Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค11003)

รายวิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค11003)

Published by banmolibrary, 2019-02-05 01:17:07

Description: ระดับประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

การพัฒนสาคตร1นายเ1อว0งิช0ชาุม3ชนสงัคม ระดบัประถมศึกษา สำลนิขักสงิทาธนปเปลนดัขกอรงะสทำรนวักงงศาึกนษกาธศิกนา.ร

หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม (สค11003) ระดับประถมศกึ ษา หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หา มจาํ หนา ย หนงั สือเรียนเลม น้ีจดั พมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชีวิตสําหรบั ประชาชน ลขิ สิทธเิ์ ปนของ สํานกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 34/2554

หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม (สค11003) ระดบั ประถมศึกษา ลิขสทิ ธเิ์ ปน ของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดับท่ี 34/2554 2

คํานํา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียน ชุดใหมนีข้ ึ้น เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใน ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมท้ังแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเน้ือหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมได ผูเ รยี นอาจจะสามารถเพ่ิมพูนความรูหลังจาก ศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพ่ือนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถ่ิน จากแหลง เรยี นรูแ ละจากส่อื อน่ื ๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูท รงคุณวุฒิและผูเ กี่ยวของหลายทานที่คนควา และเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพ่ือใหไดส่ือที่สอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน ตอผูเ รียนทีอ่ ยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะท่ีปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสน้ี สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนีจ้ ะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความขอบคุณยิ่ง สํานกั งาน กศน. 3

สารบญั หนา คาํ นํา 5 คําแนะนําการใชห นังสอื เรยี น 6 โครงสรางรายวชิ า 7 บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 8 14 ความหมาย ความสําคัญและหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 15 ประโยชนท่มี ีตอตนเอง ชมุ ชน สงั คม 15 บทที่ 2 การจัดเกบ็ และวเิ คราะหข อ มลู 19 ความสําคัญ และคุณสมบัติขอมูลที่ดี 31 วิธกี ารจัดเกบ็ ขอมลู 34 เทคนิคการวิเคราะหขอมูล 35 บทที่ 3 การวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และการนําไปใชในชีวิตประจําวัน 37 การใชขอมูลจากการวิเคราะหเพื่อวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 38 การนาํ แผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ไปใชในชีวติ ประจําวัน 41 การมสี ว นรว มผลกั ดนั แผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมใหเปนท่ียอมรบั บรรณานกุ รม 4

คําแนะนําการใชหนังสือเรยี น หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับ ประถมศกึ ษา เปน หนงั สอื เรยี นทจ่ี ัดทําข้นึ สําหรับผเู รียนท่ีเปน นักศึกษาการศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ผูเรียนควรปฏิบตั ิดงั นี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาและทําความเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่ คาดหวังและขอบขายเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียดและฝกปฏิบัติตามกิจกรรมที่ กําหนด ถายังไมมั่นใจวาปฏิบัติตามกิจกรรมไดอยางเหมาะสม ควรยอนกลับไปทําความเขาใจเนื้อหานั้น อกี คร้งั กอนศึกษาเรื่องตอไป 3. ทํากิจกรรมทายเรอื่ งใหครบทุกเรอื่ ง เพอื่ เปนการสรุปความรูทีไ่ ดรับ ผูเรียนสามารถ ตรวจสอบและทบทวนกับครู เพอื่ น และผูรู 4. หนังสอื เรียนเลมนีม้ ี 3 บท คือ บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม บทที่ 2 การจัดเก็บและวเิ คราะหข อ มลู บทที่ 3 การวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และการนําไปใชในชีวิตประจําวัน 5

โครงสรา งรายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม (สค11003) ระดบั ประถมศกึ ษา สาระสําคัญ 1. ความหมาย ความสําคัญ หลักการและประโยชนของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 2. ความสําคัญของขอมูล วิธีการจัดเก็บและวิเคราะหอยางงาย 3. การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ไปใชในชีวิตประจําวัน ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวัง 1. อธิบายสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 2. จัดเก็บและวิเคราะหขอมูลอยางงาย 3. มีสวนรวมและนําผลจากการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ไปใชในชีวิตประจําวัน ขอบขา ยเน้ือหา บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม บทที่ 2 การจดั เกบ็ และวิเคราะหขอมูล บทที่ 3 การวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และการนําไป ใชในชีวิตประจําวัน 6

บทท่ี 1 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม การพัฒนาตนเองเปนเรือ่ งสําคัญและจําเปนอยางมาก การพัฒนาไมไดเนนเฉพาะทาง กาย แตต อ งพฒั นาจิตใจควบคกู ันไป ทุกคนสามารถพัฒนาตนเองดวยการสรางนิสัยทีด่ ีซึง่ เปนประโยชน แกตนเอง ใหผูค นพึง่ พาอาศัยกันได และเปนพืน้ ฐานทีด่ ีในการพัฒนาชุมชน สังคมตอไป ชวยใหชุมชน แข็งแกรงและสรางสังคมที่เปนสุข เราสามารถพัฒนาตนเองเปนอยางแรก โดยดูแลรางกายใหแข็งแรง มีสุขภาพอนามัยที่ดี เพอ่ื ปอ งกันไมใ หเ กดิ อปุ สรรคในการดาํ เนนิ ชีวิต สามารถทํางานไดอยางเต็มที่ เมือ่ รางกายแข็งแรง ยอม มีจิตใจมุง มัน่ ทํางานเพือ่ ชวยเหลือตนเองและเพือ่ นมนุษยได อยางไมยอทอ ทัง้ นี้ตองรวมไปถึงการพัฒนาบุคลิกภาพ ตนเอง พัฒนาความรูและความคิด รวมทัง้ ความจํา ความ เขาใจ ความมีเหตุมีผล รูจ ักมองและประเมินสถานการณ ตาง ๆ ทีผ่ านเขามาในชีวิต ตลอดจนตัดสิน ดวยความเปน ธรรม ไมลําเอียงหรือมีอคติ พูดงาย ๆ คือ รูจักคิดนั่นเอง คิด โดยอาศัยความรู มองจากตัวเราและไกลออกไปสูค รอบครัว ชุมชน สังคม โดยคิดใหอยูภ ายในกรอบของคุณธรรม จะทําใหความคิดและการตัดสินใจของเรา เหมาะสมกับสถานการณทีเ่ กิดขึน้ ไมเบียดเบียนตัวเราเองและผูอ ื่นในสังคม อยางนีจ้ ึงเรียกไดวา “คิดเปน” 7

 กิจกรรม  อา นเร่ืองราว แลวคิดตาม หวานหนาตาสวย เปนลูกคนสุดทอง พอแมทั้งหวงและเปนหวง หวานจบ ม. 6 พอมี อาชีพเก็บของเกาขาย แมรับจางซักผา พี่ชายคนโตอยูวนิ มอเตอรไ ซค พี่ชายคนทีส่ องอาศัยอยูก ับหลวงตา ทีว่ ัดใกลบาน สวนพีส่ าวทํางานโรงงานปลากระปอง พักอยูหองเชาใกลโรงงาน หวานชอบทํากับขาว และขนมไทย รสมือในการทําอาหารเปนเยี่ยม จนพอและแมออกปากชม ถาคุณเปนหวาน มีลูทางจะคิดทําอะไรใหมีเงินเก็บพอที่จะเรียนตอ โดยไมตองขอเงิน จากครอบครัว ลองคิดใหรอบคอบทุกดาน แลวเขียนสรุปสัน้ ๆ ในสมุดหรือกระดาษ จากนัน้ เลาให เพื่อน ๆ ฟงแนวคิดของคุณ อยาลืมวาทุกปญหายอมมีทางออก ไมมีคําวาผิดหรือถูก แตละคนมองหา คําตอบโดยใชเ หตุผลของตนเอง แลวมองขอจํากดั ทีม่ อี ยรู อบดา น ทุกการตัดสินใจตองอธิบายไดดวยเหตุ และผล  เก็บขอ สรุปไวใ หครผู สู อนตรวจสอบ  ความหมาย ความสําคญั และหลกั การพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม  ภาพหลินปง นอนอยูบนอกหลนิ ฮุย  ภาพหลินปง ปน ตนไม มอื 2 ขางเกาะก่ิงไม ตอนเกดิ ไดไ มก ีส่ ัปดาห เทา หอยอยู แมหลินฮุยยืนมองอยโู คนตน  การพฒั นา คือการปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงใหส่ิงท่เี ปน อยู มีอยู ดขี ึน้ และกา วหนาไปกวา เดิมจากท่เี คย เปน อยู 8

 กิจกรรม  ลองถามเพอื่ นหรือคนท่ีอยูใกลตัววา เขาเคยเห็นอะไรที่พัฒนาไปจากเดิมบาง และ เปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ อยา งไร ไดค าํ ตอบแลวบนั ทกึ ยอ ไวใ นสมดุ หรือกระดาษ  เกบ็ บันทึกยอ ไวใ หครูผูสอนตรวจสอบ  การพัฒนาตนเอง เปนการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตนเองใหดีขึน้ กวาเดิม โดยตองคิดให รอบดานวา เดิมตัวตนของเราเปนอยางไร ท้ังสุขภาพกายและสุขภาพใจ เมื่อปรับปรุงตนเองแลว สามารถ มีชีวิตที่เปนไปตามความตั้งใจที่หวังไวหรือไม ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทําใหตัวเรามีจิตใจเบิกบาน มี อารมณแจมใสขึ้นกวาเดิมใชหรือไม นอกจากนี้ยังสามารถคิดหาเหตุผลมารองรับใหเกิดความกาวหนา ทางสติปญญาของตนเองได เมื่อพึง่ พาสติปญญาตนเองได ก็ยอมมีโอกาสใหผูอ ืน่ พึ่งพาสติปญญาตัวเรา ไดเ ชนกนั คนทีพ่ ัฒนาตนเองไดดี ตอ งมคี วามมุง มั่น มจี ติ ใจแนว แนและตั้งใจจริง การคิดทางบวกที่ชวยพัฒนาตนเองไดดี :  มนุษยทุกคนมีคุณคาในตนเอง สามารถพัฒนาตนเองไดแทบทุกเรื่อง  ไมม มี นษุ ยค นใดทด่ี พี รอ มทกุ อยา งจนไมต องพัฒนาตนเองอีก  แมม นุษยจะรตู วั ตนอยางดี แตไมส ามารถปรับเปลี่ยนตนเอง ตองอาศัยผูอื่นชว ยดวย การควบคุมความคิด ความรูสึก และการกระทํา มนุษยบางรายติดยึดกับความรูส ึกนึกคิด และการกระทําของตนเอง ตองอาศัยคน ใกลชิดชวยมองแลวยอมรับที่จะสรางนิสัยใหม มนุษยสามารถพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่อง ตลอดเวลาเมื่อพบขอบกพรองของตน  กิจกรรม  ใหเวลาตนเองคิดทบทวนวา ตนมีปญหาและขอบกพรองใดบาง ยกมาเพียง 1 ตัวอยาง แลวพิจารณาวาคุณจะพัฒนาตนเองไดดวยวิธีใด โดยเขียนสรุปยอในสมุดหรือกระดาษ จากนั้นจับคูก ับ เพือ่ น เพือ่ แลกเปลี่ยนประสบการณระหวางกัน เพือ่ หาแนวคิดทีแ่ ตกตางกัน หรือมีวิธีอื่นที่จะชวยเหลือ เพอื่ นเพอ่ื พัฒนาตนเองอยางไร บนั ทึกเพิม่ เติมไว อยาลืมวาทุกคนมีสิทธิ์ที่จะคิดดวยเหตุและผลของตนเอง ความคิดเห็นทีแ่ ตกตาง ไม ตองการคําตอบทีถ่ ูกตองที่สุดเพียงขอเดียว ใครคิดเห็นอยางไรขอใหมีเหตุผลสนับสนุน เรากําลังฝก ความคิดแบบประชาธิปไตย ฝกการมีสวนรวม และฝกการยอมรับความแตกตางของมนุษย  เกบ็ สรปุ ยอ ไวใ หค รูผสู อนตรวจสอบ  9

การพัฒนาตนเองดานบุคลิกภาพ ไมไดเนนเฉพาะสิง่ ที่มองเห็นดวยตาเทานัน้ แตยังรวมถึงสิง่ ที่ ตองอาศัยการรูไดดวยใจ ภาพการตูน ผูหญงิ 25 ป แจงความรอยเวร ท่ีโรงพกั วาเก็บกระเปา สตางคไ ดม ีคําพูด ความซือ่ สัตยต อ ตนเองและผูอ่นื ทงั้ ตอหนา “ดิฉันพบกระเปาสตางคหลนอยูที่ปายรถเมลคะ” และลบั หลงั เปนตวั อยา งท่ีดีในสังคม ภาพการตูน ชาย 30 ป สง ถงุ ขา วสารใหหญิงชรา ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ รูจักการให การแบง ปน 70 ป ท่ีอยูรว้ั ตดิ กนั มคี าํ พูด “ผมกลับบานตาง ตามโอกาสอันควรโดยไมหวังสิ่งตอบแทน จงั หวดั ไดขาวสารมาฝากคุณยายครับ” ภาพการตนู หญิง 50 ป กาํ ลังพดู โทรศัพท รักของสวนรวม เมื่อพบความเสียหายในที่ มีคําพดู “ดิฉันพบทอประปาแตกที่ปากซอย สาธารณะ รบี แจง ผูรบั ผดิ ชอบดว น เพื่อลด สนั ติภาพคะ” การสูญเสียทรัพยากร ภาพการตนู นกั ศึกษาสาว 22 ป ทกั ทายเพอ่ื นหญงิ การตรงตอ เวลาเปนการสรา งนสิ ยั ที่ดใี ห วัยเดยี วกันมคี าํ พดู “มาแตเชาเชียว ตรงเวลาอยางนี้ เกดิ ขึน้ ในสงั คม นบั วาเปน แบบอยางทีด่ ที ่ี จะไดเ รยี นกนั อยา งเตม็ ที่” ควรปฏิบัติตาม นอกจากสง่ิ เหลา นแี้ ลว ยงั ควรยกยองผทู าํ ความดี รูจักเสยี สละในทางทถ่ี ูกท่ีควร ทางดานอารมณ ควรพัฒนาตนเองใหมองโลกในแงดี มีสติอยูเสมอ และสรางความ เช่อื ม่นั ใหเกิดข้ึนในตนเอง ดานสตปิ ญญา ควรพัฒนาความรอู ยา งสม่าํ เสมอไมห ยุดนิ่ง เพราะคนเราเรยี นรูก ันไดไม มีวันจบ พัฒนาทักษะทางวิชาชีพเมื่อมีโอกาส รวมทั้งพัฒนาความคิดใหกวางไกลยิ่งขึ้น ดานสังคม ควรฝกการมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับคนรอบขางกับคนทุกเพศทุกวัยให เหมาะสม รูจ ักออนนอมถอมตน สามารถทํางานและอยูรวมกับผูอ ื่นไดและยังเปนไดทั้งผูนําและผูตาม ท่ีดี 10

 กจิ กรรม  รวมกลมุ กับเพอ่ื น 6 คน ทบทวนเรื่องราวตา ง ๆ อีกคร้งั หนึ่ง แลว ชวยกันคดิ วา ทกุ คนใน กลุมยงั มีเรื่องใดทีต่ องพฒั นาตนเองอีกบา ง พูดกนั ในกลุมดวยความจรงิ ใจและปรารถนาดตี อ กนั อยา มอง กนั ดว ยการจบั ผิด แลวชวยกันหาแนวทางการพฒั นา ระบุชือ่ เพ่อื นที่จะชวยเพ่ือนพฒั นาตนเอง แตล ะคน ใหมผี ูชว ยพฒั นาตนเอง 1 คน สรปุ ในสมดุ หรือกระดาษ ขอใหนึกไวเสมอวา สังคมจะดีได ตองมาจากคนในสังคม “หนง่ึ คน หนง่ึ ความดี” เพยี งเทา นีส้ งั คมกจ็ ะมีหลากหลายความดี กจิ กรรมนีเ้ พื่อสรา งความรูสกึ ทีด่ ีขณะกลมุ ทาํ งานรว มกัน ฝก การยอมรับซ่ึงกนั และกนั การเปนผูนาํ และผูตามทดี่ ี การฝกคดิ ดว ยเหตแุ ละผล รวมทั้งการตดั สินใจ ภายใตเงื่อนไขและขอจํากัดท่ีมีอยู เมอ่ื ไดผ ลสรปุ ของกลมุ มอบผสู รุปยอ และ มอบผูแทนกลุม รายงาน สรปุ ผลใหเพ่ือน กลุม อน่ื ฟง  เกบ็ สรปุ ยอไวใ หครูผสู อนตรวจสอบ  การพัฒนาตนเองมีความสําคัญยิ่ง ทุกคนตองการมีชิวิตอยูในสังคมดวยความสุข ดําเนิน ชีวิตไปตามที่ตองการและคาดหวังไว สามารถพัฒนาตนเองไดทันกับสังคมที่เปลี่ยนไป ความสําคัญในการพัฒนาตนเอง  พรอ มรบั สถานการณท ีเ่ กดิ ขน้ึ  ปรับพฤติกรรมใหเหมาะสม ตรงตามที่สังคมตองการ  นําไปสูเปาหมายชีวติ ทก่ี ําหนดไว  เห็นคณุ คา ของตนเองและทาํ หนาทไ่ี ดอยางเตม็ ที่ ความสําคัญที่มีตอการพัฒนาตนเองยังเกีย่ วของและสัมพันธกับผูอืน่ ทั้งคนใน ครอบครัวดานชีวิตสวนตัว และผูคนในชุมชนดานชีวิตความเปนอยูร วมกัน ทําใหอยูรวมกันไดดวย ความสุข สงผลใหชุมชนเขมแข็งและมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง สังคมมัน่ คงอยูไ ดดวยมนุษยทีพ่ ัฒนาตนเอง รูจ ักคิดคนแนวทางการทํางาน การใช เทคโนโลยี มีวิธีคิดและปรับปรุงทักษะทีเ่ พิม่ คุณภาพผลผลิต สามารถแขงขันกับสังคมอืน่ และสงผลให เศรษฐกิจของประเทศมั่นคง 11

 กจิ กรรม  เลือกเพื่อน 1 คนมาชวยกันคิดวา การพัฒนาตนเองสําคัญตอตัวทาน ตอชุมชนและตอ สังคมอยางไร เขียนสรุป ในสมุดหรือกระดาษ จากนัน้ ชวยกันเลาใหเพือ่ น ๆ ไดฟงแนวคิดของคุณ อยา ลืมเพม่ิ เตมิ สง่ิ ทีพ่ บเหน็ จากสภาพแวดลอมทเ่ี ปน อยูน อกเหนือจากเรื่องราวในหนังสอื เรยี นนี้ พูดคุยกันให ชัดเจน ทุกเหตุผลมีคา คุณจะรูวาการเคารพความคิดซึง่ กันและกัน ชวยใหมีแนวคิดทีก่ วางขวางและรอบ รูกวางไกลมากกวาการคิดเพียงคนเดียว ภาพการต ูน  เกบ็ สรปุ ยอไวใหครูผสู อนตรวจสอบ  การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม อาศัยหลักการมีสวนรวม การประสานความรวมมือ การ ประชาสัมพันธ การใหความรูทั้งทางตรงและทางออม ฯลฯ ภาพการต ูนชายหนุม วยั ชายหนมุ คนเดมิ กาํ ลงั จับ 1. หญงิ วัยกลางคนถอื โทร มอื กบั หญิงและชายทยี่ นื โขง กาํ ลังพดู กลางคนยืนอยคู นเดียว อยูท างซายและทางขวา 2. ชายหนุม ชที้ หี่ นงั สือ และอธิบายใหผ ชู ายอกี คน ฟง 12

 กจิ กรรม  อยคู นเดียวเงียบ ๆ นกึ ถึงการพัฒนาตนเองท่ีเคยทาํ มากอนวา ใชว ิธีการอยา งไร ไดผลแค ไหน เขียนสรปุ ส้ัน ๆ ในสมุดหรือกระดาษ แลว หาเพอื่ นอกี 3 คน รวมท้ังตวั ทา นเปน 4 คน แยกจบั คู ผลดั กนั เลา ประสบการณพ ัฒนาตนเองท่สี รปุ ไว ผูฟง แนะนําเพม่ิ เติมใหก ับคูของตน จากนั้นทั้ง 4 คน รวมกลุมอกี ครงั้ เพอ่ื สรปุ แนวทางจากประสบการณก ารพัฒนาตนเองของกลมุ อยาลมื เลาใหก ลมุ อนื่ ฟง กิจกรรมน้ีฝก การเลาเร่ืองราว การฟง การคิด การใชเ หตุและผล การตัดสนิ ใจเลอื ก เร่ืองราวท่ีจะสรุปใหกลมุ อน่ื รับฟง ท่สี าํ คญั ชว ยใหท ุกคนในกลมุ รจู กั การมีสว นรวม การรวมแรงรวมใจ ใหเกิดผลงานกลุมและการใชความสามารถที่ทุกคนในกลุมมีอยู  เกบ็ สรุปส้ัน ๆ ไวใ หครผู ูสอนตรวจสอบ  พักสักครูหนงึ่ กอน หายเหน่ือยแลว เร่ิมทาํ กิจกรรมตอไป  กจิ กรรม  หาอาสาสมัครและผูชวย รวม 2 คน เพื่อนํากลุมใหญใหเพือ่ น ๆ ทุกคนชวยกันระดม ความคดิ วา นอกจากหลกั การมีสวนรวม การรวมมือกัน การประชาสัมพันธ และการใหความรูท้ังทางตรงและ ทางออมแลว ยงั มเี รื่องใดอกี บา งที่เปน หลกั การสําคัญในการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม ผูน ํากลุมใหญพยายามรวบรวมแนวคิดจากเพ่ือน ๆ โดยมีผูชวยบันทึกแนวคิดอยางยอไวให ทุกคนไดอานทบทวน อยาลืมวาผูนํากลุมตองถามเพื่อใหไดรายละเอียดมากที่สุด สําหรับผูชวยใหบันทึก สรุปอยางยอ ดวยภาษาท่ีเขาใจงายและชัดเจน อาจเพ่ิมคําถามโดยถามถึงแนวทางการใหความรูทางตรงและ ทางออมวาเปนอยางไรบาง เชน การบอกโดยตรง หรือการใหคําปรึกษาแนะนํา ผูชวยสรุปความคิดไวบน กระดาษ ทุกคนมีโอกาสแสดงภาวะผูนําและผูตาม รูจักการคิดหาเหตุผล มีการตัดสินใจ มีสวนรวม มีการ ยอมรับและเรยี นรซู ่ึงกันและกนั ภายในกลุม ทกุ คนไดร บั โอกาสในการแสดงออกตามความถนดั  เกบ็ บันทึกสรุปยอไวใหครผู ูสอนตรวจสอบ   กจิ กรรมเสนอแนะ   ศึกษาหาความรเู พมิ่ เตมิ จากเวบ็ ไซตต าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ ง พดู คุย ปรกึ ษาหารือ เรื่องราวที่เปนประโยชนต อการเรียนรเู รอ่ื งการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม  ฝก การแสดงแนวคิดกอ นตดั สนิ ใจทั้งเร่ืองการเรียนการทาํ งาน และเรอ่ื งสวนตัว โดยใชห ลกั “คิดเปน ” ท่ีเคยรจู กั กนั มาแลว 13

ประโยชนท ีมีตอ ตนเอง ชมุ ชน สงั คม ภาพการตูน มีคําพูดส้ัน ๆ กระจายอยูในภาพ : ความสขุ มีเปา หมาย ใจเบิกบาน รวดเร็ว มีระเบยี บ สงบ มีความหวัง ไมกลัวความยากลําบาก ตรงตอเวลา มานะบากบัน่ ชนะใจตนเอง มีความรู คิดเปน มี ปฏิภาณ รูจ ักสังเกต ไมโกหกหลอกลวง กลาหาญ มีสมาธิ รูจ ักเหตุผล มีสวนรวม เสมอตนเสมอปลาย รูจ ักไตรตรอง ขยัน ประหยัด ซือ่ ตรง มีสติ รูจกฝกฝนตนเอง ไมลดละความพยายาม รูจ ักกาลเทศะ ระมัดระวัง ทําตนใหนาเชื่อถือ พึ่งพาตนเอง ชวยเหลือผูอ ืน่ รูจ ักเสียสละ เอือ้ เฟอ เผือ่ แผ คิดเชิงบวก คดิ ดีทาํ ดี มีเมตตา กตญั รู คู ณุ สามัคคี หมายเหตุ : ตัวอักษรสวยงาม เอียงซายขวา โดยไมตอ งจัดเปน หมวดหมู  กจิ กรรม  รวมกลุมเพ่อื น 4 คน คนหาขอความจากภาพ แลวสรปุ ในสมดุ หรอื กระดาษ ดงั น้ี ประโยชนใดเกิดขึ้นจากการพัฒนาตนเองบาง ขอความใดสรางประโยชนใหเกิดกับชุมชน สังคม กลุมสามารถคนหาขอความที่อยู ในภาพ รวมท้ังรว มกันคดิ ภายในกลุมเพื่อเพิม่ เติมคุณลกั ษณะตา ง ๆ ทเ่ี ปน ประโยชนตอตนเอง ชุมชน สังคม ไดตามตองการ ขอใหค ิดอยเู สมอวา ทุกคาํ ตอบผานกระบวนการคดิ ดวยเหตแุ ละผลมาแลว การ ตดั สินใจเลือกคณุ สมบัตใิ ดก็ตามยอมมีเหตุผลรองรบั และอธิบายได คุณสมบัติบางประการอาจเกดิ ประโยชนตอทั้งกับตนเอง ชุมชน และสังคม ทุกคนกําลังฝกการใชความรู ประสบการณ การรูจักเคารพ ความคิดเห็นของเพื่อนรวมกลุม การรับฟงเหตุและผลดวยการไตรตรองอยางรอบคอบ รวมทั้งการ ตดั สนิ ใจเลือกคุณสมบัตทิ ่ที กุ คนในกลมุ ยอมรับได หลังจากสรุปในสมุดและกระดาษเรียบรอยแลว ทบทวนอีกครั้งภายในกลุมใหโอกาส เพอื่ นรวมกลมุ เพิ่มเตมิ สงิ่ ทีต่ องการซ่ึงทุกคนในกลุม พจิ ารณาแลววาเหมาะสม  เกบ็ คาํ ตอบไวใ หครูผสู อนตรวจสอบ  14

บทท่ี 2 การจัดเก็บและวิเคราะหข อมลู ขอมูล คือ สภาพเปน จริงทปี่ รากฏในรูปตัวอกั ษร สัญลักษณ ตวั เลข คําบอกเลาจากผูรู สถานการณทเี่ กิดขึ้น รวมทงั้ การบันทึกและการถา ยทอดผานส่อื ตาง ๆ ทัง้ เอกสาร บุคคล วิทยุ โทรทศั น อนิ เทอรเน็ต ฯลฯ  กจิ กรรม  ทบทวนเหตุการณที่ผานมาวาคุณไดรับขอมูลจากที่ใดบาง และใชประโยชนไดจริงมาก นอ ยแคไ หน บันทกึ ยอ ในสมุดหรือกระดาษ จากน้ันเลา ใหเพอ่ื นฟง และบนั ทกึ ความเห็นของเพ่ือนท่ี เพ่มิ เตมิ ไว  เกบ็ บนั ทกึ ยอ ไวใหค รผู ูสอนตรวจสอบ  กจิ กรรมเสนอแนะ หาโอกาสพูดคยุ กับเพ่ือน ๆ เก่ยี วกบั เร่อื งขอมลู วา การเสาะหาขอมลู เปน เรือ่ งยาก หรอื งายเพียงใด ขอมูลเหลานเี้ ชื่อไดแ คไหน เคยไดร ับขอมูลที่ผิดพลาดอยา งไร ความสาํ คญั และคุณสมบตั ิขอมลู ทดี่ ี การทํางานใดก็ตามตองใชขอมูลมาประกอบเพื่อเปนแนวทางในการคิด พิจารณาและ ตดั สนิ ใจ ขอมูลจะมีความสําคัญไดก็ตอเมื่อเปนขอมูลที่มีความถูกตองและเชื่อถือได ตรงตาม ความตอ งการของผใู ช และเปน ขอมูลลา สดุ ท่ีทนั สมัย  กจิ กรรม  รวมกลมุ เพ่ือน 6 คน เลอื กหัวหนากลุมและผูชวยหวั หนา กลุม สอบถามเพือ่ น ๆ ให ออกความเห็นวาขอมูลมีความสําคัญอยางไร เหตุใดจึงตองใชขอมูลมาประกอบ ผูชวยรวบรวมแนวคิด และบนั ทึกสรปุ ในสมดุ หรือกระดาษ แลว แลกเปลีย่ นขอ สรปุ ของกลมุ กับเพ่อื น ๆ กลุมอ่ืน  เกบ็ บันทกึ สรปุ ไวใ หค รูผูสอนตรวจสอบ  15

ขอมูลที่ดีตองมีลกั ษณะตอ ไปน้ี 1. ถูกตองและเชื่อถือได ตองรวบรวมผลของขอมูล ภาพการตูน ความม่นั ใจวาถกู ตองและเชือ่ ถือไดโ ดยใหผ านการ ดว ยเจานายนง่ั ทีโ่ ตะ ทาํ งานหนาตาโกรธจ ตรวจสอบโดยละเอยี ด ขอ มลู อาจตอ งแปลงใหอ ยู ชีน้ ้วิ ที่กระดาษ ลูกนอ งนง่ั อยหู นาโตะ เจา นาย มีคําพูดของเจา นาย “ผมวาขอมลู ในรูปแบบทีเ่ ครือ่ งคอมพิวเตอรเขาใจไดอ ยางถูกตอง ท่คี ุณหามาเชอื่ ไมไดม ้งั ” บางครั้งขอมูลผิดพลาดเพราะใชโปรแกรม หรอื สตู รคาํ นวณผิดพลาด จึงตองกําหนดวิธีการ รวบรวมผลดว ยความละเอยี ดรอบคอบ ภาพการตนู ภาพเดมิ 2. ตรงตามความตองการของผูใช เมอ่ื จะเกบ็ ขอมลู แตม องจากคนละมมุ มคี ําพดู ของ เจา นาย “ผมไมไ ดอ ยากรหู รอกนะ ใหเลอื กเกบ็ ขอมูลเฉพาะทผ่ี ใู ชต อ งการเทาน้นั ตอง วา เธอสนใจชายหนมุ หนาตาดี ไมเกบ็ ขอ มูลอน่ื ๆ ทไี่ มต รงกับการใชงาน แตให แคไ หน” มั่นใจวา ขอมูลที่ตองการเก็บนนั้ เก็บไดอยาง ครบถวนและสมบูรณ ภาพการต นู ภาพเดิม 3. เปนขอมลู ลาสุดทม่ี คี วามทนั สมัย ผูใชข อมลู จะใชตัวเลขน้ตี ัง้ แตเดือนทแ่ี ลว ” นําไปใชไดทันเวลา เพราะเก็บขอมูลมาดวยความ รวดเรว็ ทันความตองการของผูใช 16

 กจิ กรรม  ชวนเพอ่ื นทบทวนลักษณะทดี่ ขี องขอมลู แลว สรุปเนื้อหารวมกัน เขยี นลงในสมุดหรือ กระดาษใหชัดเจน จากนั้นเลาสิ่งที่สรปุ ใหเพ่ือนคนอ่นื ฟง เพื่อแลกเปลยี่ นแนวคดิ ขอสงั เกต และ ความเหน็ เพิ่มเตมิ โดยบนั ทึกยอ ในสมุดหรือกระดาษอีกครัง้ หนึง่ กิจกรรมลักษณะเชน น้ี เปนการชวยฝก ฝนใหม กี ารคดิ พิจารณา ไตรต รอง และตดั สินใจ เลอื กขอ สรปุ ที่ดีสําหรับกลมุ การฝกฝนจะชวยเพิ่มความสามารถทางความคิด มีการพัฒนาตนเองในทางที่ดีใหเกิดขึ้น ซึ่งเปน รากฐานทด่ี ที ี่นาํ ไปสูการพฒั นาชมุ ชนและสงั คมตอไป เพราะชุมชนและสังคมจะดีไดตองเริ่มจาก คนซง่ึ เปน หนวยเล็กทส่ี ดุ เม่ือมีการพัฒนาเกิดขึ้นทกุ ระดับ ทา ยที่สดุ จะสง ผลที่ดีไปสปู ระเทศชาตใิ หเปน ปกแผน และมน่ั คง  เกบ็ บนั ทกึ ยอ ไวใหค รูผูสอนตรวจสอบ  คณุ สมบัติของขอมูลทีด่ ี ภาพการตูน หญงิ ชาย 6 คน ลกั ษณะรูปรา งหนา ตาตางกัน มองดูนา รกั ถือปายหรือยกปา ยดวย 2 มือชขู น้ึ ฯลฯ ใหมีวิธียกปา ยตางกัน มีขอ ความทง้ั 6 ปาย 1. ถูกตอง 4. กะทดั รัด 2. ทนั เวลา 5. ตรงตามตอ งการ 3. สมบูรณ 6. ตอ เนอื่ ง ยกภาพการต ูนทถี่ ือปายท่ี 1 1. ขอมูลทด่ี มี คี วามถูกตอ งแมนยาํ อาจมีความคลาดเคลอ่ื น อยบู า ง แตก ค็ วรควบคมุ ใหเกิดความคลาดเคลือ่ น นอ ยท่สี ดุ 2. ขอมูลทันสมัย ทันเวลาที่ตองการใช ขอมูลที่ ถกู ตองแมนยําแตไดผ ลมาอยา งลา ชา จะไมม คี ุณคา แมแตน อย และไมส ามารถนาํ ไปใชประโยชนไดเลย 17

ยกภาพการต ูนที่ถอื ปายที่ 3 3. ขอมลู มคี วามสมบูรณครบถวน ใหท งั้ ขอเท็จจริง หรือให “สมบูรณ” มาไวต รงน้ี ขาวสารอยางครบถวนทุกประการ ขอมูลที่ไดมาไมครบทํา ใหใชการไมได ยกภาพการต นู ทถ่ี ือปายท่ี 4 4. ขอมลู ท่ไี ดร ับควรจัดระบบใหอยูในรูปแบบทก่ี ะทดั รัด ไมเ ย่ินเยอ หรอื กระจดั กระจาย จงึ จะสะดวกเม่ือตองการใช “ตรงตามตอ งการ” มาไวต รงน้ี และคน หา ผูใชเ ขาใจขอ มลู ไดทนั ที ยกภาพการต ูนทถ่ี ือปา ยที่ 6 “ตอ เนอื่ ง” มาไวต รงน้ี 5. ขอ มูลท่ีจดั ทําตรงกบั ความตองการของผูใ ชและจาํ เปนตอ ง รู เพอื่ ใหเกิดประโยชนตอการทาํ งานตอไป ทัง้ การจดั ทําแผน การตัดสินปญหาที่ตองการหาแนวทางคําตอบ ขอมูลมากมาย ที่ไมตรงตามความตองการของผูใช จะไมมีประโยชนใดเลย 6. ขอ มูลตองเก็บรวบรวมอยางสมา่ํ เสมอ และตอ เน่อื ง เพ่ือนาํ ไปใชประโยชนในการวิเคราะห วจิ ัย หรือหาแนวโนมที่จะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต  กจิ กรรม  รวมกลมุ เพอ่ื น 6 คน ชว ยกนั ทบทวนเรือ่ งคุณสมบตั ิของขอมลู ท่ีดี โดยใหม ีผูอาสาเปน หวั หนา กลุม และผชู วย หัวหนากลุมพยายามใหเพอื่ น ๆ ชว ยกนั คิดผลสรุปจากกลุมใหผ ชู ว ยเขยี นในสมุด หรอื กระดาษแลว รายงานใหกลมุ อน่ื ทราบ กิจกรรมน้ชี วยใหทุกคนฝกการทํางานรวมกัน ไดรบั ฟงควมคิดเหน็ ของเพื่อน รูจกั ลําดับ ความคดิ การใชเหตุผล การยอมรบั และฝกตัดสนิ ใจ ซึง่ การทาํ เชนนไี้ ดอ าศัยหลกั การ “คิดเปน ” ซ่งึ เปน พื้นฐานทีด่ ขี องมนษุ ย ใหไดพัฒนาตนเอง และขยายขีดการพัฒนาไปสูวงกวางตอไป  เกบ็ คําตอบไวใหครูผูส อนตรวจสอบ  18

วิธกี ารจัดเก็บขอ มูล เมือ่ ตองการจัดเก็บขอมูล สิง่ แรกทีต่ องคิดและตัดสินใจ คือ จะเก็บขอมูลดวยวิธีการใด แตตองนึกดวยวา วิธีที่เหมาะสมนัน้ ขึ้นอยูก ับสภาพความเปนไปไดและความตัง้ ใจวา จะใชประโยชน เพื่ออะไร เมือ่ ตอบคําถามนีไ้ ดแลว จึงเลือกวิธีการจัดเก็บขอมูลทีต่ องการซึ่งมีอยูห ลายวิธี วิธีแรกคือ การสังเกต ถาตอ งการรูวาพระอาทติ ยตกโดยเฉลย่ี แลว ภาพการต ูนผูชายอวนใสแวน กันแดด มองไปท่ี ดวงอาทติ ยซ ึ่งเกือบจะลบั ขอบฟา ตรงกบั ชว งเวลาใด ก็สังเกตชว งเวลา พระอาทติ ยต กในแตละวนั ภาพชายคนเดิมไมใสแวน (คร่งึ ตัว) แลวจดเวลาทพ่ี ระอาทิตยตกไวท ุกวนั กําลงั จดขอ มูลในสมุด ตอ เนือ่ งกนั ไปเปน สปั ดาหหรือเปนเดือน กไ็ ด ภาพลูกตาสขี าว 1 คู จากน้นั นาํ ขอมลู เวลาทีบ่ ันทึกไวแตละคร้ัง   มองไปทต่ี วั เลข 18.05 +18.07+18.09+18.10+18.13+18.15+18.16 น. มารวมกัน ไดตัวเลขเทาใดก็นํามาหารดวย หารดว ย 7 = ? จํานวนคร้ังที่จดบนั ทกึ เวลา ก็จะได “คาเฉลยี่ ” วาพระอาทิตยตกโดยเฉลี่ยแลว ตรงกับเวลาใด  กจิ กรรม  ชวนเพอ่ื น 1 คนมาทบทวนวา วิธีการเก็บขอมูลแบบแรกเรียกวาอะไร ชวยกัน ยกตัวอยา งอื่นเพอ่ื ใหเห็นวาจะเกบ็ ขอ มลู ไดอยา งไร และจะหาคา เฉลี่ยดวยวิธีใด เมอ่ื ไดข อตกลงรว มกันแลว สรปุ ยอ ลงในสมดุ หรือกระดาษ อยาลืมวาตองชว ยกนั คิด และยอมรับขอเสนอแนะจากเพื่อนโดยตางฝา ยตางฟง เหตุผล ซึ่งกันและกนั ถายังไมเขาใจขอใหถ ามครูผสู อนหรือผูรู  เกบ็ สรุปยอ ไวใ หค รผู สู อนตรวจสอบ  19

การเก็บขอมลู ดวยการสงั เกตแมวาจะดูเหมอื นงา ยและสะดวก แตถ า ใหไดขอมูลที่ ชัดเจนและคลาดเคลื่อนนอยทีส่ ุด ตองเฝาดดู วยความเอาใจใสโ ดยการสังเกตและรับรูดวยตา หู และ การสัมผสั วิธีการเกบ็ ขอ มลู โดยการสงั เกต จงึ จําเปนตองมีขอ กําหนดตา ง ๆ ดงั นี้ กําหนดจดุ มงุ หมายท่ีแนนอนและชดั เจนวา ตอ งการรูเรื่องใด วางแผนอยางเปนระบบ กําหนดกรอบการสังเกตและระยะเวลาใหชัดเจน บันทึกเหตุการณและเรื่องราวที่ตรงตามความตองการ สามารถทดสอบเพื่อความถูกตองและนาเชื่อถือได การเก็บขอมูลโดยการสังเกต แบงออกเปน ขั้นตาง ๆ ท่สี าํ คัญ 4 ขน้ั ดวยกนั คอื 1. ขน้ั เตรียมการสงั เกต :  เลือกพน้ื ท่ี  เตรยี มวสั ดุอุปกรณส ําหรับเกบ็ ขอมูลทั้งภาพและเสยี ง กาํ หนดวนั เวลา สถานท่ี และนดั หมายผทู ่จี ะไปทาํ การสงั เกต 2. ขัน้ การสังเกต :  แนะนําตนเองและทําความรูจกั กบั หวั หนา กลุม ผูทีจ่ ะไปศึกษาซงึ่ เรียกกนั วา กลมุ ประชากรศึกษา สรางสมั พนั ธที่ดภี ายในกลุม สังเกตและเก็บขอมูลตามประเด็นหรือกรอบที่กําหนดไว 3. ขน้ั การบนั ทกึ ขอมูล : เขียนบรรยายรายละเอียดใหไ ดม ากท่ีสดุ 4. ข้ันเสรจ็ สิน้ การสงั เกต : กลาวขอบคณุ ผูใ หความรวมมือซงึ่ ใหขอมูลท่ีเปนประโยชน  กจิ กรรม  รวมกลุมเพื่อน 4-6 คน ทบทวนเรื่องราวเกยี่ วกบั ขนั้ ตอนตาง ๆ ท่สี ําคัญในการเก็บ ขอมลู โดยการสังเกต จากน้ันเลือกตัวแทน 1 คน สรปุ ใหเพ่ือนที่อยใู นกลมุ ฟง แตละคนบันทึกยอ ไวเ พ่ือ เตือนความจําในสมุดหรือกระดาษ ขอใหทกุ คนชว ยกันคิดและชวยกนั สรุปเพ่ือบันทกึ ยอ ไวเตือนความจาํ การมสี ว นรว ม ในกลุม ถือเปนกติกาสาํ คญั ที่ทุกคนควรปฏิบัติ  เกบ็ บนั ทกึ ยอ ไวใ หค รผู ูสอนตรวจสอบ  20

วธิ ีเกบ็ ขอ มลู โดยการสมั ภาษณ กาพการตนู หญิงสาวหุนสวยนง่ั อยูทโ่ี ตะ ฝง หนึ่ง มือขวาถอื ดินสอ มอื ซายแตะ กระดาษบนโตะ กําลงั มองหนา ชายหนุมผมฟซู ง่ึ จอ งหญิงสาวจนตาโต และยิม้ ปากกวาง ทาทางปล้มื คนสวยอยางมาก การสัมภาษณ เปนการเก็บรวบรวมขอมูลท่ผี ูส ัมภาษณและผูใ หส มั ภาษณไดเ ผชิญหนา กัน โดยมีการพดู คยุ ซักถามกันตอหนา แตต องไมล มื วา การพดู คุยกนั ตองมจี ดุ มุงหมายทชี่ ัดเจน ขณะ พดู คยุ ผเู ก็บขอ มูลหรือผูสมั ภาษณ จะใชเครื่องมือเพ่ือเก็บขอ มลู ซงึ่ กค็ อื แบบสัมภาษณ แบบสมั ภาษณ คอื อะไร............... แบบสมั ภาษณ คอื เครือ่ งมือท่ใี ชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมูล ซ่ึงในแบบสมั ภาษณจะมี ขอคําถาม ท่ีผูเก็บรวบรวมขอมูลหรือผสู มั ภาษณใชเ ปนแนวทางในการซกั ถามและพดู คุยกบั ผูใ หส ัมภาษณ พดู ใหงายก็คือ การสัมภาษณตองมีคนถามและคนตอบ คนถามใชแบบสัมภาษณที่เขียน คําถามไวแลว ขณะสัมภาษณ อาจถามและตอบกันแบบปากเปลา คนตอบเลาใหฟง สวนคนถามก็จดไว เปน หลกั ฐานกนั ลืม หรอื อาจใชการบนั ทกึ เสยี งดว ยวธิ กี ารตา ง ๆ ท่ีทําไดโดยมีการขออนุญาตบันทึกเสียง ในขณะพดู คยุ จดตามไป แลวเขียนอีกครั้งหนึ่งหลังการซักถามพดู คยุ จบลง  กจิ กรรม  ลองทบทวนวาวิธีการเก็บขอมลู โดยการสัมภาษณเปน อยา งไร แลวบันทกึ ยอ เฉพาะเรื่อง สําคัญทีค่ วรจดจําไวใ นสมุดหรือกระดาษ มีโอกาสเม่อื ใดใหเลาส่งิ ที่เรียนรใู หก บั เพอื่ น ๆ ฟงบาง จง เชอ่ื มั่นวา ใครกต็ ามเม่ือรอู ะไรแลว สามารถบอกคนอื่นได จะยง่ิ ชวยใหเ ขา ใจและจดจําไดต ลอดไป เพราะเม่ือเราเผ่ือแผความรูใ หก ับเพือ่ น เพอ่ื นก็จะใหส่งิ เหลานกี้ ลบั คืนมาแกเ ราเชนกัน  เก็บบนั ทึกยอไวใ หครผู ูสอนตรวจสอบ  21

การเกบ็ ขอมลู โดยการสัมภาษณจาํ แนกไดตามความเหมาะสมกับงานที่ตองการศึกษา ดังนี้ ภาพการตนู ชายวยั กลางคนกําลังจดขอ ความ สัมภาษณเปนรายบุคคล ผถู ูกเลอื กถอื วา ลงบนกระดาษ สว นหญิงสูงวัยใสแวน รปู รา งอว น เปน กลมุ ตัวอยา งท่ีเปนตัวแทนของ กําลงั เลาเร่อื งราว ตามองผชู ายทก่ี ําลงั เขียนขอ ความ ประชากรที่จะศึกษาหรือเรียกใหงายวา เปนตัวแทนของเร่อื งท่ีตองการรู ภาพการตนู ชายคนเดิมกําลงั พูดกับผูชายอายุ สัมภาษณผ ูรูท ี่ใหข อ มูลหลักหรอื ขอมลู 50 ป แตงกายภมู ิฐานที่นั่งอยูในหอ งทาํ งานท่ี สาํ คญั ซึง่ คนอ่ืนไมรู เปนบุคคลที่แตกตาง มีชน้ั หนงั สอื และกองเอกสาร จากคนอ่นื มีความรอบรูขอมูลตาง ๆ ใน เร่ืองทผี่ ูส ัมภาษณต องการ เพราะเปนการ สมั ภาษณที่เจาะลึก ไดแ ก ปราชญชาวบา น นักวิชาการ นักธุรกจิ ผูนาํ ทอ งถิน่ ฯลฯ ภาพการต ูนชายคนเดมิ นงั่ ลอ มวงกบั ชาวบา น สัมภาษณเ ปนกลุม เพื่อหาขอมูลจากกลุม ทั้งหญิงและชาย 8 คน ชาวบา นคนหนึ่งกาํ ลงั บคุ คลท่ีใหขอมลู เกี่ยวกับเร่ืองที่ตอ งการ พดู ชายคนเดิมกม หนาจดบนั ทึก ศกึ ษา วธิ ีการแบบนอี้ าจเรยี กวา ซักถาม หรอื สนทนากลมุ ทกุ คนออกความเหน็ และ ซักถามไดอยางเสรี  กจิ กรรม  รวมกลมุ โดยชวนเพ่ือนอกี 2 คน มาพดู คยุ เกี่ยวกบั การเก็บขอมลู 3 แบบ คือ สัมภาษณ เปน รายบุคคล สมั ภาษณผูร ทู ่ีใหขอ มูลหลกั และสมั ภาษณเปน กลุม เม่ือทบทวนจนเขาใจแลว แตละคน เลือกวิธกี ารสัมภาษณค นละแบบ แลวทดลองหมนุ เวียนกันเลา ใหเพอื่ นในกลุมฟง จนครบทั้ง 3 แบบ 22

ขนั้ ตอนเตรียมการเก็บขอ มลู โดยการสัมภาษณ 1. เตรียมตัวผสู มั ภาษณ นัดประชุมชี้แจงให เขา ใจแบบสมั ภาษณ และทสี่ ําคญั ตอง เขาใจทั้งดานภาษา วัฒนธรรมและ ประเพณขี องทองถ่นิ รวมถงึ ผใู ห สมั ภาษณ และสถานทท่ี าํ การสัมภาษณ 2. ทําหนังสือขอความรวมมือ กาํ หนดวนั เวลา และสถานท่ี ซงึ่ จดั เตรียมไวเ พ่อื การสมั ภาษณแ ละอยา ลมื ตรวจสอบให แนช ดั วา ตดิ ตอประสานงานครบถว นแลว ภาพการตูน 3. เตรยี มวสั ดุอุปกรณที่ตอ งใชในการสัมภาษณให ดินสอแหลมใสไวใ นแกว นา้ํ พรอ มใชงาน เชน ดินสอ ปากกา กระดาษ ปากกาอยใู นแกว เปน ตน กระดาษวางเปนปก 4. ข้นั สงแบบสมั ภาษณใ หผูใ หขอมลู ไดท าํ ความ ฯลฯ เขา ใจและเตรยี มตัวใหพ รอมกอ นการสัมภาษณ 23

ภาพการต ูน ผชู ายอายุ 30 ป (ภาพครึ่งตวั ) 5. ข้นั การสัมภาษณ แสดงทา แนะนาํ ตนเอง ผูหญิงอายุ 25 ป ชี้แจงวัตถุประสงคในการเก็บขอมูล คนเดิมฟงอยางต้งั ใจ บอกความสําคัญของตวั ผูใหส มั ภาษณ เพอื่ กระตนุ ใหไดข อมลู ทีเ่ ปนจรงิ  บอกประโยชนจากการเก็บขอมูลและผลกระทบ ทจ่ี ะเกิดขน้ึ เพื่อจะไดข อมลู ท่ถี ูกตองและ ครบถวน  พยายามใหผ ูใหสมั ภาษณบ อกขอมลู มากทีส่ ดุ โดยใชภ าษาสุภาพ ไมถ ามนํา แตพ ยายามให ไดคําตอบตามประเด็นที่ตองการ  ขน้ั บนั ทกึ ผลการสัมภาษณ ภาพการต ูน หญงิ สาวอายุ 25 กาํ ลังนงั่ บนั ทึกผล การสมั ภาษณม กี ระดาษบนั ทกึ หลายแผน อยบู น โตะ มอื ขวาถอื ปากกา เหนือศีรษะภาพแสดง เหตกุ ารณต อนสัมภาษณ มือซา ยทา วคาง ทาทางครนุ คดิ ขณะสัมภาษณอ าจบนั ทกึ ไดไมค รบถว น จงึ ตอ งทบทวนผลการสมั ภาษณอ กี คร้งั หลัก ปฏิบตั ิในการทบทวนผลการสมั ภาษณท ีต่ องจดจาํ นาํ ไปใช มดี ังน้ี  ควรบันทึกผลทนั ทีระหวางการสมั ภาษณ หรือหลังจากสมั ภาษณผา นไปไดไ มน าน เพราะจะไดไมห ลงลมื หรือไดข อ มลู ที่คลาดเคลื่อนไปจากความเปนจรงิ  ควรบันทึกผลตามจริงเทานั้น และตองไมเพิ่มความคิดเห็นของผูสัมภาษณเขาไป 24

 ขน้ั สิ้นสุดการสมั ภาษณ ดูความถูกตองของขอมูล  ขอบคุณผูใหส ัมภาษณทีช่ วยใหข อมูลท่เี ปน ประโยชน  กจิ กรรม  ชวนเพอ่ื น 1 คน ชว ยกนั ทบทวนและพดู คุยเกย่ี วกับขั้นตอนการเกบ็ ขอมลู โดยการ สมั ภาษณ จากนั้นสรปุ ยอลงในสมุดหรือกระดาษ พยายามหาโอกาสเลา ผลสรปุ เร่ืองนใ้ี หเ พ่ือนคนอื่นฟง  เกบ็ สรปุ ยอ ไวใหครผู ูสอนตรวจสอบ  อยา ลมื วา การเรียนรูเรื่องใดก็ตาม ถาไดทบทวนบอยครั้ง และพูดคุยแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ กบั ผูอนื่ ยอ มเปนการเพ่มิ พูนความรูใหมากย่งิ ข้นึ วธิ กี ารจัดเกบ็ ขอมูลนอกจากการสังเกตและการสัมภาษณ ก็ยงั เก็บขอมูลไดโดยการ สํารวจ การสอบถาม และการรวบรวมขอมูลที่ผูอื่นรวบรวมไวแลว 25

การเก็บขอ มูลโดยการสาํ รวจ ภาพการตูน ชายอายุ การสํารวจเปนการออกไปเก็บขอมูลจาก 40 ป ผอมแหง ใสแวน ใสห มวก สถานทจ่ี ริง เชน ถาตองการรูขอ มลู เก่ยี วกบั ทลี ะแพตนื้ ง ทตี่ แวั ลเทว น ถําขืออแมวู น ขยาย แมลงที่ทําลายตนขาวในนา ก็ตองสํารวจไป มอื ขวา กม ลงมองด ทีละพ้นื ท่ี แลวนําขอ มูลท่ไี ดมาปรับปรงุ วธิ ี การกําจัดแมลงที่ทําลายตนขาว ขณะสํารวจก็ตองบันทึกขอมูลไวใหชัดเจน เพราะขอมูลที่ไดมาจากนาขาวแตละแปลง ตองรวบรวมไวเพื่อวเิ คราะหวิธีในการกาํ จัดและทําลายแมลงที่เปนศัตรูขาว  กจิ กรรม  หาเวลาวาง มองไปรอบ ๆ ตัว แลวลองคิดวาจะสํารวจอะไรบาง และมีวธิ กี ารสาํ รวจ อยางไร คงเดาไดวา เราตองมีแบบสํารวจ โดยเขียนประเด็นที่จะสํารวจไวลวงหนา และบันทึกสภาพที่ พบเหน็ ขณะทําการสาํ รวจ ขอมลู เหลานี้จะใชเ พื่อการวิเคราะหต อไป หาโอกาสเลา เรอ่ื งการสํารวจใหเพอ่ื น ๆ ฟง และลองสอบถามวาเพ่อื นเคยสาํ รวจอะไร มาบาง เพอื่ เปนการแลกเปลี่ยนประสบการณกัน 26

การเกบ็ ขอ มลู โดยการสอบถาม การเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสอบถาม เปนการเก็บขอมูลจากประชากร หรือกลุม ตัวอยางที่ศึกษาโดยใชแบบสอบถาม ซึ่งหมายความวา เรามีแบบสอบถามใหคนที่เราตองการรูขอมูลตอบ กลับมา การเก็บขอมูลอยางนี้ ทําได 4 วธิ ี ดังน้ี ภาพการต ูน ผูชายอวนเข็น  สงแบบสอบถามทางไปรษณีย และ รถเข็นสงของที่มซี องจดหมาย และกําหนดระยะเวลาสงแบบสอบถาม เปน มดั ๆ มาท่ตี ูไปรษณยี  ทต่ี อบแลวกลบั คืน ใชวธิ นี ถี้ าผตู อบอยู แสดงทา ทางเขน็ ดว ยความ หา งไกล คน หาหรือติดตามไมส ะดวก เหนอ่ื ยมเี หงือ่ กระเด็นจาก ใบหนา ภาพการตนู ผูช ายอวนคนเดมิ  สงแบบสอบถามใหกับมือผูตอบ และ กอดแบบสอบถามทพ่ี บั ไว กาํ หนดวธิ กี ารรวบรวมเพ่ือสง คนื หรือ ดา นซา ย สว นมอื ขวาถอื แบบ ใหเ วลาผตู อบแลว สงคนื ทางไปรษณีย สงออกไปมีภาพมอื คนย่ืนมา ขอรบั โดยรอบมากมาย เหงือ่ ตก 27

ภาพการต นู ผชู ายอวนคนเดมิ  ฝากผูนาํ ทอ งถิ่น ไปแจกจายใหถึงมอื นง่ั อยบู นแครไมไผท างขวา ผูตอบแบบสอบถามแลวรวบรวมสงคนื ผใู หญบ า นมผี า ขาวมาคาดพงุ น่งั หรอื ใหเวลาผูต อบแลว สงคนื ทางไปรษณีย อยูทางซา ยตรงกลางแคร มีกอง จดหมาย ผชู ายอวนยกมือไหว ขอบคุณ ภาพการตูน ผูชายอวนคนเดมิ  ขอความรวมมือเจาหนาที่ในพื้นที่แจกแบบ ยกมดั แบบสอบถามสงให สอบถาม และรวบรวมสงกลับคืน หรือ เจาหนาทีอ่ นามยั ผูหญงิ หนวยงานเจาของแบบสอบถามไปเก็บแบบ เจา หนาทเี่ ออื้ มมอื ไปรบั ในภาพ สอบถามจากเจาหนาทใี่ นพืน้ ท่ซี งึ่ รวบรวม มปี า ยเขยี นวา “อนามัย” ไวแ ลว  กจิ กรรม  ขอใหทบทวนวิธีเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามดวยการชวนเพื่อนอีก 1 คน มาจับคูกัน แตล ะคนเลือกทบทวนวธิ ีเกบ็ ขอ มลู คนละ 2 วิธี เม่ือเขา ใจดีแลว ผลัดกนั เลาใหเ พอ่ื นฟง ขอใหนึกเสมอวา ยงิ่ เลาใหเพ่ือนฟง หลายครง้ั เทาไหรค นเลากจ็ ะจําไดแมนยิ่งข้นึ เทานั้น ถายงั ไมเ หนือ่ ยจนเกินไป มารูจ กั วธิ กี ารจัดเก็บขอ มลู ท่จี ะฝากไวเ ปน วิธีสุดทา ยกันเลย 28

การรวมรวบขอมูลที่ผูอื่นรวบรวมไวแลว ภาพการตูน ผูห ญงิ ผอมบาง 25 ป ใสแวน ผมชีเ้ หมือน ขนหวั ลกุ นง่ั อา นหนงั สือ มกี องหนงั สอื อยบู นโตะ สงู ทว มหวั บางสว นวางบนโตะ ขา ง ๆ การรวบรวมขอมูลทีผ่ ูอื่นรวบรวมไวแลว เปนการรวบรวมขอมูลที่เสียคาใชจายนอย เพราะคนอื่นลงทุนทั้งสมอง เวลา และเงินแลว เชน อยากรูข อมูลเกีย่ วกับสมุนไพร ก็หาขอมูลโดยการ อานหนังสือที่เกี่ยวกับสมุนไพรที่มีผูเขียนไวหรือรวบรวมไวแลว นอกจากนี้ยังหาอานไดจากวารสาร นติ ยสาร และแหลง ขอ มลู ท่มี ีผนู ิยมใชค น หาขอ มลู มากท่ีสดุ คอื การ คน หาจากอนิ เทอรเ นต็ เพราะสะดวก รวดเร็ว มขี อ มูลทห่ี ลากหลาย และเสียคา ใชจายไมมาก ภาพการตนู ชาย หนุม 30 ป เหน็ เฉพาะใบหนาและ ขอ ควรระวงั : ขอมูลจากอินเทอรเน็ตอาจมีผิดพลาดบาง ควรตรวจสอบกับแหลงขอมูลอ่ืน ๆ ดวย 29

 กิจกรรม  อานทบทวนเรื่องการรวบรวมขอมูลที่ผูอื่นรวบรวมไวแลวอีกครั้งหนง่ึ แลวเลาใหเพ่ือน ฟง จากน้นั คยุ กันเร่อื งผลดีและผลเสยี ทอี าจเกิดขึน้ ได จากการคนหาขอมูลทางอนิ เทอรเ นต็ แลวสรปุ ยอ ลงในสมดุ หรอื กระดาษ  เก็บสรุปยอ ไวใ หค รผู ูสอนตรวจสอบ  30

เร่อื งท่ีนา สนใจอกี เร่ืองหน่งึ คอื เทคนิคการวเิ คราะหข อมูล ขอมูลที่เก็บรวบรวมมาไดเปนจํานวนมากและหลากหลายกันไปนั้น จําเปนตองนํามา วเิ คราะหกอนใช เมื่อพูดถึงคําวา “วเิ คราะห” ก็คงตองดูที่ความหมายกันกอน “การวเิ คราะห” หมายถึง การศึกษา คนควา ดวยความละเอียดและรอบคอบในเร่อื ง ตา ง ๆ ทเี่ กิดขนึ้ ตรงตามความตอ งการท่ีจะนําไปใช โดยลกั ษณะของขอ มูลและสถิติตา ง ๆ เปน การเรยี นรู ดวยการเก็บรวบรวมขอมูล การจัดหมวดหมูขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการแปลความหมายของ ขอมลู ขอ ใหน กึ อยเู สมอวา “การวเิ คราะหข อมลู ” หมายถึง การดําเนินการเพื่อสรุป ความสําคัญของขอมูลที่จะนําไปใช ใหตรงตามความเปนจริงตรงตามความตองการ จากนั้นจึงจะ นําไปใชได 31

 กจิ กรรม  รวมกลุม เพื่อน 4-5 คน เพื่อทบทวนคําวา “การวเิ คราะห” และ “การวิเคราะหขอมูล” หมายถึงการดําเนินการเพื่อสรุปความสําคัญของขอมูลที่จะนําไปใช ใหตรงตามความเปนจริงตรงตาม ความตองการ จากนั้นจึงจะนําไปใชได  กจิ กรรม  รวมกลมุ เพื่อน 4-5 คน เพื่อทบทวนคําวา “การวเิ คราะห” และ “การวิเคราะหขอมูล” ถาตอ งการเรียนรูเพมิ่ เตมิ อาจพูดคยุ กบั ผรู ู หาหนังสือมาอาน หรือคน หาความรูเพิม่ เตมิ จากอนิ เทอรเ น็ต ชว ยกันสรุปยอ เพ่ือเตือนความจาํ จากนน้ั เลอื กตัวแทนจากกลุมเพ่อื น 1 คน เพื่อเลาถึงสรุปความรู เพมิ่ เตมิ ท่หี ามาได เพอ่ื นในกลมุ คนอน่ื อาจซกั ถามขอสงสยั หรอื อธบิ ายเพ่ิมเตมิ ก็ได การแลกเปลี่ยน ความรูกัน จะชวยใหความรูแตกฉานมากขึ้น ขอใหทุกคนในกลมุ มสี ว นรว มและกลา แสดงออก  เกบ็ สรปุ ยอไวใ หครผู ูสอนตรวจสอบ  เทคนิคการวิเคราะหข อมลู นั้น จาํ เปนตองมีหลกั เกณฑใ นการเลอื กหัวขอเพื่อการ วิเคราะหซึ่งตองนึกถึงองคประกอบ 5 ประการทสี่ าํ คัญดงั นี้  ความสําคัญของปญหา ปญหาบางเรื่องที่เกิดขึ้นอาจเปนขอมูลสวนนอยเทานั้น ไมไดมีความสําคัญมาก พอที่จะนํามาวิเคราะห  ความเปนไปได ขอมูลบางเรื่องที่เก็บรวบรวมมาไดอาจเปนแคความคิดที่เลื่อนลอย จะคิดหา หนทางอยางไรก็เปนไปไมได  ความนา สนใจและทนั ตอ เหตกุ ารณ ขอมูลบางเรื่องไมไดเปนที่สนใจของผูคนทั่วไป อาจนาสนใจเฉพาะสําหรับคน บางกลุม นอกจากนี้ขอมูลบางเรื่องก็ไมควรเลือกมาวิเคราะห เพราะชาเกินไปและไมทันใชงานแลว  ความนาสนใจของผูวิเคราะห ผูทจ่ี ะทาํ การวิเคราะหอาจไมส นใจขอมลู บางเรื่องที่เก็บรวบรวมมา เปนธรรมดา ทีว่ า ใครกต็ ามไมส นใจเร่ืองใด ยอมไมค อยมคี วามรลู ึกซ้ึงในเร่ืองนนั้ จึงไมน า จะเลือกหวั ขอน้ัน ๆ มา วเิ คราะห 32

 ความสามารถที่จะทําใหบรรลุผล ขอมูลที่เก็บรวบรวมมา อาจเปนเรื่องที่วิเคราะหออกมาแลว มองไมเห็น ความสาํ เรจ็ ซง่ึ คาดวาจะเกิดขึ้น อาจเปนปญหาหรือเปน เรื่องทย่ี ากเกนิ กวาจะแกไ ขใหสําเร็จได หลักเกณฑท ไ่ี ดรูจกั กันไปแลวน้ี ตองนาํ มาคดิ พจิ ารณาใหรอบคอบ กอ นที่จะเลือก หวั ขอมาวิเคราะห เพราะสงิ่ เหลา นี้คอื เทคนคิ สาํ คญั กอ นท่ีจะเลอื กวิเคราะหข อ มูล  กิจกรรม  ชวนเพื่อนสักคนมาทบทวนเรื่องราวเกีย่ วกับเทคนิคการวิเคราะหขอมูลดวยกัน คอย ๆ พยายามคิดตามและทําความเขาใจไปพรอมกัน ขอใหทองไวในใจวา “ไมมีอะไรทีย่ ากเกินเรียนรู” เรื่องท่ี คิดวายาก ก็ควรใชเวลาทบทวนซ้ําหลายครัง้ ถาครัง้ นี้ยังไมเขาใจ ตอไปก็คงเขาใจได ความตัง้ ใจจริงเปน สิง่ สําคัญทีส่ ุด เมือ่ เขาใจแลว หาความรูเ พิม่ เติมจากผูร ู อานจากหนังสือ ตํารา หรือคนควา จาก อินเทอรเ น็ต จากนั้นชวยกนั สรปุ ยอเฉพาะเร่ืองสาํ คัญ  เก็บสรปุ ยอไวใ หครูผสู อนตรวจสอบ  ถาเหนอ่ื ยหรือรสู กึ สมองลา หยดุ พักแลวคอ ยกลับมาเรียนรู บทที่ 3 ตอไป 33

บทที่ 3 การวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม และการนาํ ไปใชใ นชีวติ ประจาํ วัน การพัฒนาตนเอง ชุมชน และสงั คมเพอ่ื ใหเ กิดประโยชนในชีวติ ประจําวนั จําเปนตอ งมี การวางแผนท่ีดี ภาพการตูน ภาพการตูน ภาพการตูน ใบหนาชายหนุม 25 ป กาํ ลงั ใบหนาชายคนเดมิ คดิ ถงึ ใบหนา ชายคนเดิมคดิ ถึง คดิ ถงึ ตนเองในอนาคตท่ีลอย ชมุ ชนในอนาคต (ภาพเขา สังคมในอนาคต (ภาพ อยูเหนือศรี ษะ (ภาพครง่ึ ตวั กาํ ลงั ตรวจคนไขท่ีอนามยั มี โรงพยาบาลมีรถพยาบาล ใสเสอื้ กาวนและมหี ฟู ง แสดง คนไขร อตรวจอีก 2-3 คน) จอดอยู มีปา ยช้ไี ปฉกุ เฉิน) วาเปน หมอ) กอนอ่ืน มารจู กั แผนพัฒนาตนเองกันเปน อยา งแรก แผนพัฒนาตนเอง เปน แผนท่ีคนใดคนหนง่ึ หรือกลุม คนหลายคนกาํ หนดข้ึนมา เพ่ือเปนแนวทางปฏิบัติในการเสริมสรางและเพมิ่ พูนลักษณะทีจ่ าํ เปน ใหเ กิด ประสิทธิภาพและเพมิ่ คุณภาพจนไปสูจุดหมายที่ตองการ  กจิ กรรม  ลองนึกดูวา ทา นเคยคดิ วางแผนพัฒนาตนเองอยา งไรแลวเลา ใหเ พอื่ นสนิทฟง หลังจาก เลา ไปแลวยอ นกลับมาตอบตัวทานเองวา เร่ิมทําตามแผนหรอื ยัง และดําเนินการตามแผนไปเพยี งใด กิจกรรมนี้ชวยกระตุนใหม กี ารพฒั นาตนเองอยเู สมอ ไมลาหลัง สามารถกาวไปขางหนา อยางมั่นคงและตอเนื่องตลอดเวลา ควรมองภาพอนาคตไดวา การวางแผนพัฒนาตนเอง จะเปนรากฐานที่ดีที่จะนําไปสูการ วางแผนพัฒนาชุมชนและการวางแผนพัฒนาสังคมในที่สุด 34

การใชข อมลู จากการวิเคราะหเพ่อื วางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม การวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม จําเปนตองใชขอมูลจากการวิเคราะหมา ชวยตดั สนิ ใจเลือกเรื่องที่จะพัฒนา เราอาจตองการพฒั นาหลายเร่ือง แตขอ มลู จากการวเิ คราะหจ ะชว ยใน การจัดลําดับความจําเปนวาเรื่องใดควรเลือกมาพัฒนากอน และเรื่องใดควรรอไวพ ัฒนาภายหลงั ได รวมทั้งตองดูความเปนไปไดที่จะพัฒนา ภาพการตนู ชายหนมุ 25 ป (ครง่ึ ตัว) กอดอก แผนพฒั นาตนเองกาํ หนดไดจากเหตุและผล เหน็ มือขางหนง่ึ ยกหัวแมโ ปง เหนอื ศรี ษะ ในการพัฒนา มีการกําหนดเปาหมายที่จะ กําลงั คิดมีขอ ความ : พฒั นา และมองภาพในอนาคตวา จะไดรบั ความสําเร็จไดอยางไร หลังจากนั้นจึงคิดหา แผนที่พฒั นาตนเอง วธิ ีการพัฒนารวมไปถึงปจจยั หรอื สง่ิ ตา ง ๆ 1. ...................................................... 2. ..................................................... ที่ชวยใหประสบความสําเร็จ 3. ....................................................  กิจกรรม  ชวนเพอ่ื น 2 คน มารวมพูดคุยและทบทวนเรื่องการใชขอมูลจากการวิเคราะหเพื่อ วางแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน และสงั คม วา ตอ งทําอยางไรบาง ไดข อสรุปรวมกนั แลว เลอื กผแู ทน 1 คน พูดสรุปใหฟ ง อกี ครง้ั สว นอีก 2 คน ถา มแี นวคดิ เพ่มิ เตมิ ขอใหพ ดู ไดอยา งอิสระ กิจกรรมนช้ี วยใหท ุกคนในกลุม ไดฝกคดิ ฝก การมีสวนรวม รจู กั การแสดงออก และใจ กวาง ยอมรับความคิดเห็นของสมาชิกในกลุม 35

ภาพการตูน ผชู าย 30 ป (คร่ึงตวั ) อยกู ลางภาพ กําลังโอบไหลเทวดา มปี กและ รศั มีเหนือศีรษะ สว นแขนอกี ขางหน่ึงเหยียดไปผลกั ซาตาน มเี ขา ถอื จน เซไปไกลจากผชู ายกลางภาพ การพัฒนาเปนการกําจัดขอบกพรองใหหมดสิ้นไป ซึ่งตองใชความพยายามเปน อยางมาก รวมทั้งตองเอาใจใสอยางจริงจัง จึงจะสามารถพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชนไดตามแผน ทกี่ ําหนด  กจิ กรรม  รวมกลมุ เพื่อน 6 คน เลอื กเพ่ือนคนหนึ่งเปนตัวแทนกลุมท่จี ะเปนผกู ําหนดแผนพัฒนา ตนเอง ตัดสนิ ใจวา จะเลือกพฒั นาเรอ่ื งใดกอน คาดวา จะมีปญ หาอะไรเกิดขึ้นบาง และควรทําอยางไรให ประสบผลสาํ เร็จ เม่ือชว ยกันคดิ จนไดผ ลสรุป ใหเลอื กผทู ี่จะสรปุ เร่ืองราวเลา ใหสมาชิกในกลุมฟง ขาด ตกบกพรองตรงไหน เพื่อนในกลมุ ชวยเพ่มิ เตมิ ให กจิ กรรมน้ี ชว ยใหส มาชกิ กลมุ ไดฝ กคดิ อยางเปนระบบ รูจักแบงปนประสบการณใ ห แกก นั ฝกความกลาคดิ กลาแสดงออก และการยอมรบั เหตุและผลของสมาชกิ ในกลมุ 36

การนําแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ไปใชในชีวิตประจาํ วัน มนุษยทุกคนที่อยูในชุมชนและสังคม สามารถนําแผนพัฒนาตนเองไปใชใน ชีวติ ประจาํ วนั ได ไมว าจะมีอาชีพใดหรอื ฐานะเปนอยา งไร ขอสําคัญเมื่อใชชีวิตประจําวันตามแผนพัฒนาตนเองแลว ตองมีการติดตามผล ประเมินผลดูวาตนเองกําจัดสิง่ ไมดี สิ่งทีไ่ มตองการออกไปจากชีวิตไดหรือไม เพราะทุกคนกําหนดไว แลววาจะทําอะไร ใหไดผลเมื่อไหร อีกกีว่ ัน กีเ่ ดือนขางหนา ยังมีอะไรทีเ่ ปนปญหาและอุปสรรคอีกบาง จะแกไขหรอื ปรับตนเองอยางไรใหก า วพนขอ จํากัดเหลา นนั้ ไปได  กจิ กรรม  แตล ะคนลองคดิ ดูวา ขณะนีไ้ ดใชชีวติ ประจาํ วันไปตามแผนพฒั นาบคุ คลไดแคไ หน อยา งไร จากน้ันเลอื กเพ่ือน 1 คน เพอื่ ผลดั กันเลา เรือ่ งราวท่ีเกิดขนึ้ อยา ลมื วา การทาํ แผนพัฒนาตนเอง อาจเปนเรื่องงายสําหรับบางคน แตสําหรับอีกหลาย คนอาจเปนเรื่องยาก ซึ่งตองใชความพยายามเพิ่มมากขึ้น ฝกวินัยในตนเองอีกนิด เพิ่มความอดทนและมี ความเสมอตนเสมอปลายอีกหนอย การชื่นชมเพื่อนจะเปนการใหกําลังใจ ชวยใหคนที่กําลังพยายามทํา ตามแผนพัฒนาตนเองหายเหนอ่ื ยไปไดบ า ง ในขณะที่ทุกคนทําตามแผนพัฒนาตนเอง ยอมสง ผลดีตอแผนพฒั นาชุมชน และสังคม ตามไปดว ย เกิดผลกระทบในทางที่ดตี อ ชุมชนและตอ สังคมโดยรวม นอกจากนี้ยังเปนตัวอยางทีด่ ใี หก ับ ผูคนรอบขางในชุมชนและสังคม 37

จงเชือ่ เสมอวา ธรรมชาติของมนุษยทกุ ผูทุกนามเปนผทู ี่ใฝดี และทุกคนจะคดิ แตส่งิ ดี ใหกับตนเอง มีความพรอมที่จะพัฒนาตนเองใหเปนไปในทางที่ถูกที่ควร ประสบการณเปนสิ่งที่สอน มนษุ ยใ หร จู ักปรบั ตัว และสนใจทจ่ี ะเรียนรูและพฒั นาตนเองตอไปไมม วี ันสนิ้ สุด การมีสว นรว มผลักดันแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม ใหเปน ที่ยอมรบั แผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชนและสงั คมจะเปนทย่ี อมรบั ไดถ าทุกคนมีสวนรวมผลกั ดันให เกิดข้ึน การมสี ว นรวม เปน คําทย่ี ิ่งใหญท จ่ี ะชว ยใหเ รอื่ งยากกลายเปน เร่ืองงา ย แตกอนอ่ืนควรดูวา แผนพัฒนา ตนเองมีประโยชนอยางไร ประโยชนของแผนพัฒนาตนเองคอื  รูข อ ดีและขอบกพรองของตนเอง หรือรูจ ุดเดน จุดดอย ของตนเอง  แผนพฒั นาตนเองเกิดขน้ึ จากความตอ งการและความพรอ มของผจู ดั ทําแผนโดยตรง  มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน  มีเปาหมายในการพัฒนาตนเอง  มีการพัฒนาตนเองอยางเปนระบบ เมื่อผูคนยอมรับและเขาใจถึงประโยชนของแผนพัฒนาตนเองก็จะนําไปสูก ารผลักดันใหมีการใชแผน เหลานี้ ซึง่ แผนพัฒนาชุมชนจะเปนแนวทางการพัฒนาและแกไขปญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน โดยผาน กระบวนการคิด การตดั สนิ ใจโดยชุมชนเอง ตา งคนตางรว มกนั คน หา รว มกันเรยี นรู มกี ารสาํ รวจและ วิเคราะหขอมูลภายในชุมชน จัดทําแนวทางพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับความพรอมของชุมชนอยาง ชัดเจน ซงึ่ แผนพัฒนาชุมชนมักเนน ท่ี การสรางรายไดใ หก ับชุมชน การยกระดับคุณภาพชีวิตของผูคนใน ชุมชน และการฟนฟูดูแลทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งสิ่งแวดลอมภายในชุมชน 38

 กิจกรรม  ใชเ วลาเพอ่ื คดิ ดูวา ตวั ทา นเองมีสว นรว มผลกั ดนั แผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสงั คมให เปนที่ยอมรับภายในชุมชนและสังคมของทานเพียงใด จากนั้นรวมกลุมเพื่อน 6 คน ชวยกันคิดทบทวนวา ในชมุ ชนทที่ า นอาศัยอยนู ั้น ผูคนใหความรวมมือในการผลักดนั ใหเกดิ การพัฒนาเรอื่ งใดในชุมชนบาง ขออาสาสมัครภายในกลุม 1 คน ชวยเลาเรื่องราวทสี่ รุปไดภายในกลุมอีกคร้ังหนงึ่  กจิ กรรม  ชวนเพื่อนมาพูดคุยเกี่ยวกับหลักการพัฒนาชุมชนในเรื่องความคิดริเริ่มใหมาจาก ประชาชน เรื่องการมีสวนรวมของประชาชน และเรื่องการพึ่งพาตนเอง พยายามพูดขยายความใหไ ด รายละเอียดตามที่เขาใจมากที่สุด เรื่องบางเรื่องถาเขาใจสภาพที่เปนอยูอยางถองแท อาจอธิบายรายละเอียดตาง ๆ ไดเอง ตามความเขา ใจ และถาตองการรูเพ่ิมเตมิ ก็อาจพดู คยุ แลกเปลีย่ นประสบการณก บั ผูสูงอายใุ นทองถิน่ ที่มกั มสี ว นรว มในการพฒั นาทองถน่ิ และชุมชนในดา นตา ง ๆ หรืออาจพูดคยุ กับเจา หนาท่ซี ่ึงทาํ หนาทพี่ ัฒนา ชมุ ชนก็จะไดร ายละเอยี ดตางๆ เพมิ่ เตมิ เปนอยา งดี การมีสว นรว มของประชาชน หลักการสรางการมีสวนรวมของประชาชน แบงไดเปน 5 ระดับ คอื  ใหขอมูลขาวสาร เปนการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรว ม  รับฟงความคิดเหน็ ผานการสาํ รวจความคิดเห็น การรับฟงความคิดเห็น การจัดเวที สาธารณะ และการแสดงความคิดเห็นผานเว็บไซต ฯลฯ  ความเกี่ยวของ เปดโอกาสใหประชาชนรวมปฏิบัติงานชุมชน รวมเสนอแนะ แนวทางเพ่ือการตัดสนิ ใจ ความรวมมือ ใหประชาชนไดเปนผูแทนหรือเปนกรรมการในคณะกรรมการของ ชุมชน  เสรมิ อํานาจใหประชาชน โดยใหป ระชาชนเปนผูตดั สนิ ใจ เชน ใหมกี ารลง ประชามติเรื่องที่เปนประเด็นสาธารณะตาง ๆ ในชุมชน รวมทั้งเรื่องโครงการกองทุนหมูบานที่ใหอํานาจ ประชาชนในพืน้ ท่ีเปนผูตัดสินใจทั้งหมด 39

 กิจกรรม  ชวนเพอ่ื น 3 คน มารวมกลุมเพื่อทบทวนเรื่องหลักการสรางการมีสวนรวมของ ประชาชนในพ้นื ที่ เมื่อชว ยกันสรุปแลว หาอาสาสมคั รเปนผูแทนเพ่ือเลาเร่ืองราวใหเพื่อนกลุมอื่นฟง กิจกรรมนี้เปนการฝกการมีสวนรวมของสมาชิกกลุม รวมกันทบทวน รวมกันทําความ เขา ใจ รวมกันอธบิ ายใหแกกนั และรวมกันสรุปยอ เมื่อทุกคนไดฝกการทํางานรวมกัน แตละคนจะไดรับโอกาสในการพัฒนาความคิด ความมีเหตุมีผล พรอมที่จะรับรูขอมูลตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอตนเอง ชุมชน และสังคม ไดรับการ พฒั นาใหค ิดดีและมจี ิตใจดี เปนคนที่มีคุณภาพ ซง่ึ คุณลกั ษณะเหลา น้ีเปนรากฐานของสังคมประชาธปิ ไตย และเปนกลไกสาํ คัญในการพัฒนาประเทศชาติ กอ นผา นการเรียนรเู ร่ืองการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม ขอชื่นชมทไี่ ดใชเ วลาใน เร่ืองนีอ้ ยา งเต็มท่ี เร่ืองบางเร่ืองจะเรียนรูได ตองอาศัยใจมากอ น จากน้นั ตามดว ยความรูสึกนึกคดิ ที่ดี เมอื่ เขา ใจอยา งถองแทและยอมรับสภาพที่เปนจรงิ ของมนษุ ยแลว เราจะรูสึกไดว า การเรยี นรูเรื่องน้ีไมยาก อยา งท่คี ดิ 40

บรรณานกุ รม การพฒั นาตนเองของครสู คู วามเปน เลิศ. http://202.143.146.195/km/index.php?option=com_ Content & task = view & id = 983 & Itemid = 57. คนเมอ่ื 2 มีนาคม 2553. การมีสวนรว มของประชาชน. www.moph.go.th/opdc/data. คนเมือ่ 2 มีนาคม 2553. การวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม. www.nonthaburi.go.th/Strategy/KPI_tem51_6M/2.1.doc. คนเม่ือ 2 มีนาคม 2553. เทคนคิ การวิเคราะหขอ มูล. http://xdhool.ofec.go.th/noonkuschool/multimedia/rabobsarasontes. Php. คนเมื่อ 5 มีนาคม 2553. ประชาชนกับการมีสว นรว มในการพัฒนาสงั คม. http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/soc2/so31-2-4.htm. คนเมอื่ 5 มีนาคม 2553. ระดับการมสี วนรว มของประชาชน. www.portal.in.th/clinictech/news/384/. คน เม่ือ 5 มีนาคม 2553. วิธกี ารเกบ็ ขอมูล. www.moac.go.th/bulider/gsilkkm/images/05Analysis.doc. คน เมอื่ 12 มีนาคม 2553. วิธกี ารจดั เก็บขอ มูล. http ://202.129.1.133/createweb/00000//00000-504.html. คน เมื่อ 12 มีนาคม 2553. วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอมลู . http://webwerv.kmit.. Ac.th/&7065545/unit%201%20-%203.html. คน เม่ือ 12 มีนาคม 2553. หลกั การพฒั นาชุมชน. www.nesdf.go.th/Portals/0/news/plan/p4/m3_8.doc. คนเมอ่ื 12 มีนาคม 2553. หลกั เกณฑการเลือกหวั ขอในการวเิ คราะห. www.moac.go.th/builder/qsilkkm/images/04 Collect.doc. คนเม่อื 12 มีนาคม 2553. 41

ท่ปี รึกษา บญุ เรอื ง คณะผจู ัดทาํ 1. นายประเสรฐิ อิม่ สุวรรณ 2. ดร.ชัยยศ เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รนิ ทร จําป รองเลขาธิการ กศน. ทีป่ รึกษาดานการพัฒนาหลักสูตร กศน. 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ผูอ าํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 5. นางรักขณา ตณั ฑวฑุ โฒ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ผเู ขียนและเรียบเรียง ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา 1. นางกนกพรรณ สุวรรณพทิ ักษ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางชนิดา ดียิ่ง ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ผูบรรณาธกิ าร และพัฒนาปรับปรุง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทักษ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ขาราชการบํานาญ 2. นางชนดิ า ดีย่งิ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ 3. นางพิชญาภา ปต วิ รา ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ 4. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นายววิ ฒั นไ ชย จนั ทนส คุ นธ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 6. นางสาวสุรีพร เจริญนชิ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 8. นางธญั ญวดี เหลา พาณิชย กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 9. นางเอ้ือจิตร สมจติ ตช อบ 10. นางสาวชนิตา จติ ตธ รรม กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท 4. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา ผูพมิ พต น ฉบับ ปทมานนท นางสาววรรณพร ศรรี ัตนศิลป ผอู อกแบบปก นายศุภโชค 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook