติ ผลผลิต และอื่น ๆ (แหง) 8.696 0.000 1. กลมุ เกษตรกรทำนา 7 0.000 6.148 0.811 1.724 0.000 0.013 0.888 3.209 2. กลมุ เกษตรกรทำสวน 1 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 15.925 28.718 3. กลุม เกษตรกรเลี้ยงสตั ว 1 0.000 0.888 0.000 0.000 0.000 0.000 4. กลุมเกษตรกรทำไร 7 0.000 3.204 0.000 0.000 0.000 0.005 5. กลมุ เกษตรกรทำประมง 8 0.000 0.000 15.013 0.000 0.000 0.912 รวมทั้งสน้ิ 24 0.000 10.240 15.824 1.724 0.000 0.930 ท่ีมา : กลมุ สงเสรมิ และพฒั นาธุรกจิ สหกรณ ขอมูล ณ 30 กันยายน 2564 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 19 ผลการดำเนนิ งานของกลุมเกษตรกร ผลการดำเนินงานปล า สดุ ทม่ี กี ารปด บญั ชีในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนินงานมีผลกำไร - ขาดทุน กำไร (ขาดทุน) (1) (2) (3) กลมุ เกษตรกร กลมุ เกษตรกร สุทธิ ประเภท จำนวน รายได คา ใชจ าย ทม่ี ผี ลกำไร ทีข่ าดทุน ในภาพรวม กลมุ เกษตรกร กลมุ (ลา นบาท) (ลานบาท) (ลา นบาท) เกษตรกร (4) (5) (6) (7) (5) – (7) 1. กลมุ เกษตรกรทำนา (แหง ) จำนวน กำไร จำนวน ขาดทนุ 2. กลุมเกษตรกรทำสวน กลมุ (ลานบาท) กลุม (ลา นบาท) 0.383 3. กลุมเกษตรกรเลย้ี งสตั ว เกษตรกร เกษตรกร 0.069 4. กลุมเกษตรกรทำไร (แหง ) (แหง) 0.042 5. กลุมเกษตรกรทำประมง 0.172 7 3.209 2.826 7 0.383 0 0.000 0.871 รวมทงั้ สิ้น 1.536 1 0.076 0.008 1 0.069 0 0.000 1 0.054 0.011 1 0.042 0 0.000 7 0.275 0.103 7 0.172 0 0.000 8 24.332 23.461 5 1.194 3 (0.323) 24 27.946 26.409 21 1.859 3 (0.323) ที่มา : (ระบุหนวยงานท่ีนำขอมูลมาอา งองิ ) หมายเหตุ ผลรวมของกลุมเกษตรกรในชอ ง (1) จะตองเทากับผลรวมของชอง (4) + (6)  ผลการจดั ระดับชน้ั กลมุ เกษตรกร จำแนกตามประเภทของกลมุ เกษตรกร ขอมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564 ประเภทสหกรณ กลมุ เกษตรกร กลมุ เกษตรกร กลุมเกษตรกร กลมุ เกษตรกร รวม ชน้ั 1 ช้ัน 2 ช้ัน 3 ชัน้ 4 7 1. กลุมเกษตรกรทำนา 07 0 0 1 1 2. กลมุ เกษตรกรทำสวน 0 1 0 0 7 8 3. กลมุ เกษตรกรเลย้ี งสตั ว 0 1 0 0 24 4. กลมุ เกษตรกรทำไร 07 0 0 5. กลุมเกษตรกรทำประมง 0 6 2 0 รวม 0 22 2 0 ท่ีมา : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ชัน้ กลุมเกษตรกร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 20 แผนภมู แิ สดงผลการจัดระดับชั้นกลมุ เกษตรกร ขอมลู ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564 ชนั้ 4 ชน้ั 3 ชน้ั 2 ชน้ั 1  ผลการดำเนินงานของกลุม เกษตรกร ในรอบปบ ญั ชีลา สดุ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการดำเนินงานของกลมุ เกษตรกร ในจงั หวดั ชลบุรี มรี ายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ตารางที่ 2 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวัดชลบรุ ี

สว่ นท่ี 2 ผลสมั ฤทธ์ิของการปฏิบตั ิงาน และ ผลการปฏิบตั ิงาน

รายงานประจำป 2564 | 22 ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิงานและงบประมาณรายจ่าย ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอื่นที่หนว่ ยงานไดร้ บั ยุทธศาสตรชาติ ดานที่ 2 การสรา งความสามารถในการแขง ขัน ประเด็นแผนแมบ ท 3 การเกษตร • แผนงานพน้ื ฐาน แผนงานพืน้ ฐานดา นการสรางความสามารถในการแขง ขัน งานส่งเสริมและพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ ีความเขม้ แข็งตามศกั ยภาพ การแนะนำสงเสรมิ และพฒั นาสหกรณ ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 โดย กลุมสง เสริมสหกรณ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวดั ชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 23 WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 24 ผลสำเรจ็ ตามตัวชี้วัด / กิจกรรม ตัวชว้ี ดั หนว ยนับ แผน ผล รอยละ ตัวชว้ี ดั ดานการบริหาร งบประมาณและยุทธศาสตร 100 100 100.00 1. บริหารและกำกับการใชจายงบประมาณตามประเภทงบรายจายและกิจกรรมหลัก รอ ยละ รวมท้ังบริหารการเบิกจา ยใหเปน ไปตามเปา หมายและเง่ือนเวลาทกี่ รมกำหนด ตัวชี้วดั ดานการสงเสริมและพัฒนาสหกรณและกลมุ เกษตรกร 1. สหกรณแ ละกลุม เกษตรกรมีประสทิ ธิภาพในการบริหารจดั การองคกร (การบรหิ ารจัดการท่มี ธี รรมาภบิ าล/การควบคุมภายในของสหกรณ/กลุมเกษตรกร) 1.1 สหกรณภาคการเกษตร ผานการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุม สหกรณ 17 17 100.00 14 14 100.00 ภายในระดับพอใชข น้ึ ไป ไมนอ ยกวา รอยละ 88 โดย 1) รักษาสหกรณภ าคการเกษตรท่ีมีผลการประเมินจัดชั้นคณุ ภาพการควบคุม สหกรณ ภายในใหอยูในระดับดีและดีมาก และ/หรือ 2) ยกระดับสหกรณภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในใหส งู ข้ึนจากเดมิ หนึง่ ระดบั - ยกระดับจากระดับพอใชข ึ้นไปอยางนอ ยหนงึ่ ระดับ สหกรณ 20 0.00 31 33.33 - ยกระดับจากระดบั ตอ งปรับปรงุ /ไมมีการควบคุมภายในขึ้นไปอยางนอย สหกรณ หนง่ึ ระดบั 1.2 สหกรณนอกภาคการเกษตร* ผา นการประเมนิ การจัดชั้นคณุ ภาพการควบคุม สหกรณ 77 81 105.19 ภายในระดบั พอใชข น้ึ ไป ไมน อยกวา รอยละ 88 โดย 1) รักษาสหกรณนอกภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการ สหกรณ 67 62 92.54 ควบคุมภายในใหอ ยใู นระดับดแี ละดีมาก และ/หรอื 2) ยกระดับสหกรณนอกภาคการเกษตรท่ีมีผลการประเมินจัดช้ันคุณภาพการ ควบคุมภายในใหสงู ข้ึนจากเดมิ หนงึ่ ระดับ - ยกระดบั จากระดับพอใชข ้นึ ไปอยางนอ ยหนง่ึ ระดบั สหกรณ 12 7 58.33 86 75.00 - ยกระดบั จากระดบั ตองปรับปรุง/ไมมกี ารควบคมุ ภายในขึ้นไปอยางนอย สหกรณ หนงึ่ ระดบั * มสี หกรณน อกภาคการเกษตร 1 แหง ที่การประเมินในป 2563 อยูใ นระดบั ชนั้ 1 แตใ นป 2564 เลิกสหกรณ 1.3 กลุมเกษตรกร* ผานการประเมินการจัดช้นั คณุ ภาพการควบคุมภายในระดับดี กลมุ ฯ 73 42.86 ขนึ้ ไป ไมนอ ยกวา รอยละ 24 โดย 1) รักษากลุมเกษตรกรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน กลุมฯ 3 3 100.00 ใหอ ยูใ นระดับดีและดีมาก และ/หรอื WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวัดชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 25 ตัวช้ีวัด หนว ยนบั แผน ผล รอ ยละ 2) ยกระดับกลุมเกษตรกรท่ีมีผลการประเมนิ จดั ช้ันคุณภาพการควบคุมภายใน 95.00 0.00 ใหส ูงข้นึ จากเดิมหนึ่งระดบั 60.00 - ยกระดับจากระดบั พอใชข นึ้ ไปอยางนอยหนึง่ ระดบั กลมุ ฯ 20 19 100.00 87.50 - ยกระดับจากระดบั ตองปรับปรุง/ไมมกี ารควบคุมภายในขึ้นไปอยางนอย กลมุ ฯ 30 66.67 หนงึ่ ระดับ 0.00 92.19 * มีกลุม เกษตร 2 แหง ทกี่ ารประเมนิ ในป 2563 อยใู นระดบั ชน้ั 2 แตใ นป 2564 กลุมเกษตรกรดังกลาวเลิก 100.00 88.89 2. สหกรณและกลมุ เกษตรกรทนี่ ำมาจดั เกณฑมาตรฐานผา นเกณฑม าตรฐานกรมสงเสรมิ สหกรณ 33.33 100.00 2.1 สหกรณภาคการเกษตร ผานเกณฑม าตรฐาน ไมน อยกวารอ ยละ 80 โดย สหกรณ 15 9 114.29 96.00 1) จำนวนสหกรณภ าคการเกษตรท่ีนำมาจัดเกณฑม าตรฐาน สหกรณ 18 18 95.45 0.00 2) รักษาเปาหมายสหกรณภาคการเกษตรที่ผานเกณฑมาตรฐานระดับดีเลิศ สหกรณ 87 และระดับดมี าก และ/หรือ 3) ผลักดันใหสหกรณภาคการเกษตรที่ผานเกณฑมาตรฐานระดับดี สูระดับดี สหกรณ 32 มากหรอื ระดบั ดเี ลศิ 4) ผลักดันใหสหกรณภาคการเกษตรที่ไมผานเกณฑมาตรฐานใหผานเกณฑ สหกรณ 30 มาตรฐานอยา งนอ ยหนงึ่ ระดบั ดี 2.2 สหกรณนอกภาคการเกษตร ผานเกณฑมาตรฐาน ไมนอยกวารอยละ 82 สหกรณ 64 59 โดย 1) จำนวนสหกรณน อกภาคการเกษตรทีน่ ำมาจดั เกณฑม าตรฐาน สหกรณ 77 77 2) รักษาเปาหมายสหกรณนอกภาคการเกษตรที่ผานเกณฑมาตรฐานระดับดี สหกรณ 63 56 เลิศ และระดบั ดีมาก และ/หรือ 3) ผลักดันใหสหกรณนอกภาคการเกษตรที่ผานเกณฑมาตรฐานระดับดีสู สหกรณ 62 ระดับดมี ากหรอื ระดบั ดเี ลศิ 4) ผลักดันใหสหกรณนอกภาคการเกษตรที่ไมผานเกณฑมาตรฐานใหผาน สหกรณ 01 เกณฑม าตรฐานอยางนอ ยหนึ่งระดบั ดี 2.3 กลุมเกษตรกร ที่นำมาจัดเกณฑมาตรฐาน ผานเกณฑมาตรฐานกรมสงเสริม กลุม ฯ 21 24 สหกรณ ไมน อยกวา รอยละ 81 โดย 1) จำนวนกลุมเกษตรกรทน่ี ำมาจัดเกณฑมาตรฐาน กลุมฯ 25 24 2) จำนวนกลมุ เกษตรกรที่ตองรกั ษาใหอยูใน ระดบั ผานเกณฑม าตรฐาน และ/ กลมุ ฯ 22 21 หรือ 3) จำนวนกลุมเกษตรกรที่ตองผลักดัน จากไมผานเกณฑมาตรฐาน ใหผาน กลุมฯ 30 เกณฑม าตรฐาน * มกี ลมุ เกษตร 1 แหง ทน่ี ำมาจัดมาตรฐาน ในป 2563 แตใ นป 2564 กลุมเกษตรกรดังกลาวเลกิ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวัดชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 26 ตวั ชวี้ ัด หนว ยนบั แผน ผล รอยละ ตวั ชวี้ ดั ดา นการพฒั นาธรุ กจิ 1. สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรมคี วามสามารถในการใหบ รกิ ารสมาชิก สหกรณ 12 12 100.00 (การมีสวนรว มในการใชบ รกิ าร / ดำเนนิ กิจกรรมรวมกบั สหกรณ/ กลุมเกษตรกร) สหกรณ สหกรณ 11 10 90.91 1.1 สหกรณภาคการเกษตร (สมาชิกมีสวนรวมในการใชบริการ/ดำเนินกิจกรรม รว มกบั สหกรณ ไมนอยกวา รอ ยละ 60 ของจำนวนสมาชิก) สหกรณ 31 33.33 สหกรณ 1) รักษาสหกรณภ าคการเกษตรทีม่ ีสมาชิกมีสวนรวมในการใชบริการ/ดำเนิน สหกรณ 51 20.00 กจิ กรรมรว มกับสหกรณ ไมน อยกวารอยละ 70 และ/หรือ สหกรณ 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมีสวนรวมในการใช 53 66 124.53 บริการ/ดำเนินกิจกรรมรวมกับสหกรณ รอยละ 60 – 69 ใหมาใชบริการ สหกรณ เพมิ่ ขนึ้ และ/หรือ 59 48 81.36 3) ยกระดับสหกรณภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมีสวนรวมในการใชบริการ/ กลมุ ฯ ดำเนนิ กจิ กรรมรวมกบั สหกรณ นอ ยกวา รอ ยละ 60 ใหมาใชบ รกิ ารเพ่มิ ข้นึ กลมุ ฯ 13 10 76.92 1.2 สหกรณนอกภาคการเกษตร (สมาชิกมีสวนรวมในการใชบริการ/ดำเนิน กลมุ ฯ กิจกรรมรวมกับสหกรณ ไมนอ ยกวา รอยละ 60 ของจำนวนสมาชิก) 15 5 33.33 1) รักษาสหกรณนอกภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมีสวนรวมในการใชบริการ/ ดำเนนิ กิจกรรมรวมกบั สหกรณ ไมน อ ยกวารอยละ 70 และ/หรือ 19 4 21.05 2) รกั ษาหรือยกระดบั สหกรณน อกภาคการเกษตรที่มีสมาชกิ มสี วนรวมในการ 84 50.00 ใชบริการ/ดำเนินกิจกรรมรวมกับสหกรณ รอยละ 60 – 69 ใหมาใชบริการ 18 0 0.00 เพม่ิ ขน้ึ และ/หรือ 3) ยกระดับสหกรณนอกภาคการเกษตรทมี่ สี มาชิกมสี วนรว มในการใชบ ริการ/ ดำเนินกิจกรรมรวมกับสหกรณ นอ ยกวา รอ ยละ 60 ใหมาใชบ รกิ ารเพ่ิมขน้ึ * มสี หกรณนอกภาคการเกษตร 1 แหง ทก่ี ารประเมนิ ในป 2563 แตใ นป 2564 เลกิ สหกรณ 1.3 กลุมเกษตรกร (สมาชิกมีสวนรวมในการใชบริการ/ดำเนินกิจกรรมรวมกับ สหกรณ ไมนอยกวารอ ยละ 70 ของจำนวนสมาชกิ ) 1) รักษากลุมเกษตรกรที่มีสมาชิกที่มาใชบริการ/ดำเนินกิจกรรมรวมกับกลุม เกษตรกร ไมน อ ยกวารอ ยละ 70 และ/หรอื 2) ยกระดับกลุมเกษตรกรที่มีสมาชิกมาใชบริการ/ดำเนินกิจกรรมรวมกับ สหกรณ นอยกวา รอยละ 70 ใหม าใชบริการเพิม่ ขน้ึ ไมนอ ยกวา รอยละ 70 * มีกลุม เกษตร 2 แหง ทกี่ ารประเมนิ ในป 2563 แตในป 2564 กลุมเกษตรกรดงั กลา วเลกิ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวดั ชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 27 ตัวชีว้ ดั หนว ยนบั แผน ผล รอยละ 2. สหกรณและกลมุ เกษตรกรทม่ี ีสถานการณดำเนินกจิ การ มอี ตั ราการ ไมนอ ยกวารอ ยละ 3 4.13 137.67 42.11 ขยายตัวของปรมิ าณธรุ กิจเพมิ่ ขนึ้ จากปก อ น (ป 2563) 33.33 46.15 2.1 สหกรณภาคการเกษตร สหกรณ 19 8 76.47 2.2 สหกรณภาคการเกษตร สหกรณ 87 29 83.33 100.00 2.3 กลมุ เกษตรกร กลุมฯ 26 12 33.33 97.40 3. สหกรณและกลุมเกษตรกรมีประสทิ ธิภาพในการดำเนินธุรกจิ อยูใ นระดบั มาตรฐานข้นึ ไป 91.38 90.91 (พัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร) 50.00 3.1 สหกรณภาคการเกษตร (มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยูในระดับ สหกรณ 17 13 342.86 106.67 มาตรฐานขึ้นไป ไมน อ ยกวา รอ ยละ 88) โดย 87.50 33.33 1) รักษาสหกรณภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจใหอยูใน สหกรณ 65 ระดบั ม่ันคงดี และม่นั คงดีมาก และ/หรอื 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนิน สหกรณ 44 ธรุ กจิ ระดบั ม่นั คงตามมาตรฐานใหส ูงขึน้ และ/หรือ 3) ยกระดับสหกรณภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจที่อยู สหกรณ 93 ในระดบั ตำ่ กวามาตรฐานใหสูงขึน้ 3.2 สหกรณนอกภาคการเกษตร (มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยูในระดบั สหกรณ 77 75 มาตรฐานข้ึนไป ไมน อ ยกวารอ ยละ 88) โดย 1) รักษาสหกรณนอกภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให สหกรณ 58 53 อยใู นระดับม่ันคงดี และมน่ั คงดมี าก และ/หรอื 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณนอกภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการ สหกรณ 11 10 ดำเนนิ ธรุ กิจระดบั มัน่ คงตามมาตรฐานใหส งู ขึ้น และ/หรอื 3) ยกระดับสหกรณนอกภาคการเกษตรที่มีประสิทธภิ าพในการดำเนินธุรกิจท่ี สหกรณ 18 9 อยใู นระดับต่ำกวา มาตรฐานใหสงู ขน้ึ * มีสหกรณน อกภาคการเกษตร 1 แหง ท่กี ารประเมนิ ในป 2563 ในป 2564 เลิกสหกรณ 3.3 กลุม เกษตรกร (มปี ระสทิ ธิภาพในการดำเนินธรุ กิจอยูในระดับมาตรฐานข้ึนไป กลมุ ฯ 7 24 ไมน อยกวารอ ยละ 24) โดย 1) รักษากลุมเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจใหอยูในระดับ กลมุ ฯ 15 16 มั่นคงดี และมัน่ คงดีมาก และ/หรือ 2) รักษาหรือยกระดับกลุมเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ กลมุ ฯ 87 ระดบั มัน่ คงตามมาตรฐานใหส งู ขนึ้ และ/หรอื 3) ยกระดับกลมุ เกษตรกรท่มี ีประสทิ ธภิ าพในการดำเนนิ ธรุ กจิ ท่อี ยใู นระดับต่ำ กลมุ ฯ 31 กวา มาตรฐานใหส งู ขึน้ * มีกลมุ เกษตร 2 แหง ทก่ี ารประเมนิ ในป 2563 แตในป 2564 กลมุ เกษตรกรดงั กลา วเลิก WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจงั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 28 ตวั ช้ีวดั หนว ยนับ แผน ผล รอยละ 3.4 จำนวนสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรท่ีมีอตั ราสวนเงินออมของสมาชกิ ตอหน้ีสิน สหกรณ / กลุมฯ 81 71 87.65 ของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปกอน (ป 2563) (คิดเปนจำนวนสหกรณและกลุม 36.84 55.17 เกษตรกร) ไมน อ ยกวารอ ยละ 61 61.54 1) สหกรณภ าคการเกษตร สหกรณ 19 7 50.00 2) สหกรณน อกภาคการเกษตร สหกรณ 87 48 100.00 0.00 3) กลุมเกษตรกร กลุม ฯ 26 16 0.00 ตัวชี้วัดดานการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุมครองระบบสหกรณ 100.00 1. รอ ยละของสหกรณและกลมุ เกษตรกรทีอ่ ยรู ะหวางชำระบญั ชีขั้นตอนที่ รอ ยละ 100 50 20.00 22.22 3-4 ยกระดบั ขน้ึ สขู น้ั ตอนท่ี 5 100.00 1.1 สหกรณภาคการเกษตร สหกรณ 11 100.00 1.2 สหกรณน อกภาคการเกษตร สหกรณ 10 100.00 1.3 กลุม เกษตรกร กลมุ ฯ 0 0 0.00 100.00 2. รอ ยละของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรทง้ั หมดที่อยูระหวา งชำระบญั ชไี ม รอยละ 25 25 97.65 รวมสหกรณและกลมุ เกษตรกรทีอ่ ยูในขัน้ ตอนที่ 6 (คดี) สามารถถอนชอ่ื ได 0.00 2.1 สหกรณภ าคการเกษตร สหกรณ 51 2.2 สหกรณน อกภาคการเกษตร สหกรณ 92 2.3 กลมุ เกษตรกร กลมุ ฯ 1 1 3. ประสทิ ธิภาพของการบริหารงาน (การแกไ ขปญ หาในการดำเนินกจิ การ/การบริหารงานของสหกรณ/ กลุม เกษตรกร) 3.1 สหกรณภ าคการเกษตร (ที่มีขอ บกพรอ งไดรับการแกไขแลว ไมน อ ยกวารอย สหกรณ 11 ละ 88) 1) รักษาสถานะภาพสหกรณภาคการเกษตรท่ีไมมีขอบกพรองหรือมี สหกรณ 18 18 ขอ บกพรองแตไดร ับการแกไ ขแลว เสร็จสมบรู ณ 2) ผลกั ดันสหกรณภาคการเกษตรทมี่ ขี อ บกพรองใหแกไ ขแลว เสร็จสมบรู ณ สหกรณ 10 3.2 สหกรณนอกภาคการเกษตร (ท่มี ขี อบกพรอ งไดร ับการแกไขแลว ไมน อยกวา สหกรณ 22 รอยละ 88) 1) รักษาสถานะภาพสหกรณนอกภาคการเกษตรที่ไมมีขอบกพรองหรือมี สหกรณ 85 83 ขอ บกพรอ งแตไ ดรับการแกไขแลว เสรจ็ สมบูรณ 2) ผลักดันสหกรณนอกภาคการเกษตรที่มีขอบกพรองใหแกไขแลวเสร็จ สหกรณ 20 สมบรู ณ * มีสหกรณนอกภาคการเกษตร 1 แหง ทีก่ ารประเมนิ ในป 2563 ในป 2564 เลิกสหกรณ WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 29 ตวั ชวี้ ดั หนวยนับ แผน ผล รอ ยละ 3.3 กลุมเกษตรกร (ทมี่ ขี อบกพรองไดร ับการแกไ ขแลว ไมน อยกวารอ ยละ 24) กลุม ฯ 00 0.00 1) รักษาสถานะภาพกลุมเกษตรกรที่ไมมีขอบกพรองหรือมีขอบกพรองแต กลุมฯ 26 24 92.31 ไดร ับการแกไขแลว เสร็จสมบรู ณ กลมุ ฯ 2) ผลักดันกลมุ เกษตรกรทม่ี ขี อ บกพรองใหแกไ ขแลวเสรจ็ สมบูรณ 00 0.00 รอ ยละ * มีกลุมเกษตร 2 แหง ทกี่ ารประเมนิ ในป 2563 แตใ นป 2564 กลมุ เกษตรกรดงั กลา วเลิก รอ ยละ 100 100 100.00 100 100 100.00 ตวั ชวี้ ดั ดานการติดตามที่สำคัญ สหกรณ กลุมฯ 120 120 100.00 1. ติดตามการใชประโยชนจากอุปกรณการตลาด/สิ่งกอสราง ที่สหกรณและกลุม แหง 26 26 100.00 เกษตรกรไดร บั จากสนับสนุนจากกรมฯ แหง 131 128 97.71 2. ติดตามงบประมาณเงินอุดหนุนที่สหกรณและกลุมเกษตรกรไดรับจากกรม ให แหง เปนไปตามวัตถุประสงคและกรณเี ม่ือสิน้ สุดโครงการแลว ยังมีงบประมาณคงเหลือ 131 129 98.47 ใหดำเนินการตามระเบยี บของทางราชการ กิจกรรมทดี่ ำเนินการ 106 106 100.00 1. แนะนำ สง เสรมิ และพัฒนาสหกรณ / กลมุ เกษตรกร ตามแผนการดำเนนิ งาน และแผนการสง เสรมิ รายแหง (ทุกสถานะ) 1) สหกรณ 2) กลมุ เกษตรกร 2. สหกรณและกลุมเกษตรกร ที่มีวันสิ้นปทางบัญชี เดือนสิงหาคม 2563 - กรกฎาคม 2564 สามารถปดบญั ชีได (สถานะดำเนินงาน) 3. สหกรณและกลุมเกษตรกร ที่มีวันสิ้นปทางบัญชี เดือนมีนาคม 2563 - กมุ ภาพันธ 2564 สามารถประชมุ ใหญสามัญประจำปได (สถานะดำเนนิ งาน) 4. การเขา ตรวจการสหกรณ ปญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน .................................................................................................................................... แนวทางแกไ ข/ขอเสนอแนะ .................................................................................................................................... WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 30 โครงการพฒั นาและส่งเสริมสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรสู่ดเี ด่น วัตถุประสงค เพื่อคัดเลือกเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และสหกรณที่มีผลงานดีเดนในแตละสาขาอาชีพ / ประเภท ที่กำหนด เปนเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และสหกรณดีเดนแหงชาติ เพื่อยกยองประกาศเกียรติคุณและ เผยแพรผลงาน ใหสาธารณชนท่วั ไปไดร ูจกั และยึดถือเปนแบบอยา งในการปฏิบัติงาน อกี ทงั้ เปน การเสริมสราง ใหเกิดขวญั และกำลงั ใจในการสรางผลงานทีเ่ ปน ประโยชนต อสว นรวม เปาหมาย/พืน้ ทดี่ ำเนินการ สหกรณและกลุมเกษตรกรในจังหวัดชลบุรี ที่มีคุณสมบัติมีสิทธิเขารับการคัดเลือก จำนวน 58 แหง และสนใจสมัครเขา รับการคัดเลือกเปนสหกรณและกลมุ เกษตรกรดเี ดน ประจำป 2564/2565 โดยแยกเปนประเภท ดงั น้ี - สหกรณป ระเภทเครดิตยเู น่ียน จำนวน 3 แหง - สหกรณประเภทการเกษตร จำนวน 4 แหง - สหกรณประเภทบรกิ าร จำนวน 6 แหง - สหกรณป ระเภทรานคา จำนวน 3 แหง - สหกรณป ระเภทออมทรัพย จำนวน 37 แหง - กลมุ เกษตรกร จำนวน 6 แหง ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานโครงการ สหกรณและกลุมเกษตรกรที่ไดรับคัดเลือกจะตองไดคะแนนรวมทั้ง 5 หมวด ไมนอยกวารอยละ 80 และคะแนนแตละหมวดจะตองไมน อยกวารอยละ 60 ผลสัมฤทธ์จิ ากการดำเนินงานโครงการ ผลลพั ธเชิงคณุ ภาพ สหกรณและกลุมเกษตรกรที่มีคุณสมบัติมีสิทธิเขารับการคัดเลือก ไดทราบหลักเกณฑการคัดเลือก และทราบถงึ ผลการประเมินของสถาบันตนเองในแตล ะหมวด เพ่อื ทราบขอดี ขอดอยในแตละหมวด เพอื่ พฒั นา ในแตล ะดานใหม ผี ลคะแนนท่เี พิม่ ขนึ้ ในปถ ัดๆ ไป ปญ หา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน 1. สหกรณและกลุมเกษตรกรในจังหวัดชลบรุ ี สวนใหญไดรับผลกระทบจากการแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งสงผลกระทบตอการดำเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกรโดยภาพรวม การดำเนิน กิจกรรมตาง ๆ ในรูปแบบของการรวมกลุมจึงไมสามารถดำเนินการไดตามปกติ บางแหงประสบปญหาทำใหผลการ ดำเนนิ งานขาดทุน WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจงั หวดั ชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 31 2. สหกรณและกลุมเกษตรกรไมสมัครใจเขารวมโครงการฯ แมวาสำนักงานสหกรณจังหวัดชลบุรีจะ ประชาสัมพนั ธและใหคำแนะนำเกย่ี วกบั โครงการดังกลาวแกส หกรณแ ละกลุม เกษตรกรทุกแหง ในจังหวัดชลบรุ ี 3. สหกรณและกลุมเกษตรกรไมมีความพรอมในการสมัครเขารับการคัดเลือก ในป 2564/2565 เนื่องจาก มีการประเมินตนเองในเบื้องตนแลวนำผลมาเปรยี บเทียบคะแนนแขงขันที่ผานมา พบวา คะแนนยัง ต่ำกวา เกณฑท่จี ะเขา แขงขันในระดบั ประเทศได แนวทางแกไข/ขอ เสนอแนะ เจาหนาที่สงเสริมสหกรณ ไดใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินการตามโครงการคัดเลือกสหกรณและ กลุม เกษตรกรท่มี ีผลงานดีเดน ประจำป 2564/2565 ผา นระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณ รวมกับ กลุมสงเสริมสหกรณ นำผลการประเมินมาวิเคราะห เพื่อหา แนวทางใหสหกรณและกลุมเกษตรกรไดคะแนนประเมินเพิ่มขึ้น จากนั้น แนะนำใหสหกรณและกลุมเกษตรกร ดำเนนิ การ รวมทง้ั ติดตามประเมินผลอยา งตอเนอ่ื ง โครงการพฒั นาศกั ยภาพสหกรณน์ อกภาคการเกษตรสู่ความเขม้ แข็ง วัตถปุ ระสงค 1. เพือ่ พฒั นาศักยภาพผูจัดทำบญั ชขี องสหกรณน อกภาคการเกษตรใหสามารถจัดทำบญั ชีและงบการเงินได 2. เพื่อใหส หกรณนอกภาคเกษตรสามารถจัดทำบัญชีและงบการเงนิ ใหเปนปจจุบันและปดบัญชีไดตาม กฎหมายกำหนด เปาหมาย/พื้นท่ดี ำเนินการ สหกรณนอกภาคเกษตรที่ปด บัญชไี มไ ด จำนวน 1 แหง ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ 1. สหกรณทเ่ี ขารว มโครงการฯ มีแผนปฏิบัตงิ านในการแกไขปญหาการปดบญั ชีสหกรณ จำนวน 1 แหง 2. สหกรณที่เขารวมโครงการฯ สามารถจัดทำบัญชีและงบการเงินและปดบัญชีไดเปนปจจุบัน หรือ สามารถเล่ือนระดับการจดั ทำบัญชีและงบการเงนิ ไดอยางนอย 1 ระดบั ผลสัมฤทธิ์จากการดำเนนิ งานโครงการ ผลลัพธเชงิ ปริมาณ สหกรณที่เขา รวมโครงการฯ มแี ผนปฏบิ ัติงานในการแกไขปญ หาการปด บญั ชสี หกรณ จำนวน 1 แหง WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวดั ชลบรุ ี

รายงานประจำป 2564 | 32 ผลลพั ธเ ชงิ คุณภาพ สหกรณที่เขารวมโครงการฯ สามารถเลื่อนระดับการจัดทำบัญชีและงบการเงิน จาก จัดทำเอกสาร ประกอบการบันทึกบัญชีครบถว นถูกตอง ไปสู การจัดทำบันทึกบัญชีขัน้ ปลายไดเ รยี บรอ ยและเปนปจ จบุ นั ปญ หา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน 1. สถานการณการแพรระบาดของโรคติดตอเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ซึ่งสงผลตอการเดินทางลง พื้นทีใ่ นการ สงเสริม แนะนำ ติดตามความคืบหนาในการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั ิงาน และการจดั ประชุมฯ 2. กรรมการทไ่ี ดรับมอบหมายใหปฏบิ ตั ิหนาที่เปน เจาหนา ที่บญั ชีขาดความมนั่ ใจในการบนั ทกึ ขอมูลใน โปรแกรมทางบญั ชขี องกรมตรวจบัญชสี หกรณ แนวทางแกไข/ขอ เสนอแนะ 1. นำเทคโนโลยีการติดตอสื่อสารมาใช เชน การแนะนำ สงเสริม ผานแอพพลิเคชั่นไลน (LINE) และ การประชุมฯ หรอื อบรม ผา นโปรแกรม ZOOM Meeting เปน ตน 2. แนะนำใหสหกรณมอบหมายบคุ ลากรมาชว ยดำเนนิ การ โดยแบง หนาท่ี ผบู ันทกึ ขอ มูลเกีย่ วกับบัญชี และ ผูบันทึกขอมลู เกย่ี วกบั ทะเบียนยอย เชน ทะเบยี นหุน ทะเบียนสมาชกิ เปนตน ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารฯ ครัง้ ที่ 1 เม่อื วนั ที่ 23 มนี าคม 2564 ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารฯ ครัง้ ที่ 2 เมื่อวันที่ 10 สงิ หาคม 2564 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจ งั หวัดชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 33 โครงการการประชุมเชิงปฏิบตั ิการ Coop Financial Analyst วัตถปุ ระสงค …………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… เปา หมาย/พ้นื ทดี่ ำเนินการ …………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ตัวช้ีวัดความสำเร็จของการดำเนนิ งานโครงการ …………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลสำเรจ็ ตามตวั ชี้วดั จากการดำเนนิ งานโครงการ หนวยนับ แผน ผล รอยละ ตัวชีว้ ัด แหง 100.00 1. …………………………………………. ผลสัมฤทธิจ์ ากการดำเนนิ งานโครงการ ผลลพั ธเชิงปริมาณ …………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ผลลพั ธเชิงคุณภาพ …………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ปญ หา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน …………………………………………………………………………………………………………………..………………………… แนวทางแกไข/ขอ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………..………………………… WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจงั หวดั ชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 34 คำบรรยายภาพ ใครทำอะไร ท่ีไหน เมอ่ื ไหร ไมเ กิน 2 บรรทัด โครงการขบั เคลอื่ นการส่งเสริมสหกรณอ์ อมทรพั ยแ์ ละสหกรณเ์ ครดติ ยูเนยี่ นเพอื่ เขา้ สู่ เกณฑก์ ารกํากบั ดูแลตามมาตรา 89/2 แห่งพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม วตั ถปุ ระสงค เพื่อใหผูเขารวมโครงการมีความรู ความเขาใจถึงรูปแบบ วิธีปฏิบัติและคำแนะนำการสงเสริมและ การกำกับดูแลสหกรณกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณออมทรัพยและสหกรณเครดิตยูเนี่ยน พ.ศ.2564 เพ่อื ใชในการสงเสริม กำกับดูแลและขับเคลื่อนสหกรณออมทรัพยและสหกรณเครดิตยูเน่ียนใหเขาสู เกณฑการกำกบั ดแู ล เปา หมาย/พื้นทดี่ ำเนินการ เจาหนาที่สงเสริมสหกรณ, เจาหนาที่กลุมตรวจการสหกรณ, เจาหนาที่กลุมสงเสริมและพัฒนาการ บรหิ ารการจดั การสหกรณ ตัวชีว้ ดั ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจ งั หวัดชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 35 ผูเขาอบรมมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางวิธีปฏิบัติ และคำแนะนำการสงเสริมและการกำกับ ดูแลสหกรณตามกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณออมทรัพยและสหกรณเครดิตยูเน่ียน พ.ศ. 2564 อยา งนอยรอยละ 80 ของผเู ขารบั การอบรม ผลสัมฤทธ์จิ ากการดำเนนิ งานโครงการ ผลลัพธเ ชงิ ปริมาณ เจาหนา ทสี่ งเสรมิ สหกรณ เจา หนาที่กลมุ ตรวจการสหกรณ และเจาหนา ทกี่ ลุมสง เสริมและพัฒนาการบรหิ าร การจัดการสหกรณมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางวิธีปฏิบัติ และคำแนะนำการสงเสริมและการกำกับดูแล สหกรณตามกฎกระทรวง การดำเนนิ งานและการกำกับดูแลสหกรณออมทรพั ยและสหกรณเครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 เพมิ่ ข้ึนรอ ยละ 80 ผลลพั ธเ ชิงคณุ ภาพ เจาหนาที่สง เสริมสหกรณ เจาหนาที่กลุมตรวจการสหกรณ และเจาหนาที่กลุม สง เสริมและพัฒนาการ บริหารการจัดการสหกรณ สามารถนำความรูไปใชแนะนำ สงเสริม และกำกับดูแลสหกรณออมทรัพย และ สหกรณเ ครดิตยูเน่ยี นตามกฎกระทรวงฯ บคุ ลากรของสำนักงานสหกรณจ งั หวดั ชลบรุ ี รว มรบั ฟง การชี้แจงแนวทางการขบั เคล่อื นฯ การประชุมแนวทางปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงการดําเนินงานและการกาํ กบั ดูแลสหกรณ์ ออมทรพั ยแ์ ละสหกรณเ์ ครดิตยูเนีย่ นเกณฑ์ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนักงานสหกรณจงั หวดั ชลบุรี

รายงานประจำป 2564 | 36 วัตถุประสงค เพื่อสรางความเขาใจใหแกสหกรณออมทรัพย และสหกรณเครดิตยูเนี่ยน และชุมนุมสหกรณ ใหสามารถ ปฏบิ ัตไิ ดตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดแู ลสหกรณออมทรัพยและสหกรณเ ครดติ ยูเนีย่ น พ.ศ.2564 เปาหมาย/พ้ืนทีด่ ำเนินการ ผูแทนสหกรณออมทรัพย และผแู ทนสหกรณเครดิตยูเน่ียนในจงั หวดั ชลบุรี ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ สหกรณที่เขารับการอบรม มีความรู ความเขาใจสามารถปฏิบัติไดตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการ กำกบั ดูแลสหกรณออมทรัพยและสหกรณเครดิตยูเนี่ยน พ.ศ.2564 ผลสำเรจ็ ตามตัวช้ีวดั จากการดำเนินงานโครงการ แผน ผล รอยละ ตัวชว้ี ัด หนวยนับ จำนวนสหกรณท ่ีเขา รับฟง การอบรมแนวทางช้แี จง แหง 56 49 87.50 แนวทางปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงการดำเนนิ งานและ การกำกับดูแลสหกรณออมทรพั ยแ ละสหกรณ เครดติ ยเู นี่ยน พ.ศ. 2564 ผลสัมฤทธ์จิ ากการดำเนินงานโครงการ ผลลพั ธเ ชิงปริมาณ สหกรณที่เขารับการอบรม จำนวน 49 สหกรณ มีความรู ความเขาใจ และสามารถปฏิบัติไดตาม กฎกระทรวงการดำเนนิ งานและการกำกบั ดูแลสหกรณออมทรัพยและสหกรณเครดิตยูเนยี่ น พ.ศ. 2564 ผลลพั ธเ ชิงคุณภาพ สหกรณสามารถปฏิบัติไดตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณออมทรัพยและ สหกรณเ ครดติ ยูเน่ียน พ.ศ. 2564 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวงั ของเกษตรกร สำนกั งานสหกรณจงั หวดั ชลบุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook