Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช 11002)

รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช 11002)

Published by banmolibrary, 2019-02-06 22:01:48

Description: ระดับประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

100 การปอ งกัน โดยการปฏิบตั ดิ ังน้ี 1. หลกั เลย่ี งการสมั ผสั กบั สัตวป ก ทปี่ ว ยเปน โรคอยู 2. ลางมือใหสะอาดดวยน้ําและสบูท ุกครัง้ หลังหยิบจับเนื้อสัตวปกหรือไขดิบ และ อาบนา้ํ หลังจบั ตอ งหรอื สัมผัสสตั ว โดยเฉพาะสัตวป ก ทป่ี วยหรอื ตาย 3. ดแู ลรักษารางกายใหแขง็ แรงเพือ่ เพ่ิมภูมติ า นทานโรค 4. ถามีไข ปวดศีรษะ หนาวสัน่ เจ็บคอ ไอ โดยเฉพาะผูที่คลุกคลีกับสัตวปกทั้งที่มี ชีวิตและไมมีชีวิตควรรีบไปพบแพทย 5. รับประทานอาหารประเภทไกและไขที่ปรุงสุกเทานัน้ งดรับประทานอาหารทีป่ รุง สุก ๆ ดิบ ๆ โดยเฉพาะในชวงที่มีการระบาดของโรค 6. ลางเปลือกไขดวยน้ําใหสะอาดกอนปรุงอาหาร

101 เร่อื งที่ 5 ยาสามัญประจําบาน สาระสําคัญ ยาสามัญประจําบานเปนยาทีป่ ระชาชนทุกคนควรจะมีไวใชในครอบครัว เพือ่ ใชสําหรับ บรรเทาอาหารเจ็บปวยเบื้องตนของสมาชิกในครอบครัว เวลาทีเ่ กิดอาการเจ็บปวย หลังจากนัน้ จึงนําสง สถานพยาบาลตอไป ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั 1. อธิบายสรรพคุณและวธิ ีการใชย าสามญั ประจําบานไดถกู ตอ ง 2. อธิบายถึงอันตรายจากการใชยาสามัญประจําบาน 3. อธิบายถึงความเชื่อท่ผี ดิ ๆ เกีย่ วกบั การใชย า ขอบขา ยเนือ้ หา เร่อื งท่ี 1 หลักการและวิธีการใชยาสามัญประจําบาน เรอื่ งท่ี 2 อันตรายจากการใชย า และความเช่อื ท่ีผดิ เก่ยี วกบั ยา

102 บทที่ 5 ยาสามญั ประจาํ บา น ยาสามัญประจําบานเปนที่ประชาชนทั่วไปสามารถหาซื้อและจําหนายไดโดยไมตองมี ใบอนุญาตจากแพทย ซึง่ องคการเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสุขไดผลิตยาตางๆ ที่มีคุณภาพดี ราคา ถูก และไดมาตรฐานสําหรับจําหนายใหแกประชาชนทั่วไป ยาสามัญประจําบานเปนยาแผนปจจุบันหรือแผนโบราณทีใ่ ชรักษาอาการเจ็บปวยเล็กๆ นอยๆ เชน ไอ ปวดศีรษะ ปวดทอง ของมีคมบาด แผลพุพอง เปนตน หากใชแลวอาการไมดีขึน้ ควรไป ปรึกษาแพทยเพ่ือรับการรกั ษาตอไป ตัวอยางยาสามัญประจําบานควรมีไวไดแก 1. ยาแกป วดแกไ ข 2. ยาแกแพ 3. ยาถาย ยาระบาย 4. ยาสําหรับกระเพาะอาหารและลําไส - ยาลดกรด - ยาธาตนุ าํ้ แดง - ผงนา้ํ ตาลเกลือแร - ทิงเจอรมหาหิงคุ 5. ยาสาํ หรบั สดู ดมและแกล มวงิ เวยี น 6. ยาแกไ อ แกเจ็บคอ 7. ยาสําหรบั โรคผิวหนัง 8. ยารักษาแผล - ยาใสแ ผลสด - แอลกอฮอลเ ชด็ แผล เรอื่ งท่ี 1 หลักการและวธิ กี ารใชย าสามัญประจาํ บาน หลักและวธิ ีการใชย า ยารักษาโรคนนั้ มีทงั้ คุณและโทษดังนั้นเพอื่ ใหเ กิดความปลอดภยั เราควรคาํ นงึ หลกั การใชย าดังนี้ 1. ใชยาตามคําสัง่ แพทย เทานัน้ เพือ่ จะไดใชยาถูกตองตรงกับโรค ไมควรใชยาตามคํา โฆษณา เพราะการโฆษณานั้นอาจแจงสรรพคุณยาเกินความจริง

103 2. ใชยาใหถูกวิธี เนือ่ งจากการจะนํายาเขาสูร างกายมีหลายวิธี เชน การกิน การฉีด การทา การหยอด การเหน็บ เปนตน ซึ่งการจะใชวิธีใดก็ขึน้ อยูก ับคุณสมบัติของตัวยานัน้ ๆ ดังนัน้ กอนใชยาจึง จาํ เปนตองอานฉลาก ศกึ ษาวิธีการใชใหละเอยี ดกอ นใชท กุ ครงั้ 3. ใชยาใหถูกขนาด คือการใชยารักษาโรคจะตองไมมากหรือนอยเกินไป ตองใชใหถูก ขนาดตามที่แพทยสัง่ จึงจะใหผลดีในการรักษา เชน ใหกินครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 คร้ัง ก็ไมควรกิน 2 เม็ด หรือเพิ่มเปนวันละ 4-5 ครั้ง เปนตน และการใชยาในแตละคนก็แตกตางกันโดยเฉพาะเด็กจะมี ขนาดการใชที่แตกตางจากผูใหญ 4. ใชยาใหถูกเวลา คือ ชวงเวลาในการรับประทานยาหรือการนํายาเขาสูร างกายดวยวิธี ตางๆ เชน หยอด เหน็บ ทา ฉีด เปนตน เพือ่ ใหปริมาณของยาในกระแสเลือดมีมากพอในการ บําบัดรักษาโดยไมเกิดพิษและไมนอยเกินไปจนสามารถรักษาโรคได ซึง่ การใชยาใหถูกเวลาควรปฏิบัติ ดงั น้ี - การรับประทานยากอนอาหาร ยาที่กําหนดใหรับประทานกอนอาหารตองกินกอน อาหารอยางนอย ½ - 1 ชัว่ โมง ซึง่ มีจุดมุง หมายเพื่อใหยาถูกดูดซึมไดดี ถาลืมกินยาในชวงใดก็ใหกิน หลงั อาหารมือ้ น้นั ผา นไปแลวอยางนอย 2 ชวั่ โมง เพราะจะทําใหยาถกู ดูดซึมไดด ี - การรับประทานยาหลังอาหาร ยาทีก่ ําหนดใหรับประทาน “หลังอาหาร” โดยท่ัวไป จะใหรับประทานหลังอาหารทันที หรือหลังจากกินอาหารแลวอยางนอย 15 นาที เพือ่ ใหยาถูกดูดซึมเขา สกู ระแสเลือดรว มกบั อาหารในลําไสเล็ก - การรับประทานยากอนนอน ยาทีก่ ําหนดใหรับประทาน “ กอนนอน” ใหกินยานัน้ หลงั จากกินอาหารม้อื เย็นเสรจ็ แลวไมต า่ํ กวา 4 ช่วั โมง กอนเขา นอน 5. ใชยาใหถูกมาตรฐาน คือใชยาที่มีตัวยาครบทั้งชนิดและปริมาณไมใชยาเสือ่ มคุณภาพ หรอื หมดอายุ ซ่ึงสามารถดไู ดจากวัน,เดอื น,ป ท่ีระบไุ ววา ผลติ เมอื่ ใด หมดอายเุ ม่ือใด เปน ตน 6. ใชยาใหถูกกับคน คือ ตองดูใหละเอียดกอนใชวา ยาชนิดใดใชกับใคร เพศใด และอายุ เทาใด เพราะอวัยวะตางๆ ในรางกายของคนแตละเพศแตละวัยมีความแตกตางกัน เชน เด็กจะมีอวัยวะ ตางๆ ในรางกายทีย่ ังเจริญเติบโตไมเต็มทีเ่ มือ่ ไดรับยาเด็กจะตอบสนองตอยาเร็วกวาผูใ หญมาก และ สตรีมีครรภก็ตองคํานึงถึงทารกในครรภดวยเพราะยาหลายชนิดสามารถผานจากแมไปสูเด็กไดทางรก อาจมีผลทําใหเดก็ ทค่ี ลอดออกมาพกิ ารไดการใชย าในเด็กและสตรีมคี รรภจงึ ตองระมัดระวังเปนพเิ ศษ 7. ใชยาใหถูกโรค คือ ใชยาใหตรงกับโรคทีเ่ ปน ซึง่ จะเลือกใชยาตัวใดในการรักษานัน้ ควร จะใหแพทย หรือเภสัชกรผูร ูเ ปนคนจัดใหเราไมควรซือ้ ยา หรือใชยาตามคําบอกเลาของคนอืน่ หรือ หลงเชื่อคําโฆษณา เพราะหากใชยาไมถูกกับโรคอาจทําใหไดรับอันตรายจากยานัน้ ได หรือไมไดผลใน การรักษาและยังอาจเกิดโรคอื่นแทรกซอนได

104 8. การใชยาทีใ่ ชภายนอก ยาทีใ่ ชภายนอก ไดแก ขีผ้ ึง้ ครีม ยาผง ยาเหน็บ ยาหยอด โดยมี วธิ กี ารดังนี้ - ยาใชท าใหทาเพียงบางๆ เฉพาะบริเวณทเ่ี ปน โรค หรอื บรเิ วณทม่ี ีอาการ - ยาใชถูนวด ใหทาและถูบริเวณที่มีอาการเบา ๆ - ยาใชโ รย กอนที่จะโรยยาควรทําความสะอาดแผลและเช็ดบริเวณทีจ่ ะทาโดยใหแหง เสยี กอ น ไมควรโรยยาที่แผลสด หรือแผลที่มนี ํ้าเหลอื งเพราะผงยาจะเกาะกันแข็งปดแผล อาจเปนแหลง สะสมเชอื้ โรคภายในแผลได - ยาใชหยด จะมีทั้งยาหยอดตา หยอดหู หยอดหรือพนจมูก โดยยาหยอดตาใหใช หลอดหยอดยาที่ใหมาโดยเฉพาะเวลาหยอดจะตองไมใหหลอดสัมผัสกับตา ใหหยอดบริเวณกลางหรือ หางตาตามจํานวนที่กําหนดไวในฉลาก ยาหยอดยาเมื่อเปดใชแลว ไมควรเก็บไวใชนานเกิน 1 เดือน และไมควรใชรวมกันหลายคน 9. การใชยาทีใ่ ชภายนอกและยาทีใ่ ชภายใน คือยาทีใ่ ชรับประทาน ไดแก ยาเม็ด ยาผง ยา นํา้ โดยมวี ธิ ีการใชด ังน้ี - ยาเมด็ ทใ่ี หเ คย้ี วกอ นรบั ประทาน ไดแ ก ยาลดกรดชนิดเม็ดยาที่หามเค้ียว ใหกลืนลง ไปเลย ไดแ ก ยาชนิดทีเ่ คลือบน้ําตาลและชนดิ ที่เคลอื บ ฟลมบางๆ จับดูจะรูส กึ ลน่ื - ยาแคปซูล เปนยาทีห่ ามเคีย้ วใหกลืนลงไปเลย ทัง้ ชนิดออน และชนิดแข็ง ซึง่ ชนิด แข็งจะประกอบดวยปลอก 2 ขางสวมกัน - ยาผง มีอยูหลายชนิดและใชแตกตางกัน เชน ตวงใสชอนรับประทานแลวดืม่ น้าํ ตาม หรอื ชนดิ ตวงมาละลายน้ํากอน และยาผงทีต่ องละลายน้าํ ในขวดใหไดปริมาตรทีก่ ําหนดไวกอนทีจ่ ะใช รับประทาน น้าํ ทีน่ ํามาใชตองเปนน้ําดืม่ ทีต่ มสุกทิง้ ใหเย็นแลว และควรใชยาใหหมดภายใน 7 วัน หลังจากผสมนา้ํ แลว 10. ใชยาตามคําแนะนําในฉลาก ปกติยาทุกชนิดจะมีฉลากยาเพือ่ บอกถึงชือ่ ยา วิธีการใช และรายละเอียดอืน่ ๆ ซึง่ เราจําเปนตองอานใหเขาใจโดยละเอียดเสียกอน วาเปนยาทีเ่ ราตองการใช หรือไม และปฏบิ ตั ิใหถกู ตองตามท่ฉี ลากยาแนะนําเอาไว ลักษณะยา เนื่องจากยามีหลายประเภท มีทั้งยากิน ยาทา ยาอมในแตละประเภทมีอีกหลายชนิดซึ่ง มวี ิธกี ารและขอควรระวงั แตกตา งกัน จึงจําเปน ตอ งเรียนรลู กั ษณะและประเภทของยา

105 การจําแนกประเภทของยา ตามพระราชบัญญัติยา ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2522 ไดใหความหมายวา ยา หมายถึง สารทีใ่ ช ในการวิเคราะห บําบัดรักษา ปองกันโรคหรือความเจ็บปวยของมนุษยและสัตว รวมทัง้ ใชในการบํารุง และเสริมสรางสุขภาพรางกายและจิตใจดวย สามารถจําแนกไดเปน 6 ประเภท ดังน้ี 1. ยาแผนปจจุบัน หมายถึง ยาทีใ่ ชรักษาโรคแผนปจจุบันทัง้ ในคนและสัตว เชน ยา ลดไข ยาปฏชิ วี นะ ยาแกปวด ยาแกแ พ เปนตน 2. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใชรักษาโรคแผนโบราณทัง้ ในคนและสัตวยาชนิดนี้ จะตองขึน้ ทะเบียนเปนตํารับยาแผนโบราณอยางถูกตอง เชน ยามหานิลแทงทอง ยาธาตุบรรจบ ยาเทพ มงคล ยาเขียวหอม เปนตน 3. ยาอันตราย หมายถึง ยาที่ตองควบคุมการใชเปนพิเศษ เพราะหากใชยาประเภทนี้ไม ถกู ตองอาจมีอนั ตรายถงึ แกชีวิตได เชน ยาปฏิชีวนะชนดิ ตางๆ ยาจาํ พวกแกค ล่นื เหียนอาเจยี น เปนตน 4. ยาสามัญประจําบาน หมายถึง ยาทัง้ ทีเ่ ปนแผนปจจุบันและแผนโบราณ ซึง่ กําหนด ไวในพระราชบัญญัติยาวาเปนยาสามัญประจําบาน เชน ยาธาตุน้าํ แดง ยาขับลม ยาเม็ดซัลฟากัวนิดีน ยา ระบายแมกนเี ซีย ดีเกลอื ยาเม็ดพาราเซตามอล เปนตน 5. ยาสมนุ ไพร หมายถงึ ยาท่ไี ดจ ากพชื สัตว หรือแร ซึ่งยงั ไมไ ดน ํามาผสมหรือเปลี่ยน สภาพ เชน วานหางจระเข กระเทียม มะขาม มะเกลือ นอแรด เขีย้ วเสือ ดีงู เหลือม ดีเกลือ สารสม จุนสี เปนตน 6. ยาควบคุมพิเศษ ไดแก ยาแผนปจจุบัน หรือยาแผนโบราณทีร่ ัฐมนตรีประกาศเปน ยาควบคุมพิเศษ เชน ยาระงับประสาทตางๆ รปู แบบของยา ยาที่ผลิตในปจจุบันมีหลายรูปแบบ เพือ่ สะดวกแกการใชยาและใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ไดแ ก 1. ยาเม็ด มีทัง้ ยาเม็ดธรรมดา เชน พาราเซตามอล เม็ดเคลือบฟลม เชน ยาแกไอ ยาเม็ด เคลือบน้าํ ตาล เชน ไวตามนิ เม็ดเคลอื บพิเศษ เพอื่ ใหย าแตกตัวทล่ี ําไส เชน ยาวณั โรค ยาแกปวด 2. ยาแคบซูล แคปซูลชนิดแข็ง ไดแก ยาปฏิชีวนะตาง ๆ แคปซูลชนิดออนไดแก น้ํามัน ตับปลา วิตามินอี ปลอกหุมของยานี้จะละลายในกระเพาะอาหาร เพราะมีรสขมหรือมกี ลนิ่ แรง 3. ยาน้าํ มหี ลายชนิด เชน ยาแกไอน้ําเชอื่ ม ยาแกไขหวดั เด็ก 4. ยาฉดี ทาํ เปน หลอดเลก็ ๆ และเปนขวด รวมทั้งนํ้าเกลือดว ย นอกจากน้ียงั มียาข้ีผง้ึ ทาผิวหนัง บดผง ยาเหน็บ ยาหยอดตา ยาหยอดหู ยาหยอดจมูก ยาอม รูปแบบของยาขึ้นอยูกับจุดมุงหมายผูใช

106 การเกบ็ รักษา เมื่อเราทราบถงึ วิธีการใชยาท่ถี ูกตองแลว กค็ วรรถู ึงวธิ ีการเก็บรกั ษาที่ถูกตองดวย เพื่อใหยา มีคุณภาพในการรักษา ไมเสื่อมคณุ ภาพเร็ว โดยมวี ธิ ีการเก็บรกั ษา ดังนี้ 1. ตยู าควรตง้ั อยูใ นทที่ ีแ่ สงแดดสอ งเขา ไปไมถึง ควรตั้งใหพนจากมือเด็ก โดยอยูใ นระดับ ที่เด็กไมสามารถหยิบถึง เพราะยาบางชนิดมีสีสวย เด็กอาจนึกวาเปนขนมแลวนํามารับประทานจะ กอ ใหเ กดิ อนั ตรายได 2. ไมตัง้ ตูย าในที่ชืน้ ควรตัง้ อยูในที่ทีอ่ ากาศถายเทไดสะดวก ควรเก็บยาใหหางจาก หองครัว หอ งน้ําและตน ไม 3. ควรจัดตูยาใหเปนระเบียบ โดยแยก ยาใชภายนอก ยาใชภายใน และเวชภัณฑ เพื่อ ปองกันอันตรายจากการหยิบยาผิด อันตรายจากการหยิบยาผิด 4. เก็บรักษาไมใหถูกแสงสวาง เพราะยาบางชนิดหากถูกแสงแดด จะเสือ่ มคุณภาพจึงตอง เก็บในขวดทึบแสงมักเปนขวดสีชา เชน ยาหยอดตา ยาวิตามิน ยาปฏิชีวนะ และยา แอดดรีนาลินที่ สําคัญควรเก็บยาตามทีฉ่ ลากกําหนดไวอยางเครงครัด แตถาฉลากไมไดบงไวก็เปนทีเ่ ขาใจวาใหเก็บใน ที่ปองกันความชืน้ ไดดี ไมเก็บยาในทีอ่ ุณหภูมิสูงเกินไป หรือไมนํายาไปแชแข็ง การเก็บรักษายาที่ ถูกตอ ง ยอ มไดใ ชย าท่ีมีประสทิ ธิภาพ และยากไ็ มเส่ือมคณุ ภาพเรว็ ซงึ่ จะใหผลในการรกั ษาเต็มท่ี การสังเกตยาทีเ่ สอื่ มสภาพ ยาเสือ่ มสภาพ หมายถึง ยาทีห่ มดอายุ ไมมีผลทางการรักษาและอาจกอใหเกิดปญหาตอ สุขภาพ กอนการใชยาและเวชภัณฑทุกชนิด จะตองสังเกตลักษณะของยาวามีการเสือ่ มสภาพหรือยัง โดยมีขอสงั เกตดงั ตอไปนี้ 1. ยาเม็ดธรรมดา เปนยาทีจ่ ะเกิดการเปลีย่ นสภาพไดงายเมือ่ ถูกความชืน้ ของอากาศ ดังนั้นทุกครัง้ ทีเ่ ปดขวดใชยาแลวควรปดใหแนน ถาพบวายามีกลิ่นผิดไปจากเดิม เม็ดยามีผลึกเกาะอยู แสดงวายาเสื่อมสภาพไมควรนํามาใช 2. ยาเม็ดชนิดเคลือบน้ําตาล จะเปลี่ยนแปลงงายถาถูกความรอนหรือความชื้น จะทําใหเม็ด ยาเยิม้ สีละลาย ซีดและดางไมเสมอกัน หรือบางครัง้ เกิดการแตกรอนได ถาพบสภาพดังกลาวก็ไมควร นํามาใช 3. ยาแคปซูล ยาชนิดแคปซูลที่เสื่อมสภาพสามารถสังเกตไดจากการทีแ่ คปซูลจะพองหรือ แยกออกจากกัน และยาภายในแคปซูลก็จะมีสีเปลี่ยนไปไมควรนํามาใช

107 4. ยาฉีด ยาฉีดที่เสือ่ มสภาพจะสังเกตไดงายโดยดูจากยาทีบ่ รรจุในขวดหรือหลอด ยาฉีด ชนิดเปนผง ถามลี กั ษณะตอ ไปนแี้ สดงวา เสื่อมสภาพ - สีของยาเปลี่ยนไป - ผงยาเกาะตดิ ผนงั หลอดแกว - ผงยาเกาะตัวและตองใชเวลาทําละลายนานผิดปกติ - เม่อื ดดู ยาเขาหลอดฉดี ยาทาํ ใหเ ขม็ อุดตัน 5. ยานํา้ ใส ลกั ษณะของยานํ้าใสทเ่ี สอ่ื มสภาพสังเกตไดงา ยดงั นี้ - สีของยาเปลี่ยนไปจากเดิม - ยาขุนผิดปกติและอาจมีการตกตะกอนดว ย - ยามกี ลน่ิ บูดเปรี้ยว 6. ยานํ้าแขวนตะกอน ลกั ษณะของยาน้ําแขวนตะกอน ทีเ่ สือ่ มสภาพจะสังเกตพบลักษณะ ดงั น้ี - มีสี กล่ิน และรสเปลย่ี นไปจากเดมิ - เมื่อเขยาขวดแลว ยาท้งั ขวดไมเปนเนื้อเดียวกัน หรอื ยามตี ะกอนแข็งเขยา ไมแตก 7. ยาเหนบ็ ลกั ษณะของยาเหนบ็ ท่ีเส่อื มสภาพและไมค วรใชมดี ังน้ี - เม็ดยาผิดลกั ษณะจากรูปเดิมจนเหนบ็ ไมไ ด - ยาเหลวละลายจนไมสามารถใชได 8. ยาข้ีผ้งึ เมือ่ เสือ่ มสภาพจะมลี กั ษณะทสี่ งั เกตไดง า ยดงั นี้ - มกี ารแยกตัวของเนื้อยา - เนื้อยาแข็งผดิ ปกติ - สีของขผี้ ึง้ เปลีย่ นไปและอาจมจี ดุ ดางดําเกดิ ข้นึ ในเนอ้ื ยา เรื่องที่ 2 อันตรายจากการใชยา และความเช่อื ที่ผิดเก่ยี วกับยา ยาเปนสิ่งที่มีประโยชนถาใชอยางถูกตองและเหมาะสมในขณะเดียวกัน ถาใชยาไมถูกตอง ก็จะมีโทษมหันต ทําใหไมหายจากการเจ็บปวยและอาจมีอันตรายถึงชีวิต 1. อันตรายเกิดจากการใชยาเกินขนาด เกิดจากการรับประทานยาชนิดเดียวกันในปริมาณ มากกวา ท่ีแพทยกาํ หนด ซ่ึงกอใหเ กดิ อันตรายตอรางกายจนถึงขน้ั เสียชีวติ ได 2. อันตรายเกิดจากการใชยาเสื่อมคุณภาพ เชน การรับประทานยาหมดอายุ นอกจากอาการ เจ็บปวยไมห าย แลว ยงั อาจทําใหอาการทรุดหนกั เปน อนั ตรายได

108 3. อันตรายจากการใชยาติดตอกันเปนเวลานาน ยาบางชนิดเมือ่ ใชติดตอกันเปนเวลานาน อาจสะสมทําใหเปนพิษตอระบบตาง ๆ ของ รางกาย นอกจากนั้นการใชยาติดตอกัน นาน ๆ อาจทําให เกิดการติดยา เชน ยาแกปวดบางชนิด 4. อันตรายจากการใชยาจนเกิดการดื้อยา เกิดจากการรับประทานยาไมครบจํานวนตาม แพทยสั่ง หรือยังไมทันจะหายจากโรค ผูป วยก็เลิกใชยาชนิดนัน้ ทัง้ ๆ ที่เชื้อโรคในรางกายถูกทําลายไม หมด ทาํ ใหเ ชื้อโรคนั้นปรบั ตัวตอตา นฤทธ์ยิ า ทาํ ใหย ารกั ษาไมไดผล 5. อันตรายที่เกิดจากการใชยา โดยไมทราบถึงผลขางเคียงของยายาบางชนิด มีผลขางเคียง ตอ รางกาย เชน ยาแกห วัด ชวยลดนา้ํ มูกและลดอาการแพตา งๆ แตม ผี ลขา งเคียงทําใหผูใช รูสึกงวงนอน ซึมเซา ถาผูใชไมทราบ และไปทํางานเกีย่ วกับเครือ่ งจักร หรือ ขับขีย่ านพาหนะ ก็จะกอใหเกิดอุบัติเหตุ ไดง าย ขอ แนะนําการใชย า 1. ควรใชย าทรี่ จู กั คณุ และโทษเปนอยา งดีแลว 2. เลือกใชยาเปนตัว ๆตามอาการและสาเหตุของโรค 3. ควรกินยาใหไดขนาด (เทียบตามอายุ) และเมือ่ อาการดีขึน้ แลวก็ตองกินใหครบตาม กําหนดระยะเวลาของยาแตละชนิด โดยเฉพาะกลุมยาปฏิชีวนะ 4. เม่ือกินยาหรือใชย าแลวอาการไมด ขี ึ้น หรอื มีอาการรุนแรงขนึ้ ควรไปหาหมอโดยเรว็ 5. เมือ่ กินยาหรือใชยาแลวมีอาการแพ (เชน มีลมพิษผืน่ แดง ผืน่ คัน หนังตาบวม หายใจ หอบแนน) ควรหยุดยาและปรึกษาหมอ ผูทีม่ ีประวัติแพยา กอนใชยาครัง้ ตอไปควรปรึกษาแพทยหรือ เภสัชกร 6. ควรซือ้ ยาจากรานขายยาที่รูจ ักกันและไวใ จได 7. เวลาซือ้ ยาควรบอกชือ่ ยาทีต่ องการเปนตัวๆ อยาใหคนขายหยิบยาชุด ยาซอง หรือยาที่ ไมรูจักสรรพคุณให เพราะอาจเปนอันตรายได, โดยเฉพาะยาที่เขาสตีรอยด (เพร็ดนิโซโลน เดกซาเม โซน) และยาปฏชิ วี นะ 8. เดก็ เลก็ หญงิ ต้ังครรภแ ละหญิงทเ่ี ลีย้ งลูกดว ยนมตวั เอง ตองเลอื กใชยาทีไ่ มมีอันตรายตอ เดก็ หรอื ทารกในทอ ง ยาท่ีหญงิ ตั้งครรภไ มควรใช 1. เหลา 2. บุหรี่ 3. ยาเสพยตดิ (เชน ฝน เฮโรอีน ฯลฯ) 4. ยานอนหลบั

109 5. แอสไพริน 6. ฮอรโ มนเพศ (เชน เอสโตรเจน โปรเจสเตอรโรน,แอนโดรเจน ฯลฯ) 7. สตีรอยด (เชน เพร็ดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ฯลฯ) 8. ซัลฟา 9. เตตราไซคลีน 10. ไดแลนตนิ (ใชรักษาโรคลมชัก) 11. ยาแกค ลนื่ ไสอ าเจียน (ถาจําเปน ใหใ ชวติ ามินบี 6 ) 12. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต ยาทห่ี ญิงเลยี้ งลกู ดวยนมตัวเองไมค วรใช 1. ยารักษาโรคคอพอกเปนพิษ 2. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต 3. แอสไพริน 4. ยานอนหลับและยากลอมประสาท 5. ซัลฟา 6. เตตราไซคลีน 7. ยาระบาย 8. ยาคุมกําเนิด 9. รีเซอรพนี (ใชรักษาความดันเลือดสูง) ยาท่ีทารกไมค วรใช 1. เตตราไซคลีน 2. คลอแรมเฟนคิ อล. 3. ซัลฟา. 4. แอสไพริน 5. ยาแกห วดั แกแ พ (ในชว งอายุ 2 สปั ดาหแ รก) 6. ยาแกท อ งเสยี -โลโมตลิ (Lomotill) ในทารกต่ํากวา 6 เดอื น อโิ มเดยี ม(Imodium) ในทารก ต่ํากวา 1 ป วธิ กี ารใชย าเพ่ือดูแลรกั ษาตนเอง วธิ กี ารใชย าเพอื่ ดูแลรักษาตนเองมดี งั น้ี 1. ควรมคี วามรเู ร่อื งยาชนิดน้นั ดีพอ และใชยารกั ษาตนเองในระยะส้นั หากอาการไมดีขึ้น ควรไปพบแพทย

110 2. ไมค วรใชยาผสมหลายชนดิ ควรเลอื กใชย าทีม่ สี ว นประกอบเปน ตวั ยาเดี่ยวๆ เชนการใชยา แกปวด ควรใชย าทมี่ ีแอสไพรนิ หรือพาราเซตามอลอยางเดียว ไมค วรใชย าที่ผสมอยูก ับยาชนิดอน่ื ๆ 3. หากเกิดอาการผิดปกติและสงสัยวาแพยาใหหยุดยาทันทีและรับไปพบแพทย 4. อยางซือ้ ยาทไี่ มมีฉลากยาและวิธกี ารใชย ากาํ กบั 5. อยางหลงเชื่อและฟงคําแนะนําจากผทู ีไ่ มมีความรูเรื่องยาดีพอเปนอันขาด 6. ควรเก็บยาไวในที่มิดชิดไกลจากมือเด็กและไมมีแสงแดดสองถึง กิจกรรมทายบท 1. ใหผูเรียนบอกชื่อยาสามัญประจําบานและยาสมุนไพรมาอยางละ 5 ชื่อ และนําเสนอ หนา ชั้นเรยี น 2. ใหผ เู รยี นแบงกลุมบอกถึงอนั ตรายจากการใชย าที่เคยพบ วิธีแกไขเบ้อื งตนและ อภิปรายรวมกันความอบอุน

111 บทที่ 6 สารเสพตดิ อันตราย สาระสําคัญ มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับปญหา ประเภท และลักษณะของสารเสพติดตลอดจนอันตราย จากการตดิ สารเสพตดิ ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั 1. อธิบายและบอกประเภทของสารเสพติดได 2. อธิบายและบอกถึงอันตรายจากการติดสารเสพติด ขอบขา ยเนือ้ หา เร่ืองที่ 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพติด เร่ืองที่ 2 อนั ตรายจากสารเสพตดิ

112 บทที่ 6 สารเสพติดอันตราย ปจจุบันปญหาการแพรระบาดของสารเสพตดิ มแี นวโนม เพิ่มสงู ขึ้น ในหมูวัยรุนและนักเรยี นท่ี มีอายุนอยลง โดยสารเสพติดที่แพรระบาดมีรูปแบบที่หลากหลาย ยากแกการตรวจสอบมากขึ้น สงผล ใหเด็กและเยาวชนมีความเส่ียงตอภยั ของสารเสพตดิ มากข้ึน จึงควรศกึ ษาและระมดั ระวงั เพ่อื ปองกนั อันตรายดงั กลาว เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพติด องคการอนามัยโลกไดใหความหมายไววา สารใดก็ตามที่เสพเขาสูรางกายโดยการ ฉีด สูบ หรือ ดม จะทาํ ใหม ผี ลตอ จิตใจและรา งกาย 4 ประการ 1. เมื่อเสพยติดแลวจะมีความตองการทั้งรางกายและจิตใจ 2. ผูทใี่ ชยาแลว ตองเพ่มิ ปรมิ าณการเสพยขนึ้ เร่อื ย 3. เมอื่ หยดุ ใชยาจะเกดิ อาการอดหรอื เลกิ ยาทีเ่ รียกวา อาการเซย่ี น หรอื ลงแดง 4. ใชไ ปนานๆ เกดิ ผลรายตอ สุขภาพ ประเภทและลักษณะของสารเสพตดิ เราสามารถแบงสารเสพติดชนิดตาง ๆ ออกไดเปน 4 ประเภทตามฤทธิท์ ี่มีตอรางกายผู เสพย ดงั น้ี 1. ประเภทออกฤทธก์ิ ดประสาท ประเภทนี้จะมีฤทธิท์ ําใหสมองมึนงง ประสาทชา งวงซึม หมดความเปนตวั ของตวั เองไปชั่วขณะ สารเสพตดิ ที่จดั อยใู นประเภทน้ี คอื 1.1 ฝน ทํามาจากยางของผลฝน นํามาเคีย่ วจนมีสีดํา เรียกวา ฝน สุก มีรสขม กลิ่น เหม็นเขยี ว ละลายน้ําไดดี สามารถเสพยไ ดหลายวิธี โทษของฝน จากแอลคาลอยด ออกฤทธิก์ ดประสาท ทําใหสมองมึนชา อารมณ และจิตใจเฉือ่ ยชา รูสึกเย็นขนลุกสลับกับรอน ปวดทีร่ างกาย เบือ่ อาหาร ทองผูก รางกายทรุดโทรม ติด เชื้อโรคงาย อาการ แสดงของการขาดยา คือ หงุดหงิด ตื่นเตน ทุรนทุราย หาว น้าํ ตาไหล ปวด ทีร่ า งกาย อาเจยี น ถายอุจจาระเปน เลอื ด 1.2 เฮโรอนี ผลิตจากมอรฝนโดยกรรมวิธีทางเคมี จึงมีชื่อทางเคมีวาไดเคทฟล มอรฟน มี 2 ชนดิ คอื

113 - เฮโรอีนบริสุทธิ์ ลกั ษณะเปน ผงสขี าว รสขม - เฮโรอีนผสม ลกั ษณะเปน เกร็ด สนี ํา้ ตาล ชมพู เหลือง มวง - สารทีผ่ สมมักเปน พวกสารหนู สตริกนิน ยานอนหลบั ยาควนิ นิ ฯลฯ โทษของเฮโรอนี เปน เชน เดียวกบั ฝน โดยแรงกวา ฝนประมาณ 30-100 เทา การเสพเขา สรู า งกาย โดยการฉีดและสูดหายใจไอระเหยเขาสูรางกาย 1.3 ยานอนหลับ จัดอยูในพวกบารบิตูเรท เปนอนุพันธของกรดบารบิตูเรทมีทั้งชนิด ออกฤทธิช์ า และออกฤทธิเ์ ร็ว ไดแก เซโคบารบิทาล หรือเซโคนาล คนทั่วไปมักเรียกวา นาตาลีฟา สี เหลือง เหลาแหง ไกแดง หรือปศาจแดง มีลักษณะเปนเม็ดสีขาว หรือแคปซูลสีตางๆ เชน สีฟา สีเหลือง สแี ดง โทษของยานอนหลับ เปนยาออกฤทธิ์ กดประสาทสวนกลาง ถาใชมากจะมึนเมา พูด ไมชัด เดินโซเซ อารมณหงุดหงิด เกิดความกลา บาบิน่ รุนแรงจนสามารถทํารายตนเองได ชอบทะเลาะ ววิ าท กา วราว เมอื่ ขาดยาจะมอี าการชกั กระตกุ ตัวเกร็ง กระวนกระวาย คลนื่ ไส ประสาทหลอน 2. ประเภทออกฤทธิ์กระตุนประสาท ประเภทนีจ้ ะทําใหเกิดอาการตื่นเตนตลอดเวลาไม รูสกึ งว งนอน แตเม่ือหมดฤทธิย์ าแลว จะหมดแรงเพราะรา งกายไมไ ดร บั การพักผอน สารเสพติดท่ีจัดอยู ในประเภทนไ้ี ดแ ก 2.1 กระทอม เปนไมยืนตนขนาดกลาง มีลักษณะใบคลายใบกระดังงาไทย แตเสนใบมี สแี ดงเรือ่ สารเสพติดใบกระทอม ช่อื มิตราจนิ ิน โทษของกระทอม ออกฤทธิก์ ระตุน ประสาท ทําใหอารมณราเริง แจมใส มี เรีย่ วแรง และมีความอดทนเพิม่ ขึ้น ทํางานไดนาน ไมอยากอาหาร อยูกลางแดดไดนานๆ แตกลัวฝน ทองผูก รางกายทรุดโทรม และอาจเปนโรคจิตได 2.2 แอมเฟตตามีน (ยามาหรอื ยาบา) เปนยากระตุนประสาทมีลักษณะเม็ดสีขาว สีแดง หรือบรรจุในแคปซูล บางครั้งอาจเปนผง เสพยโดยรับประทานหรือผสมเครื่องดื่ม โทษของยามา จะไปกระตุน ใหหัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง หายใจถี่ พูดมาก ริมฝปากแหง มือสัน่ เสพยนาน ๆ รางกายจะหมดกําลัง กลามเนือ้ ออนลา ประสาทและสมองเสือ่ ม มึน งง อาจเกิดภาพหลอน ทําใหตัดสินใจผิดพลาดผูเสพยจะมีความผิดปกติของจิตใจ ความคิดเลื่อนลอย เพอฝน คมุ สติไมไ ด เมอื่ ขาดยา จะมอี าการถอนยาอยางรนุ แรง 2.3 ยากลอมประสาท ไมใชยาเสพติดโดยตรง แตอาจทําใหเสพติดไดจากความเคยชิน เมื่อใชยาบอยและเพิ่มขนาดขึ้นเรื่อยๆ ยากลอมประสาทมีทั้งชนิดออน เชน ไดอาซีแพม ชนิดทีม่ ีฤทธิ์ รนุ แรง เชน คลอโปรมาซนี และไฮโอรด าซนี ชอ่ื ทางการคา วา ลาแทกตลิ เลมลารลิ เปน ตน

114 โทษของยากลอมประสาท ยาประเภทนี้สามารถกลอมประสาทใหหายกังวลหาย หงุดหงิด หายซึมเศรา แตถาใชมากเกินความจําเปนอาจมีอันตรายตอประสาทและสมองได 3. ประเภทออกฤทธิห์ ลอนประสาท ประเภทนีจ้ ะทําใหเกิดอาการประสาทหลอนเห็นภาพ ลวงตา หูแวว อารมณแปรปรวน ควบคุมอารมณตัวเองไมได อาจทําอันตรายตอชีวิตตนเองและผูอื่นได สารเสพติดประเภทนไ้ี ดแ ก 3.1 สารระเหย จัดเปนพวกอินทรียเคมี มีกลิน่ เฉพาะ ระเหยไดงาย เชน น้ํามันเบนซิน ทินเนอร แลกเกอร นํ้ามนั กาด กาววิทยาศาสตร แอลเอสดี เมลลาลนี เห็ดข้คี วายเปน ตน โทษอันตรายของสารระเหย ไดแก กดประสาทสวนกลางทําใหสมองพิการ สตปิ ญ ญาเสอ่ื ม มึนเมา เวียนศีรษะ เดินเซ ตาพรา งวงซึม เบือ่ อาหาร ทําใหไตอักเสบ ตับอักเสบ ตับโต และพิการ สดู ดมมาก ๆ ทาํ ใหห วั ใจเตน ชา ลง หมดสติ หยดุ หายใจ และตายได 4. ประเภทออกฤทธิห์ ลายอยาง ประเภทนีอ้ อกฤทธิต์ อรางกายหลายอยางทัง้ กดประสาท และหลอนประสาท ซึ่งทําใหมีอาการหลงผิด เกิดความเสื่อมโทรมทั้งสุขภาพกายและทางจิตใชไป นานๆ จะทําลายประสาท เกิดประสาทหลอนและมีอาการทางจิต สารเสพติดประเภทนี้ ไดแก กัญชา เปนพืชลมลุกขึ้นงายในเขตรอน มีลักษณะเปนใบหยักเรียวแหลม ภายในใบ และยอดดอกมียางมากกวาสวนอื่นของตน ยางนี้เองมีสารที่ทําใหเสพตดิ ชอ่ื เตตระไฮโดรคานาบนิ อล โทษของกัญชา ออกฤทธิห์ ลายอยาง ทัง้ กระตุน ประสาท กดประสาทสวนในเกิด ประสาทหลอน กลามเนือ้ สัน่ หัวใจเตนเร็ว หายใจไมสะดวก ความคิดสับสน อารมณเปลีย่ นแปลงงาย เกดิ ภาพหลอน เมือ่ เสพยนานอาจเปนโรคจิตได อาการขาดกัญชา จะมีอาการหงดุ หงดิ กระวนกระวาย ปวดศรี ษะและปวดทอ งอยา ง รนุ แรง และอาจหมดสตไิ ด เร่อื งที่ 2 อนั ตรายจากสารเสพติด โทษของสารเสพติดที่เปนอันตรายตอตนเอง ครอบครัว และสังคม จําแนกไดดังนี้ 1. โทษตอ รา งกายและจิตใจ ทําใหการทํางานของระบบตางๆ ในรางกายเสื่อมลง สุขภาพ ทรดุ โทรม ผา ยผอม ไมม เี รยี่ วแรง ทาํ ใหบคุ ลกิ ภาพแปรปรวน อารมณไ มปกตกิ ระวนกระวายคลุมคล่ัง บางครั้งเงียบเหงา เศราซึม ปลอยตัวสกปรก เปนที่รังเกียจแกผูพบเห็น และภูมิตานทานของรางกาย ลดลง 2. โทษทางเศรษฐกจิ ส้ินเปลอื งเงินทองในการซ้ือสารเสพตดิ เม่ือสุขภาพทรดุ โทรมไม สามารถทํางานได ทําใหขาดรายได สูญเสียเงินทองทั้งของตนเอง ครอบครัวและรัฐบาล

115 3. โทษทางสงั คม บั่นทอนความสุขในครอบครัว ทําใหมีปญหา เปนที่รังเกียจของบุคคล ทั่วไป เปน หนทางไปสอู าชญากรรม ตัง้ แตล ักเลก็ ขโมยนอย ไปจนถงึ ปลน ทํารา ยและฆาชงิ ทรัพยเพ่อื ตอ งการเงินไปซื้อยาเสพติด ทําใหเปนภาระของสังคม เนื่องจากผูติดยามักไรความสามารถในการ ทํางาน 4. โทษทางการปกครอง เปนภาระของรฐั บาลในการบาํ บัดรักษาและฟน ฟู เปนภาระใน การปราบปราม ตองเสียงบประมาณในการปราบปราม เนื่องจากปญหาอาชญากรรมที่ผูเสพกอเพิ่มขึ้น หลกั ทั่วไปในการหลีกเลี่ยงและปองกนั การติดสารเสพตดิ 1. เชอ่ื ฟงคําสอนของพอ แม ญาตผิ ใู หญ ครู และผทู ่นี า นบั ถือและหวังดี 2. เม่อื มีปญหาควรปรกึ ษาผูปกครอง ครู หรอื ผใู หญท ีน่ บั ถือและหวังดไี มค วรเกบ็ ปญ หา นั้นไว หรอื หาทางลมื ปญหานนั้ โดยใชส ารเสพตดิ ชวย หรือใชเ พ่ือการประชด 3. หลีกเลี่ยงใหหา งไกลจากผูทีต่ ิดสารเสพติด ผจู ําหนายหรอื ผลิตยาเสพตดิ 4. ถาพบคนกําลงั เสพยส ารเสพติด หรอื พบคนจาํ หนาย หรือแหลงผลิต ควรแจงใหผ ใู หญ หรอื เจา หนา ทท่ี ราบโดยดวน 5. ตอ งไมใ หความรว มมือเขาไปเกย่ี วขอ งกบั เพือ่ นทีต่ ดิ สารเสพติด เชน ไมใ หยมื เงิน ไม ใหย มื สถานที่ เปนตน แตควรแนะนําใหเพ่อื นไปปรึกษาผูปกครอง เพื่อหาทางรักษาการตดิ สารเสพตดิ โดยเรว็ 6. ศึกษาใหมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับโทษและอันตรายของสารเสพติด เพื่อที่จะได สามารถปองกันตนเองและผใู กลช ดิ จากการติดสง่ิ เสพตดิ 7. ไมห ลงเชอ่ื คาํ ชกั ชวนโฆษณา หรอื คาํ แนะนาํ ใด ๆ หรอื แสดงความเกง กลา เกย่ี วกบั การเสพย สารเสพตดิ 8. ไมใชยาอนั ตรายทกุ ชนิด โดยไมไ ดร บั คาํ แนะนาํ จากแพทยส ง่ั ไวเทา นนั้ 9. หากสงสัยวา ตนเองจะตดิ สิ่งเสพติดตอ งรีบแจงใหผูใหญหรือผปู กครองทราบ 10. ยึดมั่นในหลักคําสอนของศาสนาที่นับถือ เพราะทุกศาสนามีจุดมุงหมายใหบุคคล ประพฤติแตสิ่งดีงามและละเวนความชั่ว กจิ กรรมทา ยบท 1. ใหผเู รียนบอกโทษของสารเสพตดิ มาคนละ 10 ขอ 2. ถาเพอ่ื นของผูเรียนกาํ ลังคิดจะทดลองยาเสพติด ผูเรยี นจะมีคําแนะนําอยางไร พรอ ม อภิปราย 3. ผูเ รยี นบอกวธิ ีปฏิบัตแิ ละดูแลตัวเองใหห ลีกเลี่ยงกับยาเสพติดมาคนละ 5 ขอ

116 บทท่ี 7 ความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส นิ สาระสําคัญ ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยของตนเอง ที่เกิดจาก อันตรายจากการใชชีวิตประจําวันในการเดินทาง ในบา นและภยั จากภัยธรรมชาติ ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั 1. สามารถอธิบายถึงแนวทางการดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยของตนเอง 2. สามารถอธิบายวิธีการปองกันอันตรายอันจะเกิดจากการใชชีวิตประจําวัน ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองท่ี 1 อันตรายท่ีอาจเกดิ ในชวี ติ ประจําวนั

117 บทที่ 7 ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส นิ การดํารงชีวิตในปจจุบัน มีปจจัยเสี่ยงมากกมายที่คุกคามความปลอดภัยของมนุษย ไมวาจะเปน ความเจ็บปวย พิการ สูญเสียอวัยวะจนถึงขึ้นถึงสาเหตุ วิธีปองกันและหลีกเลีย่ งอันตราย อันอาจเกิดขึน้ เพื่อความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยส นิ ของตนเองและผอู ่นื เร่ืองท่ี 1 อันตรายทีอ่ าจเกิดในชวี ติ ประจําวัน ความสูญเสียชีวิตและทรัพยสินของมนุษยในแตละปมีมูลคามหาศาล และเปนการสูญเสียทาง เศรษฐกิจ ดวย อันเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ บางคนอาจไมถึงเสียชีวิตแตทุพพลภาพเปนภาระแก ครอบครัวและสังคมดังนี้ ปจ จยั ความเสี่ยง 1. การบรโิ ภคอาหาร การไดรับสารอาหารเกินความตองการของรางกาย จนเกิดการสะสม เปนอันตราย เชน ปริมาณของไขมันเกินทําใหเกิดโรค หรือการขาดสารอาหารจนทําใหเจ็บปวย นอกจากนี้ยังมีสิ่งปลอมปนในอาหาร เชน ผงชูรส สารบอเรก็ ซ สารฟอกสี สผี สมอาหาร สารเคมีตกคา ง ในผัก ปลา เนอ้ื หมู ไก ฯลฯ จงึ ควรตระหนกั และนําความรดู ังกลาวไปใชประโยชนในการบริโภค อาหาร 2. การบริโภคอาหารที่ไมใ ชอ าหาร ส่งิ เหลา นีไ้ มมีความจาํ เปนตอ ชีวติ แตเปนคานิยมของ สังคม ความเชื่อ เชน ยาชูกําลัง อาหารเสรมิ สุขภาพ 3. การมีสมั พนั ธทางเพศ บุคคลที่มีพฤติกรรมสําสอนทางเพศพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ เปนกจิ กรรมที่อาจทําใหเกิดผลเสียตอสขุ ภาพและตอ ชีวิตได 4. การเสพสิง่ เสพติด ส่ิงเสพติดไดมีการพัฒนารปู แบบตา งๆ ซึ่งมีอันตรายรา ยแรงถงึ ชีวติ ทําลายสขุ ภาพใหเส่ือมโทรม ซึ่งผูทีใ่ ชส ่ิงเสพติดทําใหเสยี อนาคต 5. การใชรถใชถนน อุบัติเหตุจากการใชรถใชถ นนมสี ถิตกิ ารสูญเสียทงั้ รางกายและ ทรพั ยส นิ ในอัตราสงู ดงั นั้น ใชรถใชถ นนควรตอ งปฏิบัติ 6. การจราจรทางนาํ้ ในปจจุบันมีจราจรทางน้ําเพิ่มขึ้น แมวาจะไมหนาแนนเหมือนจราจร ทางบก แตพบวา อุบัติเหตุจากการจราจรทางน้ําทําใหเรือลมเกิดการบาดเจ็บ เสียชีวิต และทรัพยสินจาก การเดินทางทางน้ําเพิ่มขึ้น 7. การเลนกีฬาและการออกกําลังกาย หากปฏบิ ัตไิ มถกู ตองตามหลกั วิธกี ารยอ มมีผลเสียตอ สขุ ภาพ ดังนัน้ ควรมกี ารยืดเหยยี ดกลามเน้อื กอนและหลงั การออกกําลังกาย

118 8. การใชย า ถาใชย าไมถ ูกตอ ง ไมถูกโรค ไมถ กู ขนาด ไมถกู เวลา อาจทําใหอาการของโรค รุนแรงขน้ึ หรือการใชย าผิดประเภท ยาเสื่อมสภาพ ทําใหเ กิดอนั ตรายตอชวี ติ ได 9. การใชอ ุปกรณภ ายในบา น เชน เครื่องใชไฟฟา โทรทัศน โทรศัพท คอมพิวเตอร เคร่ือง ซักผา หมอ หุงขา ว ฯลฯ ส่ิงเหลา น้ีมีสวนเกีย่ วของกับสุขภาพและความปลอดภยั ในชีวิต อาจเกิด อนั ตราย เชน ไฟฟาช็อตตาย เกดิ เพลงิ ไหม จงึ ควรตองอา นรายละเอยี ดในการใชด ว ย 10. การประกอบอาชีพ มีหลายอาชีพที่เสี่ยงตอความไมปลอดภัยในชีวิต จึงตองหาทาง ปองกนั เชน แวน ตาปอ งกนั หนา กากปอ งกัน รองเทาบูธ ถุงมือ ฯลฯ 11. สิง่ แวดลอม ปจ จบุ ันส่งิ แวดลอ มกําลงั อยใู นสภาพที่เลวลง เพราะการกระทาํ ของมนษุ ย นั่นเอง มีผลโดยตรงตอสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิต เชนน้ําในแมน้ําลําคลองสกปรกไมสามารถ ใชนํ้าดืม่ และบรโิ ภคได สัตวน้าํ อาศัยอยใู นแมนํ้าไมได ทําใหขาดอาหาร อากาศมีฝุนละอองมาก มีวัตถุ หนักเจือปนหายใจเขาไปมากๆ ทําใหเกิดโรคทางเดินหายใจ 12. ความรนุ แรง ความรุนแรงตางๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยมีหลายรูปแบบ เชน ความ ขัดแยงในครอบครัว ความขัดแขงของกลุมวัยรุน ความขัดแยง ดา นผลประโยชน ความขัดแยง ทาง การเมือง ส่ิงเหลา นม้ี ีผลกระทบตอ ความไมป ลอดภัยในชีวติ ประจําวนั ดวยเหมอื นกนั การปองกันและหลีกเลยี่ งการเสีย่ งภยั ตอ ชีวติ การปอ งกนั และหลกี เล่ยี งความเส่ยี งภัยตอ ชวี ติ และทรพั ยส นิ มีหลกั ดงั นี้ 1. ปฏิบัติตนตามหลักโภชนาการในการบริโภคอาหาร รายละเอยี ดอยใู นบทท่ี 3 เร่อื งการ บรโิ ภคอาหาร และโภชนาการ 2. ปฏิบัติตนตามคําแนะนําเรื่อง โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และวิธีการปองกันโรค 3. ปฏบิ ัติตนเพ่ือปอ งกันและหลีกเลี่ยงจากเสพติด 4. ปฏบิ ัตติ นเพื่อปอ งกนั และหลกี เล่ยี งการเสี่ยงภยั ตอ การใชรถใชถ นนตองปฏิบัติอยาง เครงครัดตามกฎจราจร และกฎหมายเกี่ยวกับการจราจร เชน ขับรถตองรัดเข็มขัดนิรภัย ไมดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอรกอนการขับรถ ไมรับประทานยาที่ทําใหเกิดการงวงนอน และใชความเร็วเกินที่กฎหมาย กาํ หนดไมอ ดนอนกอ นขบั รถเดนิ ทางไกลเพราะอาจทาํ ใหห ลบั ใน 5. กอนเลนกีฬาหรือออกกําลังกาย จะตองอบอุนรางกาย มีความระมัดระวังในการใช อุปกรณก ฬี า และออกกาํ ลงั กายตามวยั 6. กอ นใชย า ตองอานวธิ ีรบั ประทาน หรือการใชและปฏบิ ัตติ ามคาํ แนะนาํ เมื่อเกดิ การ ผิดปกติตองปรึกษาแพทย 7. การใชอุปกรอํานวยความสะดวกภายในบาน อุปกรณไฟฟา กา ซหงุ ตม มีด ฯลฯ ตอง ศึกษาวิธใี ช การเก็บรักษา การตรวจสอบและชํารุด เพื่อปองกันไฟฟา ดดู ไฟฟาชอ็ ต อัคคีภยั

119 8. การดูแลสงิ่ แวดลอม ไมใหมกี ลนิ่ เสยี ง มลภาวะทางอากาศ ขยะมลู ฝอย และหากมตี อง หาวธิ ีกาํ จดั อยา งถกู วิธี 9. การประกอบอาชีพมีการเสี่ยงภัยสูง จะตองระมัดระวังตามสภาพของอาชีพ เชน การใช ยาฆา แมลงทีถ่ กู วธิ ี การใชเคร่ืองมืออุปกรณอยา งระมดั ระวังไมป ระมาท เชน ไมออ คหรอื เชือ่ มเหล็ก ใกลถังกา ซ วางกา ซหุงตม หางจากเตาไฟฟา หลังจากใชเสร็จปดวาวล ปดสวิช ปองกันอคั คีภยั เร่อื งที่ 2 อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ขึ้นในบาน ความหมายของอบุ ตั เิ หตใุ นบา น 1. อบุ ัตเิ หตุในบา น คือ อบุ ัติเหตทุ ่ีเกดิ ขึ้นภายในบา น เชน การพลัดตกหกลม ไฟไหม นํ้า รอ นลวก การถกู ของมีคมบาด การไดรบั สารพิษ ไดรับอบุ ัตเิ หตุจากแกซ หุงตม เปนตน 2. การปอ งกนั อุบัติเหตุในบา น เราสามารถทีจ่ ะปอ งกันอุบัติเหตุทจี่ ะเกดิ ขึ้นภายในบาน ดว ย หลกั ปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ - รอบคอบ ใจเย็น ไมท าํ ส่ิงใด ไมเปนคนเจา อารมณ - เปนคนมีระเบียบในการทํางาน เก็บของอยางเปนระเบียบหางาย - ใหความรูอยางถูกตองแกสมาชิกในบานในการใชเครื่องใชไฟฟาในบาน - หมัน่ ซอ มแซมอปุ กรณ เครื่องมอื เคร่ืองใชต า งๆ ทชี่ าํ รุดใหอ ยใู นสภาพดี - เกบ็ สิ่งท่เี ปน อันตรายท้งั หลาย เชน ยา สารเคมี เชื้อเพลิง เปนตน ใหพน จากมอื เดก็ - หลกี เล่ียงการเขา ไปอยใู นบริเวณ ท่ีอาจมีอันตรายได เชน ทร่ี กชน้ื ท่ีมดื มิด ทขี่ รขุ ระ เปน หลมุ เปน บอ เปนตน - การใชแกส หงุ ตมภายในบา น ตอ งปดถงั แกส หลังการใชท กุ ครั้ง - มีถังดับเพลิงไวในบาน ตองศึกษาวิธีการใชและสามารถหยิบใชไดสะดวก - หลังจากจุดธปู ไหวพ ระควรดบั ไฟใหเรยี บรอย เรอ่ื งท่ี 3 อนั ตรายทอี่ าจจะเกิดข้นึ จากการเดนิ ทาง การปองกันอุบัติเหตุนอกบานหรือจากการเดินทาง ควรใหความสําคัญเปนอยางยิ่งกับ การจราจรเนื่องจากอบุ ัติเหตุจากการใชรถใชถนน กอ ใหเกิดการศนู ยเสียในชวี ติ และทรัพยส นิ การ ปอ งกันโดยการปฏบิ ตั ิตามกฎจราจรจงึ เปนสิง่ จําเปน มีขอปฏิบตั ทิ ถ่ี กู ตอ งเพอ่ื ความปลอดภัย ขอควรปฏิบตั ิในการปองกันอบุ ตั ิเหตุจากการเดนิ ทาง 1. ขอ ปฏิบตั ใิ นการเดนิ ทาง - ควรศึกษาและปฏิบัติตามกฎจราจรอยางเครงครัด - ควรเดินบนทางเทาและเดินชิดซายของทางเทา

120 - ถาไมมีทางเทาใหเดินชิดขวาของถนนมากที่สุด เพื่อจะไดเห็นรถที่สวนมาได - บริเวณใดที่มีทางขามหรือสะพานคนขาม ควรขามถนนตรงทางขาม หรือสะพานนั้น - อยาปนปายขามรั้วกลางถนนหรือรั้วริมทาง - ถาตองออกนอกบานเวลาค่ําคืน ควรสวมใสเ ส้อื ผาสีขาวหรือสีออนๆ เพ่ือรถจะได มองเห็นชดั เจน 2. ขอควรปฏบิ ตั ิในการใชรถประจาํ ทาง - ควรรอขึ้นรถ บริเวณปายรถประจําทาง และขึ้นรถดวยความรวดเร็ว - เมอ่ื จะข้นึ หรอื ลงจากรถ ควรรอใหรถเขา ปาย และจอดใหสนทิ กอ น - ไมแ ยงกันขึ้นหรือลงรถ ควรขน้ึ และลงตามลาํ ดับกอ น – หลงั - ไมหอ ยโหนขางรถ หลังรถ หรอื ข้นึ ไปอยบู นหลงั คารถ เพราะอาจพลัดตกลงมาได - เม่อื ข้ึนบนรถแลวควรเดนิ ชิดเขา ขา งใน หาท่ีน่ังและนงั่ ใหเ ปนท่ี ถาตองยืนก็ควรหา ทย่ี ึดเหน่ียวใหม ่ันคง - ไมย น่ื สว นใดสว นหนง่ึ ของรา งกายออกนอกรถ - ไมรบกวนสมาธิผูข ับ และไมพดู ยแุ หยห รือพูดสง เสริมใหผูข บั ขบั รถดวยความ ประมาท 3. ขอ ควรปฏิบตั ิในการโดยสารรถไฟ - ไมแ ยงกันข้ึนหรอื ลงจากรถไฟ - ไมห อ ยโหนขา งรถ น่ังบนหลังคา หรือนัง่ บนขอบหนา ตางรถไฟ - ไมย น่ื สว นหนง่ึ สว นใดของรา งกายออกนอกรถไฟ - ไมเดนิ เลน ไปมาระหวางตูรถไฟ และไมย ืนเลนบรเิ วณหวั ตอระหวางตูร ถไฟ - สัมภาระตางๆ ควรจัดเก็บเขาที่ใหเรียบรอย ไมวางใหเปนที่กีดขวางทางเดินและไม เกบ็ ไวบ นทีส่ งู ในลกั ษณะทอ่ี าจหลน มาถกู คนได - ไมด ่ืมเครอ่ื มด่ืมท่มี ีแอลกอฮอร - ถา มีอุบัตเิ หตเุ กิดข้ึนหรือจะเกิดอุบัติเหตุขนึ้ ถารถไฟไมหยุดวงิ่ ใหดึงสายโซสัญญาณ ขา งตูร ถไฟ เพ่ือแจงเหตุใหเจาหนา ท่ปี ระจาํ รถไฟทราบ 4. ขอ ควรปฏบิ ตั ใิ นการโดยสารเรอื - การขน้ึ ลงเรือ ตอ งรอใหเ รือเขาเทยี บทาและจอดสนิทกอน ควรจับราวหรือสง่ิ ยึด เหน่ยี วขณะที่กาวข้นึ หรือลงเรอื - หาทนี่ งั่ ใหเ รยี บรอย ไมไตกราบเรือเลน ไมยนื พักเทา บนกราบเรอื ไมน ัง่ บนกราบ เรือ หรือบรเิ วณหวั ทา ยเรือ เพราะอาจพลดั ตกน้ําไดร ะหวางเรือแลน

121 - ไมใชมือ เทารานาํ้ เลนขณะอยูบนเรือ - เมอ่ื เวลาตกใจ ไมควรเกาะกลมุ หรือไมนง่ั รวมกลมุ กนั อยูดานใดดานหนึง่ ของเรือ เพราะจะทาํ ใหเ รอื เอียงและลม ได - ควรทราบที่เก็บเครื่องชูชีพ เพ่อื ที่จะหยบิ ใชไ ดท นั ทว งทีเมือ่ เกิดอบุ ตั ิเหตุเรอื ลม เรอื่ งท่ี 4 อนั ตรายจากภยั ธรรมชาติ 1. นํ้าปาไหลหลากหรือน้ําทวมฉับพลันมักจะเกิดขึ้นในที่ราบต่ําหรือที่ราบลุมบริเวณใกล ภูเขาตนนํา้ เกิดข้ึนเนื่องจากฝนตกหนักตอเนื่องเปนเวลานานทําใหจํานวนน้ําสะสมมีปริมาณมากจน พื้นดนิ และตนไมดดู ซับไมไ หว ไหลบาลงสทู ี่ราบตาํ่ เบื้องลา งอยางรวดเรว็ ทาํ ใหบานเรือนพงั ทลาย เสียหายและอาจทําใหเ กดิ อันตรายถึงชวี ติ ได 2. น้าํ ทว มหรือนํา้ ทว มขงั เปนลกั ษณะของอุทกภยั ทเ่ี กิดข้ึนจากปรมิ าณนาํ้ สะสมจาํ นวน มากที่ไหลบาในแนวระนาบจากที่สูงไปยังที่ต่ําเขาทวมอาคารบานเรือน สวนไรนาไดรับความเสียหาย หรือเปนสภาพน้ําทวมขัง ในเขตเมืองใหญที่เกิดจากฝนตกหนักตอเนื่องเปนเวลานาน มีสาเหตุมาจาก ระบบการระบายน้ําไมดีพอมีสิ่งกอสรางกีดขวางทางระบายน้ํา หรือเกิดน้ําทะเลหนุนสูงกรณพี ื้นท่อี ยู ใกลช ายฝง ทะเล 3. นา้ํ ลนตลิ่ง เกดิ ข้ึนจากปริมาณนํ้าจาํ นวนมากทเี่ กดิ จากฝนตกหนักตอเนือ่ งท่ไี หลลงสลู ํา น้าํ หรือแมน ํ้ามปี รมิ าณมากจนระบายลงสูลุม นํ้าดานลา ง หรอื ออกสูป ากน้าํ ไมท ัน ทาํ ใหเ กิดสภาวะน้ํา ลน ตลงิ่ เขาทว มสวน ไรนา และบา นเรือนตามสองฝง นาํ้ จนไดร ับความเสียหาย ถนน หรือสะพานอาจ ชํารุด ทางคมนาคม 4. พายุหมุนเขตรอ น ไดแก ดเี ปรสชั่น พายุโซนรอน พายุใตฝ นุ 5. พายุฤดรู อ น สว นมากจะเกดิ ระหวา งเดอื นมนี าคมถงึ เดือนเมษายน โดยจะเกดิ ถใ่ี น ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนภาคกลางและภาคตะวนั ออก การเกิดนอ ยครงั้ กวา สําหรับ ภาคใตก ็สามารถเกิดไดแ ตไมบอ ยนกั โดยพายุฤดูรอนจะเกดิ ในชวงท่มี ลี ักษณะอากาศรอนอบอา ว ติดตอกันหลายวัน แลวมีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัดมาปะทะกัน ทําให เกิดฝนฟาคะนองมีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกไดจะทําความเสียหายในบริเวณที่ไมกวางนัก ประมาณ 20-30 ตารางกิโลเมตร 6. ภัยจากคลน่ื ยักษส ึนามิ 6.1 คลน่ื สนึ ามิ คือ คลื่นหรอื กลมุ คลนื่ ทมี่ จี ดุ กาํ เนดิ อยูในเขตทะเลลกึ ซึ่งมักปรากฏ หลงั แผน ดนิ ไหวขนาดใหญ แผน ดนิ ไหวใตท ะเล ภเู ขาไฟระเบดิ ดินถลม แผน ดนิ ทรดุ หรืออุกกาบาต ขนาดใหญ ตกสพู น้ื ทะเลหรือมหาสมุทรบนผิวโลก คล่นื สึนามทิ ่ีเกิดขนึ้ นี้จะถาโถมเขาสพู ื้นท่ีชายฝง ทะเลดว ยความรวดเร็วและรุนแรง สรางความเสยี หายอยางใหญห ลวงใหแ กช วี ิตและทรพั ยส ินทีอ่ ยอู าศัย

122 ท่ีพังพินาศไป พรอ ม ๆ กับมนุษยจํานวนมากมายที่อาจไดรับบาดเจ็บและลมตายไปดวยฤทธิ์ของมหา พิบตั ิภัยท่ีเกดิ ขึ้นอยา งฉับพลนั 6.2 สญั ญาณเกดิ เหตุและระบบเตอื นภัย สญั ญาณเตือนคลน่ื สึนามิ การสังเกตท่ีเมืองกามากรุ ะ ประเทศญป่ี นุ กําแพงก้นั สึ นามิในญ่ปี ุน ขณะท่ีจุดตา่ํ สดุ ของคลืน่ เคล่ือนเขาสูฝง ใหส งั เกตระดบั นาํ้ ทะเลทลี่ ดลงอยางรวดเร็วและทาํ ใหขอบทะเลรนถอยออกจากชายฝง ถาชายฝงนั้นมีความลาดชันนอย ระยะการรนถอยนี้อาจมากถึง 800 เมตร ผทู ่ีไมทราบถงึ อันตรายท่จี ะเกิดข้ึนอาจยังคงรออยทู ี่ชายฝง ดวยความสนใจ นอกจากน้บี รเิ วณท่ีตา่ํ อาจเกิดนาํ้ ทว มไดกอนทย่ี อดคลื่นจะเขา ปะทะฝง นํา้ ทีท่ ว มนอ้ี าจลดลงไดก อนท่ยี อดคลน่ื ถัดไปจะ เคลื่อนที่ตามเขามา ดงั นั้นการทราบขอมลู เกี่ยวกบั คล่นื สนึ ามจิ งึ เปนสิง่ ทีส่ ําคญั ที่จะทําใหตระหนกั ถงึ อนั ตราย ตวั อยา งเชน ในกรณที ีร่ ะดบั นาํ้ ในครัง้ แรกลดลงไปนั้น อาจมีคล่นื ลกู ใหญต ามมาอกี ได ดงั นน้ั บริเวณทีม่ คี วามเสีย่ งตอ การเกิดสนึ ามกี ารตดิ ต้ังระบบเตือนภยั เพ่อื พยากรณ และตรวจจบั การเกิดขึ้น ของคลืน่ ยกั ษนี้ 6.3 ขอ ปฏบิ ตั ใิ นการปอ งกนั และบรรเทาภยั จากคลื่นสนึ ามิ ควรรบี อพยพขนึ้ ไปในท่สี ูงโดยเร็วท่สี ดุ และรอประกาศจากหนวยงานเมื่อ สถานการณปลอดภยั หากทา นอยใู นทะเล ขอ ควรปฏบิ ตั ิ คือ (1) เนื่องจากเราไมสามารถรูสึกถึงคลื่นสึนามิไดในขณะทอี่ ยูในมหาสมุทรเปด ดงั นั้นหากอยใู นทะเลและมปี ระกาศเตือนภยั ในพ้ืนทค่ี ลนื่ สึนามสิ ามารถทาํ ใหระดบั นา้ํ ทะเล เปลย่ี นแปลงอยา งรวดเร็วและทาํ ใหเ กดิ กระแสนาํ้ แปรปรวนยงุ เหยิงและอันตรายในบริเวณชายฝงจงึ ไม ควรแลนเรือกลบั เขา ฝง (2) หากมีเวลาพอสามารถเคลื่อนยายเรือออกไปบริเวณน้ําลึก โดยพจิ ารณา หลักเกณฑการดูแลควบคุมทาเรือจากหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบตาง ๆ ดว ย (3) เมอ่ื เหตุการณส งบแลว แตอ าจยังเกิดผลขางเคยี งตาง ๆ การนําเรือกลบั เขาสทู า ตอ งติดตอกบั หนว ยทา เรือเพ่ือตรวจสอบความปลอดภยั เสียกอ น 7. ไฟปา การเกิดไฟปาเกิดจากความประมาทมักงายของคน ไฟปารอยละ 90 เกิดจากฝมอื มนุษยโ ดยเพราะ ผูบกุ รกุ ไปในปาทําการกอ กองไฟแลว ไมดับไฟใหสนิท หรือท้ิงกนบุหรโ่ี ดยไมด บั กอน ไฟปาจะทาํ ความเสียหายใหกบั ปาไม แลว ยังทาํ ลายชวี ิตสัตวปา อีกดวย ตลอดจนกอใหมลพษิ ทาง อากาศบริเวณกวา งและมีผลกระทบตอการจราจรทางอากาศดวย 8. อัคคภี ยั มักจะเกิดความประมาทของมนุษย ทําใหเกิดการสูญเสียอยางใหญหลวงตอ ชวี ิตและทรัพยสนิ ดงั น้ันจงึ ควรระมัดระวังปองกนั ไมใหเกดิ อัคคภี ยั โดยดจู ากการปฏิบตั ใิ น ชีวติ ประจาํ วัน ในเรื่องการหุงตม การใชแ กส การจดุ ธปู บูชาพระ การรีดผา การทองกอ นบหุ ร่ี การเกบ็ เชื้อเพลิงสารเคมีในทป่ี ลอดภัย

123 กิจกรรมทา ยบท 1. ใหผเู รียนอธบิ ายถงึ ความเสยี่ งท่ีมตี อชวี ิตประจาํ วนั มากท่ีสดุ พรอมทางหลีกเล่ยี ง 2. ใหผเู รียนแบงกลมุ อภิปรายอันตรายที่อาจจะเกิดขน้ึ ในแตละวนั พรอ มคาํ แนะนาํ

124 บทท่ี 8 ทกั ษะชวี ติ เพือ่ การคิด สาระสําคัญ การมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับทักษะที่จําเปนสําหรับชีวิตมนุษย โดยเฉพาะทักษะเพื่อการคิด ที่จําเปนสําหรับชีวิต 10 ประการ ซึ่งจะชวยใหบุคคลดังกลาว สามารถที่จะดํารงชีวิตในครอบครัว ชุมชน และสังคมอยางมีความสุข ผลการเรยี นรูที่คาดหวัง 1. มีความรูความเขาใจถึงความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวิต 10 ประการ 2. มีความรูเ กี่ยวกบั ทักษะชีวติ ท่ีจาํ เปน ในการคิด ขอบขายเนอื้ หา เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวิต 10 ประการ เรอ่ื งท่ี 2 ทักษะชีวติ ทจ่ี าํ เปน

125 บทที่ 8 ทักษะชวี ติ เพ่อื การคดิ เนื่องจากสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองในปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทําให ประชาชนตองปรับตัวเพื่อดํารงชวี ิตใหอยูรอดภายใตส ถานการณท ่แี ขง็ ขัน และเรงรีบ ดังกลาว ซึ่งการที่ จะปรับตัวใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข จําเปนตองมีทักษะในการดําเนินชีวิต เชน ทักษะการ แกป ญหา ทกั ษะการตัดสนิ ใจ ทกั ษะการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ เปน ตน เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทักษะชวี ติ 10 ประการ ทักษะชีวิต (Life skill) หมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา ทีเ่ ปนทักษะ ที่จะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตางๆทีเ่ กิดขึน้ ในชีวิตประจําวันได อยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมพรอมสําหรับการปรับตัวในอนาคต องคประกอบของทกั ษะชวี ิต มี 10 ประการ องคประกอบของทักษะชีวิตจะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานที่ แตทักษะ ชีวิตทีจ่ ําเปนทีส่ ุดที่ทุกคนควรมี ซึ่งองคการอนามัยโลกไดสรุปไว และถือเปนหัวใจสําคัญในการ ดํารงชวี ิต คอื 1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เปนความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับ เรือ่ งราวตางๆ ในชีวิตไดอยางมีระบบ เชน ถาบุคคลสามารถตัดสินใจเกีย่ วกับการกระทําของตนเองที่ เกีย่ วกับพฤติกรรมดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลทีไ่ ดจากการ ตดั สินใจเลอื กทางทถ่ี กู ตอ งเหมาะสม ก็จะมผี ลตอการมีสุขภาพท่ดี ีท้ังรางกายและจิตใจ 2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับปญหาที่ เกิดขึ้นในชีวิตไดอยางมีระบบ ไมเกิดความเครียดทางกายและจิตใจจนอาจลุกลามเปนปญหาใหญโต เกนิ แกไ ข 3. ทักษะการคิดสรางสรรค (Creative thinking) เปนความสามารถในการคิดที่จะเปนสวน ชวยในการตัดสินใจและแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพือ่ คนหาทางเลือกตางๆรวมทัง้ ผลทีจ่ ะ เกิดขึน้ ในแตละทางเลอื ก และสามารถนําประสบการณมาปรับใชในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม 4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) เปนความสามารถในการคิด วเิ คราะหขอมลู ตา งๆ และประเมินปญหาหรอื สถานการณท ่ีอยรู อบตัวเราที่มผี ลตอการดําเนินชวี ติ

126 5. ทักษะการสือ่ สารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เปนความสามารถ ในการใชคําพูดและทาทางเพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยางเหมาะสมกับวัฒนธรรม และสถานการณตางๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคิดเห็น การแสดงความตองการ การแสดงความชื่น ชม การขอรอง การเจรจาตอรอง การตักเตือน การชว ยเหลือ การปฏเิ สธ ฯลฯ 6. ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal relationship) เปน ความสามารถในการสรางความสัมพันธที่ดีระหวางกันและกัน และสามารถรักษาสัมพันธภาพไวไดยืน ยาว 7. ทักษะการตระหนักรูในตน (Self awareness) เปนความสามารถในการคนหารูจ ักและ เขาใจตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูค วามตองการ และสิง่ ทีไ่ มตองการของตนเอง ซึง่ จะชวยให เรารูตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือสถานการณตางๆ และทักษะนี้ยังเปนพื้นฐานของการพัฒนา ทักษะอื่นๆ เชน การส่อื สาร การสรางสมั พันธภาพ การตัดสินใจ ความเห็นอกเหน็ ใจผอู ่ืน 8. ทักษะการเขาใจผูอ่ืน (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือนหรือความ แตกตางระหวางบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอืน่ ทีต่ างจากเรา เกิดการชวยเหลือบุคคลอื่นที่ดอยกวา หรือไดรับความ เดอื ดรอน เชน ผตู ิดยาเสพติด ผูตดิ เชือ้ เอดส 9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with emotion) เปนความสามารถในการรับรู อารมณของตนเองและผูอื่น รูว าอารมณมีผลตอการแสดงพฤติกรรมอยางไร รูว ิธีการจัดการกับอารมณ โกรธ และความเศราโศก ที่สงผลทางลบตอรางกาย และจิตใจไดอยางเหมาะสม 10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เปนความสามารถในการรับรู ถึงสาเหตุ ของความเครียด รูว ิธีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่อื ใหเกดิ การเบยี่ งเบนพฤติกรรมไปในทางที่ถูกตองเหมาะสมและไมเกิดปญหาดานสุขภาพ เร่อื งที่ 2 ทักษะชีวิตทจ่ี าํ เปน จากองคประกอบของทักษะชีวิต 10 ประการ เมอ่ื จําแนกแลว มีทักษะ 3 ประการที่จะชวยในการ ดํารงชีวิตของตนเอง ครอบครัวและสังคมไดอยางมีความสุข คือ 1. ทักษะการตัดสินใจ (Dicision making)การตัดสินใจเปนกระบวนการของการหาโอกาส ที่จะหาทางเลือกที่เปนไปไดและการเลือกทางเลือกที่มีอยูหลายๆ ทางเลือกและไดแบงการตัดสินใจ ออกเปน 2 ชนดิ คือ 1.1 การตัดสินใจทีก่ าํ หนดไวลว งหนา (Program decision) เปน การตดั สนิ ใจตาม ระเบยี บ กฏเกณฑ แบบแผนที่เคยปฏิบัติมาจนกลายเปนงานประจํา (Routine) เชนการตัดสินใจเกีย่ วกบั เรียนตอ การลงทุนประกอบอาชีพ การปลูกสรางบานพักอาศัย เปนตน การตัดสินใจแบบกําหนดไว

127 ลวงหนานี้ จะเปดโอกาสใหบุคคลนั้นเลือกทางเลือกไดนอย เพราะเปนการตัดสินใจภายใตสถานการณ ทแ่ี นน อน 1.2 การตัดสนิ ใจทไ่ี มไ ดกาํ หนดไวล วงหนา (Non – Program decision) เปนการ ตัดสนิ ใจในเรื่องใหมท ี่ไมเคยมีมากอ น และไมมกี ฎเกณฑ ไมมีระเบียบ จึงเปน เร่ืองที่สรางความกงั วล ใจพอสมควร ซึ่งบางครั้งผูบริหารจะตองคิดถึงเรื่องความเสี่ยงและความไมแนนอนที่จะเกดิ ขน้ึ ดว ยเชน การตดั สนิ ใจเปลี่ยนงานใหม การตดั สินใจท่ีจะขยายธรุ กิจเพ่มิ การตดั สินใจที่จะลงทุนในธรุ กิจตวั ใหม เปน ตน ขัน้ ตอนการตัดสนิ ใจ สามารถแบงออกไดเ ปนดังนค้ี ือ ขัน้ ท่ี 1 การระบปุ ญหา (Defing problem) เปนขั้นตอนแรกที่มีความสําคัญอยางมาก เพราะ จะตอ งระบุปญหาไดถ ูกตอง จงึ จะดําเนินการตดั สินใจในข้นั ตอนตอๆ ไปได ขัน้ ที่ 2 การระบขุ อจํากดั ของปจ จัย (Identify limiting factors) เปนการระบุปญหาได ถูกตองแลว นาํ ไปพจิ ารณาถึงขอจํากัดตา งๆ ของตนเองหรือหนวยงาน โดยพิจารณาจากทรัพยากรซึง่ เปนองคประกอบของกระบวนการผลิต ข้นั ท่ี 3 การพฒั นาทางเลอื ก (Development alternative) ตอนที่ตองพัฒนาทางเลือกตางๆ ขึ้นมาซึ่งทางเลือกเหลานี้ควรเปนทางเลือกที่มีศักยภาพและมีความเปนไปไดในการแกปญหาใหนอยลง หรอื ใหประโยชนสงู สดุ เชน เพม่ิ การทาํ งานกะพิเศษ เพม่ิ การทํางานลวงเวลาโดยใชตารางปกติ เพิม่ จาํ นวนพนกั งาน เปนตน ข้ันที่ 4 การวเิ คราะหท างเลอื ก (Analysis the alterative) เมื่อไดทําการพัฒนาทางเลือกตางๆ โดยนําเอาขอดีขอเสียของแตละทางเลือกมาเปรียบเทียบกันอยางรอบคอบ ควรพิจารณาวาทางเลือกนั้น หากนํามาใช จะเกดิ ผลตอเนื่องอะไรตามมา ขัน้ ที่ 5 การเลอื กทางเลอื กที่ดีท่ีสุด (Select the best alternative) เม่อื ผบู รหิ ารไดท ําการ วิเคราะห และประเมินทางเลือกตางๆ แลว บุคคลควรเปรียบเทียบขอดีและขอเสียของแตละทางเลือกอีก ครัง้ หน่งึ แลว จงึ ตัดสนิ ใจ 2. ทักษะการแกปญ หา (Problem solving) ทกั ษะการแกปญ หาอาจทําไดหลายวธิ ี ทัง้ นี้ขึ้นอยกู ับลกั ษณะของปญหา ความรแู ละ ประสบการณของผูแกปญ หานนั้ ซ่งึ แตล ะขั้นตอนมคี วามสัมพนั ธดงั นี้ 2.1 ทําความเขาใจปญหา ผูแกปญหาจะตองทําความเขาใจกับปญหาที่พบใหถองแทใน ประเด็นตา งๆ คอื - ปญหาถามวา อยางไร - มีขอมลู ใดแลวบาง

128 - มีเงื่อนไขหรือตองการขอมูลใดเพิ่มเติมอีกหรือไม การวิเคราะหปญหาอยางดีจะชวยใหขั้นตอนตอไปดําเนินไปอยางราบรื่น การจะ ประเมินวา ผูเรยี นเขา ใจปญหามากนอยเพยี งใด ทาํ ไดโดยการกําหนดใหผูเรียนเขียนแสดงถึงประเด็น ตางๆ ท่ี เกย่ี วของกับปญหา 2.2 วางแผนแกปญหา ข้นั ตอนนจ้ี ะเปนการคดิ หาวธิ ี วางแผนเพื่อแกปญหาโดยใชขอมูล จากปญ หาทไี่ ดวิเคราะหไ วแลวในขนั้ ที่ 1 ประกอบกับขอมูลและความรูที่เกี่ยวของกับปญหานั้นและ นํามาใชประกอบการวางแผนการแกปญหาในกรณีที่ปญหาตองตรวจสอบโดยการทดลอง ขน้ั ตอนนก้ี ็ จะเปนการวางแผนการทดลอง ซึ่งประกอบดวยคาดคะเนผลที่จะเกิดลวงหนา (การตั้งสมมติฐาน) กาํ หนดวธิ ี ทดลองหรือตรวจสอบและอาจรวมถงึ แนวทางในการประเมินผลการแกป ญ หา 2.3 ดาํ เนนิ การแกป ญหาและประเมนิ ผล ขั้นตอนนี้จะเปนการลงมือแกปญหาและประเมิน วา วธิ กี ารแกปญ หาและผลทไ่ี ดถ ูกตองหรอื ไม หรือไดผลเปน อยา งไร ถา การแกป ญหาทาํ ไดถูกตองก็จะ มีการประเมินตอไปวา วิธีการนนั้ นา จะยอมรบั ไปใชใ นการแกปญ หาอื่นๆ แตถา พบวาการแกปญหานน้ั ไมประสบความสําเร็จก็จะตองยอนกลับไปเลือกวิธีการแกปญหาอื่นๆที่ไดก าํ หนดไวแ ลว ในขน้ั ท่ี 2 และถายังไมประสบความสําเร็จ นักเรียนจะตองยอนกลับไป ทําความเขาใจปญหาใหมวามีขอบกพรอง ประการใด เชนขอมูลกาํ หนดใหไมเ พยี งพอ เพื่อจะไดเร่มิ ตน การแกปญหาใหม 2.4 ตรวจสอบการแกปญหา เปนการประเมินภาพรวมของการแกปญหาทั้งในดานวธิ กี าร แกป ญหา ผลการแกป ญหาและการตดั สนิ ใจ รวมทัง้ การนําไปประยกุ ตใ ช ท้งั นีใ้ นการแกปญ หาใดๆ ตองตรวจสอบถึงผลกระทบตอครอบครัวและสังคมดวย แมวาจะดําเนินตามขั้นตอนที่กลาวมาแลวก็ตาม ผูแกปญหาตองมีความมั่นใจวาจะสามารถ แกปญ หาน้ันได รวมทัง้ ตองมุง มั่นและทุมเทใหกับการแกปญหา เนื่องจากบางปญหาตองใชเวลาและ ความพยายามเปน อยางสูง นอกจากนถี้ า ผูเรยี นเกิดความเหนื่อยลา จากการแกป ญหาก็ควรใหผ เู รยี นไดมี โอกาสผอนคลาย แลว จึงกลับมาคดิ แกป ญหาใหม ไมควรทอแทหรือยอมแพ 3. ทกั ษะการคดิ สรา งสรรค (Creative Thinking) 3.1 ลกั ษณะสําคัญของความคดิ ริเริ่มสรา งสรรคจ ะประกอบดว ยคณุ ลักษณะตา งๆ ดงั ตอ ไปนี้คอื (1) เปน ความคดิ ท่ีมีอสิ ระ และสรา งใหเกดิ เปน แนวคดิ ใหมๆ (2) ไมมขี อบเขตจาํ กัด หรือกฎเกณฑต ายตัว และเปนแนวคิดทน่ี า จะเปนไปได (3) เปน แนวคิดทอ่ี าศยั การมองท่กี าวไกลสรา งใหเกิดความคดิ ท่ตี อเน่ือง (4) เปน ความคดิ ท่ีอยใู นลักษณะของจนิ ตนาการ ซง่ึ คนท่ัวไปจะไมค อยคดิ กัน (5) ระบบของความคิดนี้จะกระจายไปไดหลายทิศทาง และหลายทางเลือก (6) เปน ความคดิ ท่ีอยใู นลกั ษณะแปลก และแหวกแนวออกไปจากความคดิ ปกติท่วั ไป

129 (7) สรา งใหเกิดส่งิ ประดษิ ฐใ หม นวตั กรรมใหม และมกี ารพัฒนาที่แปลกใหมทเี่ ปน ประโยชนและสรางสรรค (8) ความคิดนี้จะไมกอใหเกิดความเสียหาย หรอื เปนภยั ตอ ตนเองและผูอ่นื 3.2 ทาํ ไมตองฝกและพฒั นาใหเกิดความคดิ สรางสรรค ความคิดสรางสรรคส ามารถฝก และพัฒนาได โดยคนเราจะมีความพรอมตง้ั แตวยั เด็ก ซ่ึงอยูร ะดับประถมศึกษาจะจัดหลกั สูตรใหเอ้อื อํานวยและกระตนุ ใหเ กิดความคดิ ริเรม่ิ ตางๆ เพื่อนาํ ไปสู การพฒั นาอยา งสรา งสรรค ดังนคี้ อื 1. สรา งใหบุคคลกลาคดิ กลา แสดงออก คนที่มีความคิดสรางสรรคมักจะเปนบุคคลที่ กลา เสนอวิธีการและแนวทางใหม ๆ ท่ไี มม ใี ครคิดกนั มากอ น และจะเปนคนทต่ี อสูอยางเตม็ ที่ เพ่ือทจ่ี ะ แสดงความคิดเห็นที่ถูกตองของตนเอง 2. ความคดิ นจ้ี ะนําบคุ คลไปสูสง่ิ ใหมแ ละวธิ ีการใหม ความคิดริเริ่มสรางสรรคจะ กอใหเ กิดสิ่งใหม นวัตกรรมใหม จึงเปนส่ิงจาํ เปน อยางหนึ่งในการท่จี ะใหบ คุ คลหลุดพนจากเร่ืองจําเจที่ ตอ งประสบอยทู ุกวนั 3. สรางใหบคุ คลเปนผูทีม่ องโลกในมุมกวาง และยืดหยุน นอกจากจะสรางความคิด ใหมหรือไดค นพบส่งิ ใหมๆ และสรา งวธิ กี ารใหมๆ แลว ผทู ี่มีความคดิ สรา งสรรคน้ันแมจะมองสง่ิ เดยี วกนั กบั ที่ทุกคนมองอยูแตความคิดของเขาจะไมเหมือนคนอื่นๆโดยจะคิดแตกตางไปอยางไร ขอบเขตเปนความคิดตามจินตนาการที่มอง และรับรูสิ่งตางๆรอบขางในแงมุมที่แตกตางจากคนทั่วๆไป 4. สรา งใหบุคคลไมอ ยูกับที่ และบมเพาะความขยัน คนที่มีความคิดสรางสรรคจะ เปน ผูท่ที ํางานหนกั มีสมาธิสามารถทํางานไดนาน มีความขยันและกระตือรือรน อยากรู อยากเห็น คนควา และทดลองส่ิงใหมๆ อยเู สมอ 5. สรางใหบุคคลเกิดความสามารถในการแกไขปญหาตามสภาพและตามความจํากัด ของทรัพยากร คนที่มีความคิดสรางสรรคจะไมมีการสรางเงื่อนไขในความคิดสามารถคิดหาแนว ทางแกไ ขปญหา และตัดสินใจตามสภาพแวดลอมของปญหาไดภายใตอุปสรรคและความจํากัดของ ทรัพยากรตางๆในทํานองที่วา “Small and Beautiful” หรือ “จ๋วิ แต แจว” 6. สรางผลงานและเกิดส่งิ ใหม ๆ นักสรางสรรคจะมีความสามารถในการอธิบาย สื่อสาร สรา งความเขา ใจใหผ ูอ่ืน นาํ ความคดิ ทีม่ ีคาของตนไปทําใหเกิดประโยชนได ผทู ่มี คี วามคดิ สรา งสรรคจ ะใชสงิ่ ที่กลา วมานเี้ ปน สื่อและเปน แนวทางในการพัฒนา ความสามารถของตนเองไดดี

130 3.3 วธิ ีการพฒั นาใหเ กิดความคดิ สรางสรรค การพัฒนาใหเกิดความคิดสรางสรรคในตนเอง จะตองฝกและพัฒนาตนเองดังนี้ (1) ใหอ สิ ระตนเอง (2) นําตนออกนอกขอบเขต กฎเกณฑ กรอบ และเกราะกําลังตางๆ (3) คิดใหล กึ ซ้งึ ละเอยี ด รอบคอบ (4) อาศยั การใชส มาธิและสติใหอ ยูเ หนืออารมณ (5) ปราศจากอคติ คานิยมสังคม (6) ยอมรับคําวพิ ากษวจิ ารณได (7) อยาใหเวลามาเรงรัดความคดิ จนเกินไป (8) ไมมุงหวังผลกําไรจากความคิด (9) มีทักษะในการฟง (10) หมั่นฝกฝนความคิดอยางสม่ําเสมอ 3.4 วธิ ีกระตนุ ใหเ กิดความคิดรเิ รม่ิ สรา งสรรค การกระตนุ ใหบุคคลเกิดความคดิ รเิ รมิ่ สรา งสรรคไ ดน้นั ผูที่เปนตวั กระตุน อาทิเชน พอ แม ผูปกครอง ครู หรือบังคับบัญชา สามารถใชวิธีการตางๆ ตอไปนี้ฝกใชความคิดอยางสรางสรรค ได โดยอยใู นบรรยากาศทดี่ ี เอื้ออาํ นวยใหเกิดการใชปญญา คอื (1) การระดมสมองอยางอิสระ (2) การเขียนวิจารณความคิด (3) การแยกความเหมือน – ตา ง (4) การอุปมาอุปไมย (5) การมีความคลุมเครือ 3.5 อปุ สรรคของความคิดสรา งสรรค (1) อุปสรรคจากตนเองไมมั่นใจในตนเอง ใชความเคยชินและสัญชาตญาณแกไข ปญหา พอใจในคําตอบเดิมๆ กลัวพลาด ไมกลาเสี่ยง ไมก ลารับผิดชอบ ชอบสรางขอบเขตและ กฎเกณฑใหตนเอง ชอบเลยี นแบบแอบอา งผูอ่นื ชอบเปนผูตาม สามารถทําตามคําสั่งไดดี ไมชอบ แสวงหาความรู ไมเสาะหาประสบการณ ไมเปดใจ ปราศจากการยืดหยุน ไมมีสมาธิ ไมมีสติ (2) อปุ สรรคจากบคุ คลอ่ืนไมยอมรบั ฟง มงุ ตาํ หนิ วิจารณ และปฏเิ สธทกุ ประเด็น อิจฉา เยาะเยย ถากถาง ปดโอกาส (3) ขาดการกระตุนสงเสริม มีการบั่นทอนกําลังใจ ปราศจากการยอมรับ เนนผลกําไร จนเกินไป มีความจาํ กดั ดา นเวลา ทรพั ยากรอืน่ ๆ

131 ดงั น้ัน การจะสรางใหตนเองมีความคิดสรางสรรค หรอื สงเสริม กระตุนใหบุคคลเกดิ ความคดิ ริเรมิ่ สรางสรรค จึงควรจดั กิจกรรมและสภาพแวดลอมใหเ อื้ออาํ นวย พรอมๆ กบั การปองกัน และขจดั อุปสรรคดงั ทก่ี ลาวมาแลว 4. ทกั ษะการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ (Critical thinking) การคิดอยางมีวิจารณญาณ คือ ความสามารถในการสรางและประเมินขอสรุปจากหลักฐานหรือสภาวการณใดไดอยางถูกตองตาม ความเปนจริง มีองคประกอบ 4 อยางดงั น้ี 4.1 ทักษะเบ้อื งตน สําหรบั ใชเปนเครอ่ื งมือในการคดิ ไดแก ความสามารถในการสังเกต ความสามารถในการคนหารูปแบบและ การสรุปสาระสําคัญและการประเมินขอสรุปบนพื้นฐานจาก การสังเกต 4.2 ความรูเฉพาะเกย่ี วกบั สง่ิ ท่ตี อ งคิด ไดแก ความรูเกี่ยวกับเน้อื หาสาระ หลักฐาน หรือ สถานทเี่ ก่ยี วของ เชน เม่ือตองตัดสินใจวา จะเชื่อหรือไมเ ช่ือในเรือ่ งใด ตองหาเหตผุ ล หลักฐานตางๆ ประกอบการตัดสินใจ 4.3 การรคู ดิ ไดแก รูกระบวนการรูคิดของตนและควบคุมใหปฏิบัติตามกระบวนการคิด นน้ั เชน ตองจดจอ ใครครวญ พิจารณาตามหลกั เหตุผล เปนตน 4.4 แรงจงู ใจ หมายถึง พลังที่ใชในการคิด ซึ่งเกิดจากความตองการหรือปรารถนาที่จะคิด อยางมวี จิ ารณญาณ แรงจูงใจในการคดิ จะกาํ หนดเจตคติ และนิสยั ในการคิดของบุคคลนัน้ ๆ ทาํ ใหเ ช่อื หรอื ไมเชื่อในเรื่องใดเรื่องหน่งึ กิจกรรมทายบท 1. จงอธิบายถึงทกั ษะชวี ติ ในขอ ใดทผี่ ูเ รียนเคยนาํ ไปใชใ นชีวติ ประจําวัน อยางนอย 3 ทักษะพรอมยกตัวอยางประกอบ 2. ใหผูเรยี นแบง กลมุ อภิปรายทกั ษะชวี ิตทม่ี ีความจําเปน ในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั มาก ท่ีสุด และนาํ เสนอในกลุม

132 บทที่ 9 อาชพี กบั งานบรกิ ารดา นสขุ ภาพ ความหมายงานบรกิ ารดา นสขุ ภาพ ในปจจุบันคนเรามีการดูแลสุขภาพของตนเองกันมากขึน้ โดยใหความสําคัญตอตัวเองเพิม่ เติม จากปจจัย 4 ที่ตองใหความสําคัญอยูแลว จึงเกิดธุรกิจงานบริการดานสุขภาพเพื่อตอบสนองตอความ ตองการของทุกๆ คน ซึ่งมีหลายประเภท เชน การนวดแผนไทย การทําสปา การฝกโยคะ การเตน แอโรบิค และการลีลาศเพือ่ สุขภาพ เปนตน ในท่ีน้จี ะขอยกตัวอยา งเชน การนวดแผนไทย เพื่อเปนลูทาง ไปสูการประกอบอาชีพกับงานบริการดา นสุขภาพไดตอไป การนวดแผนไทย การนวดแผนไทย เปนภูมิปญญาอันล้ําคาของคนไทยที่สั่งสมและสืบทอดมาแตโบราณ คนไทย เรียนรูว ิธีการชวยเหลือกันเองเมื่อปวดเมื่อย เจ็บปวย รูจ ักการผอนคลายกลามเนื้อดวยการบีบ นวด ยืด เหยียด ดัดดึงตนเอง หรือรูไ วชวยเหลือผูอ ืน่ การนวดเปนการชวยเหลือเกือ้ กูลทีอ่ บอุน เริม่ จากคน ในครอบครัวดวยสื่อสัมผัสแหงความรักและความเอื้ออาทร ถายทอดความรูจ ากการสัง่ สม ประสบการณจากคนรุน หนึง่ ไปยังอีกรุน หนึง่ จนกระทั่งมีหลักในการปฏิบัติและมีวิธีการที่เปน เอกลักษณเฉพาะตัว และการนวดเปนศิลปะของการสัมผัสทีส่ รางความรูส ึกอบอุน ผอนคลายความ เมือ่ ยลา ทําใหเรารูสึกสดชื่นทั้งรางกายและจิตใจ การนวดแผนไทยจึงเปนทั้งศาสตรและศิลปที่มี พัฒนาการมาเปนลําดับ แมวาความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีอันทันสมัยของการแพทยแผนปจจุบัน จะมีบทบาทสําคัญในการดูแลสุขภาพของคนทั่วโลก แตหลายคนก็ยังเสาะแสวงหาทางเลือกอื่น ในการ ดูแลสุขภาพของตนเอง ดว ยเหตุผลแตกตางกนั การนวดแผนไทย เปนอีกทางเลือกหนึง่ สําหรับการดูแล สุขภาพ และไดร บั ความนิยมมากข้นึ เรอ่ื ย ๆ เน่อื งจาก ปจจุบนั มกี ารใชยาแกปวด และยากลอมประสาท หลายชนดิ และมีผลแทรกซอนจาก ยาแกปวดบางชนิดคอนขางรุนแรง เชน ทําใหปวดทอง เกิดแผลใน กระเพาะอาหาร อาเจยี นเปน เลอื ด เปน ตน

133 ประวตั กิ ารนวดแผนไทย ในสมัยโบราณนัน้ ความรูเ กีย่ วกับการแพทยและการนวดของไทย จะสัง่ สอนสืบตอกันมา เปนทอด ๆ โดยครูจะรับศิษยไว แลวคอยสัง่ คอยสอนใหจดจําความรูต าง ๆ ซึง่ ความรู ทีส่ ืบทอดกันมานัน้ อาจเพม่ิ ขึ้น สูญหาย หรือผดิ แปลกไปบา ง ตามความสามารถของครู และศิษยท ี่สบื ทอดกันมา ในสมัยกรุงศรีอยุธยา รัชสมัยของ สมเด็จพระนารายณมหาราช การแพทยแผนไทย เจริญรุง เรืองมาก โดยเฉพาะอยางยิง่ การนวดแผนไทย ปรากฏในทําเนียบศักดินาขาราชการฝายทหาร และพลเรือน ทรงโปรดใหมีการ แตงตั้งกรมหมอนวด ใหบรรดาศักดิเ์ ปนปลัดฝายขวา มีศักดินา 300 ไร ฝายซายมีศักดินา 400 ไร หลักฐานอีกประการหนึ่งจากจดหมายเหตุของราชฑูตลาลูแบร ประเทศ ฝร่ังเศส บันทึกเรื่องหมอนวดในแผนดินสยาม มีความวา \"ในกรุงสยามนั้น ถามีใครปวยไขลง ก็จะ เรม่ิ ทาํ เสนสายยืด โดยผชู ํานาญทางน้ี ขึ้นไปบนรางกายคนไขแลวใชเ ทา เหยยี บ\" ในสมัยรัตนโกสินทร การแพทยแผนไทยไดสืบทอดมาจากสมัยอยุธยา แตเอกสารและวิชา ความรูบ างสวน สูญหายไปในชวงภาวะสงคราม ทัง้ ยังถูกจับเปนเชลยสวนหนึ่ง เหลือเพียงหมอพระ ทอ่ี ยตู ามหัวเมือง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงโปรดใหระดมปน รูปฤาษีดัดตน 80 ทา และจารกึ สรรพวชิ าการนวดไทย ลงบนแผน หนิ ออ น 60 ภาพ แสดงจุดนวดตาง ๆ อยางละเอียด ประดับ บนผนังศาลาราย และบนเสาภายในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เพือ่ ใหประชาชนไดศึกษา โดยทวั่ กนั ตอ มาใน พ.ศ.2375 ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา เจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหบูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) ใหม ทรงให หลอรูปฤษีดัดตนเปนโลหะ มีการ ปรับปรุงตํารายาสมุนไพร จารึกไวรอบอาราม และทรงใหรวบรวมตําราการนวด และตําราการแพทย จารึกในวัดโพธ์ิ เพื่อเผยแพรใ หป ระชาชนทว่ั ไปศกึ ษา และนําความรไู ปใชใหเ กิดประโยชนตอ ไป ใน พ.ศ. 2397 สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว มีการชําระตําราการนวดไทยและ การแพทยไทยเรียกวา “ตําราแพทยหลวง” หรือ แพทยในราชสํานัก และทรงโปรดใหหมอนวดและ หมอยา ถวายการรักษาความเจ็บปวยยามทรงพระประชวร แมเสด็จประพาสแหงใด ตองมีหมอนวด ถวายงานทุกครั้ง ใน พ.ศ. 2499 สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัว ทรงโปรดเกลาฯใหแพทยหลวง ทําการสังคายนา และแปลตําราแพทยจาก ภาษาบาลี และสันสกฤตเปนภาษาไทย เรียกวาตําราแพทย ศาสตรสงเคราะห (ฉบับหลวง) ตอมาเมื่อการแพทยแผนตะวันตกเขามาในสังคมไทย การนวด จึงหมดบทบาทจากราชสํานัก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห ัว และมาฟน ฟูอีกครัง้ ในสมัยรัชกาลปจจุบัน เมือ่ มีการ จัดตัง้ อายุรเวชวิทยาลัย(วิทยาลัยสําหรับการแพทยแผนไทย) สวนการนวดกันเองแบบชาวบานยังคง สืบทอดตอกันมาจากบรรพบุรุษจนถึงปจจุบัน

134 แบบของการนวดแผนไทย การนวดแผนไทยแบง ออกเปน 2 แบบ ไดแ ก 1. การนวดแบบราชสํานัก เปนการนวดเพือ่ ถวายพระมหากษัตริย และเจานายชัน้ สูงใน ราชสํานัก การนวดประเภทนีจ้ ึงใชเฉพาะมอื นว้ิ หวั แมมือ และปลายน้ิว เพ่อื ท่ีผูนวดจะไดสัมผัสรางกาย ของผูร ับการนวดใหนอยที่สุด และทวงทาที่ใชในการนวดมีความสุภาพเรียบรอย มีขอกําหนด ในการเรียนมากมาย ผูท ีเ่ ชีย่ วชาญทางวิชาชีพดานนี้ จะไดทํางานอยูใ นรัว้ ในวังเปนหมอหลวง มเี งนิ เดอื นมียศมตี าํ แหนง 2. การนวดแบบทั่วไป (แบบเชลยศักดิ)์ หรือเรียกกันทั่วไปวา \"จับเสน\" เปนการนวดของ สามัญชนเพือ่ ผอนคลายกลามเนือ้ และชวยการไหวเวียนของโลหิต โดยใชมือนวดรวมกับอวัยวะอื่นๆ เชน ศอก เขา และเทา ดวยทาทางทั่วไปไมมีแบบแผน หรอื พธิ รี ตี องในการนวดมากนัก นับเปนการนวด ซ่งึ เปนท่รี ูจักกนั อยา งแพรห ลายในสงั คมไทย ประเภทของการนวดแผนไทย การนวดแผนไทย ทําใหส ขุ ภาพดี ผอนคลาย ซึง่ แบงออกไดห ลายประเภท ไดแ ก 1. นวดนาํ้ มนั การนวดรางกายโดยใชน้ํามันที่สกัดจากธรรมชาติที่บริสุทธิ์ ท่ีมกี ลิน่ หอมจากธรรมชาติ ชวยให สดชืน่ ผอนคลาย และคลายเครียด ดวยกลิ่นหอม เฉพาะทางทีใ่ ชในการบําบัดอาการใหเบาบางลง เชน อาการนอนไมหลับ อาการเครียด หดหู นอกจากนีน้ ้ํามันบริสุทธิย์ ังชวยบํารุงผิว และกระชับรูปราง ทําใหกลามเนือ้ ไมหยอนยาน สลายไขมันตามรางกาย ความรอนของน้ํามันทีเ่ กิดจากการนวด จะซึมซาบ ลกึ เขาไปผิวหนังและกลา มเน้อื ชวยใหรสู ึกเบาสบายตัว 2. นวดผอนคลาย การนวดผอ นคลาย เปน การนวดที่ถูกสุขลกั ษณะตามแบบแผนไทยโบราณ ซ่ึงสงผลโดยตรงตอ รางกายและจิตใจ ทําใหเกิดการไหลเวียนของเลือดลม คลายกลามเนื้อทีล่ า รักษาอาการปวดเมือ่ ย ตามรางกาย คลายเครยี ด เคล็ดขดั ยอก ชวยใหส ขุ ภาพกระปร้กี ระเปรา จติ ใจผอนคลาย

135 3. นวดฝาเทา การนวดฝาเทา นวดเทา เปนการปรับสมดุลในรางกาย ชวยใหระบบการไหวเวียนไปยังอวัยวะ ตาง ๆ ภายในรา งกายไดดีข้ึน สง ผลใหม ีการขบั ถายของเสียออกจากเซลล ปรับสภาวะสมดุลของรางกาย ทาํ ใหสขุ ภาพโดยรวมดขี ้ึน 4. นวดสปอรท การออกกําลังกายอยางหักโหมจนเกินไป อาจทําใหเกิดอาการเกร็งของกลามเนื้อเฉพาะสวน หรืออาการลา การนวดสปอรท จึงเปน การนวดคลายกลา มเนื้อดงั กลาว ชวยใหก ลามเนอื้ ผอนคลาย 5. นวดจบั เสน การนวดเพื่อบําบัดอาการปวดเมือ่ ยเฉพาะจุด หรือตามขอตอ การยึดติดของพังผืดของรางกาย ใหทเุ ลา ผอ นคลาย โดยการใชนํา้ หนกั กดลงตลอดลาํ เสน ท่ีกระหวัดไปตามอวัยวะตางๆ การนวดชนิดนี้ ตองอาศัยความเชีย่ วชาญของผูน วด ซึง่ ไดทําการนวดมานาน และสังเกตถึงปฏิกิริยาของแรงกดทีแ่ ลน ไปตามอวัยวะตางๆ 6. นวดสลายไขมนั – อโรมา เปน การนวดนาํ้ มนั เพ่ือผอ นคลายกลา มเนอ้ื ทุกสวนของรา งกาย 7. นวด – ประคบ เปนการใชลูกประคบสมุนไพร โดยการนําเอาสมุนไพรทัง้ สดหรือแหงหลาย ๆ ชนิด โขลกพอ แหลกและคลกุ รวมกนั หอดว ยผา ทําเปนลูกประคบ จากนั้นนึง่ ดวยไอความรอน แลวนําไปประคบตาม รางกาย เพื่อผอนคลายกลามเน้ือท่ตี ึงหรือเครียดใหสบาย 8. นวด – ไมเกรน เปน การนวดเพอ่ื แกอ าการปวดศรี ษะ โดยจะกดจดุ บรเิ วณศีรษะทปี่ วด

136 วธิ ีการนวดแผนไทย วิธีการนวดแผนไทยที่ถูกตอง จะทําใหผูนวดไมเหนื่อย และการนวดก็ไดผลเต็มที่ มีความ สะดวกและปลอดภัย สงผลทําใหผูถูกนวดมีสุขภาพดี ผอนคลายความตึงเครียดไดเปนอยางดี ซึ่งแบง ออกไดห ลายวธิ ไี ดแก 1. การกด เปนการใชน้ําหนักกดบนเสนพลังงานบนกลามเนื้อโดยใชนิว้ หัวแมมือกดนวด เปนวงกลม หรือใช ฝามือกดเปนวงกลม และกดตรงเสนพลังงาน โดยใชน้าํ หนักตัวกด นิ้วและหัวแม มือ หัวเขา ฝาเทา ทําการกดเพื่อยืดเสน ทําใหกลามเนือ้ คลายตัวหลอดเลือดขยายตัว การไหลเวียนของ เลอื ด ระบบประสาทการทํางานของอวัยวะตางๆดีขึ้น 2. การบบี เปนการใชนาํ้ หนักบบี กลามเนื้อใหเต็มฝา มือเขา หากนั โดยการออกแรง สามารถใชนิ้วหัวแมมือ ชวยหรือการประสานมือเพือ่ เพิ่มการออกแรง เปนการเพิม่ การหมุนเวียนของเลือด และผอนคลาย กลา มเนอ้ื 3. การทบุ /ตบ/สับ ใชมือและกําปนทุบ/ตบ/สับ กลามเนื้อเบา ๆ เปนการผอนคลายการตึงของกลามเนื้อและให เลือดหมุนเวียนดีขึ้นและเปนการชวยขจัดของเสียออกจากรางกาย 4. การคลงึ เปนการใชน้าํ หนักกดคลึงบริเวณกลามเนือ้ โดยการหมุนแขนใหกลามเนื้อเคลื่อนหรือคลึง เปน วงกลม ใชแรงมากกวาการใชขอศอก ซึ่งใหผลในการผอนคลาย มักใชกับบริเวณทีไ่ วตอการสัมผัส เชน กระดูก หรือขอ ตอ 5. การถู โดยใชน้ําหนักนวดถูไปมา หรือวนไปมาเปนวงกลม บนกลามเนื้อเพือ่ ชวยผอนคลายอาการ ปวดเมื่อยเฉพาะจุด หรือตามขอตอตางๆ

137 6. การหมนุ โดยการใชมือจับและออกแรงหมุนขอตอกระดูกวนเปนวงกลม ชวยใหการเคลื่อนไหวของ ขอตอ ทํางานดีขน้ึ ผอนคลาย 7. การกล้ิง เปนการใชขอศอกและแขนทอนลาง กดแรงๆในกลามเนือ้ มัดใหญๆ เชนตนขา โดยใชน้าํ หนัก หมุนกลิ้ง ทําใหเกิดแรงกดตอเนื่อง และเคลื่อนที่ไปตลอดอวัยวะที่ตองการนวด ทั้งยังเปนการยืด กลามเนื้อดว ย 8. การสน่ั /เขยา ใชมือเขยาขาหรือแขนของผูถูกนวด เพือ่ ชวยทําใหการหมุนเวียนของเลือดดีขึ้น ผอนคลาย กลามเนอื้ ไปในตวั 9. การบิด ลักษณะคลายการหมุน แตเปนการออกแรงบิดกลามเนื้อกับขอตอใหยืดขยายออกไป ในแนวทแยง ทาํ ใหก ลามเนื้อยืด เพอ่ื ใหผังผืด เสนเอน็ รอบ ๆ ขอ ตอ ยดึ คลาย เคลื่อนไหวดขี ้นึ 10. การลนั่ ขอ ตอ เปนการออกแรงยดื ขอตอ อยา งเร็วทําใหเ กิดเสยี งดังลั่น เพือ่ ใหการเคลือ่ นไหวของขอตอทํางาน ดขี ึ้น 11. การยดื ดัดตวั โดยใชฝาเทา เปนการออกแรงยืดกลามเนือ้ ขอตอใหยืดขยายออกไปทางยาว ชวยใหกลามเนือ้ เสน เอ็นยดื คลายตัว 12. การหยุดการไหลเวียนของเลอื ด ใชฝามือกดทีจ่ ุดชีพจรทีโ่ คนขาเพือ่ หยุดการไหลเวียนของเลือดชัว่ ขณะกดไวประมาณครึ่ง ถึง 1 นาทแี ลว คอยๆปลอ ยชา ทาํ ใหก ารไหลเวยี นของเลอื ดดขี น้ึ

138 แหลงเรยี นรกู ารนวดแผนไทย เนือ่ งจากการนวดแผนไทยไดรับความนิยมเปนอยางมากในปจจุบัน ดังนัน้ จึงมีการนําบริการ การนวดแผนไทยมาทาํ เปน ธุรกจิ ควบคูก บั ธรุ กจิ สปา ซึง่ กลายเปนธรุ กจิ ที่สรางรายไดใหแกป ระเทศไทย เปน จาํ นวนมาก โดยมรี ายไดเ ฉลย่ี ในการดาํ เนนิ กจิ การการนวดแผนไทย มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี การนวดตวั โดยเฉลย่ี 300-400 บาท/ 2 ชัว่ โมง การนวดฝา เทา โดยเฉลี่ย 150-250 บาท/ช่วั โมง การนวดประคบสมุนไพร โดยเฉลยี่ 300-350 บาท/ 2 ช่ัวโมง การนวดนาํ้ มนั โดยเฉลี่ย 600-800 บาท/ 2 ช่วั โมง ดังน้ัน หากผูเรียนที่สนใจก็สามารถศึกษาฝกทักษะสรางความชํานาญนําไปสูอ าชีพเปนของ ตนเองได จากแหลงเรียนรูตา งๆ ในชมุ ชน เชน แหลง เรยี นรกู ารนวดแผนไทย เขตกรงุ เทพมหานคร 1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ทาเตียน) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด ใหบริการดานการเรียน-การสอนเกี่ยวกับการนวดแผนไทยมาตั้งแตป 2505 และตอมาไดมีการเพิ่ม หลักสูตรเรียนใหมมาจนถึงปจจุบัน 392/25-28 ซอยเพ็ญพัฒน 1 ถ.มหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร: 02-622-3551, 02-221-3686 2. บานนานาชาติ บานสิริรามาเพลส ถนนพัฒนาการ ระหวางซอย 48 กับ ซอย 50 เขตสวนหลวง กทม โทร.66 [0]2 722 6602 to 10 3. ศูนยอบรมเรอื นไมสปาสมาคมแพทยแผนไทย สาขาพหลโยธิน 54/4 โทร.089-214-1118, 084-091-9511 4. โรงเรียนพฤษภาหัตถแผนไทย 25/8 ซอย 26, ถ.สุขุมวิท คลองตัน คลองเตย กทม 10110 โทร.66-2204-2922/3 5. โรงเรียนการนวดแผนไทย 13 หมู12 ถนนรามคําแหง166 แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. 10510 โทร.02-917-4933 / 02-517-6818 6. ศูนยพัฒนาการแพทยแผนไทย ชลนิเวศน 530 หมูบ านชลนิเวศน ซอย9 (แยก18) ถนน ประชาช่นื ลาดยาวจตจุ ักร กทม. 10900 โทร.0-2911-0543, 0-2585-0995 7. โครงการดอยน้าํ ซับ 505 ซอยลาดพราว 48 แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กทม. โทร.02-939-8167,02939-9939,02-513-9086 8. สมาคมนวดแผนโบราณไทย 138/157 หมู 4, วงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพ 9. โรงเรียนสปาออฟสยาม 163 Thai Ocean Bld. ถ.สุริยวงศ. บางรัก กรุงเทพ โทร.02-634-1900,081-426-5843

139 10. ชีวาศรม อคาเดมี่ กรุงเทพฯ ช้ัน 1 อาคารโมเดิรนทาวน 87/104 ถ. สุขุมวิท ซอย 63 กรุงเทพ 10110 โทร. 02-711-5270-3 11. ปริ๊นเซสบิวตีเ้ ซ็นเตอร สาขาสยามสแควร 194-196 ซอย 1 (สกาลา) ถ.พระราม 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 02-253-3681 12. เบญจ สปา 333 ซ.21 เมืองทอง 2/2 ถ.พัฒนาการ 61 เขตประเวศ กรุงเทพ 10250 โทร. 02-722-2900 13. สถาบันเวชศาสตรค วามงามแผนไทย 111/40 หมบู านศริ สิ ขุ ถนนวภิ าวดี-รังสิต แขวงสีกัน เขตดอนเมอื ง กรงุ เทพฯ 10120 14. พลอยมาลี ศูนยฝกสาขาสมาคมแพทยแผนไทย(ฝกออมใหญ) 177(30) ซ.พหลโยธิน 24, ถ.พหลโยธิน, แขวงจอมพล, เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 15. โรงเรียนกรุงเทพความงามและ สปา 12/1 ถ.ลาดพราว 122 แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 02-9342-690 ,02-734-3290, 086-510-5078 , 086-322-5458 แหลง เรยี นรกู ารนวดแผนไทย เขตภาคกลาง 1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ศาลายา) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด ใหบริการดานการเรียน-การสอนเกี่ยวกับการนวดแผนไทยมาตัง้ แตป 2505 และตอมาไดมีการเพิม่ หลักสูตรเรียนใหมมาจนถึงปจจุบัน 87 หมู 1 ถ.ศาลายา-นครชัยศรี ต.มหาสวัสด์ิ อ.พุทธมณฑล นครปฐม 73120 โทร.034-365-001 ถึง 04 2. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธ์ิ-แจงวัฒนะ) อาคารสายลม 50-89 ซ.ปากเกร็ด-แจงวัฒนะ 15 ถ.แจงวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทร. 02-962-7338 ถึง 40 โทร. 02-962-7338 ถึง 40 โทร. 053-410-360 5 ถงึ 1 3. สมาคมแพทยแ ผนไทย ศูนยฝ กอาชพี ต. คลองสาม อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 4. สถานนวดแผนโบราณ (หมอธน)ู คลองหนึ่ง คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 5. สวนนานาชาติ อาณาจักรแหงการพักผอนทีเ่ พียบพรอมไปดวยการนวดในแบบตางๆ ตลอดจนการปฏิบัติเพือ่ การ บําบัดรักษาโรค เวลาเพียง 1 หรือ 2 ชั่วโมง กับผูช ํานาญการดานการนวด ที่มีคุณภาพและมากดวยประสบการณ 36/12 หมูท่ี 4 ต.หนองบัว อ. เมือง จ.กาญจนบุรี 71190 โทร . 081-9080-201, 081-6999-052, 034-633-356 6. พลอยมาลี ศูนยฝกสาขา สมาคมแพทยแผนไทย (ฝกออมใหญ) 47/78 ม.นิศาชล ถ.เพชรเกษม ต.ออ มใหญ อ.สามพราน จ.นครปฐม 73160 7. โรงเรียนสุขภาพเชตวัน 87 หมู 1 ศาลายา-นครชัยศรี ต.มหาสวัสด์ิ อ.พุทธมณฑล นครปฐม 73170 โทร. 034-365-001 ถงึ 4

140 8. กลมุ พัฒนาอาชพี นวดแผนไทยวัดเสาธงทอง ต. เกาะเกร็ด อ. ปากเกรด็ จ. นนทบรุ ี 9. สถาบันอบรมคลินิก หมอนภา การแพทยแผนไทย: 89/59 ซอยภูมิเวท 4 ปากเกร็ด ต.ปากเกรด็ อ. ปากเกรด็ นนทบุรี 11120 โทร. 081-8683-888, 02-583-3377, 083-4391-414 10. โรงเรียนอนันตสุขนวดแผนไทย23/3-4 หมู 3 ถ.คลองมะขามเรียง ต.หอรัตนไชย อ.พระนครศรอี ยธุ ยา จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 13000 โทร. 035-244-696, 086-126-0008 แหลง เรยี นรกู ารนวดแผนไทย เขตภาคเหนอื 1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (เชียงใหม) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด ใหบริการดานการเรียน-การสอนเกี่ยวกับการนวดแผนไทยมาตัง้ แตป 2505 และตอมาไดมีการเพิม่ หลักสูตรเรียนใหมมาจนถึงปจจุบัน 7/1-2 ซอยหลังรานสมุดลานนา ถ. ประชาอุทิศ ต.ชางเผือก อ.เมือง จ. เชียงใหม โทร. 053-410-360 ถึง 1 2. โรงเรียน ไอทีเอ็ม นวดไทยโบราณ 17/6-7 มรกต ตําบลชางเผือก อําเภอเมืองเชียงใหม เชียงใหม 50300 โทร. 053-218-632 3. โรงเรียนอาทิตยนวดแผนไทย 159/2 ซอย 4 แกวนวรัตน ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง เชียงใหม โทร. 053-262-574 4. โรงเรียนลานนานวดแผนไทย 47 ถนนชาง มอยเกา ซอย 3 ตําบลชางมอย อําเภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม 50300 โทร. 053-232-547 แหลงเรียนรกู ารนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตตะวันออก 1. กศน. อาํ เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา โทร. 038-531-310 2. กศน. อาํ เภอสนามชยั เขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โทร. 038-597-011 3. วารีปุระ มาสสาจ แอนด สปา 52 หมู 9 ตําบลบางพระ อําเภอศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 โทร. 038-312-581 4. เรียนพัฒนาการนวดแผนไทย พัทยา 437/48-50 ถนน พัทยาสาย 2 ซอยยศศักดิ์ (ซอย 6) อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150 โทร. 038-414-115 5 ถงึ 6 แหลง เรยี นรูการนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1. กลุม นวดแผนไทยเพือ่ สุขภาพ บานดาวเรือง ต.สองหอง อ. เมือง จ. หนองคาย 41300 โทร. 089-6213-512 2. วิทยาลยั ชมุ ชนหนองบัวลาํ ภู ต.ดานชาง อ.นากลาง จ.หนองบวั ลาํ ภู 3. ศูนยสาธิตนวดแผนไทย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี โทร. 042-223-356 ตอ 611 หรอื โทร 042-249-692

141 4. กลุม แพทยแผนไทย ตําบลนาพิน อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี 34130 โทร 08-7908- 2733, 08-7958-4209 แหลง เรยี นรกู ารนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตภาคใต สุโข สปา วัฒนธรรมและสุขภาพ รีสอรท 5/10 หมู 3 ถ.เจาฟา ต.วิจิตร Vichit, อ.เมือง, ภูเก็ต 83000 โทร. 076-26 3-222

142 ธุรกจิ นวดแผนไทย ในปจจุบัน ปญหาเมือ่ ยขบ อาการปวดตามรางกาย หรืออาการเครียด มักจะเกิดขึน้ กับหลาย ๆ คนโดยเฉพาะเมื่อมีอายุมากขึ้น สาเหตุมาจากหลายปจจัย เชน ปวดเมือ่ ยจากการนั่งทํางานนาน ๆ คอตก หมอน หรือเครียดจากปญหาเศรษฐกิจ สิ่งเหลานี้ทําใหมีผูทีม่ ีความตองการใชบริการนวดมากขึ้น ซ่ึงความนิยมการนวดไมจํากัดอยูเฉพาะแคชาวไทย หากแตขยายตัวออกไปในหมูชาวตางชาติดวย โดยเฉพาะในกลุม อาเซียน ดังน้ัน ธุรกิจนวดแผนไทย จึงเกิดขึน้ เพือ่ ตอบสนองความตองการ การประกอบธุรกิจนี้จึงเปนทางเลือกหนึง่ ของผูท ี่ตองการประกอบธุรกิจของตนเอง แตกอนทีจ่ ะเริ่มตน ลงมือทํา ผูประกอบการควรศกึ ษาและทําความเขา ใจในธรุ กจิ น้ใี หลกึ ซึ้งเสียกอน ผูท ีส่ นใจทําธุรกิจนวด แผนไทย ควรมศี กั ยภาพและคณุ สมบัตพิ นื้ ฐาน ดงั น้ี 1. มีใจรักในการใหบริการ เนือ่ งจากวาการนวดแผนไทย เปนธุรกิจบริการ ผูประกอบการจึง ตอ งมใี จรกั การใหบ รกิ าร มีความซื่อสตั ย จรงิ ใจ สุภาพ พูดจาไพเราะ มมี นุษยสัมพันธทด่ี ี 2. มีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่ดีอยูเ สมอ หมัน่ ออกกําลังกายใหแข็งแรง หากมีอาการไขหรือ รูสึกไมสบาย ไมควรทําการนวด เพราะนอกจากจะไมไดผลดแี ลวยังอาจแพรโรคใหก บั ผถู กู นวดได 3. มีศีลธรรม และมีสัมมาอาชีวะ การนวดเปนการบริการแบบตัวตอตัว โอกาสใกลชิดและ สัมผัสรางกายลูกคามีอยูตลอดเวลา ดังน้ัน ผูประกอบอาชีพนีจ้ ึงตองใหการนวดเปนไปดวยความ บริสุทธ์ิใจ มศี ลี ธรรม คอื • ไมดืม่ สุรา ไมดืม่ สุรา ทัง้ กอนและหลังการนวด เพราะอาจจะควบคุมตัวเองไมได และอาจทาํ ใหก ารนวดไมไ ดผ ลเทาที่ควร • ไมเจาชู โดยไมแสดงกิริยาลวนลาม หรือใชคําพูดแทะโลมผูถ ูกนวดหรือคนไขทีเ่ ปน ผูหญิง กรณีผูนวดเปนผูชายหรือถาผูนวดเปนผูหญิงก็ไมควรแสดงกิริยาชี้ชวนผูถูกนวดในเรื่องท่ีไม เหมาะสม โดยเฉพาะเรอ่ื งทเ่ี กีย่ วกบั เพศสมั พนั ธ ตอ งนวดดว ยความสภุ าพเรียบรอย พดู คยุ แคพ อสมควร

143 • ไมพูดจาหลอกลวง หมายถึง ไมเลีย้ งไขหรือลอลวงใหผูถูกนวดกลับมาอีกครัง้ ก็ตาม ถา เหน็ วา ไมไ ดผลกค็ วรบอกไปตามตรง และแนะนาํ ใหผปู วยไปรับการรักษาโดยวิธีอื่น มิใชลอลวงเพ่ือ หวงั ผลประโยชน เงนิ ทอง ลาภยศสรรเสรญิ • ผนู วดไมค วรนวดในสถานที่ อโคจร หรือสถานทท่ี ่ไี มเหมาะสม เชน สถานทีค่ าประเวณี โรงน้ําชา บอนการพนัน เปนตน 4. ควรมพี ้นื ฐานความรูด า นการนวดแผนไทย หรือผานการฝกอบรมจากสถานฝกอบรมอยาง นอ ย 30 – 75 ชม. หรอื 15 – 45 วนั เพราะพน้ื ฐานดงั กลาว จะทําใหผูป ระกอบการมีความเขาใจในธุรกิจ น้อี ยางถอ งแท 5. มที ําเลท่เี หมาะสม มองเห็นไดง า ย ชัดเจน การคมนาคมสะดวก เพราะธุรกิจนี้หากมีทําเลทีด่ ี กถ็ ือวา ประสบความสาํ เรจ็ ไปแลวสวนหนึ่ง การประกอบการ กอ นเปด การนวดแผนไทย นน้ั ผูประกอบการจําเปน ตอ งติดตอหนว ยงานตา ง ๆ ดงั นี้ • กรมพัฒนาธุรกิจการคา เพื่อจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจ โดยทัว่ ไปธุรกิจบริการจะไดรับการ ยกเวนไมตองจดทะเบียนพาณิชย แตถาขายสินคาอืน่ รวมดวยตองจดทะเบียน โดยสามารถศึกษา รายละเอยี ดขออนญุ าตไดท ่ี www.ismed.or.th หรอื ที่ www.thairegistration.com • กรมสรรพากร เพือ่ ดําเนินการทางภาษีการจดทะเบียน และภาษีมูลคาเพิ่ม โดยศึกษาจาก www.rd.go.th • กระทรวงสาธารณสุข เพื่อจดทะเบียนและรับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะ ทั้งน้ี หากเปนการนวดเพื่อบําบัด วินิจฉัยโรค หรือฟนฟูสมรรถภาพ ตาม พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 ผูทาํ การนวดตอ งขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต สาขาการแพทยแผนไทยหรือเวชกรรมโบราณ จากคณะกรรมการวิชาชีพกอน และตองดําเนินการในสถานพยาบาลที่ไดรับใบอนุญาตแลวเทานั้น แตหากเปนการนวดเพื่อบรรเทาอาการปวดเมือ่ ย ไมใชเพือ่ การรักษาโรค ผูท ีท่ ําการนวดไมจําเปนตอง ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตผูประกอบการโรคศิลปะ ผูประกอบการสามารถย่ืนคําขอไดที่ กองการประกอบโรคศิลปะ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หรือในตางจังหวัดยืน่ ทีส่ ํานักงาน สาธารณสขุ อําเภอ หรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด แมธุรกิจการนวดจะเปนอาชีพใหบริการ แตก็เปน อาชีพทตี่ องใชความรับผิดชอบสูงเชนกัน

144 โทษทางกฎหมาย มีบทลงโทษทางกฎหมายหากผูนวดกระทําการนวดแบบการรักษาโรค แตไมมีใบอนุญาต ประกอบโรคศิลปะ ซึง่ จะมีความผิดจําคุกไมเกิน 3 ป ปรับไมเกิน 30,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ และ แมจะไมไดนวดแตขึน้ ปายโฆษณาวาเปนการนวดรักษาโรคโดยไมมีใบอนุญาตก็มีความผิด คือมีโทษ จําคุกไมเกิน 2 ป ปรับไมเกิน 40,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ ตามกฎหมายผูนวดตองรับผิดชอบ หากเกิดอันตรายแกผูถ ูกนวด ดังนีห้ ากทําใหผูอื่นเกิดอันตรายแกรางกาย จิตใจ มีความผิดตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 295 จําคุกไมเกิน 2 ป ปรับไมเกิน 4,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ หากผูถ ูกนวด เปนอันตรายสาหัส ดังนีค้ ือ ตาบอด หูหนวก ลิน้ ขาด เสียความสามารถทีม่ านประสาท อวัยวะสืบพันธุ ใบหนา แทงลูก จิตพิการติดตัว ทุพพลภาพหรือเจ็บปวยเรื้อรังตลอดชีวิต หรือไมสามารถประกอบกิจ ตามปกติเกินกวา 20 วัน ตองโทษจําคุก 6 เดือนถึง 10 ป หากกระทําโดยประมาท เชน นวดแลวเกิด อนั ตรายสาหสั ตอ งโทษจําคกุ ไมเ กิน 3 ป หรือปรับไมเ กนิ 6,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ หากนวดผูป วย แลวทําใหเสียชีวิตถือวากระทําการโดยประมาท ตองโทษจําคุกไมเกิน 10 ป ปรับไมเกนิ 20,000 บาท ปจจยั ท่ที าํ ใหธรุ กจิ นวดแผนไทยประสบความสาํ เรจ็ 1. ตองซอื่ สัตยกบั ลูกคา ตอ ตวั เองและพนกั งาน 2. สรางจิตสํานึกทีด่ ีดานการบริการลูกคาใหแกพนักงาน เชน การสวัสดีเมือ่ มีลูกคาเขาราน การทักทายอยางเปนมิตร 3. รักษาการบริการใหไดมาตรฐานคงที่ โดยใหบริการนวดครบทุกขั้นตอนและตามเวลาท่ี กาํ หนด 4. ทําเลที่ตั้งเหมาะสม ใกลกลุมลูกคาเปาหมาย คาเชาสถานที่ไมแพงจนเกินไป 5. มีการรักษาความสะอาดของสถานที่ ความสะอาดอุปกรณการนวด และความสะอาดของ พนกั งานใหด ดู ตี ลอดเวลา กจิ กรรมทา ยบท 1. ใหผ ูเรยี นเขยี นอธิบายประวัตขิ องการนวดแผนไทยมาพอสังเขป 2. ใหผูเรียนอธิบายประเภทของการนวดแผนไทยมีกี่ประเภทอะไรบาง 3. ใหผเู รยี นอธบิ ายวิธีการนวดแผนไทยแบบตางๆ มาพอเขาใจ 4. ใหผ เู รียนบอกแหลงขอ มลู การเรียนรกู ารนวดแผนไทยมา 4-5 แหง

145 บรรณานุกรม วภิ าวดี ลี้ม่ิงสวัสดแิ์ ละจินตนา ไมเ จริญ. (2547). หนังสอื เรียนสาระการเรยี นรพู ้นื ฐาน กลมุ สาระ การเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา สุขศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษทั สํานกั พิมพแม็ค จํากดั วีณา เลิศวไิ ลกลุ นที. (2551). หมวดวิชาพฒั นาทักษะชวี ติ ระดบั ประถมศกึ ษา กรุงเทพฯ : บรษิ ัทนวตสาร จํากัด วุฒชิ ัย อนันคูและคณะ. (2548). หมวดวชิ าพัฒนาทกั ษะชีวติ ระดบั ประถมศึกษา กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สาํ นักพิมพบ รรณกิจ 1991 จํากัด สุวัฒน แกวสงั ขทอง. (2547). หมวดวิชาพฒั นาทักษะชวี ิต ระดบั ประถมศึกษา นนทบุรี : บรษิ ัทปยมติ ร มลั ตมิ ีเดยี จาํ กัด การศึกษาทางไกล,สถาบัน.(2551) ชดุ การเรยี นทางไกล หมวดวชิ าพัฒนาทกั ษะชวี ติ 1 ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ สกสค.ลาดพรา ว โรดตดิ ตอ http://www.siamhealth.net วันที่ 9 กันยายน 2552 รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ (2544) คูมอื หมอชาวบา น สาํ นักพิมพหมอชาวบาน กรุงเทพฯ นิภา แกวศรีงาม “ความคดิ ริเร่มิ สรา งสรรค (Creative Thinking)” http://www.geocities.com/phichitnfc/KN2.htm วันท่ี 14 กันยายน 2552 การคิดอยา งมีวจิ ารญาณ : Critical Thinking http://www.swuaa.com/webnew/ วนั ท่ี 14 กันยายน 2552 การตัดสินใจ http://www.radompon.com/resourcecenter/?q=node/41 วันท่ี 14 กันยายน 2552 กระบวนการแกป ญหา (problem solving process) http://toeyswu.multiply.com/journal/item/6 วนั ที่ 14 กันยายน 2552 นพ. สุรยิ เดว ทรีปาตี. “พัฒนาการและการปรบั ตวั ในวยั รนุ ” http://www.dekplus.org/update/index.html เยาวเรศ นาคแจง. “ข้นั ตอนการระงบั กลิ่นกาย.” ใกลห มอ ปท ี่ 26 ฉบับที่ 12 (ธ.ค. 2545 -ม.ค. 2546) : 92-93 www.teenpath.net siriraj e public library ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล คมู ือคุยเปดใจ รกั ปลอดภยั เพือ่ การสอ่ื สารเร่ืองเพศอยางสรางสรรคระหวางพอ แมแ ละบตุ รหลานใน ครอบครวั โดย โครงการคยุ เปดใจ รักปลอดภยั วนั ทนยี  วาสิกะสนิ และคณะ. ๒๕๓๗. ความรูทั่วไปเกยี่ วกับเพศศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, หนา ๕๗–๗๔

146 โครงการปองกันเอดสบ างซ่อื มูลนธิ ศิ ุภนิมิตแหงประเทศไทย. ๒๕๓๙. จดุ ประกาย BAPP. กรุงเทพฯ: ศูนยก ารพิมพอาคเนย, หนา ๕๗-๗๐. รางกายมนษุ ย สิง่ มชี วี ิตมหัศจรรย. กรุงเทพฯ: สํานักพมิ พธ งสฟี า. มปพ. วราวุธ สุมาวงศ. เกร็ดจากลวมยาชุด คลนิ กิ ผหู ญงิ . กรุงเทพฯ: สาํ นักพิมพพ ิมพทอง, มปพ. ใครวา..การตรวจสอบการตัง้ ครรภไ มสาํ คญั . ฟารมานิวส. ปท ่ี ๒ ฉ.๔, ๒๕๔๑. หนา ๔. The New Our Bodies, Ourselves: A Book by and for Women. The Boston Women’s Health Book Collective, New York: A Touchstone Book, 1992. The Good Housekeeping. The Good Housekeeping illustrated Guide to Women's Health. Kathryn Cox, Editor. New York: Hearst Books, 1995. Grace Chin. Menstrual Myths and Taboos. The Star vol. 4, No. 12 : 4, December 1997. นวพล ใจดี : คูม ืออบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์ ,2553. สํานักพิมพ ฮับเฮลท เมดิซิน. กรุงเทพมหานคร ปรียานุช วงษตาแพง : อบ อบ นวด, 2553, สาํ นกั พิมพ ธิงค กูด. กรุงเทพมหานคร นวดแผนไทย http : //www.xn--13 cgebo 2b 4a 7q3a.com/ ธรุ กิจนวดแผนไทย http : //www.prathyecity.com/N_panThai.doc ธุรกิจนวดแผนไทย http : //www.women.sanook.com/800197/ ธุรกจิ นวดแผนไทย http : //www.library.dip.go.th/multim/edoc/09490.pdf

147 ทีป่ รกึ ษา คณะผจู ัดทํา 1. นายประเสรฐิ 2. ดร.ชัยยศ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. อ่มิ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รนิ ทร 4. ดร.ทองอยู จําป รองเลขาธิการ กศน. 5. นางรักขณา แกว ไทรฮะ ทป่ี รึกษาดา นการพัฒนาหลักสตู ร กศน. ตัณฑวุฑโฒ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผูเขียนและเรียบเรียง สถาบัน กศน. ภาคใต 1. นายมณเฑียร ละงู ผูบรรณาธกิ าร และพัฒนาปรับปรงุ หนว ยศกึ ษานเิ ทศก 1. นางนวลพรรณ ศาสตรเวช โรงเรยี นบดนิ ทรเ ดชา ( สิงห สิงหเสนยี  ) กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางสุปรารถนา ยกุ ตะนนั ทน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน องคการแพธ (PATH) 3. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ องคการแพธ (PATH) ขาราชการบํานาญ 4. นางสาวเยาวรัตน คําตรง ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ 5. นางสาวภาวนา เหวยี นระวี ขาราชการบํานาญ สํานักงาน กศน เขตบางเชน 6. นางสาวกษมา สัตยาหรุ ักษ 7. นางสาวสุรีพร เจริญนชิ 8. นางธญั ญวดี เหลา พาณชิ ย 9. นางเอ้ือจิตร สมจติ ตช อบ 10. นางสาวชนิตา จติ ตธ รรม 11. นางสาวอนงค เชอ้ื นนท คณะทํางาน ม่ันมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสุรพงษ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา

148 ผพู มิ พต นฉบับ คะเนสม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางสาวปย วดี เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางสาวเพชรินทร กวีวงษพิพฒั น กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธษิ า กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวชาลินี บานชี กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวอลิศรา ศรรี ัตนศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ผอู อกแบบปก นายศภุ โชค

149 ผูพฒั นาและปรบั ปรุงครง้ั ที่ 2 คณะท่ีปรกึ ษา บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. อ่ิมสวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. นายประเสรฐิ จําป รองเลขาธิการ กศน. นายชัยยศ จนั ทรโอกลุ ผเู ช่ยี วชาญเฉพาะดา นพฒั นาสือ่ การเรียนการสอน นายวชั รนิ ทร ผาตนิ ินนาท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการเผยแพรทางการศึกษา นางวทั นี ธรรมวิธกี ลุ หวั หนา หนว ยศกึ ษานิเทศก นางชุลีพร นางอัญชลี งามเขตต ผูอํานวยการศึกษานอกโรงเรียน นางศุทธินี ผูพัฒนาและปรับปรงุ ครง้ั ท่ี 2 นายสุรพงษ ม่ันมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายกิตติพงศ จันทวงศ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวผณนิ ทร แซอ ้ึง นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา