Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 03-กิจกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Activity)

บทที่ 03-กิจกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Activity)

Published by 10154, 2020-05-06 02:01:24

Description: บทที่ 03-กิจกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Activity)

Search

Read the Text Version

กจิ กรรมโลจิสติกส์ (Logistics Activity) อาจารยธ์ รรมรฐั ทองดี สาขาวชิ าการจัดการโลจสิ ติกสแ์ ละซัพพลายเชน วิทยาลัยเทคโนโลยีวมิ ลบรหิ ารธุรกิจ 1

Logistics Activities Order Location Processing Selection Customer Procurement service Reverse Logistics Demand Logistics Part and Forecasting Service Support Inventory Management Traffic and Transportation Material Handling Warehousing And Storage Packaging 2

องค์ประกอบของการจัดการโลจสิ ตกิ ส์ ปัจจยั นำเขำ้ การปฏบิ ัตกิ ารด้านการจดั การ ผลได้ ของโลจสิ ตกิ ส์ การวางแผน การทาให้เป็ นผล การควบคุม ของโลจิสติกส์ ทรัพยากรธรรมชาติ ผูจ้ ดั ส่งวตั ถุดบิ / การจดั การโลจิสติกส์ นโยบายดา้ นการ (ทีด่ นิ อุปกรณ์ สินคา้ ตลาด(การไดเ้ ปรยี บ เคร่ืองจกั ร) วตั ถุดิบ สินค้าระหว่าง สินค้า ทางการแข่งขนั ) ทา สาเร็จรูป ทรพั ยากรบคุ คล ลกู คา้ อรรถประโยชน์ดา้ น ทรพั ยากรการเงนิ > การบริการลกู คา้ กิจกรรมดา้ นโลจสิ ติกส์ เวลาและสถานท่ี ข้อมลู > การพยากรณค์ วามตอ้ งการ > การเลือกท่ตี ัง้ โรงงานและคลงั สนิ คา้ การส่ งมอบสินค้าท่ีมี > การสือ่ สารในการกระจายสนิ ค้า ประสิทธิภาพให้แก่ > การควบคมุ สนิ ค้าคงคลงั > การจดั ซื้อจัดหา > การยกขนวัสดุ > การหบี ห่อ ลกู คา้ > กระบวนการสั่งซื้อ > การจดั การสินคา้ สง่ คืน สินทรัพย์ทเี่ ป็ นสมบัติ > การสนับสนุนอะไหลแ่ ละบริการ > การทาลายและการนากลับมาใช้ใหม่ > การจราจรและการขนส่ง ของกจิ การ > คลงั สินคา้ และการเกบ็ รกั ษาสนิ คา้ 3

กิจกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Activities) การบริหารสนิ ค้า กระบวนการจดั ซอื จัดหา การผลิต ซัพพลายเออ ์ร ผู้ค้าคู่ค้า / ต้นนาPackaging QC & Waste OutboundForecastingPurchasingInboundWarehouse logisticslogisticsProduction transport Production Warehouse Transport Distribution Planning Scheduling Location Planning Order Return Fulfillment goods Customer ลกู คา้ ผ้บู ริโภค / ปลายนา services RO DC = ศนุ ย์กระจายสนิ คา้ ศูนยก์ ระจายสนิ ค้า (DC) RO = กระบวนการซ่อมบารงุ การบริหารการจดั ส่งและการกระจาย 4

“Logistics Customer Service” ราคาประหยัด ระบบการจดั สง่ มคี ณุ ภาพ พร้อมบริการ หลังการขาย ความต้องการ ของลูกคา้ ถึงท่ีหมายตามระยะ เวลาทกี่ าหนด 5

องค์ประกอบของการบรกิ ารในระบบโลจสิ ติกส์ การบรกิ ารลูกคา้ Customer Service ก่อน ระหว่าง หลงั • การแถลงนโยบายของกิจการ • ระดบั สนิ คา้ ขาดแคลน • การติดตัง การประกัน การแกไ้ ข และ • การรับรู้นโยบายกิจการของลกู คา้ • ขอ้ มลู คาส่งั ซือ ซอ่ มแซม • โครงสรา้ งองค์กร • องค์ประกอบของวงจรการสง่ั ซือ • ระบบความยดื หยนุ่ • การส่งสินคา้ • การติดตามสนิ คา้ • บรกิ ารดา้ นการจัดการ • การขนถ่ายสินคา้ • การเรียกร้องความเสยี หาย การรอ้ งทกุ ข์ • ความถกู ตอ้ งของระบบ • ความสะดวกในการสั่งซอื และการรบั คืนสินค้า • สนิ คา้ ทดแทน • การเปลี่ยนสินค้าช่วั คราว/การทดแทน สนิ ค้า 6

ตัวอย่างกจิ กรรมการดาเนินการบริษัทขนส่ง กอ่ นการขนสง่ ระหวา่ งการขนส่ง หลังการขนสง่ ○รบั ความต้องการลูกค้า ○รบั สินค้าและตรวจสอบ ○วางบิลค่าขนสง่ ○จัดเตรยี มเอกสาร ○ขนส่งสินค้า ○ประเมนิ และสรปุ ผลการ ○จัดตารางรถและวาง ○ติดตามสินค้า ปฏบิ ัติงาน แผนการเดนิ รถ ○สงิ่ มอบสินค้า ○โทรนดั ลกู คา้ ○เบกิ คา่ นามันรถ 7

( สูง ) กลยทุ ธก์ ารจัดส่งและบริการลกู ค้า ปริมาณ ( สูง , สูง ) ในการจดั สง่ ลดลตดน้ตน้ ททุนนุ สินคำ้ มจี ำนวนเพยี งพอ และพรอ้ มตลอดเวลำ ทบทวนการทางาน จัดส่งแบบทันเวลา รวมเทย่ี ว (Milk run) ( ตำ่ ) ผลกาไรต่อสนิ คา้ ( สูง ) 8

การจดั ซอ้ื (Purchasing) 9

องค์ประกอบของกระบวนการโลจสิ ติกส์และโซอ่ ุปทาน การจัดซอื้ โซ่อปุ ทานภายในองค์กร โซ่อปุ ทานภายนอกองคก์ ร โซ่อุปทานภายนอกองค์กร Plan Deliv er Make Deliv er Source Make Deliver Source Make Deliv er Source Suppliers’ Source Supplier Supplier return Customer Customer’s Your Company Customer (internal or external) (internal or external) การวางแผน การจดั ซอ้ื การผลติ การจัดสง่ (Plan) จดั หา (Make) (Deliver) (Source) 10

บทนาของการจัดซ้อื การจดั ซอื เป็นการได้มาซงึ่ วัสดชุ นิ ส่วนหรือสินค้าท่อี งค์การธุรกิจ ตอ้ งการใช้ ด้วยต้นทนุ ท่ีต่าสุดและมคี ุณภาพครบตามท่กี าหนด จากแหลง่ ผู้ขายท่เี ช่ือถือได้ บางครังจะต้องมกี ารพิจารณาเลือกระหว่างการซือจากแหลง่ ภายนอกและการผลติ ใช้ เองภายในองคก์ ร **การจัดซือจัดหาถอื วา่ เป็นบทบาทหน่งึ ท่สี าคัญเนอ่ื งจากกิจกรรมจดั หา สามารถชว่ ยลดต้นทุน สนบั สนุนการผลิตและเพิ่มกาไรใหก้ ับองคก์ ร** 11

นิยามความหมายของการจดั ซอ้ื การจดั ซ้ือ หมายถึง กระบวนในการซ้อื โดยศึกษาความตอ้ งการ หาแหลง่ ซือ และคัดเลือกผู้ส่งมอบ เจรจาตอ่ รองราคา และกาหนดเงอ่ื นไขให้ตรงกับความต้องการ รวมไปถึงตดิ ตามการจัดส่งสินค้าเพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั สนิ ค้าตรงเวลา และติดตามการชาระเงนิ คา่ สินค้าด้วย Leenders, et al. (2006) การจัดซอื้ จัดหา คือ กระบวนการทีบ่ รษิ ัทหรอื องคก์ รตา่ งๆ ตกลงทาการซื้อ ขายเพ่อื ให้ได้มาซ่งึ สนิ คา้ หรือบริการที่ตอ้ งการเพอื่ ให้บรรลถุ งึ วตั ถปุ ระสงค์ของธุรกิจ อย่างมีจงั หวะเวลาและมตี น้ ทุนทเี่ หมาะสม โดยมีเป้าหมายเพอ่ื ให้ได้สนิ คา้ หรอื บริการทมี่ ีคณุ ภาพปริมาณที่ถกู ต้อง ตรงตามเวลาทตี่ อ้ งการ ในราคาทีเ่ หมาะสมจาก แหล่งขายท่ีมคี วามน่าเชอื่ ถือ อรณุ บรริ ักษ์ (2550) 12

ส่ิงท่ีธรุ กิจต้องการในการจัดซ้อื 1. วตั ถุดบิ (Raw Materials) 2. ชินสว่ น อุปกรณ์ หรือสว่ นประกอบ (Components) 3. วสั ดสุ าหรบั การรกั ษา ซอ่ มบารุงและการผลติ (Maintenance Repair and Operating Material : MRO) 4. สนิ คา้ หรือเคร่ืองมือประเภททนุ (Investment or Capital Equipment/Goods) 5. สนิ ค้าสาเรจ็ รปู (Finished Goods/Product) 6. การบรกิ าร (Service) 13

บทบาทของการจดั ซ้ือในซัพพลายเชน 1. เป็นจดุ เริ่มต้นของกิจกรรมในโซ่อปุ ทาน 2. สรา้ งความสมั พันธท์ ่ีดีกับพันธมติ รทางธุรกจิ /ลกู ค้า 3. เปน็ กิจกรรมทสี่ รา้ งมลู คา่ เพ่ิมใหก้ ับกระบวนการจัดการโซอ่ ุปทาน 4. ช่วยให้กระบวนการผลติ เป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ การประเมิน การเลือกและ การออกแบบ การจัดซือ้ วางแผนและ ซพั พลายเออร์ การทาสัญญา ความร่วมมือ วิเคราะหก์ ารจัดซื้อ กบั ซพั พลายเออร์ และการจดั หา 14

วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดซ้ือ 1. เพ่อื สนบั สนนุ การดาเนนิ งานของบรษิ ัท ด้วยการจัดวสั ดุ และบรกิ ารสนองให้โดยไม่ ขาดสาย เพอ่ื มิใหก้ ระบวนการผลิตหยดุ ชะงกั เนอื่ งจากการขาดวัสดุ 2. ทาการซอื โดยได้ราคาไม่เกินกวา่ ค่แู ข่งขนั และทาการเสาะแสวงหาสิ่งทีม่ คี ุณคา่ ทด่ี กี วา่ ในราคาท่ีต้องจา่ ยไป 3. รกั ษาคุณภาพของวสั ดุท่ีทาการซอื ให้อยู่ในมาตรฐานเพียงพอสาหรับใชง้ าน 4. รักษาระดบั ความเสยี หายอนั เกดิ แกก่ ารลงทนุ ในวสั ดใุ ห้นอ้ ยทีส่ ุด โดยขจัดการซือซา กัน ความสญู เสยี และลา้ สมัยอันเนื่องมาจากการเกบ็ รกั ษาท่ีขาดประสิทธภิ าพ 5. สร้างแหล่งขายสินคา้ ท่เี ช่อื ถอื ไดไ้ ว้เป็นแหลง่ สารองในการจดั หาวสั ดุ 15

วัตถปุ ระสงค์ของการจัดซอ้ื 6. รกั ษาฐานะการแขง่ ขันให้กับบริษัท 7. พฒั นาใหเ้ กิดความสมั พันธ์กบั ผู้ขายสนิ คา้ เพอื่ ขจัดปัญหาต่าง ๆ และยงั ทาใหก้ าร จดั ซือสิ่งของไดใ้ นราคาและบรกิ ารที่ดี และมภี าพพจน์ทดี่ ี 8. แสวงหาความรว่ มมอื กับแผนกอน่ื ๆ ในบริษัท ซง่ึ กต็ อ้ งทาความเข้าใจถงึ ความ ต้องการของแผนกอื่นเพอ่ื ทจี่ ะใหก้ ารสนบั สนุนทางด้านวสั ดไุ ดด้ กี วา่ 9. ฝึกอบรมและพฒั นาบุคลากรฝา่ ยจัดซือ เพ่ือให้เกดิ แรงจงู ใจในการทางานให้ แผนก และบรษิ ทั จนประสบความสาเรจ็ 10. จดั ทานโยบายและวธิ กี ารเพื่อให้บรรลุถึงวตั ถุประสงคต์ ่าง ๆ ทกี่ ล่าวมาข้างต้น โดย ใหม้ ีต้นทนุ ในการดาเนนิ การตามความเหมาะสม (อดลุ ย์ จาตรุ งคกุล, 2547) 16

นโยบายการจัดซอื้ องคก์ รจะกาหนดนโยบายการจดั ซือเพื่อทาใหก้ ารจัดซือประสบผลสาเรจ็ ตาม วัตถปุ ระสงค์ท่กี าหนดไว้ โดยจะกาหนดนโยบายไวด้ ังนี 1) การจดั ซือพสั ดทุ ไ่ี ด้คณุ ภาพถูกต้อง (Right Quality) 2) ปรมิ าณท่ีถกู ต้อง (Right Quantity) 3) จงั หวะเวลาถกู ต้อง (Right Time) 4) ราคาทถ่ี ูกตอ้ ง (Right Price) 5) แหลง่ ขายท่ีถูกต้อง (Right Source) 6) สถานท่ีถกู ต้อง (Right Place) 17

หน้าทเ่ี กย่ี วกบั การจัดซอ้ื 1. รับผิดชอบในการวางแผน เพอ่ื ดาเนินการจดั ซือให้สอดคล้องกับกลยุทธอ์ งค์กร 2. ประสานงานกบั ทุกฝา่ ยเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่ึงวสั ดุ วตั ถดุ บิ สินค้าทีต่ ้องการ 3. รบั ผิดชอบในการออกใบสงั่ ซือ การรับสนิ ค้า จนถงึ การส่งสนิ ค้าเก็บเข้าคลงั สินคา้ 4. กาหนดทิศทางในการจดั ซือ โดยการหาทางเลือกระหว่างการจัดซือการ กระจายสินค้า และ การจัดเก็บวา่ วิธีการใดส่งผลดีท่ีสดุ 5. รับผิดชอบในการบริหารสารสนเทศทีเ่ กีย่ วกบั งานจัดซอื รับผดิ ชอบในการนาสารสนเทศ มา ใช้ในการวางแผน ปฏบิ ตั ิงาน และควบคุมใหก้ ารจัดซอื ใหเ้ ปน็ ตามขอ้ กาหนด 6. รบั ผดิ ชอบในการนาสารสนเทศมาประกอบการตัดสินใจเพ่อื ใหร้ ะดบั สนิ ค้าคงคลัง เวลานา และการลงทนุ ในสินคา้ คงคลังและงานจัดซือตา่ สุด 18

กระบวนการจัดซ้อื Monczka, et al. (2005) ไดแ้ บ่งจาแนกกระบวนการจดั ซือไว้ 6 กระบวนการสาคญั คอื 1. การตรวจสอบความตอ้ งการพสั ดุ (Product) หรอื งานบรกิ าร (Service) ของผู้ใช้งาน (User) 2. การประเมินศกั ยภาพของผูข้ าย (Supplier) 3. การประกวดราคา (Bidding) ต่อรองราคา (Negotiation) และคัดเลือกผู้ขาย (Supplier Selection) 4. การอนมุ ัตกิ ารจดั ซือ (Purchase Approval) 5. การปล่อยและรับความต้องการจัดซือ (Release and Receive Purchase Requirements) 6. การประเมนิ ผขู้ าย (Measure Supplier Performance) 19

องคป์ ระกอบการจัดซ้อื ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 1. ผู้บรหิ ารใหค้ วามสนบั สนนุ โดยกาหนดนโยบายการจดั ซอื ท่ชี ัดเจน 2. สนบั สนนุ ใหม้ ีการพัฒนาบุคลากรท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ 3. วางรปู แบบกระบวนการจดั ซอื ทีเ่ ปน็ ระบบ 4. ส่งเสริมใหม้ กี ารรกั ษาจรรยาบรรณของการจัดซืออย่างเครง่ ครดั 5. ทาการสารวจแหลง่ วตั ถดุ บิ หรือสนิ ค้าใหมๆ่ อยู่เสมอ 6. การติดตอ่ ประสานงานระหว่างหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องอยา่ งสมา่ เสมอ 7. จดั ให้มีการสัมมนาและฝกึ อบรมเกยี่ วกบั เทคนิคการจดั ซอื ในรปู แบบใหม่ 8. เสริมสร้างและพัฒนาความสมั พันธร์ ะหวา่ งหน่วยงานจดั ซอื 20

วิธีการบริหารการจัดซ้ือ 1. การจัดซือร่วมกนั 2. การจัดซอื โดยรวมศูนย์ 3. การจัดซือโดยมีคณะกรรมการ 4. การจัดซือเพอื่ การฝากขาย 5. การจดั ซือ แบบการเชา่ สถานท่ขี าย 6. การจดั ซือ ราคาขาดตวั 7. การจัดซือแบบลดตามปรมิ าณ 8. การจัดซือแบบมีสว่ นลดการคา้ 9. การจดั ซอื แบบมสี ว่ นลดการส่งเสรมิ การขาย 10. การจัดซือแบบมสี ว่ นลดตามฤดูกาล 21

ปัญหาเกย่ี วกับการจดั ซื้อ 1. ปญั หาที่เกิดจากผู้ซอื จุดออ่ นของการจดั ซ้อื 2. ปญั หาท่เี กิดจากขายหรอื ผู้แทนจาหนา่ ย 3. ปัญหาที่เกดิ จากผใู้ ชห้ รือฝา่ ยผลิต 4. ปัญหาท่เี กิดจากสภาพแวดลอ้ มท่ีเปลี่ยนแปลง 1. ระบบการจดั ซือไมด่ พี อ ทาใหเ้ กิดช่องทางการทุจรติ ไดง้ ่าย 2. แบบฟอร์มทีใ่ ชใ้ นการปฏิบตั ิงานไมเ่ หมาะสม 3. การกาหนดอานาจในการจัดซือมมี ากเกนิ ไป 4. การจดั จ้างหรอื การประกวดราคา และการประมูลราคา 5. การขาดมนษุ ยส์ มั พนั ธท์ ีด่ ีของหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องกับการจดั ซอื 6. ไมม่ กี ารนาเทคโนโลยที ท่ี นั สมัยมาใช้ในการปฏิบัตงิ าน 22

การพฒั นาบทบาทของฝา่ ยจดั ซื้อจดั หา EPI: Early Purchasing Involvement ฝ่ ายจัดซ้ อื จัดหาเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดกลยุทธ์ และเตรยี มตวั เพอื่ รองรบั ความตอ้ งการของธุรกจิ ESI: Early Supplier Involvement 23 การวางแผนการผลติ รว่ มกับผผู้ ลติ วตั ถดุ บิ เพ่อื ใหผ้ ผู้ ลติ วัตถดุ บิ ทราบความตอ้ งการของธุรกิจ และใหธ้ ุรกิจทราบความเป็ นไปไดใ้ นการดาเนินการ

การจดั การความสมั พนั ธก์ บั ซพั พลายเออร์ (SRM : Supplier Relationships Management) คอื “จดุ ที่ลกู ค้าและซพั พลายเออร์มกี ารพัฒนาความสมั พันธ์กนั อยา่ งใกล้ชดิ และเปน็ การทางาน รว่ มกนั ในระยะยาวในฐานะหุน้ สว่ น” การทางานรว่ มกันในระยะยาวในฐานะหนุ้ ส่วนนัน หมายรวมถึง “การแลกเปลย่ี นขอ้ มูล เทคโนโลยี ตลอดจนการพฒั นาหรอื การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ร่วมกนั ในอนั ท่ี จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลประโยชน์ร่วมกนั ทงั้ สองฝา่ ย” External Accreditation Reactive Problem-Solving Systematic Development Program Network Development ปรบั ปรงุ ความสมั พนั ธ์ ปรบั ปรงุ ความสามารถในการ เพียงเล็กน้อย เนน้ เฉพาะประเด็น ปรับปรุงความสามารถในการ แข่งขนั อย่างเปน็ ระบบและเต็ม ความสามารถตลอดโซ่อปุ ทาน เพ่อื ลดตน้ ทุนรว่ มกัน แข่งขันอยา่ งเป็นระบบ 24

กลยทุ ธก์ ารจัดซอื้ ของแตล่ ะกลมุ่ สินค้า สูง กลมุ่ Non-critical items กล่มุ Leverage items ลดต้นทนุ ในทกุ ๆ ส่วน ใหม้ ีการแขง่ ขัน มูลค่าสนิ ค้า/ ในการดาเนนิ การ ดา้ นราคา มาตรฐาน กลุ่ม Bottleneck items กลมุ่ Strategic items ต่า ทบทวนผลิตภณั ฑ์ สร้างความสัมพันธ์เปน็ พนั ธมติ ร หาสินค้าทดแทน และพฒั นาคุณภาพ ทางการคา้ SRM ตา่ ปรมิ าณสินคา้ /ความตอ้ งการ สงู 25

กลยุทธ์การจัดซอื้ แบบทันเวลาพอดี (JIT : Just in Time) เป็นการจัดซื้อในลกั ษณะทันเวลาพอดี (JIT Purchasing) ซง่ึ จะตอ้ งมีการ ปรบั เปลยี่ นแนวคิดม่งุ สกู่ ารจัดการท่มี ผี ลตอ่ การปฏิบัติงานของระบบการผลติ มากขึน้ ปัจจัยดงั กล่าวคือคุณภาพ การขนสง่ ผ้จู ดั ส่งวัตถดุ ิบและปรมิ าณการจัดส่ง ซ่งึ จะถกู พิจารณาควบคไู่ ปกับตน้ ทนุ การกาหนดปรมิ าณในแต่ละครังของการส่ังซอื แบบ JIT Purchasing ปริมาณการซอื จะมีนอ้ ยแตจ่ ดั สง่ บอ่ ยครังมากขนึ การคดั เลือกผ้จู ดั สง่ วัตถุดบิ ให้มจี านวนน้อยรายหรือมีเพยี งหนึ่งรายสาหรับแต่ละ ชนิ ส่วนและมที ตี่ ังไมไ่ กลจากกนั มาก และการมีสายสมั พนั ธใ์ นระยะยาวตอ่ กนั สง่ ผลให้ เกดิ ความคุ้มค่า 26

ความแตกตา่ งระหว่างการจัดซอื้ กบั การจัดหา การจดั ซ้อื การจดั หา เป็นรูปแบบสญั ญาครังตอ่ ครงั ทมี ีการซอื เป็นการปรบั ปรงุ พัฒนารว่ มกัน จะมผี ู้ไดเ้ ปรยี บและเสียเปรยี บ ความสมั พันธร์ ะยะสนั ไดป้ ระโยชนท์ ังสองฝา่ ย เปน็ ความลบั เปน็ การตอบสนองความตอ้ งการ ณ ปจั จุบัน ความสมั พันธร์ ะยะยาว ตอ้ งซอื ด้วยต้นทุนท่ตี า่ ท่สี ดุ มีผู้ส่งมอบนอ้ ยราย เป็นความไวว้ างใจ มีการทางานร่วมกันนอ้ ยครงั เปน็ การตอบสนองในเชงิ กลยุทธ์ มคี วามสมั พันธ์ในเชงิ ผู้ซือกบั ผู้ขาย ให้ความสาคญั กับจานวนของสนิ คา้ จะพจิ ารณาถงึ ต้นทนุ การเป็นเจ้าของ (Total Cost of Ownership) จะต้องมีการตรวจสอบคุณภาพสินคา้ ทกุ ครังท่รี บั สินคา้ ใหค้ วามสาคญั แก่สินคา้ คงคลัง ผูส้ ่งมอบจะตอ้ งผา่ นกระบวนการการคดั เลอื กและจาแนกระดบั ของผู้สง่ มอบ มีการทางานรว่ มกันอยา่ งสมา่ เสมอ มคี วามสัมพนั ธแ์ บบข้ามสายงาน (Cross Functional) ใหค้ วามสาคัญกับความรู้ มกี ารตรวจสอบคณุ ภาพสนิ คา้ ทแ่ี หลง่ ผลิต ให้ความสาคญั กบั ข้อมลู 27

การจดั การสินค้าคงคลัง Inventory Management 28

การบรหิ ารสินค้าคงคลงั คอื อะไร • การบริหารสนิ คา้ คงคลังสัมพันธ์กบั กระบวนการจัดการ ด้านโลจิสตกิ ส์ ในแง่การทาใหส้ ินค้าไหล ผา่ นจากผจู้ ดั หาผ่านกระบวนการภายในซึ่งประกอบด้วยการจัดซอื การผลติ การกระจายสนิ ค้า จนถึงมือลกู คา้ อยา่ งเหมาะสม ซ่งึ ลกู ค้าจะตอบสนองกลับมาดว้ ยการไหลของขอ้ มลู ความต้องการ ลกู คา้ • การเกบ็ วัตถดุ ิบ ชินสว่ นการผลติ สนิ คา้ ระหวา่ งผลติ และสินคา้ สาเร็จรูปไวใ้ นการผลิตเป็นเรื่อง จาเป็นสาหรบั ธรุ กิจโดยทั่วไป แต่ต้องมปี รมิ าณท่เี หมาะสมตอ่ การใชแ้ ละไม่ควรเกบ็ ไว้มากเกนิ ไป เพราะจะเกิดต้นทุนจม (Sunk Cost) และหากมีนอ้ ยเกนิ ไปกอ็ าจเกิดตน้ ทุนเนอื่ งจากสินคา้ ขาด มอื (Shortage Cost) • การบริหารสินคา้ ซ่งึ อาจจะเปน็ วตั ถุดบิ สนิ ค้าสาเรจ็ รปู งานระหวา่ งผลติ สินคา้ ที่เปน็ สว่ นประกอบ วสั ดุส้ินเปลอื ง ให้มีตน้ ทุนและมรี ะดับความพึงพอใจของลกู ค้าที่เหมาะสม และ ใหม้ คี วามสมดลุ กนั ระหวา่ งอปุ สงค์กับอปุ ทาน 29

การจดั การสินค้าคงคลงั ปริมาณส่งั ซอื Q อตั ราความตอ้ งการ (Demand rate) C B สนิ คา้ คงคลงั เฉลยี่ A จดุ ส่งั ซือ้ ใหม่ ROL 0 Safety Stock Lead Lead Time Order time Order time Order Order Placed Received Placed Received 30

การจดั การสนิ ค้าคงคลงั มกี ารทางานอยา่ งไร การพยากรณอ์ ปุ สงค์ การพยากรณ์สินค้าคงคลงั การวิเคราะหส์ ินค้าคง โดยพิจารณาว่าเปน็ อปุ สงค์อิสระ คลงั ดว้ ยระบบ ABC หรอื ไมอ่ สิ ระ หาปริมาณส่ังซอื สนิ คา้ คงคลงั ที่ เลอื กระบบจัดการจัดการ เหมาะสม สินคา้ คง หาปริมาณสงั่ ซือสินค้าคงคลัง ระบบการนับ สารองและจุดส่ังซือ สนิ คา้ คงคลัง การวดั ผลการดาเนนิ งานของการจัดการสินคา้ คงคลัง 31

เริ่มต้นจากการพยากรณ์อปุ สงค์ ขอ้ มูลในอดีต การเลือกและกาหนด แบบจาลองขนั ตน้ การเลอื กและกาหนด แบบจาลองขนั ตน้ นาเขา้ ความเห็น แบบจาลองทาง ของผู้พยากรณ์ ปรับปรงุ ความเห็น คณติ ศาสตร์ พยากรณโ์ ดยใช้ ค่าความต้องการ วิธกี ารทางสถิติ สินค้าจริง ผลการพยากรณ์อุปสงค์ คานวณคา่ ความคลาดเคล่อื นของ การพยากรณ์ 32

ประเภทของสินคา้ คงคลงั 1. วตั ถดุ บิ (Raw Material) 2. สนิ คา้ ระหวา่ งผลิต (Work in Process) 3. วสั ดซุ อ่ มบารุง (Maintenance/Repair/Operating Supplies) 4. สนิ คา้ สาเรจ็ รูป (Finished Goods) 5. สินคา้ สาเรจ็ รปู ท่อี ยู่ในระหว่างการกระจายสินคา้ Raw Material WIP Finish Goods 33

ประเภทของสนิ ค้าคงคลัง • สินค้าคงคลังแบบวงจร (Cycle Stock) เปน็ สินคา้ ที่ต้องการตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการสินคา้ ในระหว่างกาหนดเวลาคาสงั่ ซอื ทวั่ ไป • สินคา้ คงคลงั ระหวา่ งทาง (Pipeline inventory) เป็นสินคา้ ท่ีอย่รู ะหวา่ งการลาเลยี ง จากสถานีหน่งึ ไปสอู่ ีกสถานีหน่ึง อาจเปน็ ส่วนหนึง่ ของสนิ คา้ ทเ่ี กบ็ ตามรอบ • สนิ ค้าคงคลงั เพื่อความปลอดภัย (Safety Stock) เปน็ สินค้าที่เกบ็ ไว้เกนิ จากความตอ้ งการตามรอบปกติ เพราะความไมแ่ น่นอนของอุป สงค์ และระยะเวลาสั่งซอื 34

ประเภทของสินค้าคงคลัง • สินค้าทีเ่ กบ็ ไวต้ ามฤดกู าล (Seasoning Stock) เป็นสินคา้ ที่เก็บเผอ่ื ไว้อนั เนอื่ งมาจาก ความต้องการเกดิ ขนึ ซา ๆ ในชว่ งเวลาเดมิ ของทุกปี • สนิ ค้าทไ่ี ม่เคล่อื นไหว (Obsolete Stock) เปน็ สินค้าทย่ี ังไม่มีความตอ้ งการ หรือเส่อื มสภาพ จาเปน็ ตอ้ งขายในราคาถกู หรือทาลาย เพื่อลดตน้ ทุนการจัดเกบ็ ปริมาณสินคา้ คงคลังโดยเฉล่ยี จะเท่ากบั คร่งึ หนึง่ ของปริมาณการสั่งซอื ตามปกติ บวกกับปริมาณสินค้าเพ่ือความปลอดภยั Average Inventory = Lot Size/2 + Safety stock 35

ประเภทของการจดั เก็บสนิ ค้าคงคลงั • การจดั เก็บแบบช่วั คราว (Temporary Storage) คลงั สินค้าท่ีมีการจดั เกบ็ แบบชัว่ คราวนี จะเน้นไปทก่ี ารเคลื่อนย้ายสนิ คา้ หรอื การสง่ สนิ ค้าผา่ นคลงั สินค้าเทา่ นัน • การจัดเก็บกึง่ ถาวร (Semi Permanent Storage) เปน็ การจดั เก็บสนิ ค้าคงคลงั ในปริมาณท่เี กินกวา่ ความต้องการปกติ หรือมสี ตอ็ กไว้ เพ่อื ความปลอดภัย (Safety Stock) 36

ประเภทของการจัดเกบ็ สนิ คา้ คงคลงั • การจดั เก็บแบบชวั่ คราว (Temporary Storage) คลังสินค้าท่ีมีการจดั เก็บแบบชัว่ คราวนี จะเน้นไปท่กี ารเคล่ือนยา้ ยสนิ ค้าหรอื การสง่ สนิ ค้าผา่ นคลังสนิ คา้ เท่านนั • การจัดเกบ็ กงึ่ ถาวร (Semi Permanent Storage) เปน็ การจดั เก็บสนิ คา้ คงคลังในปรมิ าณท่ีเกินกวา่ ความต้องการปกติ หรอื มีสต็อกไว้ เพือ่ ความปลอดภัย (Safety Stock) 37

เหตุผลของการมสี นิ คา้ คงคลัง • เพอื่ ให้เกดิ การประหยดั ต่อขนาด (Economies of Scale) • เพื่อป้องกนั ความไมแ่ นน่ อนทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ในอนาคต (Protection from Uncertainties) • เพ่อื เป็นปรับความตอ้ งการที่เป็นฤดูกาล (Smooth Seasonal of Cyclical Demand) • เพื่อการเก็งกาไร (Speculation) 38

เหตุผลของการมสี นิ ค้าคงคลัง (ตอ่ ) • เพ่อื ลดตน้ ทุนในการผลติ • เพ่อื รองรับความแปรปรวนของอปุ สงค์ • เพอื่ รองรับเวลาในการอปุ ทาน (เวลานา) • เพื่อฉวยโอกาสส่วนลดจากปรมิ าณการสัง่ ซือ • เพ่อื รองรับการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล • เพ่อื จะรองรบั การเปล่ียนแปลงหรอื การเก็งราคา • เพื่อช่วยใหก้ ารผลติ และปฏบิ ัตกิ ารกระจายสนิ ค้าราบรนื่ มากขนึ • เพอ่ื ใหก้ ารบริการลกู คา้ ได้ในทนั ที • เพอื่ ลดความล่าชา้ ในการผลติ ทเี่ กิดจากการขาดชนิ สว่ นอะไหล่ 39

ประเภทของต้นทนุ สนิ คา้ คงคลงั • ต้นทนุ ในการส่ังซื้อ (Ordering Costs) • ตน้ ทนุ ในการสัง่ ผลิต (Set up Costs) • ตน้ ทนุ ในการเก็บรักษาสนิ ค้าคงคลงั (Holding Costs) • ตน้ ทุนทีเ่ กิดจากของขาดแคลน (Shortage Costs) 40

ข้นั ตอนในการแบง่ ประเภทสินคา้ คงคลังตามระบบ ABC หาปรมิ าณการใชส้ ินคา้ คงคลัง X หาราคาตอ่ หนว่ ยของ แตล่ ะประเภทในรอบ 1 ปี สนิ คา้ แต่ละประเภท มูลคา่ สินค้าคงคลงั ทหี่ มนุ เวยี นในรอบปี เรยี งลาดบั รายการสินคา้ คงคลงั ดว้ ยมูลค่าสินค้าคงคลงั คานวณหาเปอรเ์ ซน็ ตส์ ะสมของ จาก มากไปหาน้อย มูลค่าสนิ ค้าคงคลงั แต่ละประเภท สรา้ งกราฟโดยใหร้ ายการสนิ คา้ เปน็ แกนนอนและใหเ้ ปอร์เซ็นตส์ ะสมของ มลู ค่าของสินค้าเปน็ แกนตง้ั แล้วทาการแบ่งประเภทของสนิ คา้ แต่ละประเภท ให้อย่ใู นกลุม่ ABC ตามความเหมาะสม 41

3. การวเิ คราะหส์ นิ ค้าคงคลงั ดว้ ยระบบ ABC 42 เหตุ ผล 20% 80% 80% 20% จานวนสาเหตนุ ้อยแตม่ ีมลู คา่ ความสูญเสียมาก จานวนสาเหตมุ ากแตม่ ีมลู ค่าความสญู เสียนอ้ ย ซึ่งเรียกการวิเคราะหแ์ บบนีวา่ “การวิเคราะห์แบบพาเรโต”

Percentage of Dollars3. การวิเคราะห์สินค้าคงคลังดว้ ยระบบ ABC ABC Analysis กฏของพาเรโต้ 80/20 Sales BC A Percentage of items 43

44

3. การวเิ คราะหส์ นิ คา้ คงคลังดว้ ยระบบ ABC สินค้าในกล่มุ A สินค้าในกลมุ่ B สินค้าในกลุม่ C ต้องดแู ลเป็นพิเศษ ตอ้ งดูแลเป็นปกติ แต่ การควบคุมไม่คอ่ ย สินคา้ ห้ามขาด การสง่ั มักไม่ เขม้ งวดเท่ากบั มกี ารตรวจสอบอย่าง บ่อยเทา่ สินค้าในกลมุ่ A,B สมา่ เสมอ A การวิเคราะหส์ นิ คา้ คงคลังด้วยระบบ ABC สามารถวเิ คราะหไ์ ดท้ งั กรณที สี่ ินค้าคงคลงั เปน็ วตั ถุดิบ หรอื เป็นสินคา้ สาเรจ็ รปู โดยถ้าเป็นสินค้าที่เป็นวตั ถุดิบจะใช้มูลค่ารวมของราคาสินค้า แตถ่ ้าเป็น สนิ คา้ ท่ีเป็นสนิ ค้าสาเร็จรูปจะใช้ มูลคา่ รวมของยอดขายเป็นเกณฑใ์ นการพิจารณา 45

การเลอื กระบบจัดการสนิ ค้าคงคลงั เข้ากอ่ นออกก่อน (First In First Out : FIFO) เขา้ หลังออกก่อน (Last In First Out : LIFO) หมดอายกุ อ่ นออกกอ่ น (First Expired First Out : FEFO) 46

การเลอื กระบบจดั การสนิ คา้ คงคลงั 1. ระบบสนิ คา้ คงคลังอย่างตอ่ เน่อื ง (Continuous Inventory System Perpetual System) เป็นระบบสนิ ค้าคงคลงั ท่มี วี ธิ ีการลงบัญชที ุกครงั ที่มีการรบั และจา่ ยของ ทาให้บัญชี คุมยอดแสดงยอดคงเหลือท่แี ท้จริงของสนิ ค้าคงคลังอยเู่ สมอ ขอ้ ดขี องระบบสนิ คา้ คงคลงั แบบต่อเนอื่ ง 1. มีสนิ ค้าคงคลังเผื่อขาดมอื น้อยกวา่ โดยจะเผือ่ สินค้าไวเ้ ฉพาะช่วงเวลารอคอยเทา่ นนั แต่ ละระบบเมอ่ื สินงวดตอ้ งเผ่ือสินค้าไว้ทังชว่ งเวลารอคอย และเวลาระหวา่ งการส่ังซือแตล่ ะ ครงั 2. ใช้จานวนการสั่งซอื คงทซี่ ่งึ จะทาใหไ้ ด้สว่ นลดปริมาณไดง้ า่ ย 3. สามารถตรวจสนิ ค้าคงคลังแต่ละตวั อย่างอสิ ระ และเจาะจงเข้มงวดเฉพาะรายการทีม่ ี ราคาแพงได้ 47

การเลือกระบบจัดการสนิ คา้ คงคลัง 2. ระบบสนิ คา้ คงคลงั เมอื่ ส้นิ งวด (Periodic Inventory System) เปน็ ระบบสนิ คา้ คงคลังทม่ี วี ิธีการลงบัญชีเฉพาะในช่วงเวลาท่ีกาหนดไวเ้ ท่านัน เช่น ตรวจนับและลงบญั ชที ุกปลายสัปดาห์หรือปลายเดอื น ขอ้ ดขี องระบบสนิ คา้ คงคลงั เม่อื ส้นิ งวด 1. ใช้เวลานอ้ ยกวา่ และเสยี คา่ ใช้จ่ายในการควบคมุ นอ้ ยกวา่ ระบบต่อเน่อื ง 2. เหมาะกับการสั่งซอื ของจากผู้ขายรายเดยี วกนั หลายๆชนดิ เพราะจะไดล้ ดค่าใชจ้ า่ ย เกีย่ วกบั เอกสาร ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการสัง่ ซอื และสะดวกต่อการตรวจนบั ย่งิ ขนึ 3. คา่ ใชจ้ ่ายในการเก็บข้อมูลสินคา้ คงคลงั ต่ากวา่ 48

การจดั การคลังสินคา้ Warehouse Management 49

Logistics Activities Material Management Procurement / Purchasing Production PackagingSuppliers / Downstream QC & OutboundWaste logistics Forecasting Purchasing Inbound Warehouse transport Production transport Warehouse logistics Production Scheduling Planning Order Customer/Upstream Return Customer Distribution Fulfillment goods services Location DC = Distribution Center Planning RO = Repairs Operation RO Distribution Center Distribution Management 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook