พคณคราิต3ยศ1วา0ิชสา0ต1ร ระดบัมัธยมศึกษาตอนปลาย สำลนิขักสงิทาธนปเปลนดัขกอรงะสทำรนวักงงศาึกนษกาธศิกนา.ร
หนงั สอื เรียนสาระความรูพ้ืนฐาน รายวิชา คณิตศาสตร พค31001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2 หนงั สอื เรียนสาระความรูพน้ื ฐาน รายวิชา คณติ ศาสตร พค31001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554 ลิขสิทธเ์ิ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 8/2555
3
สารบัญ 4 คาํ นํา หนา สารบัญ 3 คําแนะนําการใชหนังสือ 4 โครงสรางวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 5 บทที่ 1 จาํ นวนและการดาํ เนินการ 6 บทที่ 2 เลขยกกําลังที่มีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ 7 บทที่ 3 เซต 21 บทที่ 4 การใหเ หตุผล 35 บทที่ 5 อตั ราสว นตรโี กณมิติและการนําไปใช 59 บทที6่ การใชเคร่ืองมือและการออกแบบผลิตภณั ฑ 71 บทที่ 7 สถิติเบ้ืองตน 95 บทที่ 8 ความนาจะเปน บทที่ 9 การใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในงานอาชีพ 120 151 170
5 คําแนะนําการใชแบบเรียน หนังสือเรยี นสาระความรูพ ื้นฐาน รายวชิ า คณิตศาสตร (พค 31001) ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย เปน หนังสอื เรยี นทีจ่ ดั ทําขึน้ สําหรบั ผูเรยี นทเี่ ปนนกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนงั สอื เรยี นสาระความรพู ้นื ฐาน รายวชิ า คณติ ศาสตร ผเู รียนควร ปฏิบัติดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวังและ ขอบขายเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกจิ กรรมที่กําหนด ถาผูเรยี นตอบผดิ ควรกลบั ไปศกึ ษา และทําความเขาใจในเน้ือหานั้นใหมใหเ ขาใจกอนที่จะศกึ ษาเรื่องตอ ไป 3. ปฏิบัตกิ จิ กรรมทายเร่ืองของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรูความเขาใจของ เนือ้ หาในเรอ่ื งนนั้ ๆอีกคร้งั และการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมของแตละเน้อื หาในแตล ะเร่ือง ผเู รียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครแู ละเพื่อนๆทร่ี วมเรียนในรายวชิ าและระดับ เดยี วกนั ได แบบเรยี นเลมนี้มี 9 บท คือ บทที่ 1 จาํ นวนและการดาํ เนินการ บทที่ 2 เลขยกกําลังที่มีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ บทที่ 3 เซต บทที่ 4 การใหเหตผุ ล บทที่ 5 อัตราสวนตรีโกนมิติและการนําไปใช บทท6ี่ การใชเคร่ืองมือและการออกแบบผลติ ภัณฑ บทที่ 7 สถติ เิ บื้องตน บทที่ 8 ความนาจะเปน บทที่ 9 การใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในงานอาชีพ
6 โครงสรางรายวชิ าคณติ ศาสตร ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สาระสําคัญ มีความรคู วามเขา ใจเกีย่ วกบั จํานวนและตวั เลข เศษสว น ทศนิยมและรอยละ การวดั เรขาคณิต สถิติ และความนาจะเปน เบือ้ งตน ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง 1. ระบหุ รือยกตวั อยา งเก่ียวกับจํานวนและตวั เลข เศษสว น ทศนิยมและรอ ยละ การวัด เรขาคณิต สถติ ิ และความนาจะเปน เบื้องตนได 2. สามารถคิดคํานวณและแกโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวนนับเศษสวน ทศนิยม รอยละ การวัด เรขาคณติ ได ขอบขา ยเน้ือหา บทที่ 1 จาํ นวนและการดาํ เนินการ บทที่ 2 เลขยกกําลังที่มีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ บทที่ 3 เซต บทที่ 4 การใหเหตุผล บทที่ 5 อัตราสวนตรีโกนมิติและการนําไปใช บทที6่ การใชเครื่องมือและการออกแบบผลติ ภัณฑ บทที่ 7 สถติ เิ บอ้ื งตน บทที่ 8 ความนาจะเปน บทที่ 9 การใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในงานอาชีพ สื่อการเรียนรู 1. ใบงาน 2. หนังสอื เรยี น
7 บทท่ี 1 จาํ นวนและการดําเนินการ สาระสําคัญ 1. โครงสรางของจํานวนจริงประกอบไปดวย จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ และ จาํ นวนเตม็ 2. สมบัติของจํานวนจรงิ ทีเ่ กยี่ วกบั การบวกและการคณู ประกอบไปดว ยสมบตั ปิ ด สมบัติการเปลยี่ นกลมุ สมบตั ิการสลบั ที่ การมีอนิ เวอรส การมีเอกลักษณและสมบัติ การแจกแจง 3. สมบัติการเทากันจะใชเครื่องหมาย “=” แทนการมีคาเทากัน 4. สมบัติการไมเทากันจะใชเครื่องหมาย “ ≠ , < , >, ≤ , ≥” 5. คาสมั บรู ณใชส ญั ลักษณ “ | |” แทนคาสัมบูรณซ่งึ x ถา x >0 x = 0 ถา x = 0 - x ถา x < 0 ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั 1. แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆ ในระบบจํานวนจริงได 2. อธิบายความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจากการบวก การลบ การคณู การหารจาํ นวน จรงิ ได 3. อธิบายสมบัตขิ องจํานวนจริงท่เี ก่ียวกับการบวก การคูณ การเทากนั การไมเทากนั และนาํ ไปใชไ ด 4. อธิบายเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและหาคาสมบูรณของจํานวนจริงได ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องที่ 1 ความสัมพันธของระบบจํานวนจริง เรื่องท่ี 2 สมบตั ขิ องการบวก การลบ การคูณ และการหารจาํ นวนจริง เรื่องท่ี 3 สมบัติการไมเทากัน เร่ืองที่ 4 คา สมั บรู ณ
8 เรื่องที่ 1 ความสมั พันธข องระบบจํานวนจริง 1.1. โครงสรา งของจาํ นวนจรงิ จาํ นวนจรงิ จาํ นวนอตรรกยะ จาํ นวนตรรกยะ จาํ นวนท่ีเขยี นใน ทศนิยม จาํ นวนเตม็ ทศนิยมซํา้ เศษสว น ไมร จู บไมซ้ํา รูปของกรณฑ หรือเรียกวา จาํ นวนนบั หรือ ศนู ย จาํ นวน รากหรือรูต จาํ นวนเตม็ บวก เตม็ ลบ จาํ นวนจรงิ ( Real number ) ประกอบดวยจาํ นวนตรรกยะและจาํ นวนอตรรกยะ 1. จาํ นวนตรรกยะ ( Rational number ) ประกอบดว ย จาํ นวนเตม็ ทศนยิ มซาํ้ และเศษสว น 1. จาํ นวนเตม็ ซึ่งแบงเปน 3 ชนิด คอื 1.1 จาํ นวนเตม็ บวก (I+) หรอื จาํ นวนนบั (N) ∴ I+ = N = {1, 2, 3, …} 1.2 จาํ นวนเตม็ ศูนย มีจํานวนเดยี ว คอื {0} 1.3 จาํ นวนเตม็ ลบ (I-) ∴ I- = {-1, -2, -3, …} 2. เศษสว น เชน 3 , 3 3 , - 5 เปนตน 4 47 3. ทศนยิ มซา้ํ เชน 0.6 , 0.12 , 0.532 2. จาํ นวนอตรรกยะ ( irrational number ) คือจํานวนที่ไมใชจ าํ นวนตรรกยะ เขยี นไดใ นรปู ทศนยิ มไมซ้ํา เชน 2 มคี า เทา กบั 1.414213… 3 มีคา เทากบั 1.7320508… π มคี าเทากับ 3.14159265… 0.1010010001… มีคาประมาณ 1.101
9 แบบฝกหดั ที่ 1 1.จาํ นวนทก่ี าํ หนดใหต อไปนจ้ี าํ นวนใดเปน จาํ นวนนบั จํานวนเตม็ จํานวนตรรกยะ หรือ จาํ นวนอตรรกยะ ขอ จาํ นวนจรงิ จาํ นวนนบั จาํ นวนเตม็ จาํ นวนตรรกยะ จาํ นวนอตรรกยะ 1) − 9,− 7 ,5 2 , 2,0,1 23 2) 5,−7 7 ,3,12, 5 34 3) 2.01,0.666...,-13 , 4) 2.3030030003..., 5) − π ,− 1 , 6 , 2 ,−7.5 33 2 6) 25,−17,− 12 , 9,3,12, 1 π 52 2. จงพจิ ารณาวา ขอความตอ ไปนี้เปนจริงหรอื เท็จ 1) 0.001001001001…เปน จํานวนตรรกยะ 2) 0.110110110110… เปน จํานวนตรรกยะ 3) 0.767667666766667… เปน จาํ นวนตรรกยะ 4) 0.59999…. เปน จาํ นวนตรรกยะ 5) 0 เปน จาํ นวนจรงิ 6) จาํ นวนทเ่ี ขยี นไดในรปู ทศนยิ มซํา้ ไมเปนจํานวนตรรกยะ
10 2. สมบตั กิ ารบวก การลบ การคณู และการหารจาํ นวนจรงิ สมบัติของจํานวนจริง คือ การนําจํานวนจริงใด ๆ มากระทาํ ตอ กันในลักษณะ เชน การบวก การลบ การคูณ การหาร หรือกระทําดวยลกั ษณะพเิ ศษทก่ี าํ หนดข้นึ แลวมีผลลัพธท ี่ เกิดข้ึนในลกั ษณะหรือทาํ นองเดยี วกนั สมบัตทิ ่ีใชใ นการบวก การลบ การคูณ และการหาร มีดังน้ี 2.1 สมบตั ิการเทา กันของจาํ นวนจริง กาํ หนด a, b, c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ สมบัติการสะทอน a=a สมบัติการสมมาตร ถา a = b แลว b = a สมบัติการถายทอด ถา a = b และ b = c แลว a = c สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากันทั้งสองขาง ถา a = b แลว a + c = b + c สมบัติการคูณดวยจาํ นวนที่เทา กนั ท้งั สองขาง ถา a = b แลว ac = bc 2.2 สมบัติการบวกและการคูณในระบบจาํ นวนจรงิ เมอ่ื กําหนดให a, b และ c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ 2.2.1 สมบตั ิการบวก สมบัติปด ถา a ∈R และ b ∈R แลว a + b ∈ R สมบัติการสลับที่ a+b= b+a สมบตั กิ ารเปลยี่ นกลมุ a + (b + c) = (a + b) + c สมบัติการมีเอกลกั ษณการบวก คือ 0 0+a = a+0 = a สมบัติการมีอินเวอรสการบวก a มีอนิ เวอรสการบวก คอื − a และ − a มีอนิ เวอรส การบวก คอื a จะได a + (−a) = (−a) + a = 0 นั่นคือจํานวนจริง a จะมี − a เปน อนิ เวอรส ของการบวก 2.2.2 สมบตั ิการคณู ถา a ∈R และ b ∈R แลว ab ∈ R สมบัติปด ab = ba สมบัติการสลับที่ a(bc) = (ab)c สมบัตกิ ารเปลี่ยนกลุม 1. a = a .1 = a สมบัติการมีเอกลักษณการบวก คือ 1 สมบัติการมอี ินเวอรส การคูณ a มีอินเวอรสการคณู คือ 1 และ (ยกเวน 0 เพราะ 1 ไมมีความหมาย) a 0 1 มอี นิ เวอรสการคณู คือ a a
11 สมบตั กิ ารแจกแจง จะได a 1 = 1 a = 1 ; a ≠ 0 a a น่ันคือ จํานวนจริง a จะมี 1 เปน a อินเวอรสการคณู a(b + c) = ab + ac (b + c)a = ba + ca จากสมบัติของจํานวนจริงสามารถใชพิสูจนทฤษฎีบทตอไปนไ้ี ด ทฤษฎบี ทท่ี 1 กฎการตดั ออกสาํ หรบั การบวก เมอ่ื a, b, c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ ถา a + c = b + c แลว a = b ถา a + b = a + c แลว b = c ทฤษฎบี ทท่ี 2 กฎการตัดออกสาํ หรับการคูณ เมอ่ื a, b, c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ ถา ac = bc และ c ≠ 0 แลว a = b ถา ab = ac และ a ≠ 0 แลว b = c ทฤษฎบี ทท่ี 3 เมอื่ a เปน จาํ นวนจริงใดๆ a·0=0 0·a=0 ทฤษฎบี ทท่ี 4 เมือ่ a เปน จาํ นวนจริงใดๆ (-1)a = -a a(-1) = -a ทฤษฎีบทท่ี 5 เม่อื a, b เปน จาํ นวนจริงใดๆ ถา ab = 0 แลว a = 0 หรือ b = 0 ทฤษฎบี ทท่ี 6 เม่อื a เปน จาํ นวนจริงใดๆ a(-b) = -ab (-a)b = -ab (-a)(-b) = ab
12 การลบและการหารจาํ นวนจรงิ • การลบจาํ นวนจรงิ บทนิยาม เมอ่ื a, b เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ a - b = a + (-b) น่นั คือ a - b คือ ผลบวกของ a กับอินเวอรสการบวกของ b • การหารจาํ นวนจรงิ บทนิยาม เมอ่ื a, b เปน จาํ นวนจริงใดๆ เมือ่ b ≠ 0 a = a( b−1) b นน่ั คอื a คอื ผลคูณของ a กับอินเวอรสการคูณของ b b
13 แบบฝกหดั ท่ี 2 1. ใหผเู รียนเตมิ ชองวางโดยใชสมบตั กิ ารเทากนั 1. ถา a = b แลว a +5 = ………………………………………………………..…………… 2. ถา a = b แลว -3a = …………………………………………………………………..… 3. ถา a + 4 = b + 4 แลว a =……………………………………………………….………… 4. ถา a +1 = b +2 และ b +2 = c -5 แลว a +1………………………………….…..……… 5. ถา x2 + 2x +1 = (x +1)2 แลว (x +1)2 = .…………………………………………… 6. ถา x = 3 y แลว 2x = ………………………………………………………….………… 2 7. ถา x2 +1 = 2x แลว (x −1)2 = ……………………………………………….….……… 8. ถา ab = a + b แลว 1 (ab)= ……………………………………………….…………. 2 2. กาํ หนดให a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ จงบอกวาขอความในแตละขอตอไปนี้เปนจริงตาม สมบัติใด 1) 3 + 5 = 5 + 3 2) (1+2)+3 = 1+(2+3) 3) (-9)+5 = 5 +(-9) 4) (8 X 9) เปน จาํ นวนจรงิ 5) 5 X 3 = 15 = 3 X 5 6) 2(a+b) = 2a +2b 7) (a + b) + c = a+( b + c) 8) 9a +2a = 11 a = 2a + 9a 9) 4 X (5 + 6) = (4 X 5) + (4 X 6) 10) c(a +b) = ac +bc 3 . เซตท่ีกาํ หนดใหในแตล ะขอตอไปนี้ มีหรอื ไมม ีสมบัตปิ ด ของการบวกหรือสมบัติปดของการคูณ 1) { 1 , 3 , 5 } 2) { 0 } 3) เซตของจาํ นวนจรงิ 4) เซตของจาํ นวนตรรกยะ 5) เซตของจาํ นวนทห่ี ารดว ย 3 ลงตวั
14 4. จงหาอินเวอรสการบวกของจํานวนจรงิ ในแตล ะขอ ตอไปน้ี 1) อินเวอรสการบวกของ 8 2) อนิ เวอรส การบวกของ - 5 3) อนิ เวอรส การบวกของ - 0.567 4) อนิ เวอรส การคณู ของ 3 − 2 5) อนิ เวอรสการคณู ของ 1 5− 3
15 3. สมบัตกิ ารไมเ ทา กัน ใหผ เู รยี นทบทวนเรอ่ื งสมบตั ิการเทา กนั ในเร่ืองท่ีผา นมาเพ่อื เปนความรูเพิ่มเติม สว นใน เร่ืองน้จี ะเนน เร่ืองสมบัติการไมเ ทากันเทา น้นั ประโยคคณิตศาสตรจะใชสัญลกั ษณ > , < , ≥ , ≤ , ≠ แทนการไมเทากัน เรยี กการไมเทากนั วา “อสมการ” (Inequalities) บทนิยาม a < b หมายถงึ a นอ ยกวา b a > b หมายถงึ a มากกวา b กาํ หนดให a, b, c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ 1. สมบัติการถายทอด ถา a > b และ b > c แลว a > c 2. สมบตั กิ ารบวกดว ยจํานวนทีเ่ ทา กัน ถา a > b แลว a + c > b+ c 3. จาํ นวนจรงิ บวกและจาํ นวนจรงิ ลบ a เปนจํานวนจริงบวก กต็ อเม่ือ a > 0 a เปนจํานวนจริงลบ ก็ตอเม่อื a < 0 4. สมบตั กิ ารคณู ดวยจาํ นวนเทากนั ทไี่ มเ ทา กับศูนย กรณีท่ี 1 ถา a > b และ c > 0 แลว ac > bc กรณที ี่ 2 ถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc 5. สมบัติการตัดออกสาํ หรบั การบวก ถา a + c > b + c แลว a > b 6. สมบัตกิ ารตดั ออกสําหรบั การคณู กรณีท่ี 1 ถา ac > bc และ c > 0 แลว a > b กรณีที่ 2 ถา ac > bc และ c < 0 แลว a < b บทนิยาม a≤b หมายถึง a นอยกวาหรอื เทากับ b a≥b หมายถึง a มากกวาหรือเทากับ b a<b<c หมายถึง a < b และ b < c a≤b≤c หมายถึง a ≤ b และ b ≤ c
16 ชว ง (Interval) ชวง หมายถึง เซตของจํานวนจริงท่ีเปนสวนใดสวนหนึง่ ของเสน จาํ นวน 3.1 ชว งของจาํ นวนจรงิ กาํ หนดให a, b เปน จาํ นวนจรงิ และ a < b 1. ชวงเปด (a, b) (a, b) = { x | a < x < b } 2. ชวงปด [a, b] [a, b] = { x | a ≤ x ≤ b } 3. ชวงครึ่งเปด (a, b] (a, b] = { x | a < x ≤ b } 4. ชวงครึ่งเปด [a, b) [a, b) = { x | a ≤ x < b} 5. ชวง (a, ∞) (a, ∞) = { x | x > a} 6. ชวง [a, ∞) [a, ∞) = { x | x ≥ a} 7. ชวง (-∞, a) (-∞, a) = { x | x < a} 8. ชวง (-∞, a] (-∞, a] = { x | x ≤ a}
17 แบบฝกหัดท่ี 3 1. ใหผ ูเ รียนบอกสมบตั กิ ารไมเ ทากัน (เม่ือตวั แปรเปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ) 1. ถา x < 3 แลว 2x <6 ……………………………………………………………….. 2. ถา y>7 แลว -2y < 14 ……………………………………………………………….. 3. ถา x+1 > 6 แลว x+2 > 7 ………………………………………………………….. 4. ถา y+3 < 5 แลว y< 2 ……………………………………………………………… 5. ถา x< 7 และ 7< y แลว x<y ………………………………………………………. 6. ถา a > 0 แลว a+1 > 0 +1 …………………………………………………………. 7. ถา b< 0 แลว b + (-2) < 0+(-2) …………………………………………………… 8. ถา c> -2 แลว (-1)c < (-1)(-2) ……………………………………………………. 2. จงใชเสนจํานวนแสดงลักษณะของชวงของจํานวนจริงตอไปนี้ 1) (2,7) 2) [3,6] 3) [-1,5) 4) (-1,4]
18 5) (2, ∞ ) 6) (- ∞ ,4) 7) (0,8) 8) [-5,4)
19 4. คา สมบรู ณ คา สัมบรู ณข องจํานวนจรงิ หมายถงึ ระยะหา งจากจดุ ศูนยบ นเสนจํานวน พิจารณาคา สมั บรู ณข อง 4 และ -4 –6 –5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 6 4 อยูหา งจาก 0 4 หนวย คาสมั บูรณข อง 4 คือ 4 - 4 อยหู า งจาก 0 4 หนวย คาสัมบูรณของ -4 คอื 4 น่ันคอื คา สัมบูรณของจาํ นวนจรงิ ใดๆ ตองมีคา มากกวา หรือเทากับศนู ยเ สมอ สัญลกั ษณแ ทนคา สมั บรู ณคือ | | เชน คาสมั บรู ณของ 4 คือ |4| คาสัมบูรณของ – 4 คือ |-4| บทนยิ าม กาํ หนดให a เปน จํานวนจรงิ 4.1 สมบตั ิของคา สมั บรู ณ 1. | x | = | -x | 2. | xy | = | x||y | 3. x = x yy 4. | x - y | = | y - x | 5. | x |2 = x2 6. | x + y | ≤ | x | +| y | 6.1 ถา xy > 0 แลว | x + y | = | x | + | y | 6.2 ถา xy < 0 แลว | x + y | < | x | + | y | 7. เมอ่ื a เปน จาํ นวนจรงิ บวก | x | < a หมายถึง -a < x < a | x | ≤ a หมายถึง -a ≤ x ≤ a 8. เมอ่ื a เปน จาํ นวนจรงิ บวก | x | > a หมายถึง x < -a หรือ x > a | x | ≥ a หมายถึง x ≤ -a หรอื x ≥ a
20 1) | x | ≥ 2 แบบฝก หัดท่ี 4 เซตคําตอบของอสมการ คือ ........................................................................................................... -3 < X < 3 เซตคําตอบของอสมการ คือ.............................................................................................................. เซตคําตอบของอสมการ คือ............................................................................................................. -x ≤ -3 -2 หรอื -x ≥ -3 -2 -x ≤ -5 หรอื –x ≥ 1 -x ≥ 5 หรือ x ≤ -1 เซตคําตอบของอสมการ คือ.............................................................................................................
21 บทท่ี 2 เลขยกกําลังทีม่ เี ลขชก้ี าํ ลงั เปนจาํ นวนตรรกยะ สาระสําคัญ อา นวา a ยกกาํ ลงั n โดยมี a เปน ฐาน และ n เปนเลขช้กี ําลงั 1. 2. อานวา กรณฑท ่ี n ของ a หรืออา นวา รากท่ี n ของ a 3. จํานวนจรงิ ที่อยใู นรปู เลขยกกําลังทีม่ เี ลขชก้ี ําลังเปน จํานวนตรรกยะจะมีความสมั พันธกบั จํานวนจริงท่ีอยใู นรปู ของกรณฑหรอื ราก ( root ) ตามความสัมพันธดังตอไปนี้ และ 4. การบวก ลบ คณู หาร จํานวนท่ีมีเลขชกี้ าํ ลังเปนจาํ นวนตรรกยะโดยใชบทนิยามการบวก ลบ คูณ หาร เลขยกกาํ ลังของจํานวนเตม็ ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง 1. อธิบายความหมายและบอกความแตกตางของจํานวนตรรกยะและอตรรกยะได 2. อธบิ ายเกยี่ วกบั จาํ นวนจรงิ ที่อยูในรูปเลขยกกําลงั ท่มี เี ลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ และ จํานวนจรงิ ในรปู กรณฑไ ด 3. อธิบายความหมายและหาผลลัพธท เี่ กิดจากการบวก การลบ การคณู การหาร จํานวนจรงิ ท่ี อยูในรูปเลขยกกาํ ลังทีม่ ีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนจรงิ ในรปู กรณฑได ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองที่ 1 จํานวนตรรกยะและอตรรกยะ เร่ืองท่ี 2 จาํ นวนจรงิ ในรปู กรณฑ เร่ืองที่ 3 การบวก การลบ การคูณ การหาร จํานวนทม่ี ีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะและ จํานวนจรงิ ในรูปกรณฑ
22 เร่อื งท่ี 1 จํานวนตรรกยะ และจาํ นวนอตรรกยะ 1.1 จาํ นวนตรรกยะ หมายถึง จาํ นวนทเ่ี ขยี นแทนในรปู เศษสว น a เมอ่ื a และ b เปน จาํ นวนเตม็ b และ b ≠ 0 ตวั อยา ง จาํ นวนท่เี ปนจํานวนตรรกยะ เชน จาํ นวนเต็ม , เศษสว น , ทศนิยมซ้าํ เปนตน 1.2 จาํ นวนอตรรกยะ หมายถงึ จาํ นวนทไี่ มสามารถเขียนใหอยใู นรูปของเศษสวน a เม่ือ a และ b b เปน จาํ นวนเตม็ และ b ≠ 0 จาํ นวนอตรรกยะประกอบดวยจาํ นวนตอ ไปน้ี เปนทศนิยมแบบไมซา้ํ เชน 1.235478936... 5.223322233322223333... ความแตกตา งระหวางจาํ นวนตรรกยะ และจาํ นวนอตรรกยะ จาํ นวน จาํ นวนเตม็ เศษสวน ความแตกตา ง คาทางพีชคณิต ตรรกยะ มี มี ทศนยิ ม อตรรกยะ - คาทางพีชคณิตที่หาคาได ไมมี ไมมี - ทศนิยมรูจบ ลงตัว หรือไดคําตอบเปน - ทศนยิ มรูจบแบบซาํ้ เศษสว น - ทศนยิ มไมรจู บ - คาทางพีชคณิตที่มีคา เฉพาะ เชน 2, 3, 5,π ,e เปน ตน 1.3 เลขยกกาํ ลังท่มี ีเลขชีก้ าํ ลงั เปนจาํ นวนเตม็ นิยามเลขยกกําลัง an หมายถึง a ×x a × a ×a…………….. × a n ตวั เมือ่ a เปน จาํ นวนใด ๆ และ n เปน จาํ นวนเตม็ บวก เรยี ก an วาเลขยกกาํ ลงั ทมี่ ี a เปน ฐาน และ n เปนเลขชีก้ าํ ลงั เชน 54 = 5 × 5 × 5 × 5 = 625 ถา a,b เปน จาํ นวนจรงิ ใด m และ n เปนจํานวนเต็มบวก จะไดกฎของการยกกําลัง ดังนี้ กฎขอ ที่ 1 =a m ⋅ b n a m+n กฎขอ ที่ 2 (ab)n = a nbn กฎขอท่ี 3 ( ) =am n a mn
23 กฎขอท่ี 4 เม่ือ x ≠ 0 am = 1 ถา m = n bn = a m−n ถา m > n =1 ถา n > m กฎขอท่ี 5 a n−m เมอ่ื y ≠ 0 x n = xn y yn นิยาม a = 1 เมอ่ื a เปน จาํ นวนจริงใด ๆ ทไี่ มเทา กบั ศูนย นิยาม a−n = 1 เมอ่ื a เปน จํานวนจรงิ ใด ๆ ท่ไี มเทากบั ศนู ยแ ละ n เปน จาํ นวนเตม็ บวก an
24 แบบฝก หัดท่ี 1 1. จงบอกฐานและเลขชก้ี าํ ลงั ของเลขยกกาํ ลงั ตอ ไปน้ี 1) 63 ฐานคือ.....................................เลขช้กี าํ ลังคอื ................................. 2) (1.2) −5 ฐานคือ.................................เลขชก้ี ําลงั คือ................................. 3) ( − 5)0 ฐานคือ.................................เลขช้ีกาํ ลังคือ................................... 3 4) 1 ฐานคือ.....................................เลขชกี้ ําลังคอื ................................. 2 2. จงหาคา ของเลขยกกาํ ลังตอ ไปน้ี 1) ( − 4)5 = ………………………. 4 2) 1 = ………………………..…. 5 3) (1.2)3 = …………………………. 4) ( 3)6 = …………………………. 3. จงทาํ ใหอยใู นรปู อยางงายและเลขชี้กําลงั เปนจาํ นวนเตม็ 1) (a2 )4 = …………………………. ( )2) 5 3 4 = …………………………. = …………………………. 3) 4 5 = …………………………. 2 3 4) ( )(1.1)5 3 ( )5) x−2 −5 = ………………………….
25 เร่ืองท่ี 2 จํานวนจรงิ ในรปู กรณฑ การเขียนเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะสามารถทําไดโดยอาศัยความรูเรื่อง รากที่ n ของจํานวนจริง a ( ซึ่งเขยี นแทนดวยสัญลักษณ a ) และมบี ทนยิ ามดงั น้ี นยิ าม ให n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1 a และ b เปน จาํ นวนจรงิ a เปน รากที่ n ของ b ก็ตอ เมอ่ื an = b ตัวอยา ง กต็ อ เมื่อ a=n b an = b 2=3 8 ก็ตอ เม่ือ 23 = 8 − 3 = 5 − 243 กต็ อ เมื่อ (− 3)5 = −243 ลองทาํ ดู 9 = 3×3 3 เปน รากที่ 2 ของ 9 3 8 = ………….……………………….. 4 81 = …………………………………… 5 −32 = ……………………………………. สมบตั ิของรากที่ n ของจาํ นวนจรงิ เมอ่ื n เปน จาํ นวนเตม็ บวกทม่ี ากกวา 1 1 n a = an ( )1. a เมือ่ a ≥ 0 เม่อื a < 0 และ n เปน จํานวนค่ี 2.) n an = a 3) n ab เมอื่ a < 0 และ n เปนจํานวนคู | a | = n a•n b 4). n a = n a ,b≠0 b nb
26 ตวั อยา ง 1 24 = 16 และ (-2)4 = 16 2 เปน รากท่ี 4 ของ 16 เพราะ 24 = 16 -2 เปนรากท่ี 4 ของ 16 เพราะ (-2)4 = 16 ∴รากท่ี 4 ของ 16 คือ 2 และ -2 ตวั อยาง 2 23 = 8 2 เปนรากท่ี 3 ของ 8 เพราะ 23 = 8 แต -2 ไมใ ชเปนรากท่ี 3 ของ 8 เพราะ (-2)3 = -8 ∴รากท่ี 3 ของ 8 คือ 2 นยิ าม ให a เปน จาํ นวนจรงิ และ n เปน จาํ นวนเตม็ บวกท่ีมากกวา 1 จะเรียก n a วา รากที่ n ของ a หรือ กรณฑอนั ดบั ท่ี n ของ a โดยท่ี 1. ถา n เปน จาํ นวนคูแลว a ตอ ง ≥ 0 2. ถา n เปน จาํ นวนค่ีแลว a เปน จาํ นวนจรงิ หมายเหตุ 1. เครื่องหมาย “ ” เรียกวา เครอ่ื งหมาย กรณฑ เขียน “n” วา เปน อันดบั ท่ี 2. เมอ่ื a เปนจาํ นวนจริงใด ๆ จาํ นวนจริงท่ีเขยี นในรูป n a เรียก กรณฑ เชน 5, 3 25, 3 − 64
27 แบบฝก หัดที่ 2 1. จงหาคาของรากที่ n ของจํานวนจริงตอไปนี้ 1) 25 = ………………………. 2) 64 = ………………………. 3) 5 −243 = ………………………. 4) 3 −125 = ………………………. 5) 8 = ………………………. 3 27 6) 4 16 = ………………………. 7) 3 125 = ………………………. 8) −64 = ………………………. 9) 3 −8 = ………………………. 10) 4 −16 = ………………………. 2. จงเขียนจํานวนตอไปน้ีใหอยูใ นรูปอยา งงาย โดยใชสมบัติของ รากที่ n 1) 52 = ……………………..………… 2) 3 23 = ………………….……….. 3) 3 (−2)3 = ……………………………. 4) 5 (−2)5 =……………….……….. 5) (−3)2 = ………………..…………… 5) 4 (−2)4 =……………………….. 6) 200 = …………………………… 7) 75 = …………………..………. 8) 3 240 = …………………………… 9) 45 = …………………..………. 10) 5 15 = …………….……………. 11) 3 81⋅ 3 32 = ……………………. 12) 4 = 4 = ……………………. 13) 5 = ………………………….. 3 99 8
28 เร่อื งท่ี 3 การบวก การลบ การคณู การหาร จํานวนที่มเี ลขชกี้ าํ ลงั เปน จาํ นวนตรรกยะและ จํานวนจริงในรูปกรณฑ 3.1 การบวก และการลบจํานวนทอ่ี ยใู นรปู กรณฑ สมบัติของการบวกจํานวนจริง ขอหนึ่งที่สําคัญและมีการใชมาก คือ สมบัติการแจกแจงในการ บวก พจนคลาย ดังตัวอยา ง 1) 3x + 5x = (3 + 5)x = 8x สมบัติของการแจกแจง 2) 8a − 3a = (8 − 3)a = 5a ดวยวธิ กี ารเชน นีเ้ ราสามารถนาํ มาใชในเรื่องการบวก การลบ ของจาํ นวนที่อยใู นรปู กรณฑที่ เรยี กวา “พจนคลา ย” ซึ่งเปนกรณฑอ นั ดับเดยี วกัน จาํ นวนทอี่ ยภู ายในเครือ่ งหมายกรณฑเ ปน จํานวน เดยี วกนั เราทราบวา 3 2 = 3× 2 และ 5 2 = 5× 2 ( ) ( )ดังน้นั 3 2 + 5 2 = 3× 2 + 5× 2 = (3 + 5) 2 (สมบตั กิ ารแจกแจง) =8 2 ตวั อยางท่ี 1 จงหาคา ของ 12 + 27 − 3 วธิ ที าํ 12 + 27 − 3 = 4 × 3 + 9 × 3 − 3 ตวั อยา งท่ี 2 จงหาคาของ = 2 3+3 3− 3 = (2 + 3 −1) 3 = 43 20 + 45 − 125 วธิ ที าํ 20 + 45 − 125 = 4 5 + 9 5 − 25 5 = 2 5+3 5−5 5 = (2 + 3 − 5) 5 =0 5 =0 ตวั อยา งท่ี 3 จงหาคา ของ 3 20 + 2 18 − 45 + 8 วธิ ีทํา 3 20 + 2 18 − 45 + 8 = (3)(2) 5 + (2)(3) 2 − 3 5 + 2 2 = 6 5+6 2−3 5+2 2 = 6 5−3 5+6 2+2 2 = 3 5+8 2
29 3.2 การคูณ และการหารจํานวนท่อี ยูใ นรูปกรณฑ การคูณ จากสมบตั ขิ อที่ 3 ของรากที่ n ท่กี ลา ววา n ab = n a • n b เม่ือ n a และ n b เปน จาํ นวนจริง ∴ ตัวอยางท่ี 2 (3 8)(5 2) = 3⋅ 8 ⋅ 5 ⋅ 2
30 การหาร ใชส มบตั ิขอ 4 ของรากท่ี n ที่กลาววา n a = n a เมอ่ื b ≠ 0 nb b หรอื ใชส มบตั ิขอ 3 ของรากที่ n ทีก่ ลา ววา =2 หรอื ใชส มบตั ทิ ่ีวา ดวยการคูณตัวเศษและตวั สวนดว ยจํานวนเดียวกัน = 20 ⋅ 5 = 100 = 10 5 55 =2
31 จงทาํ จาํ นวนตอไปนีใ้ หอ ยใู นรูปอยางงาย แบบฝกหัดที่ 3 1) 8x2 2) 4 256 3) 3 8y 6 4) 5 − 32 5) 3 8 − 2 + 32 6) 3 5( 10 + 2 5) 7) 3 2a 2 ⋅ 3 4a 8) 3 54 ⋅ 3 4
32 3.2 เลขยกกาํ ลงั ท่ีมกี ําลงั เปน จํานวนตรรกยะ บทนยิ าม เมือ่ a เปน จํานวนจริง n เปน จาํ นวนเตม็ ทีม่ ากกวา 1 และ a มีรากท่ี n จะไดวา 1 an = n a ตวั อยางที่ 1 1 1 93 = 3 9 32 = 3 1 1 73 = 3 7 82 = 8 บทนิยาม ให a เปนจาํ นวนเต็มที่ n > 0 และ m เปน เศษสว นอยา งตา่ํ จะไดวา n
33 แบบฝก หัดท่ี 4 1. จงทําจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปอยางงาย 1) 8x2 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 2) 3 3 − 27 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 3) ( 2 + 8 + 18 + 32)2 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. 4) 5 −32 + 26 3 27 3 (64) 2 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………
34 21 5) 8 3 ⋅ 18 2 4 144 6 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….
35 บทท่ี 3 เซต สาระสําคัญ 1. เซต โดยท่วั ไปหมายถึง กลมุ คน สตั ว สงิ่ ของ ที่รวมกันเปน กลมุ โดยมีสมบตั ิบางอยา ง รว มกัน และบรรดาสงิ่ ทั้งหลายที่อยใู นเซตเราเรยี กวา “ สมาชิก” ในการศึกษาเรื่องเซตจะ ประกอบไปดว ย เซต เอกภพสมั พทั ธ สบั เซตและเพาเวอรเซต 2. การดําเนินการบนเซต คือ การนาํ เซตตา ง ๆ มากระทํารวมกันเพอื่ ใหเ กิดเปน เซตใหม ซึ่ง ทาํ ได 4 วิธีคือ การยเู นย่ี น การอินเตอรเซคชนั่ ผลตางระหวางเซต และการคอมพลีเมนต 3. แผนภาพเวนน – ออยเลอร จะชว ยใหก ารพิจารณาเกย่ี วกบั เซตไดงายขน้ึ โดยใชห ลกั การคอื 3.1 ใชรปู สี่เหลีย่ มผนื ผาแทนเอกภพสมั พัทธ “U” 3.2 ใชวงกลมหรือวงรีแทนเซตตาง ๆ ที่เปนสมาชิกของ “U” และเขียนภายในสีเ่ หลี่ยมผนื ผา ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง 1. อธิบายความหมายเกี่ยวกับเซตได 2. สามารถหายูเนย่ี น อินเตอรเซกชัน่ คอมพลีเมนต และผลตางของเซตได 3. เขียนแผนภาพแทนเซตและนําไปใชแกปญหาที่เกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซตได ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องที่ 1 เซต เร่ืองท่ี 2 การดาํ เนนิ การของเซต เร่ืองท่ี 3 แผนภาพเวนน - ออยเลอรแ ละการแกป ญหา
36 เร่อื งที่ 1 เซต (Sets) 1.1 ความหมายของเซต เซต หมายถงึ กลุม สิ่งของตางๆ ไมวาจะเปน คน สัตว สิ่งของหรือนิพจนทางคณิตศาสตร ซึง่ ระบสุ มาชิกในกลมุ ได ยกตวั อยาง เซต เชน 1) เซตของวิทยาลัยเทคนิคในประเทศไทย 2) เซตของพยัญชนะในคําวา “คณุ ธรรม” 3) เซตของจาํ นวนเตม็ 4) เซตของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวดั สกลนคร เรียกสงิ่ ตาง ๆทอี่ ยูในเซตวา “สมาชิก” ( Element ) ของเซตนน้ั เชน 1) วิทยาลัยเทคนิคดอนเมืองเปนสมาชิกเซตวิทยาลัยเทคนิคในประเทศไทย 2) “ร” เปนสมาชิกเซตพยัญชนะในคําวา “คณุ ธรรม” 3) 5 เปนสมาชิกของจํานวนเต็ม 4) โรงเรียนดงมะไฟวิทยาเปนสมาชิกเซตโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัด สกลนคร 1.2 วธิ ีการเขียนเซต การเขยี นเซตเขยี นได 2 แบบ 1. แบบแจกแจงสมาชิกของเซต โดยเขียนสมาชิกทุกตัวของเซตลงในเครื่องหมายวงเล็บ ปกกาและใชเครื่องหมายจุลภาค (,) คน่ั ระหวางสมาชิกแตละตวั นัน้ ตัวอยางเชน A = {1, 2, 3, 4, 5} B = { a, e, i, o, u} C = {...,-2,-1,0,1,2,...} 2. แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซต โดยใชตัวแปรแทนสมาชิกของเซต และบอก สมบัติของสมาชิกในรูปของตัวแป ตัวอยางเชน A = { x | x เปนจํานวนเตม็ บวกที่มคี า นอ ยกวา หรือเทากับ 5} B = { x | x เปน สระในภาษาอังกฤษ} C = {x | x เปน จาํ นวนเตม็ } สญั ลักษณเซต โดยท่ัว ๆ ไป การเขยี นเซต หรอื การเรยี กชือ่ ของเซต จะใชอักษรภาษาอังกฤษ ตัวพมิ พใ หญไ ดแก A , B , C , . . . , Y , Z เปน ตน ท้ังนี้เพ่อื ความสะดวกในการอางอิงเมือ่ เขียนหรือ กลาวถึงเซตนน้ั ๆ ตอ ไป สาํ หรบั สมาชกิ ในเซตจะเขยี นโดยใชอกั ษรภาษาองั กฤษตัวพิมพเลก็
37 มีสญั ลักษณอ ีกอยา งหน่งึ ทีใ่ ชอยูเสมอ ๆในเรือ่ งเซต คือสัญลกั ษณ ∈ ( Epsilon) แทนความหมายวา อยใู น หรือ เปนสมาชกิ เชน กาํ หนดให เซต A มีสมาชิกคือ 2 , 3 , 4 , 8 , 10 ดังน้ัน 2 เปนสมาชิกของ A หรืออยูใน A เขยี นแทนดว ย 2 ∈ A 10 เปนสมาชิกของ A หรืออยใู น A เขยี นแทนดว ย 10 ∈ A ใชสัญลกั ษณ ∉ แทนความหมาย “ไมอยู หรือไมเปนสมาชิกของเซต เชน 5 ไมเปนสมาชิกของเซต A เขยี นแทนดว ย 5 ∉ A 7 ไมเปนสมาชิกของเซต A เขยี นแทนดว ย 7 ∉ A ขอ สงั เกต 1. การเรียงลําดับของแตละสมาชิกไมถอื เปนส่ิงสาํ คัญ เชน A = { a , b , c } B = {b,c,a} ถือวาเซต A และเซต B เปนเซตเดยี วกนั 2. การนบั จํานวนสมาชิกของเซต จํานวนสมาชกิ ทเ่ี หมือนกันจะนับเพยี งครัง้ เดยี ว ถงึ แมจะเขยี นซํา้ ๆ กัน หลาย ๆ คร้ัง เชน A = { 0 , 1 , 2 , 1 , 3 } มีจํานวนสมาชิก 4 ตวั คือ 0 , 1 , 2 , 3 เปน ตน 1.3 ชนดิ ของเซต 1.3.1 เซตวา ง ( Empty Set or Null Set ) บทนิยาม Ø หรือ { } แทนเซตวา ง เซตวาง คอื เซตทไ่ี มม สี มาชิก ใชสัญลักษณ (φ เปน อกั ษรกรกี อานวา phi) ตวั อยา ง เชน A = { x | x เปนชื่อทะเลทรายในประเทศไทย } ดงั นน้ั A เปนเซตวาง เนื่องจากประเทศไทยไมมีทะเลทราย B = { x | x ∈ I+ และ x + 2 = x } ดังน้นั B เปนเซตวาง เนื่องจากไมมีจํานวนเต็มบวกที่นํามาบวกกับ 2 แลว ได ตัวมันเอง เซต B จึงไมมีสมาชิก ขอสังเกต 1. เซตวา งมีจาํ นวนสมาชกิ เทากับศูนย ( ไมมีสมาชิกเลย ) 2. 0 ≠ Ø 3. { 0 } ไมเปนเซตวาง เพราะมีจํานวนสมาชิก 1 ตวั
38 1.3.2 เซตจาํ กัด ( Finite Set ) บทนิยาม เซตจาํ กัด คือ เซตที่สามารถระบุจํานวนสมาชิกในเซตได ตวั อยา งเชน A = { 1 , 2 , {3} } มีจํานวนสมาชิก 3 ตัว หรือ n(A) = 3 B = { x | x เปน จาํ นวนเต็มและ 1 ≤ x ≤ 100 } มีจํานวนสมาชิก 100 ตวั หรอื n(B) = 100 C = { x | x เปนจํานวนเต็มทอี่ ยูระหวา ง 0 กบั 1 } ดังนน้ั C เปน เซตวา ง มีจํานวนสมาชิก 0 ตัว หรอื n(C) = 0 D = { 1 , 2 , 3 , . . . , 99 } มีจํานวนสมาชิก 99 ตัว หรือ n(D) = 99 E = { x | x เปน วันในหน่ึงสปั ดาห } มีจํานวนสมาชิก 7 ตวั หรอื n(E) = 7 หมายเหตุ จํานวนสมาชิกของเซต A เขยี นแทนดว ย n(A) 1.3.3 เซตอนนั ต ( Infinite Set ) บทนิยาม เซตอนันต คือ เซตท่ไี มใชเ ซตจํากัด ( หรือเซตทม่ี ีจํานวนสมาชิกไมจาํ กัด นน่ั คอื ไมส ามารถนบั จาํ นวนสมาชิกไดแ นน อน ) ตวั อยา งเชน A = { -1 , -2 , -3 , … } B = { x | x = 2n เมอ่ื n เปน จาํ นวนนบั } C = { x | x เปน จาํ นวนจริง } T = { x | x เปน จาํ นวนนับ } ตวั อยา ง จงพิจารณาเซตตอไปนี้ เซตใดเปน เซตวา ง เซตจํากัดหรอื เซตอนันต เซต เซตวา ง เซตจาํ กัด เซตอนนั ต 1. เซตของผูท ่ีเรยี นการศึกษานอกโรงเรียน / / / ปก ารศึกษา 2552 2. เซตของจํานวนเต็มบวกคี่ 3. เซตของสระในภาษาไทย / 4. เซตของจาํ นวนเตม็ ทห่ี ารดว ย 10 ลงตวั 5. เซตของทะเลทรายในประเทศไทย / /
39 1.3.4 เซตที่เทากัน ( Equal Set ) เซตสองเซตจะเทากันก็ตอเมื่อทั้งสองเซตมีสมาชิกอยางเดียวกนั และจาํ นวนเทา กนั บทนิยาม เซต A เทา กับเซต B เขยี นแทนดว ย A = B หมายความวา สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกทุกตัวของเซต B และสมาชิกของเซต B เปนสมาชิกทุกตัวของเซต A ถา สมาชกิ ตัวใดตวั หนึ่งของเซต A ไมเปนสมาชิกของเซต B หรือสมาชิกบางตัวของเซต B ไมเปนสมาชิกของเซต A เซต A ไมเ ทา กับเซต B เขยี นแทนดว ย A ≠ B ตวั อยางเชน A = { 0 , { 1,2 } } B = { { 2 ,1 } , 0 } ดงั นน้ั A = B ตวั อยา ง กาํ หนดให A = { 2 , 4 , 6 , 8 } B = { x | x เปนจาํ นวนเต็มบวกเลขคูที่นอยกวา 10 } วิธที าํ A = { 2 , 4 , 6 , 8 } พิจารณา B เปน จาํ นวนเต็มบวกคูท ี่นอ ยกวา 10 จะได B = { 2 , 4 , 6 , 8 } ดังนน้ั A = B ตัวอยา ง กาํ หนดให A = { 2 , 3 , 5 } , B = { 5 , 2 , 3 , 5 } และ C = { x | x2– 8x + 15 = 0 } วธิ ีทํา พิจารณา x2 - 8x + 15 = 0 ( x – 3 ) (x – 5 ) = 0 X = 3,5 C = {3,5} ดงั น้นั A = B แต A ≠ C เพราะ 2 ∈ A แต 2 ∉ C B ≠ C เพราะ 2 ∈ B แต 2 ∉ C
40 1.3.5 เซตทีเ่ ทียบเทากัน ( Equivalent Set ) เซตที่เทียบเทากัน เซตสองเซตจะเทียบเทากันก็ตอเมื่อทั้งสองเซตมีจํานวนสมาชิก เทากัน บทนิยาม เซต A เทียบเทากับเซต B เขยี นแทนดว ย A ~ B หรอื A ↔ B หมายความวา สมาชิกของ A และสมาชิกของ B สามารถจับคูหนึง่ ตอ หนง่ึ ไดพ อดี ตวั อยางเชน A = { 1 , 2 , 3 } B = {4,5,6} จะเห็นวา จํานวนสมาชิกของเซต A เทากับจํานวนสมาชิกของ B ดังนน้ั A ↔ B C = { xy , ab } D = {0,1} ดงั นน้ั C ~ D เพราะจํานวนสมาชิกเทากัน ตวั อยา ง จงพจิ ารณาเซตแตละคตู อไปน้ีวา เซตคใู ดเทา กัน หรือเซตคูใดเทียบเทา กัน 1) A = { x / x เปน จาํ นวนเต็ม x2 – 10x + 9 = 0 } B = {1,9} 2) C = { a , { b, c } , d } D = {1,2,{3}} 3) E = { 1 , 4 , 7 } F = {4,1,7} วธิ ที ํา 1) A = B และ A ∼ B เพราะมีจํานวนสมาชิกเทากัน และสมาชิกเหมือนกันทุกตัว 2) C ∼ D แต C ≠ D เพราะมีจํานวนสมาชิกเทากัน แตสมาชิกแตละคูไมเหมอื นกนั ทุกตวั 3) E = F และ E ∼ F เพราะมีจํานวนสมาชิกเทากัน และสมาชิกเหมือนกันทุกตัว ขอสังเกต 1.321...6 เถถอาา กภAAพส=∼ัมพBBัทแธแลลวว A ∼B B A ไมจ ําเปนตอ งเทา กับ
41 บทนิยาม เอกภพสมั พทั ธ คอื เซตท่ีกาํ หนดขึ้นโดยมีขอตกลงกนั วาจะไมก ลา วถงึ ส่ิงอ่ืนใด นอกเหนือไปจากสมาชิกของเซตที่กําหนด ใชสัญลกั ษณ U แทน เอกภพสัมพัทธ ตวั อยา งเชน กาํ หนดให U เปน เซตของจาํ นวนนบั และ A = {x | x2 = 4 } จงเขยี นเซต A แบบแจกแจงสมาชิก ตอบ A = {2} กาํ หนดให U = {1,2,3,4,5,6,7,8,9,10} และ A เปนจาํ นวนคู ตอบ A = {2,4,6,8,10} ขอสังเกต ถาไมมกี ารกาํ หนดเอกภพสมั พทั ธ ใหถือวาเอกภพสัมพัทธนนั้ เปนเซตของจํานวนจรงิ
42 แบบฝกหดั ท่ี 1 1. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก 1) เซตของจงั หวัดในประเทศไทยทมี่ ชี ื่อขึน้ ตน ดวยพยัญชนะ “ส” 2) เซตของสระในภาษาอังกฤษ 3) เซตของจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลัก 4) เซตของจาํ นวนคูบวกทมี่ คี า นอยกวา 20 5) เซตของจํานวนเต็มลบที่มีคานอ ยกวา – 120 6) { x|x เปนจํานวนเตม็ ทมี่ ากกวา 5 และนอ ยกวา 15 } 7) { x|x เปนจาํ นวนเตม็ ทอี่ ยูระหวาง 0 กับ 0 } 2. จงบอกจํานวนสมาชิกของเซตตอไปนี้ 1) A = {3456} 2) B = {a,b,c,de,fg,hij,} 3) C = { x|x เปนจาํ นวนเต็มบวกที่อยูระหวา ง 10 ถงึ 35 } 4) D = { x|x เปนจํานวนเต็มบวกทนี่ อยกวา 9 } 3. จงเขยี นเซตตอ ไปนแ้ี บบบอกเงอ่ื นไข 1) K = { 2,4,6,8} 2) P = { 1,2,3,...} 3) H = { 1,4,9,16,25,...} 4. จงพจิ ารณาเซตตอไปน้ี เปน เซตวา งหรอื เซตจํากัดหรือเซตอนันต 1) เซตของสระในภาษาไทย 2) เซตของจํานวนเตม็ ท่ีอยรู ะหวา ง 21 และ 300 3) A = { x | x เปน จาํ นวนเต็มและ x < 0 } 4) B = { x | x เปน จาํ นวนเต็มคูท ี่นอยกวา 2 } 5) C = { x | x = 9 และ x – 3 = 5 } 6) A = { x | x เปน จาํ นวนนับทน่ี อ ยกวา 1 } 7) E = { x | x เปน จาํ นวนเฉพาะ 1 < x < 3 } 8) F = { x | x เปน จาํ นวนเต็ม 4 < x < 5 } 9) B = { x | x เปน จาํ นวนนับ x2 + 3x + 2 = 0 } 10) D = { x | x เปน จาํ นวนเต็มทห่ี ารดว ย 5 ลงตวั }
43 5. เซตตอไปน้เี ซตใดบางท่เี ปน เซตที่เทา กัน 1) A = { 2,4,6,8,10 } B = {x| x เปนจาํ นวนคูบวก 2 ถงึ 10 } 2) D = { 7,14,21,28,......343} E = {x|x = 7r และ r เปนจํานวนนับท่มี คี า นอ ยกวา 50 } 3) F = { x|x =3n และ n และ n } G = { 3,6,9} 4) Q = {4} H = { x|x เปน จาํ นวนเตม็ และ x2= 16 }
44 เรอ่ื งที่ 2 การดําเนนิ การของเซต การดําเนินการที่สําคัญของเซตที่จําเปนตองรูและทําความเขาใจใหถองแทมี 4 ชนดิ ไดแก 1. การยเู นยี นของเซต 2. การอนิ เตอรเซคช่ันของเซต 3. คอมพลีเมนทของเซต 4. ผลตางของเซต 2.1 การยเู นียนของเซต ใชสญั ลกั ษณ “ ∪ ” บทนิยาม A ∪ B = { x | x ∈ A ∨ x ∈ B } เรยี กวา ผลบวก หรือผลรวม (union) ของ A และ B ตัวอยา ง 1. ถา A = {0 , 1 , 2 , 3} และ B = {1 , 3 , 5 , 7} จะได A ∪ B = {0 , 1 , 2 , 3 , 5 , 7} ตวั อยาง 2. ถา M = {x | x เปน จาํ นวนเตม็ บวก} และ L = {1 , 2 , 3 , 4} จะได M ∪ L = M ตวั อยาง 3. ถา W = {a , s , d , f} และ Z = {p , k , b} จะได W ∪ Z = {a , s , d , f , p , k , b} ตวั อยา ง 4 A ={1,2,3} , B= {3,4,5} จะได A ∪ B = {1,2,3,4,5} 2.2 การอินเตอรเซคชัน ใชสญั ลักษณ “ ∩ ” บทนิยาม A ∩ B = { x|x∈ A ∧ x∈B } เรยี กวา ผลตดั หรือผลทเี่ หมอื นกัน (intersection) ของ A และ B ตวั อยา ง 1. ถา A = {0 , 1 , 2 , 3} และ B = {1 , 3 , 5 , 7} จะได A ∩ B = {1 , 3} ตวั อยาง 2. ถา M = {x | x เปน จาํ นวนเตม็ บวก} และ L = {1 , 2 , 3 , 4} จะได M ∩ L = L
45 ตัวอยาง 3. ถา W = {a , s , d , f} และ Z = {p , k , b} จะได = { } 2.3 คอมพลเี มนตของเซต ใชส ญั ลักษณ “ / ” บทนิยาม ถา U เปน เอกภพสัมพทั ธ คอมพลีเมนตของ A คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิก ทีอ่ ยูใน ∪ แตไมอยูใน A เขยี น A′ แทนคอมพลีเมนทของ A ดังน้นั A′ = { x | x ∉ A } ตวั อยาง 1. ถา U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} และ A = {0 ,2} จะได = {1, 3,4, 5} ตวั อยาง 2. ถา U = {1, 2, 3, ... } และ C = { x|x เปน จาํ นวนคู} จะได = { x |x U และ x เปนจาํ นวนค่ี } 2.4 ผลตา งของเซต ใชสญั ลักษณ “ – ” บทนยิ าม ผลตางระหวางเซต A และเซต B คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกของเซต A ซงึ่ ไมเปนสมาชิกของเซต B ผลตางระหวา งเซต A และ B เขยี นแทนดว ย A – B ซ่ึง A - B = { x | x ∈ A ∧x∉B} ตัวอยา ง 1. ถา A = {0, 1, 2, 3, 4} และ B = {3 , 4 , 5 , 6 , 7} จะได A - B = {0, 1, 2} และ B - A = {5 , 6 , 7}
46 ตัวอยา ง 2. ถา U = {1, 2, 3, ... } และ C = { x|x เปน จาํ นวนคบู วก} จะได U – C = {x|x เปน จํานวนคบ่ี วก} สมบัติของเซตท่ีควรทราบ ให A,B และ C เปนสบั เซตของเอกภพสมั พัทธ U สมบตั ติ อ ไปน้ีเปนจรงิ 1) กฎการสลับที่ A∪B = B∪ A A∩B = B∩ A 2) กฎการเปล่ียนกลมุ A ∪ (B ∪ C) = (A ∪ B)∪ C A ∩ (B ∩ C) = (A ∩ B)∩ C 3) กฎการแจงแจง A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B)∩ (A ∪ C) A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B)∪ (A ∩ C) 4) กฎเอกลักษณ φ ∪ A = A∪φ = A U ∩ A = A∩U = A 5) A ∪ A′ = U 6) φ′ = U และ U ′ = φ 7) (A′)′ = A 8) A ∪ A = A และ A ∩ A = A 9) A − B = A ∩ B′ 10) A ∩φ = φ และ A ∪φ = A
47 แบบฝกหัดที่ 2 1) ถา A = { 0,1,2,3,4,5}, และ B { 1,2,3,4 } จงหา 1) A ∪ B ……………………………. 2). B ∪ A …………………………..…… 3). A ∩ B ............................................. 4). B ∩ A ……………………………..… 5). A – B……………………..…………. 6). B – A……………………………….…. 2). กาํ หนดให U = { 1,2,3, ... ,10 } A = { 2,4,6,8,10 } B = { 1,3,5,7,9} C = { 3,4,5,6,7 } จงหา 1. A ∩ B ……………………………………………………………………………………… 2. B ∪ C ……………………………………………………………………………………… 3. B ∩ C …………………………………………………………………………………….… 4. A ∩ C ..………………………………………………………………………………..…… 5. C′..………………………………………………………………………………..…………. 6. C′ ∩ A ………………………………………………………………………………..…….. 7. C′ ∩ B ..………………………………………………………………………………..…… 8. (A ……………………………………………….…………………………………
48 เร่อื งท่ี 3 แผนภาพเวนน - ออยเลอรแ ละการแกป ญ หา 3.1 แผนภาพเวนน - ออยเลอร การเขียนแผนภาพแทนเซตชวยใหเขาใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางเซตชัดเจนยิ่งขึ้น เรยี ก แผนภาพแทนเซตวา แผนภาพของเวนน-ออยเลอร เพอ่ื เปน เกยี รติแกนักคณิตศาสตรชาวองั กฤษ จอหน เวนน (John Venn พ.ศ.2377-2466) และนกั คณิตศาสตรช าวสวสิ เลโอนารด ออยเลอร (Leonard Euler พ.ศ. 2250-2326) ซึง่ เปน ผคู ดิ แผนภาพเพื่อแสดงความสัมพันธร ะหวางเซต การเขยี นแผนภาพของเวนน-ออยเลอร (Venn-Euler) เพอ่ื แสดงความสมั พนั ธระหวา งเซตนยิ ม เขยี นรปู สเ่ี หลย่ี มมุมฉากแทนเอกภพสัมพัทธ (U) และใชรูปวงกลม วงรี หรือรปู ปด ใด ๆ แทนเซต ตางๆ ซึ่งเปนสับเซตของ U ลกั ษณะตา ง ๆ ของการเขียนแผนภาพ มีดงั น้ี ซง่ึ แผนภาพเวนน-ออยเลอร เมอ่ื นํามาใชกบั การดําเนนิ การบนเซตแลว นั้นจะทาํ ใหผูเรียนเขาใจ ในเรื่องการดําเนินการบนเซตมากขึ้น ดังตัวอยางตอไปนี้ ยเู นยี น (Union) สามารถใชแผนภาพของเวนน-ออยเลอร แสดงใหเ ห็นกรณีตาง ๆ ของเซตใหมท ่ีเกิด จาก ไดจากสว นทแ่ี รเงา ดงั น้ี (ระบายพื้นที่ของทั้งสองเซตไมวาจะมีพื้นที่ซ้ํากนั หรือไมซาํ้ กนั )
49 อินเตอรเซกชนั (intersection) สามารถใชแผนภาพของเวนน-ออยเลอร แสดงใหเหน็ กรณีตาง ๆ ของเซตใหมทีเ่ กิดจาก ไดจากสวนทีแ่ รเงา ดังนี้ คอมพลีเมนต (Complement) กาํ หนดให เซต A เปน สบั เซตของเอกภพสัมพทั ธ U คอมพลเี มนตข อง A คือ เซตทป่ี ระกอบดวย สมาชิกของเอกภพสัมพัทธ (U) แตไมเปนสมาชิกของ A เขยี นแทนดว ย (อา นวา เอไพรม) และ เพอื่ ใหมองภาพไดชัดขน้ึ อาจใชแ ผนภาพของเวนน-ออยเลอรแ สดงการคอมพลเี มนตข องเซต A ได ดงั น้ี A′ คอื สว นท่แี รเงา ผลตาง (Relative Complement or Difference) สามารถใชแผนภาพของเวนน-ออยเลอร แสดงใหเ ห็นกรณตี า ง ๆ ของเซตใหมท ี่เกิดจาก A - B ไดจ ากสว นทแ่ี รเงา ดงั น้ี (ระบายสีเฉพาะพื้นที่ของเซต A ที่ไมใชพ ื้นทขี่ องเซต B)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253