Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช 11002)

รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช 11002)

Published by banmolibrary, 2019-02-06 22:01:48

Description: ระดับประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

50 การบอกยนื ยันความตองการ ทบทวนเรอ่ื ง + บอกความรูส กึ + ระบุความตองการ ตวั อยาง: สถานการณคยุ กนั จนดึก แฟนขอนอนคางทห่ี อง  ทบทวน “เรือ่ ง” คอื คําชักชวนหรอื คาํ ขอรอ ง ทางเลือกท่เี พอื่ นหยบิ ย่นื ให : (แฟนขออยูค า ง)  “ความรสู ึก” คือ ความรูสึกของเราตอเงื่อนไข การบอกความรูสึกจะชวยลดการโตเถียงหาเหตุผลมาหวาน ลอ ม เพราะความรูสกึ ของคนตอเร่ือง หนง่ึ ๆ ยอมตา งกันได ระบุใหช ดั วา “ฉัน” คอื ผูที่รสู ึก อยาอา งผอู ่ืน น้ําหนักของการเปน “ฉนั ” นน้ั สาํ คญั กวาขออางอน่ื ใด (“ฉนั ” รูส ึกไมส บายใจถา แฟนจะคา ง)  “ความตองการ” คอื ทางเลอื กท่ีเราตองการทาํ เหตุผล และบอกประโยชนทจ่ี ะไดร วมกัน (กลับตอนนเี้ ลยดีกวา พรุงน้เี ราเจอกนั แตเชานะ) การบอกและยืนยนั ความตองการสามารถทาํ ไดอยา งม่ันคงและม่ันใจ  พูดใหชดั เจน ตรงจดุ สบตาและนา้ํ เสยี งหนักแนน  ยํา้ ดว ยทา ทางเมื่อพูดจบ เชน ลุกข้ึนยนื เพ่ือเดินกลบั ควักเงนิ จา ยคา สว นแบงคา อาหาร เดนิ ไป หยิบของเพอ่ื สง แขก  พดู ซ้าํ อีกครงั้ เมื่อถกู หวานลอมดวยวิธกี ารตา ง ๆ การออกจากเหตุการณโ ดยเร็วเมื่อเมื่อบอก ความตองการไปแลว เปนวิธีหนึ่งที่จะยุติความพยายามชักจูงหรือบังคับทางออม  ย้ํากับตัวเองในความคิดเสมอวา”ฉันมีสิทธิและสามารถเลือกเองไดวาจะทําอะไร” การเปน ตัวของตัวเองเร่มิ ตน ที่ • ซือ่ สัตยต อความคิด ความรูสึกของท่ีแทจรงิ ของตวั เอง ถามตัวเองวาในเหตุการณน ้เี รารูสกึ อยางไร อยากทําอยางไร • ตระหนกั วา ความรสู กึ นอยใจ โกรธ รสู กึ วา ไมม คี ุณคา ไมไดร ับการยอมรบั เปนเราเองท่ตี อ ง รับผิดชอบในแงที่ยอมใหเกดิ ข้นึ เราจึงตองพัฒนาตัวเองมากกวา รอใหผ ูอ่ืนเปนฝายปรับตัว • เร่มิ จากเรื่องเลก็ ๆ ทีเ่ กิดขึ้นบอย ๆ ทบทวนเหตุการณท ี่เกิดขนึ้ วางแผนวา เราจะบอกยนื ยัน ความตองการของเราอยางไร และลงมือทํา

51 • คาดและเตรยี มใจไวลวงหนา ถงึ ปฏิกิริยาโตต อบ เราไมส ามารถเปล่ยี นตัวเองไดดว ยคําพูด ประโยคเดียว และการทาํ ใหผูอ่นื ยอมรบั ก็เชนเดยี วกนั การยอมถอยกลับไปเปนคนเดิมยอม งายกวาแตนั่นก็หมายความวาเราตองรับบท “คนใจดีทไี่ มเคยโกรธ” คอยเก็บงําความรูสึก ผดิ หวัง ความไมพอใจเอาไวโดยลาํ พัง • การบอกยืนยันความตองการของเราใหใชการบอกเลาถึงตัวเองดวยประโยคทข่ี ้ึนตนดวย “ฉนั รูสึก..……” ไมควรใชรูปประโยคตอวา “เธอทาํ ใหฉ ัน.......” เพราะจะนําไปสูการโตเ ถียง เร่อื งท่ี 8 หลากหลายความเชอื่ ท่ผี ดิ ในเรื่องเพศ การ “ชว ยตัวเอง” บอ ยๆ จะทาํ ใหจติ ใจไมป กติหรือเปน โรคจิตประสาทได “การชว ยตวั เอง” เปนทางเลือกหนึ่งในการจัดการกับความรูสึกและความตองการทางเพศซึ่ง เกดิ จากธรรมชาติ ท่ีทุกคนสามารถทาํ ได ทงั้ ผหู ญงิ และผูช าย หากเรายังไมพรอมที่จะเริ่มตน ความสัมพันธ หรอื มีเพศสัมพันธกับใคร ไมใ ชเร่ืองผิดปกติ หนมุ สาวหลายคนมกั จะถกู บอก เก่ียวกบั เรอื่ งการชวยตัวเองผิดๆ หลายอยาง เชน การชวยตวั เองเปนส่ิงทไี่ มด ี บาป ทาํ ใหต ัวเตยี้ เรยี นโง หรอื การชวยตวั เองบอยๆ จะทาํ ใหจ ติ ใจไมปกติ เปนโรคจติ ประสาท หรือเสอ่ื มสมรรถภาพ ทางเพศ เปน ตน ความเช่ือเหลานจี้ งึ สงผลตอ พฤตกิ รรม ทําใหส าวหลายคนมักอายที่จะพดู ถึง สว น หนมุ หลายคนอาจกังวลวาทําบอยๆ จะมีผลอยางไรหรือไม ทงั้ ท่ี วธิ กี ารนช้ี ว ยสนองตอบความ ตองการทางเพศของเราไดดวยตนเอง การชวยตัวเอง จะทําบอยหรือนอยครั้งก็ขึ้นกับความพรอม ความพอใจและสุขภาพของแตละคน ผชู ายมีความตองการทางเพศมากกวาผหู ญิง ความตองการทางเพศเปนเรอ่ื งธรรมชาตทิ ่ีทง้ั ผูหญิงและผชู ายมเี ทา ๆ กนั การมคี วามตองการ ทางเพศมากหรือนอยเปนเรื่องแตละบุคคล ไมเกย่ี วกับความเปนผหู ญงิ หรอื ผูชาย แตค วามคาดหวงั ของสังคมและวัฒนธรรมในสังคมไทยมีตอเรื่องเพศของผูหญิงและผูชายตางกัน เชน ผูชายชวย ตวั เองเปน เร่ืองธรรมดา ผูช ายจะตองมปี ระสบการณท างเพศ ผูชายเทย่ี วซอ งเปนเร่ืองธรรมดา ผชู าย มีเมยี หลายคนถือวาเกง มฝี มือ แตในขณะทเ่ี ร่ืองเพศสําหรับผหู ญิงเปนเรือ่ งทไ่ี มค วรแสดงออก ผูหญงิ ทด่ี ีตองไรเดยี งสาในเรื่องเพศ ผูหญิงชว ยตัวเองเปน เรอ่ื งไมง าม ผูหญงิ ตองรักนวลสงวนตวั และรกั เดยี วใจเดยี ว ดงั น้ัน เมื่อผูชายมีอารมณหรือมีความตองการทางเพศ จึงสามารถปลดปลอย

52 ไดเปน เรอ่ื งปกตธิ รรมดา แตหากเปน ผหู ญงิ จะตองเก็บความรสู กึ ไวและเรียนรูท ี่จะควบคุมอารมณ เพศและการแสดงออก จึงดูราวกับวาผูชายมีความตองการทางเพศมากกวาผูหญงิ ความสขุ ทางเพศของผูหญงิ ขึ้นอยูกบั ขนาดอวยั วะเพศชาย ขนาดของอวัยวะเพศไมมีผลตอความสุขทางเพศเลย แตเ ปน ความเช่ือที่สงผลใหผชู ายเกิด ความไมมั่นใจในตนเอง ซึ่งบางคนมีปญหาในการมีเพศสัมพันธกับคู แลวเขาใจผิดไปเองวามาจาก ขนาดของอวยั วะเพศของตนเลก็ เกนิ ไป ความสุขทางเพศ เปนเรื่องเทคนิควิธีการ ที่มาจากการพูดคุยสื่อสารกันระหวางคนสองคน และชวยกันใหมีความสุขทั้งสองฝาย ความเชื่อในเรื่องขนาด สงผลใหผูชายสวนหนึ่งตองการดัดแปลงอวัยวะเพศตนเอง เชน การ ฝงมกุ โดยเชื่อวา การฝง มุกที่อวัยวะเพศเพื่อใหม ีพนื้ ผวิ ขรุขระ จะชวยเพิ่มความสุข ในขณะรวมเพศ โดยการฝงมุกเทยี ม หรือเม็ดแกวขนาดเลก็ ไวต้ืน ๆ ใตผิวหนงั สําหรับวิธีนี้ หากฝง เพียงตื้น ๆ ใต ผิวหนงั ไมน านก็จะหลุดออกมา แตถา ฝงลึก กม็ โี อกาสติดเชือ้ และเปน แผลได การใชป ากกับอวยั วะเพศเปน เร่ืองผดิ ปกติ การใชปากกับอวัยวะเพศ (Oral sex) หรือการใชป ากทาํ รกั ใหก บั คู ไมวาผูหญิงหรอื ผูช ายจะ ใชปากดูด เลยี อม ท่อี วัยวะเพศของคูเ พือ่ กระตุน ความรสู ึกทางเพศนน้ั เปน เร่ืองธรรมชาตทิ เี่ ปนอีก ทวงทาหนึ่งของการมีเพศสัมพันธ แตการใชปากทํารัก ควรเกิดขึ้นจากการคุยและตกลงกันระหวา งควู า พรอ มใจท่ีจะทําหรือไม เพราะบางคนอาจรูสึกวา การใชปากกับอวัยวะเพศเปนเรื่องสกปรก นาขยะแขยง แตบางคนอาจจะ รูส ึกชอบ เพราะรูว า อวัยวะเพศกม็ ีการดแู ลความสะอาดไมแตกตา งกับอวัยวะสวนอืน่ ๆ ของ รางกาย ขึ้นกับทัศนคติหรือมุมมองของแตละคน ท้ังน้ี การใชปากทาํ รกั ถือวาเปน เพศสัมพันธทป่ี ลอดภยั (Safe Sex) ทงั้ จากการตัง้ ครรภแ ละ ยงั เปนวิธีลดโอกาสเสีย่ งจากการติดเชื้อเอชไอวีดวย โอกาสของการติดเชื้อเอชไอวีจากการใชปากทํารัก เทาทีพ่ บมเี พยี งกรณเี ดียว คือ การใชป าก ทํารักใหกับผูชายท่มี เี ชื้อเอชไอวี โดยมเี งอ่ื นไขเฉพาะ คอื มกี ารหลั่งนํ้าอสจุ ใิ นปาก และในชอ งปาก ของคนที่ทํามีแผล และ/หรือ มีการติดเชื้อในลําคอเทานั้น แตยังไมเคยมีรายงานวามีการติดเชื้อจาก

53 การใชปากทาํ รกั ใหผหู ญงิ ท่มี ีเชื้อเอชไอวี หรือไมพบวามใี ครตดิ เช้ือเอชไอวีจากการทผ่ี ูติดเชื้อใช ปากทํารักให มวี ธิ ที ี่จะบอกไดว า ผูห ญิงคนไหนเคยมเี พศสมั พันธมาแลว ผูชายสวนใหญอยากจะเปนคนแรกของผหู ญิงกนั ท้ังนั้น จึงพยายามหาวิธีการทจี่ ะบอกตอๆ กันในหมูผชู ายดว ยกนั ถงึ วธิ ีการ “ดูซิง” เชน ผหู ญิงทมี่ ที า ทางเรยี บรอย เดินขาหนีบ หนาอกตง้ั สะโพกไมห ยอน เปน ตน แตจากขอ มูลทางการแพทยยืนยนั วา ไมมีทางทีจ่ ะรูไ ดวา ผหู ญิงเคยมี เพศสัมพันธมาแลว ถา หากวาผูหญิงไมบ อกดวยตนเอง ความเช่อื น้จี ะสง ผลใหผ ชู ายไมป อ งกนั เม่ือมีเพศสมั พนั ธก บั ผหู ญิงท่ีตวั เองม่ันใจวา ซงิ ใน ขณะเดียวกันผหู ญิงทีเ่ คยมีเพศสัมพันธม าแลวก็จะปด บังความจรงิ กบั คปู จจุบันเพราะกังวลวาผูช าย จะไมย อมรบั จึงทําใหท้งั คูมีโอกาสเสย่ี งตอการมเี พศสัมพนั ธทีไ่ มป องกนั การหล่งั น้ําอสจุ ทิ ําใหหมดกําลงั ไมมีหลกั ฐานวา การหลั่งน้ําอสจุ ิ ไมวาดวยการชวยตวั เองหรอื มีเพศสัมพนั ธจ ะทําใหหมด กําลงั โดยท่ัวไปหลงั การมเี พศสัมพันธห รอื ชว ยตัวเอง หากไดพกั สักครหู น่ึงรา งกายก็จะกลับคนื สู สภาพปกติ น้าํ กามประกอบดว ยตวั อสุจิซ่งึ ผลติ จากลกู อณั ฑะและน้ําหลอ เล้ยี งอสจุ ิ ซงึ่ ผลิตจากทอและ ตอมตา งๆ ที่อยูใ นทางผา นของตวั อสจุ สิ ูภายนอก เมื่ออายมุ ากอวัยวะดังกลาวจะเส่อื มลง ทําให น้ํากามจางลงและมีจํานวนนอยลงดวย ทําใหความตองการทางเพศและการตอบสนองทางเพศ ลดลง รวมทั้งความสามารถในการหลั่งน้ํากามจะนอยลงดวย คือองคชาติชายสูงอายุอาจแข็งตัวได แตไมสามารถหลั่งนํา้ กาม ดังนน้ั ดวยปจ จยั หลายประการดงั ทกี่ ลา วจงึ ทําใหคนทว่ั ไปคิดวาผูช ายแต ละคนมจี าํ นวนนาํ้ กามจํากัด คือ ถาหลั่งน้ํากามบอยก็จะหมดความสามารถในการหลั่งน้ํากามเร็ว ซึ่งไมเปนความจริง ตรงกันขามกลับพบวาทั้งชายและหญิงที่มีกิจกรรมทางเพศบอยจะรักษา ความสามารถทางเพศไวไดนานกวาคนที่ไมคอยมีกิจกรรมทางเพศ ผูหญิงควรใชน้ํายาทาํ ความสะอาดชองคลอด ในชอ งคลอดของผูหญิงมีแบคทีเรียธรรมชาติที่รักษาความสมดุลยของชองคลอดอยูแลว หาก ไปใชน้ํายาที่สวนผสมของกรดหรือดางที่มากเกินไป จะทําใหเกิดการทําลายแบคทีเรียธรรมชาตินั้น จนเสียความสมดุลย และสวนผสมของน้ําหอมในน้ํายายังอาจกอใหเกิดการระคายเคืองบริเวณชอง

54 คลอด เปนผื่นคันและทาํ ใหต ิดเชอื้ โรคไดง า ย นอกจากนี้ ยังทําใหตองสน้ิ เปลืองเงินเพิ่มขน้ึ เพ่ือซ้อื น้ํายาทําความสะอาดมาใช ทงั้ ๆ ทกี่ ารอาบนํา้ ปกตทิ ั่วไปที่ใชสบแู ละน้ําสะอาดแลว ซบั ทบ่ี รเิ วณ อวยั วะเพศใหแ หง กเ็ พยี งพอแลว ผูหญิงเมอ่ื เปนสาวจะมหี วั นมเปน สีชมพู เปน เรอ่ื งธรรมชาติท่ีผหู ญิงแตละคนจะมีหนา อกที่แตกตา งกันหลายรปู ทรง หลายขนาดและ หลายสี อาจจะมอี กขนาดเลก็ หรอื ใหญ หัวนมอาจตั้งข้ึนหรอื จะคลอยลง อาจจะนิ่มหรือกระชับกไ็ ด ทั้งนี้ สีของหัวนมก็เชนเดียวกันที่อาจมีความแตกตางกันไปตามธรรมชาติของแตละคน เชน สีเขม (คลาํ้ ) หรือสีซดี ความแตกตา งแบบน้เี ปนเรื่องธรรมดาไมเกย่ี วกับเม่ือเปนสาวแลวจะตองมหี ัวนม เปนสีชมพู เรอ่ื งท่ี 9 กฎหมายที่เก่ียวขอ งกบั การลว งละเมดิ ทางเพศ การลวงละเมิดทางเพศ หมายถงึ พฤตกิ รรมที่ละเมิดสทิ ธขิ องผอู ่ืนในเรือ่ งเพศ ไมวา จะเปน คําพูด สายตา และการใชทาที รวมไปจนถึงการบังคับใหมีเพศสัมพันธ การขมขืน และตองคํานึงถึง ความรสู กึ ของผหู ญงิ เปนหลัก การกระทาํ ใดๆ ก็ตามที่ทําใหผ ูห ญิงรูสกึ อับอาย เปนการลวงเกินความ เปน สวนตัว และไมย นิ ยอมพรอ มใจใหท ํา ถือเปน การลว งละเมดิ ทางเพศท้งั สิ้น มีบัญญัตอิ ยใู นลักษณะ 9 ความผิดเกยี่ วกบั เพศ ดงั นี้ มาตรา 276 ผใู ดขม ขืนกระทําชําเราหญิงซง่ึ มใิ ชภรยิ าตน โดยขูเข็ญประการใดๆ โดยใชก ําลัง ประทษุ รา ยโดยหญงิ ในภาวะทีไ่ มส ามารถขดั ขืนได หรอื โดยทําใหหญงิ เขา ใจผดิ คดิ วาเปน บคุ คลอื่น ตอ งระวางโทษจาํ คุกตัง้ แตสี่ปถงึ ยสี่ ิบป และปรบั ต้ังแตแปดพนั บาทถึงสพี่ ันบาท ถา การกระทาํ ความผิดตามวรรคแรกไดกระทําโดยมีหรือใชอาวุธปนหรือวัตถุระเบิด หรือโดยรวมกระทําความผิด ดว ยกัน อันมีลักษณะเปน การโทรมหญิง ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตงั้ แตส ิบหาปถึงย่ีสบิ ป และปรบั ตงั้ แต สามหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชวี ติ มาตรา 277 ผใู ดกระทําชาํ เราเด็กหญิงอายไุ มเ กนิ สิบหา ป ซง่ึ มใิ ชภ ริยาตน โดยเดก็ หญิงน้ันจะ ยินยอมหรือไมก ต็ าม ตองระวางโทษจําคุกตัง้ แตสี่ปถงึ ย่สี บิ ป และปรบั ตง้ั แตแปดพันบาทถงึ ส่ีหม่ืนบาท

55 ถากระทําความผิดตามวรรคแรกเปนการกระทําแกเด็กหญิงอายุไมเกินสิบสามป ตองระวางโทษจําคุก ต้ังแตเจ็ดปถ ึงยส่ี บิ ป และปรับต้งั แตห นง่ึ หมืน่ บาทถึงส่ีหมน่ื บาท หรือจาํ คุกตลอดชวี ิต ถาการกระทาํ ความผิดนั้นความวรรคแรก หรือวรรคสองไดกระทําโดยรวมกระทําความผิดดวยกันอันมีลักษณะเปน การโทรมหญงิ และเดก็ หญงิ น้ันไมย นิ ยอม หรอื ไดก ระทําโดยมีอาวุธปนหรือวัตถุระเบดิ หรือโดยใช อาวุธ ตองระวางโทษจําคุกตลอดชวี ิต ความผดิ ตามที่บัญญตั ไิ วในวรรคแรก ถา เปน การกระทําท่ชี าย กระทาํ กบั เดก็ หญงิ อายกุ วา สบิ สามป แตยังไมเกินสิบหาปโ ดยเด็กหญงิ น้ันยนิ ยอมและภายหลงั ศาล อนุญาตใหชายและเดก็ หญงิ นน้ั สมรสกนั ผกู ระทําผิดไมตองรับโทษ ถาศาลอนุญาตใหสมรสใน ระหวา งทผี่ กู ระทําผิดกาํ ลังรับโทษในความผิดนน้ั อยู ใหศาลปลอ ยผูกระทําผิดนั้นไป มาตรา 277 ทวิ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรก หรอื มาตรา 277 วรรคแรก หรือวรรคสอง เปน เหตุใหผ ถู ูกกระทํา (1) รับอนั ตรายสาหสั ผูกระทาํ ตองระวางโทษจําคกุ ต้งั แตสิบหา ป ถงึ ยส่ี ิบหาป และปรบั ต้งั แต สามหมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต (2) ถึงแกค วามตาย ผกู ระทาํ ตอ งระวางโทษประหารชีวิต หรอื จําคุกตลอดชีวติ มาตรา 277 ตรี ถาการกระทําความผิดตามมาตรา 276 วรรคสองหรือมาตรา 277 วรรคสาม เปน เหตใุ หผูกระทาํ (1) รบั อนั ตรายสาหัส ผกู ระทาํ ตองระวางโทษประหารชีวติ หรือจําคุกตลอดชีวิต (2) ถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษประหารชีวิต โดยสรุป การจะมีความผิดฐานกระทําชําเราได ตองมีองคประกอบความผิดดังนี้ 1. กระทําชาํ เราหญงิ อืน่ ทีไ่ มใชภ รรยาตน 2. เปนการขมขืน บงั คบั ใจ โดยมกี ารขูเ ข็ญ หรือใชกําลังประทษุ รา ย หรือปลอมตัวเปน คนอ่ืนที่ หญิงชอบและหญิงไมสามารถขัดขื่นได 3. โดยเจตนา

56 ขอสงั เกต กระทําชําเรา = ทําใหของลับของชายลวงล้ําเขาไปในของลับของหญิง ไมวาจะลวงล้ําเขาไป เล็กนอยเพยี งใดกต็ าม และไมว า จะสําเร็จความใครห รือไมก ็ตาม การขมขืน = ขมขืนใจโดยที่หญิงไมสมัครใจ การขมขืนภรรยาของตนเองโดยที่จดทะเบียนสมรสแลวไมเปนความผิด การรวมเพศโดยทผ่ี ูหญงิ ยนิ ยอมไมเปน ความผดิ แตถ า หญิงนนั้ อายุไมเ กนิ 13 ป แมย ินยอมก็มี ความผิด การขมขืนกระทําชําเราผูที่อยูภายในปกครองของตนเอง เชน บุตร หลาน ลกู ศษิ ยท ่อี ยูในความ ดูแลตอ งรบั โทษหนักข้นึ มาตรา 278 ผูใ ดกระทาํ อนาจารแกบ คุ คลอายกุ วาสิบหาป โดยขเู ข็ญดว ยประการใดๆ โดยใช กําลงั ประทษุ ราย โดยบคุ คลน้ันอยใู นภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได หรือ โดยทําใหบุคคลนน้ั เขาใจผดิ วา ตนเปนบุคคลอื่น ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกนิ สบิ ป หรือ ปรบั ไมเกนิ สองหม่ืนบาท หรอื ทั้งจําทงั้ ปรบั มาตรา 279 ผูใดกระทําอนาจารแกเด็กอายยุ งั ไมเกนิ สบิ หา ป โดยเด็กนน้ั จะยินยอมหรือไมก ็ตาม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป หรือ ปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถากระทําความผิด ตามวรรคแรก ผกู ระทําไดก ระทําโดยขเู ข็ญดว ยประการใดๆ โดยใชกําลงั ประทษุ รายโดยเด็กนัน้ อยูใน ภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได หรือ โดยทําใหเด็กนั้นเขาใจผิดวาตนเปนบุคคลอื่น ตองระวางโทษจําคุกไม เกินสบิ หาป หรือปรับไมเกนิ สามหมื่นบาท หรือท้ังจําทงั้ ปรับ มาตรา 280 ถากระทําความผิดตามมาตรา 278 หรอื มาตรา 279 เปน เหตใุ หผ ูถกู กระทํา (1) รบั อนั ตรายสาหสั ผูก ระทําตองระวางโทษจําคุก ต้ังแตห าปถ ึงยส่ี ิบป และปรบั ตง้ั แตหนึง่ หมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท (2) ถึงแกความตาย ผกู ระทําตองระวางโทษประหารชีวิต หรอื จาํ คกุ ตลอดชวี ิต

57 การจะมคี วามผดิ ฐานทําอนาจารได ตอ งมอี งคป ระกอบ คือ 1. ทําอนาจารแกบุคคลอายุเกินกวา 13 ป 2. มีการขมขู ประทุษราย จนไมสามารถขัดขืนได หรือทําใหเขาใจวาเราเปนคนอื่น 3. โดยเจตนา ขอ สงั เกต อนาจาร = การทําหยาบชาลามกใหเปนที่อับอายโดยที่หญิงไมสมัครใจ หรือโดยการปลอมตัว เปนสามีหรือคนรัก การทําอนาจารกับเด็กอายุไมเกิน 13 ป แมเด็กยินยอมก็เปนความผิด ถาทําอนาจาร กับบุคคลใดแลวบุคคลนั้นไดรับอันตรายหรือถึงแกความตายตองไดรับโทษหนักขึ้น การทําอนาจารไมจําเปนตองทํากับหญิงเสมอไป การทําอนาจารกับชายก็ถือเปนความผิด เชนเดียวกันไมวาผูกระทําจะเปนชายหรือหญิงก็ตาม ความผิดทั้งการขมขืน การกระทําชําเราและการ กระทาํ อนาจารน้ี ผูกระทาํ จะไดรับโทษหนกั ขนึ้ กวา ท่ีกําหนดไวอ กี 1 ใน 3 หากเปนการกระทําผิดแก 1.ผสู บื สนั ดาน ไดแ ก บุตร หลาน เหลน ลอื (ลูกของหลาน) ที่ชอบดวยกฏหมาย 2.ศษิ ยซง่ึ อยใู นความดูแล ซึ่งไมใ ชเ ฉพาะครูท่มี ีหนา ทส่ี องอยางเดยี ว ตองมีหนาทด่ี ูแลดวย 3.ผูอยูในความควบคุมตามหนาที่ราชการ 4.ผูอยูในความปกครอง ในความพิทักษ หรือ ในความอนุบาลตามกฏหมาย นอกจากน้ี ยังมมี าตราอื่นๆ ที่เกี่ยวของอีก ไดแก มาตรา 282 ผูใดเพอ่ื สนองความใครข องผูอ่ืน เปนธุระจัดหา ลอไป หรือพาไปเพอื่ การอนาจาร ซ่ึงชายหรอื หญิง แมผูน้ันจะยินยอมกต็ าม ตองระวางโทษจําคุกตงั้ แตหนงึ่ ปถึงสบิ ปและปรบั ตั้งแตส อง พันบาทถึงสองหมื่นบาทถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกเปนการกระทําแกบุคคลอายุเกินสิบหาป แตย งั ไมเกนิ สบิ แปดป ผูกระทาํ ตอ งระวางโทษจาํ คุกตั้งแตสามปถ ึงสบิ หา ป และปรบั ต้ังแตห กพันบาท ถึงสามหมื่นบาทถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกเปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผกู ระทําตองระวางโทษจาํ คกุ ตัง้ แตหา ปถ ึงย่ีสิบป และปรบั ตัง้ แตหน่ึงหมน่ื บาทถึงสห่ี มื่นบาทผใู ดเพื่อ สนองความใครของผูอืน่ รบั ตวั บุคคลซงึ่ ผตู อ งระวางโทษตามทบ่ี ญั ญัตไิ วในวรรคแรก วรรคสอง หรือ วรรคสาม แลว แตกรณี

58 มาตรา 283 ผูใดเพ่อื สนองความใครข องผูอ่ืน เปนธรุ ะ จดั หาลอ ไป หรือ พาไปเพื่อการอนาจาร ซึ่งชายหรือหญงิ โดยใชอ ุบายหลอกลวง ขูเขญ็ ใชกําลังประทุษราย ใชอํานาจครอบงําผิดคลองธรรม หรือใชวิธขี ม ขืนใจดวยประการอื่นใด ตองระวางโทษจําคุก ต้ังแตห าสิบปถ ึงย่ีสิบป และปรบั ตัง้ แตหน่ึง หมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ถาการกระทําตามความผิดวรรคแรก เปนการกระทําแกบุคคลอายุเกินสิบหาแต ยงั ไมเ กินสบิ แปดป ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกต้ังแตเจ็ดปถึงยี่สบิ ป และปรับตงั้ แตหนึง่ หมน่ื สี่พัน บาทถึงสีห่ ม่นื บาท ผกู ระทําตองระวางโทษจําคุกตัง้ แตส ิบปถ ึง ยี่สิบป และปรับต้งั แตส องหม่นื บาทถึงสี่ หม่นื บาท หรือจําคุกตลอดชีวติ หรือประหารชีวติ ผใู ดเพ่ือสนองความใครของผูอืน่ รับตวั บุคคลซงึ่ มีผู จดั หาไป ลอไป หรอื พาไปตามวรรคแรก วรรคสอง หรอื วรรคสามหรอื สนับสนุนในการกระทํา ความผิดดังกลาว ตองระวางโทษตามที่บัญญัติไวในวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสามแลวแตกรณี มาตรา 283 ทวิ ผูใดพาบุคคลอายุเกินสิบหาปแ ตย ังไมเ กินสบิ แปดปไปเพ่ือการอนาจาร แมผูน นั้ จะยินยอมก็ตาม ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเกินหาปหรือปรับไมเ กินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ ถา การกระทําความผิดตามวรรคแรก เปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผูกระทําตองระวางโทษ จําคุกไมเกนิ เจ็ดปหรอื ปรบั ไมเ กนิ หนึ่งหมื่นสพ่ี นั บาท หรือทัง้ จําท้งั ปรับ ผูใ ดซอ นเรนบคุ คลซึ่งพาไป ตามวรรคแรกหรือวรรคสองตองระวางโทษตามที่บัญญัติในวรรคแรกหรือวรรคสองแลวแตกรณี ความผิดตามวรรคแรก และวรรคสามเฉพาะกรณีที่กระทําแกบุคคลอายุเกินสิบหาป เปนความผิดอัน ยอมความได มาตรา 284 ผใู ดพาผูอน่ื ไปเพอ่ื อนาจาร โดยใชอุบายหลอกลวง ขูเขญ็ ใชก ําลงั ประทษุ ราย ใช อาํ นาจครอบงํา ผิดคลองธรรมหรือใชวธิ ขี ม ขืนใจดวยประการอ่ืนใด ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตห นง่ึ ป ถงึ สบิ ปและปรบั ตง้ั แตสองพันบาทถงึ หนึ่งหมืน่ บาท ผูใดซอ นเรนบคุ คลซึง่ เปน ผถู ูกพาไปตามวรรค แรก ตองระวางโทษเชน เดียวกับผพู าไปนั้น ความผิดตามมาตรานี้ เปนความผิดอันยอมความได มาตรา 317 ผูใดปราศจากเหตอุ ันสมควรพรากเดก็ อายุยงั ไมเ กินสิบหาปไปเสียจากบิดามารดา ผูป กครอง หรือผูดูแล ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาปและปรับตั้งแตหกพันบาทถึงสาม หมืน่ บาทผูใ ดโดยทจุ ริต ซอื้ จําหนาย หรือรับตัวเด็กซ่งึ ถูกพรากวรรคแรก ตอ งระวางโทษเชนเดยี วกับผู พรากนั้น ถาความผิดตามมาตรานี้ไดกระทําเพื่อหากําไร หรือ เพื่อการอนาจาร ผูกระทําตองระวางโทษ จาํ คุกตง้ั แตหา ปถึงยี่สิบปและปรับตั้งแตห น่ึงหม่นื บาทถงึ สหี่ มน่ื บาท

59 มาตรา 318 ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดปไปเสียจากบิดามารดา ผปู กครองหรือผดู แู ล โดยผเู ยาวน ัน้ ไมเ ตม็ ใจไปดวย ตองระวางโทษจาํ คกุ ตั้งแตสองปถึงสบิ ปแ ละ ปรบั ตั้งแตส ีพ่ ันบาทถึงสองหมื่นบาท ผใู ดโดยทจุ ริต ซื้อ จําหนาย หรือ รบั ตัวผูเยาวซ่ึงถูกพรากตาม วรรคแรกตอ งระวางโทษเชนเดยี วกบั ผพู รากนั้น ถา ความผิดตามมาตรานี้ไดกระทําเพอื่ กําไร หรือเพื่อ การอนาจาร ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกจชตั้งแตสามปถึงหาป และปรับตั้งแตหกพันบาทถึงสามหมื่น บาท มาตรา 319 ผใู ดพรากผูเยาวอายุกวา สิบหาปแ ตย งั ไมเกนิ สิบแปดปไ ปเสียจากบดิ ามารดา ผปู กครองหรือผดู แู ละเพื่อหากาํ ไรหรือเพ่ือการอนาจาร โดยผูเยาวนนั้ เต็มใจไปดว ย ตองระวางโทษ จําคกุ ตง้ั แตส องปถ งึ สิบปแ ละปรับต้ังแตสีพ่ ันบาทถึงสองหมน่ื บาท ผใู ดโดยทจุ ริต ซ้ือ จําหนา ย หรือรับ ตวั ผูเยาวซงึ่ ถกู พรากตามวรรคแรกตองระวางโทษเชน เดยี วกับผูพรากนนั้ ผทู ี่จะมีความผิดฐานพรากผเู ยาวค วามผดิ น้ันจะตองประกอบดว ย 1. มีการพรากบุคคลไปจากการดูแลของบิดามารดา ผูดูแล หรือผูปกครอง 2. บุคคลที่ถูกพรากจะเต็มใจหรือไมก็ตาม 3. ปราศจากเหตุผลอันควร 4. โดยเจตนา ขอสังเกต การพรากผูเยาว = การเอาตวั เด็กทอ่ี ายยุ งั ไมครบบรรลุนิติภาวะไปจากความดูแลของบิดามารดา ผปู กครอง หรือ ผดู แู ลไมวาเด็กนนั้ จะเต็มใจหรือไมก็ตาม การพรากผูเยาวอายเุ กนิ 13 ป แตไ มเกิน 18 ป โดยผูเ ยาวไ มเ ตม็ ใจเปนความผดิ ผทู ่ีรบั ซื้อขายตัว เด็กท่ีถกู พรากฯตองรับโทษเชนเดยี วกบั ผูพ ราก ผทู พี่ รากฯหรือรับซ้ือเดก็ ที่พรากฯ ไปเปนโสเภณี เปน เมียนอ ยของคนอ่ืน หรือเพื่อขมขืน ตองรบั โทษหนกั ขนึ้ การพรากผูเยาวอายเุ กนิ 13 ป แตไ มเ กนิ 18 ป แมผเู ยาวจะเตม็ ใจไปดวย ถานําไปเพื่อการ อนาจารหรือคา กําไรเปน ความผดิ เชน พาไปขน ขืน พาไปเปนโสเภณี

60 คําแนะนําในการไปตดิ ตอ ทสี่ ถานีตาํ รวจ การแจงความตางๆ เพื่อความสะดวก รวดเร็วและถูกตองตามกฏหมายและระเบียบของทางราชการ เมื่อทานไป ตดิ ตอท่โี รงพัก ทานควรเตรียมเอกสารที่จาํ เปนตดิ ตวั ไปดวยคอื แจง ถูกขมขืนกระทําชําเรา หลักฐาน ตา งๆ ทค่ี วรนาํ ไปแสดงตอ เจาหนา ทีต่ ํารวจ คือ เส้ือผาของผูถ กู ขมขืน ซงึ่ มคี ราบอสุจิ หรือรอยเปอน อยางอ่ืนอันเกิดจากการขม ขืนและส่งิ ตางๆของผตู องหาท่ีตกอยใู นท่ีเกิดเหตุ ทะเบียนบานของผเู สียหาย รปู ถา ย หรือ ท่ีอยขู องผูตอ งหาตลอดจนหลกั ฐานอนื่ ๆ (ถา ม)ี แจงพรากผูเยาวหลักฐานตางๆ ควรนําไป แสดงตอ เจา หนาที่ตาํ รวจคือ สูติบัตรของผเู ยาว ทะเบยี นบานของผูเยาว รูปถายผูเยาวใบสําคญั อ่ืนๆ ที่ เกย่ี วกับผูเยาว (ถามี) หมายเหตุ ในการไปแจง ความหรือรองทกุ ขต อ พนกั งานสอบสวนน้ัน นอกจากนาํ หลกั ฐานไปแสดงแลว ถาทานสามารถพาพยานบุคคลที่รูเห็นหรือเกี่ยวของกับเหตุการณไ ปพบเจา หนา พนกั งานสอบสวนดว ย ก็จะเปนประโยชนแกทาน และพนักงานสอบสวนเปนอยางมาก เพราะจะสามารถดําเนินเรื่องของทาน ใหแ ลว เสรจ็ ไดเร็วขน้ึ เรื่องท่ี 10 โรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพันธ อาการโดยทั่วไปของผูปวยโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ • ปสสาวะขัด • มีผน่ื แผลหรือตมุ นาํ้ ทอ่ี วยั วะเพศหรือทวารหนกั • มีหนองหรือน้ําหลั่งจากชองคลอดหรือทอปสสาวะ • มีอาการคันหรือปวดบริเวณทวาร • มอี าการแดงและปวดบริเวณอวยั วะเพศ • ปวดทองหรือปวดชองเชิงกราน • ปวดเวลามีเพศสัมพันธ • ตกขาวบอย

61 โรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพันธท่ีพบบอ ย เรมิ เปนโรคติดเชื้อที่ผวิ หนงั และเยื่อบุบริเวณปากและอวยั วะเพศเกดิ จากเชอื้ ไวรสั ที่มีชอ่ื วา เฮอรป ซิมเพลกซ อาการของเริม อาการแรก คือ ปวดแสบรอน อาจมีอาการคัน เจ็บจี๊ด และมีอาการบวม ตามมาดวยตุมน้ําพอง ใสเหมอื นหยดน้ําเลก็ ๆ มีขอบแดงในสองสามวันตอมา ตุมน้ํามักแตกใน 24 ชัว่ โมง และตกสะเก็ดเปน แผลถลอกต้นื ๆ ตมุ อาจรวมเปน กลมุ ใหญและเปนแผลกวาง ทําใหปวดมาก หากรักษาความสะอาด ไมใ หตดิ เชื้อซา้ํ หรือมีหนองแผลที่เกิดจากตมุ จะหายเองไดใน 2 ถงึ 3 สปั ดาห เมอ่ื มีอาการติดเชื้อครั้งแรกแลว จะกลับมาเปนผื่นใหมเ ปน ระยะ เนอื่ งจากรา งกายกาํ จดั เชอื้ ไวรัส ไดไ มห มด การกลับมาเปนใหมแตล ะครั้งมกั มอี าการนอยกวาและเกดิ เปนพื้นที่นอยกวา ไมคอ ยมีไข แต มกั เปน บริเวณใกลๆ กบั ท่เี ดมิ โดยเฉพาะอวัยวะ การรักษา โรคเรมิ สามารถหายไดเ องโดยไมต อ งรกั ษา การใชยาตานไวรัสไมชวยใหหายขาด เพียงชวยลด ความรุนแรงของโรค ลดความถี่ และลดระยะเวลาทเ่ี ปน ชว ยใหแ ผลหายเรว็ ข้ึน แตใ นรายทเี่ พ่งิ เร่ิม แสดงอาการ หรือมีภมู ติ านทานบกพรอง หรือไมม แี นวโนมทแ่ี ผลจะหายไดเ อง ควรไดรบั ยาตา นไวรสั ท่จี ําเปน กับโรครวมกับยาปฏิชีวนะ เพอ่ื ปองการติดเช้ือแบคทเี รยี แทรกซอ นท่ีอาจติดตามกับตมุ น้าํ ที่ แตกออกมา การเปน เรมิ ครั้งตอ มาจะไมใ ชเปนการติดเช้ือใหม ผทู ่ีเปนโรคนม้ี าแลว จะมี “อาการเตอื น” คอื มตี มุ นํา้ มากอ น 1 ถึง 3 วนั เจ็บเสียวแปลบๆ คนั ยบุ ยบิ ปวดแสบปวดรอนในบรเิ วณโรคเดมิ เคลด็ ลบั นา รใู นการดูแลและควบคุมโรคเริม • การนอนหลับพกั ผอนไมเพยี งพอ จะทําใหรางกายออนแอ ภูมิตานทานของรางกายลด นอยลง จึงตดิ เชื้อไวรัสไดง ายขึ้น ถาเปนโรคน้ีอยูแลว ก็จะมีอาการโรคแยลง ระยะเวลาเปน โรคนานขน้ึ หรือกลบั มาเปนซํา้ ไดบ อ ย • อยา ปด หรือพนั บริเวณแผลเริม ความแหงและอากาศทีถ่ ายเทไดดี จะชว ยใหแ ผลหายเรว็ ข้นึ พยายามซบั และดแู ลแผลใหแ หง ตลอดเวลา • ทาํ ความสะอาดแผลเริมท่ีเกิดจากตมุ นาํ้ ใสแตกดว ยนา้ํ สบแู ละนํ้าสะอาดก็เพยี งพอแลว • อยาแกะสะเก็ดแผลเริม

62 • ถา ปวดแผล ใหใชย าระงับปวดทั่วไป • เน่ืองจากเชือ้ ไวรสั นี้อยใู นรางกายโดยไมแสดงอาการอะไร แตส ามารถตดิ ตอไดแ มวา จะ ไมมีผื่นโดยเฉพาะที่อวัยวะเพศ การปองกันทีด่ ที ส่ี ุด คือ ใชถ ุงยางอนามยั ทุกคร้งั กับทกุ คน หนองในแท และหนองในเทียม ทง้ั สองแบบ ติดตอผานการมีเพศสัมพันธโดยไมส วมถุงยางอนามยั กวา คร่ึงหนง่ึ ของผูหญิงที่ เปนหนองในแท จะไมมีอาการ หรือมีอาการเพียงเล็กนอย จึงมกั ไมไ ดรบั การรักษา เชน เดยี วกบั หนอง ในเทียม ผูหญิงมักไมแสดงอาการอาจมีเพียงตกขาวผิดปกติ ปสสาวะแสบเล็กนอย ในบางครั้ง ในผูชาย หนองในแทมักมีอาการภายใน 3 ถึง 5 วนั หลงั สัมผัสเชือ้ หนองท่ไี หลออกจากทอ ปสสาวะคลายนมขนหวาน อาการปสสาวะแสบ ขัดมาก หนองในเทียม จะเริ่มแสดงอาการหลังรับเชื้อ แลว 1 ถงึ 3 สปั ดาห หรือบางรายอาจนานเปนเดือน มีอาการแสบที่ปลายทอปสสาวะ ปสสาวะแสบขัด เล็กนอย บางรายอาจคันหรือระคายเคืองทอปสสาวะ หรอื ปวดหนว งตรงฝเ ยบ็ ใกลท วารหนกั ลกั ษณะ หนองจะซึมออกมาเปนมูกใสหรือมูกขุน อาการหนองในเพศชาย มักเกดิ อาการหลงั จากไดรับเช้ือแลว 2 ถึง 5 วนั เริ่มจากระคายเคืองทอปสสาวะ หลังจากนั้นจะ มีอาการปวดแสบ เวลาปสสาวะ แลวจึงตามดวยหนองสีเหลือง ไหลออกจากทอปสสาวะ ถาไมไดร บั การรกั ษา โรคจะลุกลามไปยังอวยวั ะอน่ื ๆ ท่ีอยใู กลเ คียง เชน ตอมลกู หมากอักเสบ อัณฑะอกั เสบ เปน ตน อาการหนองในเพศหญงิ ผหู ญงิ ท่ีไดรับเชื้อน้ี จะมอี าการชากวาผชู าย โดยเฉล่ียจะเกดิ อาการหลังไดรับเช้ือแลว 1 ถงึ 3 สัปดาห สังเกตไดจากตกขาวมาก และมีกลิ่นผิดปกติ ปส สาวะแสบขัด เนื่องจากการอกั เสบ ท่ีทอ ปสสาวะ และปากมดลูก ถาไมไดร บั การรักษาที่ถกู ตอ ง เชื้อหนองในจะเขา ไปทําลายเยอ่ื บุผิวทอ นาํ ไข ทาํ ใหตดิ เชื้อ แบคทีเรียชนิดอื่นไดง า ย และอาจสงผลใหองุ เชงิ กรานอักเสบ ปด มดลกู อกั เสบ หรือเกิดการอุดตนั ของ ทอ รังไข ซ่งึ ทาํ ใหเปนหมนั หรอื ตงั้ ครรภนอกมดลกู ได การรกั ษา หนองในแท มที ง้ั ยาฉีด และยารับประทาน ชว งสน้ั ๆ ครงั้ เดยี ว หรือวนั เดียว หนองในเทียม ตองรับประทานยา ประมาณ ๑ ถึง ๒ สปั ดาห

63 แผลรมิ ออ น เปนโรคท่ีติดตอทางเพศสัมพันธเกิดจากเช้ือแบคทีเรยี โรคน้ตี ดิ ตอ ไดง า ยแตก ็สามารถรักษาให หายขาด โรคนี้จะทาํ ใหเกิดแผลทอี่ วยั วะเพศ และตอมน้ําเหลืองที่ขาหนีบโตบางครั้งมีหนองไหล ออกมาท่ีเรียกวา ฝม ะมวง อาการ • ผูท่ีรับเชื้อนี้จะมีอาการหลงั จากรับเชอ้ื แลว 3-10 วนั • อาการเริ่มตนจะเปนตุมนูนและมีอาการเจ็บ หลังจากนจ้ั ะมแี ผลเล็กๆ กนแผลมีหนอง ขอบ แผลนนู ไมเรยี บ มีอาการเจบ็ มาก แผลเลก็ ๆ จะรวมกนั เปนแผลใหญ • แผลจะนมุ ไมแขง็ • จะมีอาการเจ็บแผลมากในผูชาย แตผ ูหญิงอาจจะไมมีอาการเจ็บ ทาํ ใหเกิดการตดิ ตอ สูผ ูอน่ื ไดงา ย • ตอ มนาํ้ เหลืองที่ขาหนีบจะโต กดเจ็บ บางคนแตกเปนหนอง เอชไอวี และ เอดส เช้ือเอชไอวี (HIV) เปนไวรัส ยอมาจาก Human Immunodeficiency Virus แปลวา ไวรัสทที่ ําให ภูมิตานทานของรางกายคนนอยลงหรือบกพรอง เชอ้ื เอชไอวี เปน ตน เหตใุ หเกดิ โรคเอดส (AIDS) ยอ มา จาก Acquired Immunodeficiency Syndrome แปล วา กลมุ อาการท่เี กิดจากภมู ิตา นทานของรางกาย นอ ยลงหรือบกพรอง ทําใหติดเชื้อโรคตางๆไดงาย โดยปกติเมื่อเชื้อโรคเขาไปในรางกาย ภูมติ านทาน ของรางกายจะกําจัดเชื้อโรค ทําใหรางกายไมติดเชื้อโรคนั้นๆ การตดิ เชอ้ื เอชไอวี ทําใหผูน้ันมภี มู ิ ตา นทานนอยลงหรือบกพรอง จึงทาํ ใหผ ูน น้ั ตดิ เช้ือโรคตา งๆ ไดงาย “ผตู ดิ เชื้อเอชไอวี” คอื ผทู ีไ่ ดรับเชื้อเอชไอวีเอชไอวีแตยังไมแสดงอาการเจ็บปว ย “ผูปวยเอดส” หมายถึง ผูติดเช้ือเอชไอวที ่ปี ว ยดวยโรคตดิ เชื้อเอชไอวฉี วยโอกาส เน่ืองจาก ภาวะภมู ิคมุ กนั บกพรอ ง การเจบ็ ปว ยดวยโรคฉวยโอกาสในผตู ดิ เชื้อเอชไอวีเกดิ จากภาวะภูมิบกพรอง สามารถรักษาได ผตู ิดเชื้อเอชไอวี จงึ ตางจากผูปวยเอดส ผูติดเชื้อเปนผูทม่ี เี ชอื้ เอชไอวีในรา งกาย ไมม อี าการ แสดง และยงั สามารถใชช วี ติ ไดต ามปกติ จึงไมม คี วามจําเปนทจี่ ะตอ งปฏบิ ัติตวั กบั ผูติดเชอื้ ให แตกตา งจากคนอน่ื ในประเทศไทยคนสว นใหญมากกวารอยละ 80 ติดเชื้อเอชไอวีจากการมี เพศสัมพันธทไี่ มป อ งกนั มีบางสวนตดิ จากการใชเข็มฉดี ยาเสพตดิ รวมกัน และมเี ดก็ จํานวนหน่ึงท่ีติด เช้อื จากแมท ่ีมีเชื้อต้งั แตคลอด นอกจากนี้แลว ยงั ไมเคยปรากฏวา มใี ครติดเช้อื จากการอยูบานเดียวกนั กนิ ขาว ด่ืมนํ้า พูดคุย หรือใชชวี ติ ประจําวันกับผูต ิดเชื้อเลย

64 เพราะการที่คนจะรับเชื้อเอชไอวีเขาสูรางกายได ตองประกอบดวย 3 ปจ จยั ดงั น้ี 1.แหลงท่อี ยูของเช้อื (Source) เชื้อเอชไอวจี ะอยูในคนเทานัน้ โดยจะเกาะอยกู บั เมด็ เลือดขาว ซง่ึ อยูใน สารคัดหลั่งบางอยาง เชน เลือด น้ําอสจุ ิ น้ําในชองคลอด นาํ้ นมแม 2. ปรมิ าณและคุณภาพของเช้ือ (Quality and Quantity) ตอ งมีจาํ นวนเชอ้ื เอชไอวใี นปรมิ าณทีม่ าก พอ เชื้อตองมีคุณภาพพอ กลาวคือ เชื้อเอชไอวีไมสามารถมีชีวิตอยูนอกรางกายคนได สภาพในรางกาย และสภาพแวดลอมบางอยางมีผลทําใหเชื้อไมสามารถอยูได เชน กรดในนาํ้ ลาย กระเพาะอาหาร สภาพ อากาศรอน ความแหง น้ํายาตางๆ 3. ชอ งทางการติดตอ (Route of transmission) เชอ้ื เอชไอวีจะตองถูกสง ผานจากคนท่ีติดเช้ือไปยงั อีก คนหนง่ึ เช้อื จะตองตรงเขา สูกระแสเลือดของผูท ีร่ ับเชอื้ โดยผา นการมเี พศสัมพันธท ่ไี มปอ งกัน การใช เข็มฉีดยาเสพติดรว มกัน และจากแมส ูลูก กจิ กรรมทา ยบทที่ 2 1. ใหผเู รียนเขียนเรยี งความสั้น ๆ เลาถึงความรูส ึกทเ่ี กิดขน้ึ กบั ตวั เองเม่ือเหน็ ความเปลยี่ นแปลงทางรา งกาย และการหา ทางออก 2. แบง กลุม ผูเรยี น ใหแ ตละกลมุ ศกึ ษาปญ หาท่ีเกดิ ขน้ึ จากการเปลยี่ นแปลงทางอารมณและจิตใจของวัยรุน และ แนวทางการแกป ญ หา และใหแ ตล ะกลุมนาํ เสนอหนา ช้นั เรียนพรอมอภิปรายรวมกนั 3. ใหผเู รียนแบง กลุม แสดงบทบาทสมมตุ ิ ในเรอื่ งการใหค ําปรกึ ษาแกเพอ่ื นท่ตี อ งการคมุ กําเนดิ

65 บทท่ี 3 การดูแลสุขภาพ สาระสําคัญ มีความรูใ นเรือ่ งคุณคาของอาหารตามหลักโภชนาการ รูจ ักวิธีการถนอมอาหารเพือ่ คงคุณคา สําหรับการบริโภค ตลอดจนวางแผนการดูแลสุขภาพตามหลักการและวิธีการออกกําลังกายเพือ่ สุขภาพ รูปแบบตางๆ ของกิจกรรมนันทนาการ เพื่อใหเกิดผลดีกับรางกาย ผลการเรยี นรูท คี่ าดหวงั 1. เรยี นรเู ร่ืองของคุณคาอาหารตามหลักโภชนาการ และวิธีการถนอมอาหาร 2. เรยี นรูวธิ กี ารวางแผนในการดูแลสขุ ภาพตามหลักและวิธีการออกกําลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ 3. เรียนรูเ รอื่ งรปู แบบกิจกรรมนันทนาการ ขอบขา ยเนอื้ หา เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญและคุณคาของอาหาร และโภชนาการ เรอื่ งที่ 2 การเลือกบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ เรอื่ งท่ี 3 วิธีการถนอมอาหารเพื่อคงคุณคาของสารอาหาร เรอ่ื งที่ 4 ความสําคัญของการมีสุขภาพดี เร่อื งที่ 5 หลกั การดแู ละสขุ ภาพเบือ้ งตน เร่ืองที่ 6 ปฏิบัติตนตามหลักสุขอนามัยสวนบุคคล เรื่องท่ี 7 คุณคาและประโยชนของการออกกําลังกาย เรอื่ งท่ี 8 หลกั การและวิธอี อกกาํ ลงั กายเพื่อสขุ ภาพ เร่อื งที่ 9 การปฏิบัติตนในการออกกําลังกายรูปแบบตางๆ เรื่องท่ี 10 ความหาย ความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ เรื่องท่ี 11 ประเภทและรูปแบบของกิจกรรมนันทนาการ

66 บทที่ 3 การดแู ลสขุ ภาพ เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญและคุณคาของอาหาร และโภชนาการ ความหมายของอาหาร อาหาร หมายถึง ส่ิงทมี่ นุษย และสตั วกนิ ดืม่ เขาไปแลวบาํ รุงรางกายใหเ จริญเติบโต และดาํ รงชวี ิต รวมทง้ั สิ่งทต่ี นไมดูดเขาไปหลอเลี้ยงสว นตาง ๆ ของตนไมใ หเจริญเติบโตดํารงอยู รางกายของคนเราตองการอาหาร เพราะอาหารเปนสิ่งจําเปนตอรางกาย คือ เพื่อบําบัด ความหิว และเพื่อนําสารอาหารไปสรางสุขภาพอนามัย จนถึงการพัฒนาการทางสมอง สําหรับทางดานจิตใจนั้น คนเรารับประทานอาหารเพื่อสนองความอยาก สราง สขุ ภาพจิตที่ดี อาหารคือ สงิ่ ทร่ี ับประทานเขาไปแลว กอ ใหเ กดิ ประโยชนแ กรา งกายในดา นตา งๆ เชน ใหกาํ ลงั และความอบอุน เสริมสรา งความเจริญเตบิ โต ซอมแซมสวนทส่ี ึกหรอ ตลอดจนทาํ ใหอ วยั วะ ตางๆ ของรางกายทํางานอยางเปนปกติ โภชนาการ คอื วิทยาศาสตรแขนงหนึง่ เก่ยี วกับการจดั อาหาร เพ่ือใหไดป ระโยชนแก รางกายมากที่สดุ โดยคํานึงถึงคณุ คา ของอาหาร วยั และสภาพรางกายของผทู ไี่ ดรบั อาหารน้ันๆ ดว ย ประโยชนและคุณคาของอาหาร อาหารเปนสารวัตถุดิบที่รางกายนํามาผลิตเปนพลังงาน รางกายนําพลังงานที่ไดจาก อาหารไปใชในการรักษาสภาวะทางเคมี และนําไปใชเกี่ยวกับการทํางานของระบบตาง ๆ เชน การ ไหลเวียนโลหิต การเคลื่อนที่ของอากาศเขาและออกจากปอด การเคลื่อนไหวของรางกาย การออกกําลัง กาย และการทํากิจกรรมตาง ๆ ประเภทและประโยชนของสารอาหาร ในทางโภชนาการไดแบงอาหารตามสารอาหารออกเปน 6 ประเภทใหญ ดังนี้ 1. คารโบไฮเดรต เปน สารอาหารประเภทแปงและน้ําตาล ซ่ึงสว นใหญไดจ ากการ สังเคราะหแสงของพืช ไดแก แปง และน้ําตาล คารโบไฮเดรตเปนสารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย โดยคารโบไฮเดรต 1 กรัม จะสลายใหพลังงาน 4 กโิ ลแคลอรี (K.cal) ประโยชน คารโ บไฮเดรต (1) ใหพ ลงั งานและความรอนแกร า งกาย (2) ชวยในการเผาผลาญอาหารจําพวกไขมัน เพื่อใหรางกายสามารถนําไปใชได (3) กําจัดสารพิษท่ีเขา สูรางกาย

67 (4) ทําใหการขับถายเปนไปตามปกติ ความตองการคารโบไฮเดรต ในวนั หนง่ึ ๆ คนเราตองการใชพลังงานไมเทากัน ขึ้นอยกู ับขนาดของรา งกาย อายุ และกจิ กรรม 2. โปรตีน เปนสารอาหารที่จําเปนตอรางกายของสิ่งที่มีชีวิต ซึ่งประกอบดวยธาตุ สําคญั ๆ คอื คารบ อน โฮโดรเจน ออกซเิ จน และไนโตรเจน นอกจากนย้ี งั มีธาตุอืน่ อกี ดวย ประโยชนโปรตนี (1) ชวยซอมแซมสวนที่สึกหรอของรางกาย (2) ใหพลังงานและความอบอุนแกรางกาย โดยโปรตีน 1 กรมั ใหพลังงาน 4 กโิ ล แคลอรี เดก็ ทารกถาไดร บั โปรตีนนอ ยจะมผี ลทาํ ใหสมองไมพ ัฒนา ทําใหร า งกายแคระแกรน สติปญญา ต่ํา (3) ทําใหสุขภาพรางกายแข็งแรง ไมออนเพลีย (4) ทําใหรา งกายมีภมู ิตานทานโรคสูง (5) เปนสารที่จําเปนในการสรางฮอรโมน และเอนไซม และเปนสวนประกอบที่ สําคัญของเม็ดเลือดแดง ผลเสยี ท่ีเกิดจากการที่รา งกายขาดโปรตนี (1) ทาํ ใหตวั เล็ก ซูบผอม (2) การเจริญเติบโตชะงัก (3) กลา มเนือ้ ออ นปวกเปย ก ถารางกายขาดโปรตีนอยางมาก จะทําใหเกิดโรคอวาฮิออกกอร (Kwashiorkor) ตบั บวม ผมสีออน เฉยเมยไมมชี วี ติ ชีวา แหลง อาหารของโปรตีนที่รางกายไดรับจากเน้ือสัตว เครื่องใน สตั ว ไข นม ถั่ว และผลติ ภัณฑจากถัว่ โปรตีนท่ีรา งกายตองการไดรับ เม่ือถูกยอยดว ยเอนไซมจะได กรดอะมิโน 3. ไขมนั (Lipid Fat) เปน สารอาหารท่ีมีธาตุทีอ่ งคป ระกอบที่สาํ คัญ คือ คารบ อน ไฮโดรเจน และออกซเิ จนคลายกบั คารโบไฮเดรต แตสดั สว นท่ตี างกัน ไขมนั ประกอบดวยกรดไขมนั และกรเี ซอรอล (1) กรดไขมัน (Fatty acid) แบงออกตามจดุ หลอมเหลวได 2 ประเภท คือ • กรดไขมันชนดิ อิม่ ตวั (Saturated fatty acid) เปน กรดไขมนั ท่ีมจี ดุ หลอมเหลว สูงมีจํานวนธาตุคารบอน และธาตุไฮโดรเจนในโมเลกลุ คอนขางสูง ไดแก กรดลอริก กรดโมรสี ติก กรดปาลม ตกิ กรดสเตียรกิ กรดไขมนั ชนดิ อิ่มตัวสว นมากจะไดจ ากสัตวแ ละมะพรา ว

68 • กรดไขมนั ชนดิ ไมอม่ิ ตัว (Unsaturated fatty acid) เปน กรดไขมนั ท่ีมีจุด หลอมเหลวตาํ่ ในหนง่ึ โมเลกุลประกอบดว ยธาตคุ ารบอน และธาตุไฮโดรเจนในปรมิ าณตาํ่ กรดไขมนั ชนิดไมอ ิ่มตวั สวนมากไดจากไขมนั ของสัตวเ ลือดเย็น น้าํ มันตบั ปลา และไขมนั จากพชื กรดไขมนั ชนดิ ไมอ มิ่ ตัวมีกลนิ่ เกดิ ขนึ้ ไดงาย เน่ืองมากจากตวั กบั ออกซเิ จนในอากาศ ไดงา ย วธิ แี กทาํ ไดโ ดยใหทาํ ปฏกิ ิริยากบั ไฮโดรเจน ซ่งึ เปนหลักของการทําเนยเทียม กรดไขมันที่รางกายตองการ เปนกรดไขมันที่รางกายไมสามารถสังเคราะหขึ้นได จงึ ตอ งรับจากภายนอก ซ่งึ ไดรบั มากพืช เปนกรดไขมนั ชนิดไมอมิ่ ตัว เชน กรดโอเลอกิ (C17H33 COOH) ไดจากนํ้ามนั มะพรา ว ถว่ั ลสิ ง กรดไลโนเลอกิ (C17H19 COOH) ไดถ่วั ลสิ ง น้าํ มันราํ นาํ้ มันดอกคําฝอย ประโยชนของกรดไขมันชนิดอ่มิ ตวั ตอ รางกาย คือ (1) ชวยทําใหรางกายมีสุขภาพดี (2) ชวยสรางความเจริญเติบโตในเด็ก (3) ชวยทาํ ใหผ วิ พรรณงดงาม (4) ชวยลดระดับคอเลสเตอรอลในเสนเลือด แตถารายกายขาดไขมันจะทําใหรางกายเจริญเติบโตไดไมเทาท่คี วร และมผี ิวหนงั อักเสบ ไขมันเปนสารอาหารที่ใหพลังงานสูง โดยไขมัน 1 กรมั จะใหพ ลงั งาน 9 กิโลคาลอรี่ และ นอกจากนี้ ยังชวยใหรางกายดูดวิตามินเอ ดี อี เค ไปใชในรางกายไดดวย ถารางกายขาดไขมันจะทําให รางกายขาดวิตามิน เอ ดี อี และเค (2) คอเรสเตอรอล (Cholesterol) เปนกรดไขมันอิ่มตัวที่พบมากในไขแดง มันสมอง สัตว มีความสามารถในการละลายไมดี ฉะนั้นเมื่อบริโภคเขาไปในปริมาณมาก จะทําใหเกิดการอุดตัน ในเสน เลอื ดทาํ ใหเ สน เลือดตีบตนั และเปน สาเหตทุ าํ ใหเ กิดโรคหลอดโลหติ แขง็ ตวั โรคความดนั โลหติ สูง ฯลฯ เพ่ือลดปริมาณคอเรสเตอรอลในเสนเลือด ควรเลือกบริโภคอาหารที่มีไขมันต่ํา และควรงดเวน การบริโภคไขแดง ไขมันจากสัตว โดยเฉพาะมันสมองสัตว (3) ไตรกลีเซอรไ รด หมายถงึ ไขมนั ท่ีเกดิ ขน้ึ จากปฏกิ ริ ิยาเคมรี ะหวา งไขมัน กับ กลเี ซอรอล ขอควรจํา (1) กรดไขมันชนดิ อม่ิ ตวั จดุ หลอมเหลวจะสูงขึ้นตามจํานวนอะตอมของคารบอน ไฮโดรเจนใน 1 โมเลกลุ (2) กรดไขมันชนิดไมอมิ่ ตวั เม่อื คารบ อนเทากัน จดุ หลอมเหลวจะสูงขน้ึ เมื่อมี อะตอมของไฮโดรเจนสงู ขน้ึ

69 4. วติ ามนิ (Vitamin) เปนสารซึ่งมีความจําเปนตอรางกาย เพราะสามารถทําใหรางกาย ทํางานไดเปนปกติ ฉะนั้นวิตามินไดจากอาหาร เพราะรางกายไมสามารถสรางหรือสังเคราะหขึ้นได วติ ามนิ แบง ไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คอื (1) วิตามินทีล่ ะลายไดในนํ้ามันหรือไขมัน ไดแก วติ ามินซี วิตามนิ พวกน้ีสลายตัว ไดงาย เมื่อถูกแสงความรอน ฉะนั้น จึงไมมีการสะสมในรางกาย ถารางกาย รบั เขาไปมากเกนิ ไปจะทาํ ใหเกดิ ผลเสยี ได คือ เกดิ อาการแพ (2) วติ ามนิ ท่ลี ะลายไดในน้ํา ไดแ ก วติ ามินบี วิตามินซี วิตามนิ พวกน้สี ลายตวั ได งาย เมื่อถูกแสงความรอน ฉะนั้น จึงไมมีการสะสมในรางกาย ถารางกายมีมากเกินไปจะถูกขับออกมา ทางปสสาวะหรือทางเหงื่อ 1. วติ ามนิ เอ พบในอาหารประเภทเน้ือ นม ไขแ ดง เนย น้ํามนั ตบั ปลา พืชผัก และผลไม ตลอดจนผลไมที่มีสเี หลือง เชน มะละกอ ฟก ทอง มปี ระโยชน คอื • ชวยรักษาสุขภาพทางตาใหปกติ • ชวยสรางเคลือบฟน • ชว ยทาํ ใหผ ิวหนังสดช่นื ไมตกสะเก็ด ผลเสีย ของการรับประทานวิตามินเอ มากเกินไป จะทําใหเ กิดอาการคล่นื ไส ผม รว ง และคนั ตามผิวหนงั 2. วติ ามินดี ไดจากสารอาหารจําพวกน้ํามันตับปลา ไขแดง เนย และจาก แสงแดดซึ่งรางกายสังเคราะหขึ้น ประโยชนคือ • ควบคุมปริมาณของแคลเซียมในโลหิต • ชว ยปองกนั โรคกระดกู ออ น • ชว ยทาํ ใหก ระดกู และฟง แขง็ แรง ผลเสยี เม่ือรบั ประทานวิตามินดมี ากเกนิ ไป จะทําใหเ กดิ อาการคล่นื ไส นาํ้ หนกั ตัวลดลงปส สาวะบอย ทอ งผูก ทําใหแ คลเซียมในเลือดสูง 3. วติ ามินอี พบในน้าํ มันพชื ตางๆ เชน เมล็ดขา ว ผกั ใบเขียวจัด ถ่วั นม มี ประโยชนคือ • ปองกันการเปนหมันและการแทงลูก • ปอ งกันกลามเนื้อเหี่ยวลีบไมมีแรง • ชว ยทาํ ใหเซลลเ มด็ เลือดแดงไมถ ูกทําลายไดงา ย

70 4. วติ ามนิ เค ไดจากการสังเคราะหจากแบคทีเรียในลําไส ไดจากอาหารสี เขียว สีเหลอื ง เชน ดอกกะหลาํ่ กะหลํ่าปลี ถ่ัวเหลือง มะเขอื เทศ มีประโยชน คือ ชว ยสรางโปรทอมบนิ ซงึ่ ตบั เปน ผผู ลติ และทําใหเลอื ดแข็งตัว ถารางกายเกิดการขาดแคลนวิตามินเค จะทําใหเสียเลือดมาก เพราะเลอื ดแข็งตัวไดช า ทารกท่ีเกดิ ใหมไมมแี บคทีเรียในลาํ ไสท ี่ผลิตวติ ามนิ เค ถา มีบาดแผลจะทําให เสยี เลอื ดมากถงึ ตายได 5. วิตามินบี 1 (Thiamine) พบมากในขาวซอมมือ เน้ือสัตว ถัว่ เหลอื ง เห็ดฟาง เมลด็ งา รําขา ว ยีสต ผักใบเขียว ถาขาดวิตามนิ บี 1 จะทําใหเกิดโรคเหน็บชา เบื่ออาหาร หงุดหงิด 6. วติ ามินบี 2 (Riboflavin) มีมากในตับ ไต หวั ใจ ไขปลา ไขข าว น้ํามัน ถว่ั ผกั ยอดออน ถาขาดวิตามินบี 2 จะทําใหเ กดิ โรคปากนกกระจอก ผวิ หนงั เปน ผน่ื แดง ปวดศรี ษะ หนาที่ของวิตามินบี 2 คือ • ชวยสรา งเมด็ โลหติ แดง • ชวยเผาผลาญอาหารพวกโปรตีน คารโบไฮตีน • ชว ยบาํ รุงผวิ หนัง 7. วิตามนิ บี 12 (Cobalmine) พบมากในนม เนยแข็ง ไข หอย ปลารา กะป มี ประโยชนคือ ชวยรักษาระบบประสาท และปองกันโรคโลหิตจาง 8. วิตามนิ ซี (Ascorbic acid) พบในพืชผักสด และผลไมท ี่มรี สเปรีย้ ว และพืช กําลงั งอก เชน ถว่ั งอก ยอดตําลงึ มปี ระโยชนค อื • ปองกันโรคเลือดออกตามไรฟน • ปองกันโรคเลือดออกตามไรฟน • ชวยทาํ ใหผ นังของโลหติ แขง็ แรง • ชว ยในการดดู ซมึ อาหารอน่ื • ชว ยใหรางกายสดช่นื ไมอ อนเพลีย • ชว ยในการตอ กระดกู และรักษาแผล 5. เกลือแร (Mineral Salt) เปนสารอาหารที่ไมไดใหพลังงานแกรางกายแตชวย เสริมสรางใหเซลลหรืออวัยวะบางสวนของรางกายทนทานไดเปนปกติ เชน (1) แคลเซียม (Calcium) ซงึ่ พบในพชื ผัก กุง แหง กุงฝอย กบ มีประโยชน คือ 1. เปน สว นประกอบท่ีสําคัญของกระดกู และฟน 2. ชวยควบคุมการทํางานของหัวใจและระบบประสาท

71 3. ชวยทาํ ใหเลอื ดเกิดการแข็งตัว ถารางกายขาดแคลเซียมทําใหเกิดโรคกระดูกออน มีอาการชัดเพราะแคลเซียมใน เลอื ดไมพ อและทาํ ใหเลือดไหลหยดุ ชา เมอ่ื มบี าดแผล (2) เหลก็ (Ferrus) พบมากในตับ หัวใจ เน้ือ ถั่ว ผักสเี ขยี วบางชนิด เชน กระถนิ ผกั โขม ผักบุง มปี ระโยชน คือ 1. เปน สว นประกอบสาํ คญั ของเมด็ โลหติ แดง 2. ปองกันโรคโลหิตจาง หญิงมีครรภ หรือมีประจําเดือน ควรไดรับธาตุเหลก็ มาก เพ่อื ไปเสรมิ และสรา งโลหิตทเ่ี สียไป (3) ไอโอดนี (Iodine)พบมากในอาหารทะเล เชน กุง หอย ปู ปลา มีประโยชน คือ ชว ยใหต อ มธยั รอยดผลติ ฮอรโมนข้นึ เพ่ือใหค วบคุมการเผาผลาญสารอาหารในรางกาย เดก็ ทข่ี าด ไอโอดีนจะไมเจริญเติบโตจะเปนเด็กแคระแกรน ยาบางอยางและผักกะหล่ําปลีจะขัดขวางการทํางาน ของฮอรโมนไทรอกซนิ (4) โปแตสเซียม (Potassium)พบในเนอ้ื นม ไข และผกั สเี ขยี ว มปี ระโยชน คือ ควบคุมการทํางานกลามเนื้อ และระบบประสาท 6. นาํ้ (Water) เปนสารอาหารที่สําคัญที่สุดสิ่งมีชีวิตจะขาดเสียมิได โดยรางกายเรามี นํา้ เปนองคประกอบอยูประมาณ 70 % ของนาํ้ หนกั ตัว ประโยชนข องน้ํา (1) ชวยทาํ ใหผ ิวพรรณสดช่ืน (2) ชวยหลอเลย้ี งอวยั วะสว นตา งๆ ทมี่ กี ารเคล่ือนไหว (3) ชวยขับของเสียออกจากรางกาย (4) ชวยรกั ษาอุณหภมู ิของรา งกาย (5) ชวยยอยอาหารและลําเลียงอาหาร สัดสวนของสารอาหารทรี่ างกายตอ งการ (1) ความตองการพลังงานของรางกายในแตละวันจะมากหรอื นอ ยในแตละบคุ คล ขึ้นอยกู บั • เพศ กลา วคอื เพศชายสว นมากตอ งการมากกวา เพศหญงิ • วยั กลา วคอื วยั รนุ มคี วามตอ งการพลงั งานมากวา วยั เดก็ และวยั ชรา • อาชพี กลาวคอื ผมู ีอาชพี ไมต อ งใชแ รงงานจะใชพ ลงั งานนอยกวาผใู ชแรงงาน • นา้ํ หนกั ตวั กลา วคือ ผูมนี ้าํ หนกั ตัวมากจะใชพลงั งานมากกวาผมู นี ํา้ หนักตัวนอย • อณุ หภมู ิ กลาวคอื ผทู ่อี ยใู นบริเวณภูมิอากาศหนาว จะใชพ ลงั งานมากกวา ผอู าศัย ในบรเิ วณภูมอิ ากาศรอน โดยปกติในวัยเรียนพลงั งานที่จะใชป ริมาณ 44 แคลลอรี่ ตอกโิ ลกรมั ตอ วัน

72 (2) บุคคลที่ตองการลดความอวน แตไมตองการอดอาหาร จะทาํ ไดโ ดยลด สารอาหารบางอยางที่ใหพลังงานสูง และกินสารอาหารอื่นแทน นั้นคือควรลดคารโบไฮเดรต และ ไขมัน เพราะอาหาร 2 อยา งน้ีใหพลังงานสูง (3) การบริโภคอาหารตามหลักของโภชนาการ คือ จะตองบริโภคอาหารให ครบถวนตามรางกายตองการและในปริมาณที่พอเหมาะ โดยเฉพาะสารอาหารใหพลังงาน เชน • คารโ บไฮเดรต ควรไดรบั 2-3 กรมั /น.น. 1 Kg/วนั • โปรตนี ควรไดรบั 1 กรมั /น.น. 1 Kg/วนั สําหรับเดก็ ทารก และสตรมี ีครรภ ควรจะไดรับปริมาณโปรตีนสูงกวาคือควรรับ 2-3 กรมั /น.น. 1 Kg/วนั • ไขมัน ควรไดรับ 2 กรมั /น.น. 1 Kg/วนั สําหรับประเทศหนาวควรไดรบั สารอาหารน้ีในปริมาณทีส่ ูงขน้ึ อีก เพื่อนาํ ไปใชกอใหเกิดพลงั งาน (4) โปรตีนที่มีคุณภาพสูง หมายถึง อาหารโปรตีนที่มีกรอมิโนที่จําเปนตอรางกาย ทั้ง 8 ชนิด และอยใู นสัดสว นที่พอเหมาะทีร่ า งกายจะนาํ ไปใชประโยชนไ ดเต็มที่ อาหารทีใ่ หโ ปรตนี ครบ 8 อยาง คือ อาหารจากสัตว เรอ่ื งที่ 2 การเลอื กบรโิ ภคอาหารตามหลกั โภชนาการ อาหารที่เกิดประโยชนตอรางกายอยางเต็มที่ จะตองเปนอาหารที่มีโภชนาการสูง ซึ่งหมายถึง อาหารที่สารอาหารที่รางกายตองการครบทุกชนิด และมีปริมาณพอเพียงกับความตองการของรางกาย ดงั น้ันอาหารท่ีนาํ มารับประทานทุกมื้อ ควรประกอบไปดวยอาหารจากอาหารหลักครบทั้ง 5 หมู อาหาร ประโยชน อาหารหมูท ี่ 1 โปรตนี ไดแก เน้อื สตั วต า ง ๆ ถว่ั เสริมสรางบาํ รงุ รา งกายใหเติบโต ซอมแซมอวยั วะ ชนดิ ตา ง ๆ อาหารหมูที่ 1 มีความสําคัญมาก สว นท่สี ึกหรอใหเปนปกติ ทําใหรางกายมีกําลังที่จะทํางาน และทําใหรางกาย อาหารหมูที่ 2 คารโ บไฮเดรต ไดแก ขาว อาหาร อบอนุ จําพวกแปงตาง ๆ ทําใหรางกายอบอุน มีกําลังทํางาน อาหารหมทู ี่ 3 ไขมนั เชน นํา้ มันหมู นํา้ มนั มะพรา ว และน้ํามนั พืชตา ง ๆ ชวยควบคุมกระบวนการตาง ๆ ในรางกาย และชวย อาหารหมทู ี่ 4 เกลือแร ไดแก เกลอื สินเธาว เกลอื ปองกันโรคบางชนิด เชน โรคเออ โรคคอพอก ทะเล เกลอื ผสมไอโอดนี อาหารทะเล ชวยบํารงุ ผวิ หนงั ตา เหงือก ฟน มีอนุพนั ธตุ า น อาหารหมทู ี่ 5 วิตามิน ไดแก ผัก ผลไมต า ง ๆ ทีม่ ี มะเร็ง บํารุงกระดูก ชวยใหระบบขับถายดี สีเขยี ว

73 อาหาร ประโยชน นา้ํ ด่มื น้ําเปนสิ่งจําเปนแกรางกาย ถารางกายขาด ทาํ ใหร า งกายสดช่นื ชว ยนําสารอาหารไปสสู ว น นํา้ จะทําใหเ สยี ชวี ิตได ตาง ๆ ของรางกาย และขับถายของเสียที่รางกายไม ตองการออกจากรางกาย ชวยทาํ ใหอ ณุ หภมู ใิ น รางกายมีความสมดุล หลกั การเลอื กบริโภคอาหาร 1. รับประทานอาหารใหไดสารอาหารครบถวนตามที่รางกายตองการ (รับประทาน อาหารหลกั 5 หมูใหครบ ในแตละวนั 2. ตองไมรับประทานอาหารมากเกินไป หรือรับประทานอาหารนอยเกินไป แตละคน ตองการอาหารในปริมาณที่ไมเทากัน ขึ้นอยูกับอายุ ขนาดของรางกาย การใชแรงงาน และเพศ 3. คนที่ชางเลือกในการรับประทานอาหาร ตอ งระมัดระวังมากขึ้น เพราะถารับประทาน แตอาหารที่ตนชอบ อาจทําใหเปนโรคขาดสารอาหารบางอยางได 4. เลือกรับประทานอาหารที่สดสะอาด อยาเลือกซื้ออาหารตามคําโฆษณา ควรคํานึงถึง คุณคา ทีไ่ ดร ับจากอาหารดวย ในการดูและสุขภาพตนเองของนักศึกษานั้น ควรสนใจเรื่องน้ําหนักของรางกายของ ตนเองดวย เพราะการมีน้ําหนักมากไปจะทําใหเปนโรคอวน น้ําหนักนอยไปจะทําใหผอมการที่มีรูปราง อว นหรือผอมผิดปกติ ยอ มผี ลตอ สุขภาพทําใหม ีโอกาสเปนโรคไดงา ย คนอวนอาจเปนโรคหัวใจ คน ผอมอาจเปน วัณโรคหรอื มพี ยาธิ นอกจากน้ยี งั มผี ลตอ สุขภาพจิตเพราะเกิดความกงั วลไมสบายใจที่ เพื่อนลอ อาหารทคี่ วรหลกี เล่ยี ง อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง คือ อาหารที่รับประทานอาหารเขาไปแลวไมมีประโยชนและอาจ เกิดโทษแกรา งกาย แยกไดเปนขอ ๆ คือ 1. อาหารทไี่ มสะอาด ไดแ ก อาหารที่มีแมลงวันตอม 2. อาหารที่เปนพิษ ไดแ ก อาหารท่มี ีสารพิษเจือปน เชน ผักทม่ี ยี าฆาแมลง ถ่ัวลสิ งทม่ี ีเช้ือรา 3. อาหารปลอมปน ไดแ ก อาหารท่ีผขู ายใสส ารอน่ื ลงไป เพอ่ื ลดตนทนุ ในการผลติ หรือ เพื่อปรุงแตง สแี ละรสชาตใิ หนา กนิ ขึน้ เชน น้าํ สมสายชูปลอม ขนมทผ่ี สมสียอ มผา นํ้าปลาทีเ่ จอื สี ลกู ชนิ้ ทีใ่ สส ารบอแรกซ 4. อาหารท่ีเสอื่ มคุณภาพ ไดแก อาหารกระปองทีห่ มดอายุ หรืออาหารท่ีมกี ลน่ิ บดู เนา 5. อาหารทไ่ี มม ีประโยชน ไดแ ก ของหมกั ดอง นํา้ อัดลม

74 ปรมิ าณและคุณคาอาหารท่ีเหมาะสมกับวัย ความตองการปริมาณอาหารแตละชนิดของรา งกายขึน้ อยูกับวยั อาชีพ และสภาพของ รา งกาย เชน เด็กตองการอาหารประเภทโปรตีนมากกวาผใู หญ ผูใชแ รงงานตองการอาหารประเภท คารโบไฮเดตรมาก หรือพวกที่อยูในเขตหนาวตองการอาหารประเภทไขมันมาก เปนตน อยางไรก็ตาม มีหลักงายๆ คือ รบั ประทานอาหารที่เพียงพอและใหครบทุกประเภทของสารอาหาร ขอแนะนาํ เพ่ิมเติม 1. ควรรับประทานอาหารทะเล อยางนอยสัปดาหละ 2-3 ครงั้ 2. ควรรับประทานไขสุกเพราะยอยงาย 3. ควรหุงขาวแบบไมเช็ดน้ําเพื่อรักษาวิตามิน 4. ควรรับประทานน้ํามันพืชเพราะไมทําใหเกิดไขมนั ในเสน เลอื ด 5. ควรรับประทานผักสดมากกวาผักท่ีสกุ แลว แตค วรลา งสะอาด ปราศจากสารพิษ เรอ่ื งท่ี 3 วิธีการถนอมอาหารเพื่อคงคุณคาของสารอาหาร การถนอมอาหาร การถนอมอาหาร หมายถึง วิธีการรักษาอาหารมิใหเสือ่ มสภาพเร็วเกินไป และเก็บไวได นาน การถนอมอาหารมีหลักการสําคัญ คือ ทําลายจุลินทรียบางชนิด หรือทําใหจุลินทรียไมสามารถ เจริญเติบโตได หรอื ทาํ ใหเอนไซมในอาหารทํางานไดชา ลง หรือหยุดชะงกั วธิ ีการถนอมอาหาร 1. การทําแหง คือ การทําไมใหมีน้าํ ในอาหาร จุลินทรียไมสามารถเติบโตไดในสภาวะขาด น้าํ ไดแก การตากแหง การอบแหง อบ รมควัน อาหารที่ถนอมดวยวิธีการทําแหง เชน กลวยตาก ปลา แหง กงุ แหง เปนตน 2. การหมักดอง คือ ใชเกลือและกรดแลกติน ชวยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียทีท่ ํา ใหอาหารบูดเนา การดองมีทั้งดอกเปรี้ยว ดองเค็ม ดองหวาน เชน ผกั กาดดองไขเค็ม ผลไมแ ชอ ม่ิ 3. การใชความรอ น คือ การใชความรอ นทําลายจุลินทรยี  โดยทาํ ใหอาหารสุขเก็บไวไดนาน เชน หมูแผน หมหู ยอง เปนตน 4. การจดั อาหารใสขวด หรือกระปอง คือ การนําอาหารมาอัดใสขวด หรือกระปอง ทีป่ ดฝา แนนสนิท เพือ่ ปองกันไมใหจุลินทรียเขาไปทําปฏิกิริยากับอาหารภายในขวด หรือกระปองได โดยใช

75 ความรอนทําลายเชือ้ โรคทีต่ ิดมากับอาหารผัก ผลไม และกระปองหรือขวดเสียกอนทําการบรรจุ ไดแก อาหารกระปอง ปลากระปอง ผลไมกระปอง เปนตน 5. การแชเย็น คือ การนําอาหารไปเก็บไวในทีท่ ีม่ ีอุณหภูมิต่ําจนจุลินทรียไมสามารถ เจริญเตบิ โตได เชน เน้ือสตั วท่ีไวในหอ งเย็น เปน ตน 6. การฉายรังสี เปนการฉายรังสีแกมมาลงไปในผัก ผลไม และเมล็ดพันธุ การฉายรังสีจะ ทําลาย เอนไซมในอาหาร ยับยัง้ การสุกและงอกได นอกจากนีย้ ังทําลายไขแมลง พยาธิ จุลินทรีย จึงทํา ใหอ าหารเก็บไวไ ดน าน ประโยชนของการถนอมอาหาร 1. เพื่อเก็บรักษาอาหารไวรับประทานไดนาน ๆ 2. เพือ่ เกบ็ รักษาอาหารไมใหเ นา เสยี ขณะทําการขนสง 3. ประหยัดคาใชจายในการเลือกซือ้ อาหาร และสามารถนําอาหารไปรับประทานในแหลง ที่มีอาหารสดได เรอ่ื งที่ 4 ความสาํ คญั ของการมสี ุขภาพดี สุขภาพทางกาย และสุขภาพทางจิตมีความสัมพันธตอกันโดยจะเชื่อมโยงไปสูสุขภาพทางจิต วิญญาณ สุขภาพเปนองครวมของรางกาย จิตใจและวิญญาณ องครวมสุขภาพทั้ง 3 ประการ จะสงผลทํา ใหม สี ขุ ภาพดงั นี้ 1. ถากายนําจิต จะทาํ ใหกายดี จิตกจ็ ะดีดวย เชน ถาหิวแลวเรากินขาวอ่มิ แลวอารมณจะดี สามารถคิด และมีแรงทํางาน 2. ถา จติ นํากาย จะทําใหจติ ดี และนาํ กายไปดี ถาเรามอี ารมณท่ดี ไี มหงดุ หงิดโมโหงาย สภาพรางกายก็จะไมร ูสึกเจบ็ ปวย 3. การดาํ รงชีวติ อยูในสงั คม จิตนํากายไปสูส งั คมท่อี ยรู อบขา ง ถาสงั คมดีก็จะนําพาใหจติ และกายดไี ปดว ย องคประกอบทั้ง 3 สวนมีความสําคัญ และมีคุณคาตอสุขภาพกาย คือ มีสุขภาพรางกายที่ สมบูรณแข็งแรง มีจิตใจที่เขมแข็ง และอยูในสังคมอยางมีความสุข 1. สุขภาพทางกาย (Physical Health) หมายถงึ สภาพที่ดขี องรางกายกลา วคอื อวยั วะตาง ๆ อยูในสภาพที่ดีมีความแข็งแรงสมบูรณ ทํางานไดตามปกติ และมีความสัมพันธกับทุกสว นอยางดี ซึ่ง สามารถกอใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางาน

76 ลกั ษณะของสุขภาพที่ดีทางกาย ประกอบดว ย (1) รางกายมีความสมบูรณและแข็งแรง (2) ระบบตาง ๆ อวัยวะทุกสวนทํางานเปนปกติและมีประสิทธิภาพ (3) รางกายเจริญเติบโตในอัตราปกติ และมีความสัมพันธกับความเจริญงอกงาม ทางดานอื่น ๆ (4) รางกายแข็งแรง สามารถทํางานไดนาน ๆ ไมเหนื่อยเร็ว (5) การนอนหลับและการพักผอนเปนไปตามปกติ ต่นื ข้ึนมาดวยความสดช่นื แจมใส (6) ฟนมีความคงทนแข็งแรง และมีความเปนระเบียบสวยงาม (7) หูและตามีสภาพที่ดี สามารถรับฟง และมองเหน็ ไดดี (8) ผิวหนังมีความสะอาดเกลี้ยงเกลา สดชื่นและเปลงปลงั่ (9) ทรวดทรงไดส ดั สว น (10) ปราศจากความออนแอและโรคภยั ไขเ จบ็ ใด ๆ การมีสุขภาพกายที่ดี ไมมีโรค มีความคลองแคลว มีกําลังในการทํางานไมเหนื่อยงาย ซึ่งสิ่งเหลานี้ จะทําใหบุคคลสามารถดําเนินชีวิตประจําวันไดอยางมีความสุข หากบุคคลใดมีสภาวะ รา งกายทไี่ มส มบรู ณ เชน เปนไข ปวดทอง ปวดศีรษะบอยๆ ก็จะขัดขวางตอ การดาํ เนินชวี ติ ประจาํ วนั และสงผลตอ สขุ ภาพจติ ของบุคคลนั้น รวมถึงครอบครัวดวย 2. สุขภาพทางจิต (Metal Health) หมายถึง สภาพจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ ทําจิตใจ ใหเบิกบานแจมใส ปรับตัวเขากับสังคม และสิ่งแวดลอมไดอยางมีความสุข สุขภาพทางจิตที่ดียอมมีผล มาจากสุขภาพทางกายที่ดีดวย ลักษณะของสขุ ภาพทดี่ ีทางจติ ใจ ประกอบดว ย (1) สามารถปรับตัวเขากับสังคมและสิ่งแวดลอม (2) มีความกระตือรอื รน ไมเหนื่อยหนา ยทอแทใจ หรือหมดหวงั ในชีวิต (3) มีอารมณมั่นคงและสามารถควบคุมอารมณไดดี (4) ไมม อี ารมณเ ครียดจนเกินไป มีอารมณขันบางตามสมควร (5) มีความรูสึกและมองโลกในแงดี (6) มีความตั้งใจและจดจอในงานที่ตนกําลังทําอยู (7) รจู กั ตนเองและเขา ใจบุคคลอื่นไดดี (8) มคี วามเชื่อมน่ั ตนเองอยา งมเี หตผุ ล (9) สามารถแสดงออกอยางเหมาะสมเมื่อประสบความลมเหลว (10) มีความสามารถในการตัดสินใจไดรวดเร็ว และถูกตองไมผิดพลาด

77 (11) มีความปรารถนาและยินดีเมื่อบุคคลอื่นมีความสุขความสําเร็จ และมีความ ปรารถนาดใี นการปองกนั ผอู ื่นใหมคี วามปลอดภัยจากอันตรายโรคภัยไขเจบ็ การมสี ขุ ภาพจิตทด่ี ี แสดงถึงการมีจติ ใจที่มีความสุข สามารถแกไขปญหาทางอารมณที่ เกดิ ขนึ้ ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพและสรา งสมั พันธที่ดตี อผูอื่นได ซงึ่ การมสี ุขภาพจิตที่ดีกจ็ ะสง ผลตอ สุขภาพกายดวย หากจิตใจมีความสุขจะทําใหระบบภูมิคุมกันของรางกายดีขึ้นดวย ตรงกันขามหาก บุคคลมีจิตใจเปนทุกข จะทําใหผนู นั้ เสี่ยงตอการเปนโรคไดง ายกวา 3. การดํารงชวี ติ อยใู นสังคมดวยดี หมายถึง บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สมบูรณ จงึ จะสามารถตดิ ตอและปรับตวั ใหอ ยูในสังคมแหง ตนไดอยา งดีและมคี วามสขุ สุขภาพของแตละบุคคล และของสังคม มีความเกี่ยวของซึ่งกันและกัน เราทุกคนยอม ตองการดํารงชีวิตอยูอยางเปนสุข ตองการมีชีวิตที่ยืนยาว มีความแข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคภัยไข เจ็บและปราศจากอุบัติเหตุภัยนานาประการ ความปรารถนานี้จะเปนความจริงไดนั้น ทุกคนตองมี ความรูเรื่องสุขภาพอนามัย และสามารถปฏิบัติตนตามหลักสุขภาพอนามัยไดอยา งถกู ตอง การมคี วามรู และมีการปฏิบัติจนเปน นิสยั ในเรอื่ งสขุ ภาพนัน้ จะเปนปจจยั สําคญั ของ การดํารงชีวิตอยูอยางเปนสุขไปตลอดชีวิต เรอื่ งที่ 5 หลักการดูแลสขุ ภาพเบือ้ งตน คนที่มีสุขภาพที่ดี จึงเปนผูที่มีความสุข เพราะมีรางกายและจิตใจทีส่ มบูรณหรือที่เรียกวาสุขกาย สบายใจ ถาเราตองการเปนผูมีสุขภาพดีก็จะตองรูจ ักวิธีการดูแลรางกาย โดยการปฏิบัติตนใหถูก สขุ ลักษณะอยางสมาํ่ เสมอจนเปนกิจนสิ ัย หลกั การดูแลสขุ ภาพเบ้ืองตน มี 6 วธิ ีคอื 1. การรับประทานอาหาร 2. การพักผอ น 3. การออกกําลังกาย 4. การจัดการอารมณ 5. การขับถาย 6. การตรวจสุขภาพประจําป 1. การรบั ประทานอาหาร การรับประทานอาหาร โดยยึดหลักโภชนาการใหครบ 5 หมู แตล ะหมูใ หห ลากหลายเปน เหตุผลทางวิทยาศาสตรที่ไดมีการทดสอบ และคํานวณหาพลังงานที่ไดรับจากการบริโภคที่พอเหมาะ มี หลกั การบริโภค เพ่ือสขุ ภาพทีด่ ขี องคนไทย เรียกวาโภชนบญั ญัติ 9 ประการ เพอ่ื แนะนําสดั สว นใน 1 วนั มดี ังนี้

78 (1) ทานอาหารครบ 5 หมู แตละหมตู องหลากหลาย และหมั่นดูแลนา้ํ หนกั ตัว (2) ทานขาวเปนอาหารหลักสลับกับอาหารประเภทแปงเปนบางมื้อ (3) ทานพืชผกั ผลไมใหมากและเปน ประจาํ (4) ทานปลา เนื้อสัตวไมตดิ มัน ไข และถัว่ เมล็ดแหง เปน ประจํา (5) ดม่ื นมใหพ อดี และเหมาะสมตามวยั (6) ทานอาหารที่มีไขมันแตพอสมควร (7) หลกี เลย่ี งการกนิ อาหารรสหวานจดั และเคม็ จดั (8) ทานอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปอน (9) งดหรอื ลดเคร่ืองดม่ื ทม่ี ีแอลกอฮอล 2. การพกั ผอน การนอนหลบั และพกั ผอ นใหเพยี งพอ อยา งนอยวนั ละ 6 ชั่วโมง จะทําใหรางกายและจิตใจ ไดผอนคลายความตึงเครียด หัวใจและอวัยวะตางๆ ทํางานลดลง เปนการยืดอายุการทํางานของรางกาย เมื่อคนเราไดพกั ผอนอยางเพียงพอจะทาํ ใหส ดชนื่ แจม ใส รางกายแข็งแรง พรอมที่จะเคลอ่ื นไหว ประกอบกิจการงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. การออกกําลงั กาย ออกกาํ ลงั กายอยา งสม่าํ เสมอ จะชว ยสงเสรมิ การมสี ขุ ภาพดี ในชวี ติ ประจาํ วัน เชน ทํางาน บาน การขึ้นลงบันได ถือเปนการทําใหรางกายไดใชพลังงานทั้งสิ้น ควรออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ วนั ละ 30 นาที อยางนอย 3 วัน ตอ สปั ดาห จงึ จะเพียงพอท่ีจะทาํ ใหม ีรางกายแขง็ แรง ผลดขี องการออกกาํ ลงั กาย มีดังน้ี (1) ชว ยใหร างกายมีภมู ติ านทานโรค (2) ทาํ ใหห วั ใจ กลามเน้ือ และกระดูกแข็งแรง (3) ชว ยลดความดนั โลหิต (4) ชวยลดคลอเลสเตอรอล ทาํ ใหมนี าํ้ หนักตัวคงที่และเหมาะสม (5) ชว ยลดความเครยี ด ทาํ ใหน อนหลบั และสง เสรมิ การหมนุ เวยี นของเลอื ด 4. การจัดการอารมณและความเครยี ด การรจู ักระวงั รกั ษาอารมณใ หด ีอยูเสมอ เชน พยายามหลีกเล่ยี งสถานการณใ หเ กิดความ เศรา กลัว วติ กกังวล ตกใจจะชวยใหร ะบบตางๆ ของรางกายทาํ งานอยา งเปน ปกติ ดังนั้นจึงควร ยิ้มแยม แจม ใส มอี ารมณข ันอยูเสมอ ทาํ งานท่ีเปนกิจวัตรประจําวันใหเพลดิ เพลิน จะสามารถปรับตวั อยใู น สถานการณปจจบุ ันไดอยางเปนสขุ

79 5. การขับถาย การถายอุจจาระเปนเวลาทุกวัน ชวยปองกันโรคทองผูก ริดสีดวงทวาร โดยควร รบั ประทานอาหารพวกผกั ผลไมทกุ วนั และด่ืมน้ําสกุ สะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว ซึ่งการขับถาย เปน ประจาํ จะชวยใหมสี ขุ ภาพกาย และจิตท่ีดี 6. การตรวจสขุ ภาพประจําป โดยปกติบุคคลควรตรวจสุขภาพประจําปอยางนอยปละ 1-2 ครั้ง ตรวจหาความผิดปกติ ของรางกาย เมื่อพบสิ่งผิดปกติควรรบี ปรึกษาแพทยผ ชู ํานาญในเรอ่ื งนนั้ ๆ และปฏิบัตติ นตามคําแนะนํา ของแพทยอยางเครงครัด เร่อื งที่ 6 ปฏิบตั ติ นตามหลกั สุขอนามัยสวนบุคคล สุขอนามัยสวนบุคคล คือ การปฏิบัติตนของการรักษาอนามัย ของรางกายใหสะอาด ปราศจาก เชอื้ โรค จะชวยปองกนั โรคภัยไขเจ็บ สามารถดําเนินชีวิตประจําวันไดอยางมีความสุข การดูแลรักษารา งกายอยางถูกตอ ง การดูแลรักษารางกายใหถูกสุขอนามัยนั้นเราสามารถแยกการดูแลรักษารางกาย ออกเปนสว น ๆ ดงั น้ี 1. การรักษาความสะอาดของรางกาย ควรอาบน้ําใหสะอาด อยางนอยวันละ 2 ครั้ง ตอนเชาและกอ นนอน 2. การดแู ลรกั ษาอนามัยในชองปาก ควรแปรงฟน อยา งนอยวนั ละ 2 ครั้ง ไมควรขบ เคีย้ วอาหารท่ีแข็งจนเกินไป หม่นั ดูแลไมใหเ กิดแผลในชองปาก หากพบวาเกดิ อกั เสบที่เหงอื กควร ปรึกษาแพทย 3. การดูแลรักษาหู ไมควรใชของแข็งแคะเขาไปในหู หรือใชยาหยอดหูโดยที่แพทย ไมไดส งั่ ระวงั การเปนหวดั นาน ๆ เพราะอาจสงผลใหเชื้อโรคเขา ไปทาํ ลายหชู ัน้ กลาง อาจทําใหหู หนวกได 4. จมูก ไมควรใชของแข็งแยงเขาไปในชองจมูก หรือไมควรใชยาหยอดพนจมูกโดยที่ แพทยไมไ ดส ่ัง 5. ตา เม่อื รูสกึ เคืองตาอยาใชมือขยต้ี า เพราะอาจมีเชื้อโรคไมควรใชยาหยอดตาโดยที่ แพทยไมไ ดสั่ง หากมฝี นุ ละอองเขาตาควรลมื ตาในนํ้าสะอาดหรือใชนํา้ ยาลางตา ไมควรใชม ือขย้ตี า เพราะอาจมีเชื้อโรคเขาตา

80 6. มอื และเทา ควรลางมือกอนรับประทานอาหาร และหลังจากเขาหองน้ําทุกครั้ง รวมทั้งควรสวมรองเทาเมื่อออกจากบานเพ่ือปอ งกนั โรคตาง ๆ เชน โรคพยาธิ โรคผิวหนัง หรือถูกของ แหลมของมีคมทิ่มตําเปนแผลได และควรลางเทาใหสะอาดกอนนอน 7. การดูแลรกั ษาอนามยั ของผมและศีรษะ ควรสระผมอยางนอยสัปดาหละ 2-3 ครงั้ ควรหวีผมทกุ วนั ไมค วรดดั เซทผมบอ ย ๆ เพราะอาจทาํ ใหเ สนผมเสยี 8. การดแู ลรักษาความสะอาดของเสอื้ ผา และเครือ่ งนอน ควรเปลยี่ นเส้ือผาทีใ่ สท กุ วนั และซักเส้อื ผาใหสะอาด ปอ งกันการสะสมของเชอ้ื โรค รวมทง้ั หมนั่ ซัก ผา ปทู ่นี อน ปลอกหมอนอยู เสมอและหมน่ั นาํ ออกตากแดดบอ ย ๆ การสรางสขุ นิสยั ท่ีดี 1. กอนไอและจามทกุ คร้ัง ควรใชผ า เช็ดหนาปด ปากและจมกู เพ่อื ปองกนั การแพร เชอื้ โรคสบู ุคคลอื่น 2. ไมค วรถมน้ําลายลงพ้นื ทส่ี าธารณะ หรือบนถนน เพราะเปน การเสยี บคุ ลกิ ภาพ และ ยังเปนการแพรเชื้อโรคทางออม 3. การรับประทานอาหาร ควรลางมือกอนและหลังรับประทานอาหาร ควรเลือก ภาชนะที่สะอาด ควรเลือกรับประทานอาหารปรุงสะอาด เสร็จใหม ปราศจากแมลงวันตอม เพื่อปองกัน เช้อื โรคเขา สูร างกาย 4. หมน่ั ออกกาํ ลงั กายทุกวนั ติดตอกนั อยา งนอยวนั ละ 30 นาที 5. ควรพกั ผอ นนอนหลบั ใหไดว นั ละ 8-10 ชวั่ โมง 6. ควรดม่ื นาํ้ ใหไ ดว นั ละ 8-10 แกว 7. หมน่ั ดแู ลความสะอาดเสอ้ื ผา และเครื่องนอนใหสะอาดอยเู สมอ 8. หลีกเลีย่ งสารเสพติดตาง ๆ เชน บุหรี่ สุรา กัญชา เฮโรอนี ยาบา ฯลฯ เรือ่ งที่ 7 คุณคาและประโยชนของการออกกําลังกาย การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอจะเปนประโยชนตอสุขภาพรางกาย เสมือนเปนยาบํารุงที่ สามารถเพิ่มสมรรถภาพทางรางกายไดและสามารถปองกันโรคได เชน โรคระบบทางเดินหายใจ เปน ตน ทง้ั นกี้ ารออกกาํ ลังกายจะตองมีความถูกตองและเหมาะสม และรจู ักหลักในการออกกําลังกาย จะตอ งเลือกใหเ หมาะสมกบั เพศ วยั สถานท่ี และอปุ กรณ ซึ่งปจจบุ ันมักนิยมที่จะออกกําลังกายเพ่ือ สขุ ภาพดวยการเลนกีฬา และออกกาํ ลงั กายท่ีมจี ุดประสงคท่ีมุงเนน ตอการพัฒนาสขุ ภาพกายและ สุขภาพจติ การดาํ รงรักษาสขุ ภาพทด่ี อี ยูแ ลว ไมใ หลดถอยลง ปรบั ปรุงสขุ ภาพทท่ี รุดโทรมใหดีขึน้ ปองกนั โรคทเ่ี ก่ียวเนอื่ งกับการขาดการออกกําลังกาย ตลอดจนชว ยแกไขหรือฟนฟสู ภาพรา งกายจาก

81 โรคบางอยาง การเคลื่อนไหว และการออกกาํ ลงั กายที่ถกู ตอ งตามวธิ แี ละหลักการ มีประโยชนตอ สุขภาพมากมาย และที่สําคัญมีดังนี้ 1. มปี ระโยชนตอ ระบบหายใจ ทาํ ใหหวั ใจ ปอด แข็งแรง ไดออกกําลังกลา มเนือ้ หัวใจไดทาํ งานเต็มท่ี ถุงลมเลก็ ๆ ภายในปอดมีโอกาสสูดลมเต็ม และไลอากาศออกไมหมด ทําใหปอด มพี ลงั ในการฟอกโลหติ 2. มีประโยชนตอระบบไหลเวียนของโลหิตดี สืบเนื่องจากการทํางานของหัวใจและ ปอดดี มพี ลังในการบบี ตัวไดดี สบู ฉีดโลหิต และฟอกโลหิตไดด มี ปี ระสิทธิภาพ ไมเปน โรคหัวใจได งาย 3. มีประโยชนตอระบบกลา มเนื้อ กลามเนื้อเสนเอ็นตาง ๆ ไดอ อกกําลงั ยดื และหดตวั ไดเต็มที่ ทําใหมีความแข็งแรงยืดหยุนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหสามารถทํางานไดทนไมเหนื่อยงาย เพราะกลามเนื้อมีพลังมาก 4. มีประโยชนตอการเผาผลาญในรางกาย เพราะการเคลื่อนไหวและการออกกําลังกาย ตองใชพลังงาน ระบบตาง ๆ จะตองทํางานเกิดการเผาผลาญ ทําใหอาหารที่รับประทานเขาไปถูก นํามาใชอยางมีประสิทธิภาพไมเหลือสะสมโดยเฉพาะไขมันที่ใหพลังงานมาก จะไมถูกสะสมใน รา งกาย จนทําใหเ กดิ โรคอวน 5. มีประโยชนตอระบบขับถาย การเคลื่อนไหว และภายหลังการออกกําลังกาย ทําให ดมื่ นาํ้ ไดมาก กระเพาะ สําไส ไดเคลือ่ นไหวในการออกกาํ ลังกายดวย ทําใหระบบยอยอาหารดี กระเพาะอาหาร สาํ ไส บบี รัดตวั ไดดี 6. มปี ระโยชนตอสุขภาพจิต และอารมณไ มเครียด เรอื่ งท่ี 8 หลกั การและวธิ ีออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ คือ การออกกําลังกายชนิดทีเ่ สริมสราง ความทนทานของ ปอด หัวใจ ระบบไหลเวียนเลือด รวมทั้งความแข็งแรงของกลามเนื้อ ความออนตัวของขอตอ ซึ่งจะชวย ใหรา งกายแขง็ แรงสมบรู ณ สงางามและการมสี ขุ ภาพจิตทด่ี ี ซง่ึ หลักการออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพมีดงั นี้ 1. การอบอนุ รา งกายและผอนคลาย การออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพทีถ่ ูกวิธีทําไดโดยการฝกหัดบอย ๆ ดวยทาทางทีถ่ ูกตอง กอนจะฝกการเคลือ่ นไหวรางกายสวนใดก็ตาม ตองมีการเตรียมความพรอมใหรางกายอบอุน ทุกครั้ง เพือ่ ปองกันการบาดเจ็บของกลามเนือ้ ในการอบอุนรางกายและผอนคลาย มีวิธีการทีส่ ามารถทําไดคือ การวิ่งรอบสนาม การหมุนคอ หมุนแขน หมุนสะเอว พับขา หมุนขอเทา กระโดดตบมือ กมแตะสลับ มอื วิง่ อยูกับท่ี นง่ั ยืน ฯลฯ

82 2. ระยะเวลาในการออกกําลังกาย ในการออกกําลังกายอยางตอเนือ่ งนานอยางนอยในแต ละคร้งั 20-30 นาทีตอ วัน 3. จาํ นวนครง้ั ตอสัปดาห การออกกําลังกายเพือ่ สุขภาพ ตองปฏิบัติอยางสม่าํ เสมอทุกวัน หรืออยางนอยสัปดาห ละ 3 ครั้ง และควรปฏิบัติในเวลาเดียวกัน จะชวยเพิ่มสมรรถภาพในการทํางานของระบบหัวใจและปอด ทาํ ใหก ลา มเนอ้ื หวั ใจและปอดแขง็ แรง 4. ความหนักในการออกกําลังกาย ควรออกกําลังกายใหหนักถึงรอยละ 70 ของอัตราการ เตนสูงสุดของหัวใจแตละคน หรือออกกําลังกายใหเหงือ่ ออก เหนื่อยพอประมาณทีจ่ ะสามารถพูดคุย ขณะออกกําลังกายได ไมควรออกกําลังกายหักโหมเกินไปเพราะจะเกิดอันตรายได การเคลือ่ นไหวรา งกายและออกกําลงั กายมหี ลักการท่วั ไป ดังนี้ 1. เลอื กกจิ กรรมเคลอ่ื นไหว และการออกกาํ ลงั กายทเ่ี หมาะสมกบั สภาพรา งกาย และวยั ของตน 2. เลือกเครื่องแตงกายที่เหมาะสมกับกิจกรรม การเคลื่อนไหว และการออกกําลังกายแตละ รปู แบบ 3. การเคล่ือนไหว และการออกกําลังกาย ตองเร่ิมจากการอบอุนรางกายกอนจากน้ันเร่ิมตนจาก เบาไปหาหนกั จากงา ยไปยาก 4. ใหท กุ สว นของรา งกายไดอ อกแรงเคลอ่ื นไหว ไมค วรเปน เฉพาะสว นใดสว นหนง่ึ 5. การออกกาํ ลงั กายตอ งปฏบิ ตั อิ ยา งสมาํ่ เสมออยา งนอ ยสปั ดาหล ะ3วนั และควรปฏบิ ตั ใิ นเวลา เดียวกัน อยา งนอยวนั ละ 20 – 30 นาที 6. ควรศึกษาวิธีเคลือ่ นไหวและการออกกําลังกายทีถ่ ูกตอง เพือ่ ใหเกิดประโยชนตอรางกายและ ปองกนั อันตรายทอ่ี าจเกดิ ขึ้นได 7. การใชอ ปุ กรณประกอบการเคลื่อนไหว และออกกาํ ลงั กายควรศึกษาวธิ กี ารใชทถี่ กู ตอง เร่อื งท่ี 9 การปฏิบัติตนในการออกกําลังกายรูปแบบตาง ๆ รูปแบบการเคลอ่ื นไหวและการออกกาํ ลังกายอาจแบง ไดเ ปน กลมุ ใหญ ๆ ดังนี้ 1. กลมุ บรหิ ารรางกายดว ยทาตาง ๆ ดว ยมือเปลา 2. กลุมบริหารรางกายโดยมีอุปกรณประกอบการบริหารรางกาย 3. กลมุ กิจกรรมเขาจังหวะโดยใชด นตรปี ระกอบ 4. กลุมกฬี าประเภทตาง ๆ 5. กลุม การละเลนพ้นื เมือง 6. การออกกําลังกายเพื่อสขุ ภาพ

83 1. รปู แบบการบริหารรางกายดว ยมือเปลา เปนรูปแบบงาย ๆ สามารถบริหารดวยตนเองได ไม ตอ งใชเวลามากนัก เพยี งใหก ลามเนอื้ สว นตา ง ไดเ คล่อื นไหวและยดื หยุนอยูเสมอ จะชวยใหรา งกาย เคลอ่ื นไหวไดอ ยางคลอ งแคลว ตวั อยาง การบริหารรา งกายดวยมอื เปลา ทาที่ 1 เปนการบรหิ ารรา งกายกลา มเนอ้ื หลังกบั กระดกู สนั หลัง จงั หวะที่ 1 ยืนตรงเทาแยกประมาณ 1 ฟุต ยกแขนทงั้ 2 ขางขนานกับพื้น และเกรง็ กลา มเนอ้ื หนาขา ผอนกลา มเนื้อคอ จังหวะที่ 2 หงายศีรษะไปดา นหลงั อยา งเสรี และเอนตวั ไปดา นหนา พรอ มยกแขนขึ้นชา ๆ ไปดานหลงั อยูใ นทา น้ีประมาณ 2-3 วนิ าที จังหวะท่ี 3 คอ ย ๆ ยกตวั ขน้ึ ชา ๆ พรอ มลดมือลงอยใู นจงั หวะท่ี 1 ทําซํา้ ไดตามความตองการ จะชวยผอนคลายกลามเนื้อหลัง และ กระดูกสันหลงั ไดดขี ึ้น

84 ทาท่ี 2 เปนการบริหารกลามเนื้อตนขา กลามเนือ้ นอง กลามเนื้อทอง กลามเนือ้ หัวไหล กลามเนื้อหลัง กลา มเนอ้ื กระดกู สนั หลงั ใหม กี ารเคลอ่ื นไหวยดื และหดตวั ไดด ี ทา เตรียม ยืนตัวตรง ลําตัวตัง้ ฉากกับพืน้ ผอนคลายกลามเนือ้ สวนตาง ๆ ของกลามเนือ้ เชน ตนขา หลัง หนา ทอ ง แขน หวั ไหล จังหวะท่ี 1 แยกเทาไปดานขางประมาณ 1 ฟุต ปลอยศีรษะหอยไปดานหนาปลอยตามสบายไมตองเกร็ง คอ แลวคอย ๆ กมหลังนับตัง้ แตสะโพกขึน้ ไป ปลอยใหมือและแขนหอยตามสบายเชนกัน ผอนคลายกลามเนื้อคอและไหล หายใจเขา-ออก ดวยการแขมวทอง และเบงทอง โนม นํา้ หนักตวั ใหไปดานหนา ใหต กอยูบรเิ วณปลายเทา ขณะทอ่ี ยูใ นทากมน้ี หายใจปกติไมกล้ัน หายใจ นับหายใจเขาออก 10 รอบ หรอื นานกวา นน้ั จงั หวะที่ 2 ยกลําตวั อยางชา ๆ โดยไมเ กรง็ คอ หวั ไหล และแขนอยูในทาเตรียม เพ่ือใหกลามเนื้อมีความ ยืดหยุน ดมี ากข้นึ ควรทาํ หลาย ๆ ครงั้ และทาํ ทกุ วัน รปู แบบการบริหารรา งกายดว ยอปุ กรณ รูปแบบของการบริหารรางกายดวยอุปกรณมีหลากหลาย เชน การใชไมพลอง มาเปนอุปกรณ ในการบริหารดวยทาตาง ๆ ของการบริหารทั่วไป หรือคิดประดิษฐทาขึ้นใหมก็ได - การใชกระบองในลักษณะกระบองสั้นคู - การใชก ระบ่ี หรอื ทีเ่ รียกวา ฟน ดาบ มีทั้งดาบเดี่ยวดาบคไู ทยมีทา ทางตาง ๆ สบื ทอดตอกนั มา - การบริหารรางกายดวยอุปกรณ เชน พลองลูกบอล ดัมเบล รวมทั้งอุปกรณกําลังกายทีพ่ บ เห็นทั่วไปตามสถานบริหารกาย ซึ่งมีประโยชนทั้งทางรางกาย ชวยผอนคลายความเครียด - การใชเชือก เปนอปุ กรณ เชน การกระโดดเชอื ก

85 รปู แบบการบริหารรา งกายเขาจงั หวะ รูปแบบการบริหารรางกายเขาจังหวะมี 3 ลกั ษณะ คือ 1. การบริหารดว ยทา ทางธรรมดา แตใ ช ดนตรี หรอื เพลง หรือนกหวีดเปา เปน จงั หวะกไ็ ด การ บรหิ ารแบบนจ้ี ะเนน บรหิ ารรางกายเปน สว น ๆ เชน บริหาร สวนอก ดวยทา รําพื้นบาน เปนตน ตัวอยา ง การบรหิ ารรางกาย เขาจงั หวะดวยทา ธรรมดา สว นหนาอก 8 จงั หวะ 2. การเตนแอโรบิค ใชดนตรีประกอบ การเตนแอ โรบิคจะเปนการเคลือ่ นไหวที่รวดเร็ว และหนักกวา การ บริหารรางกายเขาจังหวะธรรมดาที่กลาวแลวตอนตน เปนการ ออกกําลังกายทีใ่ ชการตอเนื่อง เปนการผสมผสาน การ เคลือ่ นไหว การบริหารรางกายและการเตนรําเขาดวยกัน ดนตรี หรือเพลงทีน่ ํามาประกอบการเตน เปนจังหวะที่เราใจ สนุกสนาน ผูใหญที่จะเตนแอโรบิคควรตรวจสุขภาพของตนเสียกอน โดยควรเลือกเครือ่ งแตงกาย และ รองเทาที่เหมาะสม เพ่ือปองกันอันตรายทีจ่ ะเกดิ กบั ขอ เทาและขอเขา 3. การลีลาศและรําวง การเตนรําเปนการเคลือ่ นไหวประกอบจังหวะ อีกรูปแบบหนึง่ มีทัง้ การเคลือ่ นไหวอยูก ับที่ และแบบเคลือ่ นทีใ่ นกรณี เคลือ่ นทีผ่ ูเ ตนรําจะตองศึกษาทิศทางในการเคลือ่ นไหว เพือ่ ปองกันอันตราย หรือการกระทบกระทัง่ กัน รูปแบบการเคลือ่ นไหว เคลือ่ นทีท่ วนเข็มนาฬิกา โดยยึดวงกลมเปนหลัก คือยืนหันหนาเขาหาวงกลม การเคลือ่ นที่ใหเคลือ่ นที่ ไปทางขวาของตนเสมอ

86 รูปแบบการเลน กฬี า รูปแบบของกีฬาทีห่ ลากหลายมีทั้งในลักษณะเดีย่ ว และทีม การเลนกีฬาตองฝกทักษะ และมี ความรูค วามเขาใจในกฎกติกา และวิธีการเลน ประเภทของกีฬา มีดังนี้ - กฬี าประเภททีม เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอล ฟุตซอล รกั บี้ ฯลฯ - กฬี าประเภทลู เชน การวงิ่ ระยะสนั้ การว่งิ ระยะยาว การวิ่งขา มรวั้ ฯลฯ - กีฬาประเภทลาน เชน พุงแหลน ทุมน้ําหนกั ฯลฯ - กีฬาประเภทยมิ นาสติก เชน รายเดยี ว ราวคู มา กระโดด ยมิ นาสติดลีลา ฯลฯ - กีฬาแตละประเภทจะมีรูปแบบเฉพาะ มีวิธีการเลน เทคนิค กฎกติกา และอุปกรณที่ แตกตางกัน จึงควรศึกษาความรูพ ื้นฐานที่ถูกตอง เพือ่ ใหเลนไดอยางสนุกสนานและอาจ พัฒนาทักษะจนสามารถเปนการออกกําลังกายทําใหสุขภาพแข็งแรงแลว คนทีเ่ ลนกีฬามัก เปน ผูม มี นษุ ยสมั พนั ธสามารถปรบั ตัวตัวเขากับผอู ื่นไดดี รูปแบบของการละเลนพ้ืนบา น การละเลนพืน้ บานในแตละภาค อาจมีลักษณะหรือแตกตางกันขึ้นอยูก ับลักษณะทาง ภูมศิ าสตรและมีวถิ ชี ีวิตของประชาชนในทอ งถน่ิ นั้นๆ การเตะตะกรอ ตามชนบทหลังจากเสร็จภารกิจประจําวัน แลวบางคน บางกลุม จะ มารวมกันเตะตะกรอ เพือ่ เปนการผอนคลายความเครียด และไดมีการเคลือ่ นไหว เพื่อใหระบบตางๆ ของรางกายมีความยืดหยุน เรอ่ื งท่ี 10 ความหมาย ความสําคัญของกิจกรรมนันทนาการ นันทนาการ หมายถึง การทํากิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งในเวลาวาง ดวยความสมัครใจ เปน กิจกรรมที่ไมใชเปนงานอาชีพ ไมขัดตอกฎหมาย ศีลธรรม ประเพณีอันดีงาม แตเปนประโยชนและเปน การพกั ผอ นท้งั รา งกายและจติ ใจ ในการดํารงชีวิตประจําวันของคนเรานั้น เราอาจแบงเวลาไดเปน 4 สว น 1.1 เวลาที่ใชในการประกอบอาชีพของคนเรานนั้ ประมาณวนั ละ 8 ชว่ั โมง 1.2 เวลาที่ใชในการประกอบภารกิจสวนตัววันละ 4-6 ช่ัวโมง เชน การอาบน้ํา ลางหนา แปรงฟน การปรุงอาหาร การรับประทานอาหาร 1.3 เวลาท่ีใชในการพกั ผอ นหลบั นอน วนั ละ 8 ช่ัวโมง 1.4 เวลาวางที่สามารถใชใหเกิดประโยชนไดประมาณ 2-4 ชั่วโมง

87 ชวงทีเ่ หลือ 2-4 ชั่วโมงนี้ ถาเรานํามาใชประกอบกิจกรรมที่เกิดประโยชนเรียกวา กิจกรรม นันทนาการ จะชวยทําใหรางกายและจิตใจผอนคลาย ความตึงเครียด เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เกิดประโยชนต อสุขภาพกาย และสขุ ภาพจติ อยา งย่งิ ประโยชนของกจิ กรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการตอการดําเนินชีวิต ถาเราเลือกกิจกรรมนันทนาการไดอยางเหมาะสม จะ กอประโยชนตอตนเอง และสังคมไดหลายประการ 1. ประโยชนตอสุขภาพกาย ความเจริญทางดานเทคโนโลยีในปจจุบัน ทําใหเราไมจําเปนตอง ออกกําลังกายภายในการปฏิบัติงานมากนัก เพราะมีการใชเครื่องมือ เครื่องจักรเขามาชวย ทําใหการออก กําลังกายของเรานอยเกินไป จําเปนตองมีกิจกรรมนันทนาการประเภทกีฬา หรือกิจกรรมการออกกําลัง กายเขามาชวย เพื่อทําใหรางกายแข็งแรงสมบูรณ 2. ประโยชนตอสุขภาพจิต ชวยใหคนไดพักผอนหยอนใจ ผอนคลายความตึงเครียดทางจิต การประกอบกิจกรรมนันทนาการหลายประเภทเปนกิจกรรมที่พักผอนหยอนใจ เชน การชมและฟง ดนตรี การชมภาพยนตร เปน ตน 3. ประโยชนต อครอบครัว ชวยใหสมาชิกครอบครัวรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชนตอตนเอง และครอบครัว เชนการทําสวนครัว สวนดอกไม ทําใหเกิดผลพลอยได คือมีพืช ผัก ผลไม ดอกไมไวใช สอยเปนประโยชน 4. ประโยชนตอสังคม กิจกรรมนันทนาการหลายชนิดเปนประโยชนตอสังคมโดยตรง เชน กิจกรรมดานสังคมสงเคราะห กิจกรรมอาสาสมัคร กิจกรรมบางชนิดชวยลดปญหาสังคมได เรอื่ งท่ี 11 ประเภทและรูปแบบของกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการมีมากมายหลายชนิด หลายรูปแบบ แตละรูปแบบมีลักษณะเฉพาะ แตกตางกันไป สามารถแบงกิจกรรมนันทนาการไดดังนี้ 1. งานอดิเรก เปนเพียงกิจกรรมนันทนาการประเภทหนึ่งเทานั้น มิไดหมายความวา กิจกรรมนันทนาการทุกชนิดรวมกันเปนงานอดิเรก เชน การเก็บสะสมแสตมปทีใ่ ชแลว การเก็บสะสม รูปภาพ การทาํ สวนดอกไม เปน ตน 2. การเลนกีฬา การเลน กีฬาทง้ั กฬี าในรม เชน การเลนหมากรกุ และกฬี ากลางแจง เชน การ เลนฟุตบอล วอลเลยบอล หรือเลนกีฬาอยางอืน่ เชนวายน้าํ โบวลิ่ง ฯลฯ อยางไรก็ตามการเลนกีฬา เหลา นี้ ถาเปนกีฬาอาชีพไมถอื วา เปนกิจกรรมนนั ทนาการ 3. การเลน ดนตรี การเลน ดนตรที ุกชนดิ ถอื วา เปน กิจกรรมนนั ทนาการทง้ั สน้ิ 4. การเลนกิจกรรมเขาจังหวะ เชน การรําวง การเตนรํา การฟอนรํา การเตนลีลาศ ฯลฯ ถือ เปนกิจกรรมนนั ทนาการทัง้ ส้ิน

88 5. การเลนละคร ภาพยนตร และการแสดงตาง ๆ ที่เปน การสมัครเลน ถอื วา เปน กิจกรรม นนั ทนาการ 6. งานศิลปะหัตถกรรม ไดแก งานฝม อื เชน งานเยบ็ ปกถกั รอย การสานพดั การประดิษฐ ดอกไม การวาดภาพ เปนตน 7. กจิ กรรมส่ือความหมาย ไดแ กการอานหนังสอื นวนิยาย การเขยี นหนงั สอื 8. กจิ กรรมทศั นศกึ ษา ไดแก การทอ งเท่ียวทัศนาจร เปนตน 9. กิจกรรมชมรม เชน ชมรมคนรักแสตมป ชมรมดนตรี ฯลฯ การเลือกกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสมกับความชอบและวิถีชีวิตของแตละบุคคล นอกจาก จะชว ยใหบ ุคคลนั้นไดผอนคลายทั้งทางรา งกายและจิตใจแลว ยังอาจเกดิ ผลพลอยไดอื่นๆ เชน ไดเ พ่ือน ใหม หรอื มีรายไดเ พิม่ ข้ึน เปนตน

89 บทที่ 4 โรคติดตอ สาระสําคัญ มีความรูแ ละความสามารถปฏิบัติตนในการปองกันโรคติดตอที่เปนปญหาตอสุขภาพของ ครอบครัว และชุมชน โดยการเผยแพรขาวสาร ขอมูล แนวทางการปองกันและวิธีการรักษาโรคอยางถูก วธิ ี ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั 1. เรยี นรเู รอื่ งโรคตดิ ตอตา งๆ ทเ่ี ปนปญ หาตอสุขภาพของครอบครัว และชุมชน 2. เรยี นรถู ึงสาเหตทุ เี่ กิดโรค ศึกษาวิธกี ารปอ งกนั และการดแู ลรักษาอาการของผูป วย ขอบขายเนือ้ หา เรื่องที่ 1 โรคตดิ ตอ สาเหตุ อาการ การปองกัน การรักษา

90 บทที่ 4 โรคตดิ ตอสาเหตุ อาการ การปองกนั การรกั ษา โรคตดิ ตอ หมายถึง โรคท่ีเกิดขึ้นกบั คนหรอื สตั ว โดยเกิดจากเช้ือโรคที่เปน สงิ่ มีชวี ิต หรือพิษของเช้ือโรค และเมื่อเกิดเปนโรคขึ้นแลวสามารถแพรกระจายจากคนหรือสตั วทปี่ วยเปนโรค น้ันไปสูคนหรือสตั วอื่นไดโดยการแพรก ระจายของโรคนั้นอาจเปน ไดทงั้ ทางตรงและทางออ ม ตามการศึกษาคนควาทดลองวิจัยทางการแพทยพบวา เชื้อโรคนัน้ เปนแบคทเี รียและไวรัส เปน สาเหตใุ หญของความเจ็บปว ย ซ่งึ ท้งั สองน้มี ีอยตู ามธรรมชาตทิ กุ หนทกุ แหง มที ง้ั โทษแลคณุ ประโยชน แตปจจบุ ันพบวา สาเหตกุ ารเกิดโรคมาจากพันธกุ รรมและเปน เพราะตัวเองนาํ เชื้อโรคมาสตู ัวเอง ดังน้ี 1. การรบั เช้ือจากผูอนื่ โรคเหลาน้เี ปนโรคตดิ ตอโดยมคี นเปน พาหนะนําเชื้อมาติดตอ การติดตอเน่ืองจากความใกลชดิ กบั ผูปว ย เชน ไขหวัดใหญ โรคผิวหนังบางชนิด โรคตาแดง ฯลฯ 2. การรับเชื้อจากการมีเพศสมั พนั ธ การมเี พศสมั พนั ธก ับหญิงอ่ืน ชายอื่นทไ่ี มใ ชภ รรยา หรอื สามขี องตนและไมป อ งกัน ทาํ ใหเกดิ โรคได เชน โรคเอดส หรอื กลมุ ของกามโรค 3. การรบั เช้ือจากสมั ผสั โดยมีสตั วเปน พาหนะ เชน ยงุ ลายนาํ โรคไขเลือดออกมาสูคน หนูเปนพาหนะนําเชื้อกาฬโรค และโรคฉีห่ นู มาสคู น ฯลฯ 4. เกิดจากการไมรักษาความสะอาดของรายกาย ทาํ ใหเกิดโรคผิวหนัง เชน กลาก เกลอ่ื น หิด เหา เปนตน จากสาเหตุการเกิดโรคตาง ๆ ดังกลาวมาแลว สามารถที่จะปองกันและหลกี เลย่ี งไดต าม ลักษณะโรคได เรอื่ งท่ี 1 โรคตบั อักเสบจากเชอื้ ไวรัส เปนไวรัสท่ีอนั ตรายท่ีสดุ สามารถตรวจพบไดในเลือดผูเปน พาหนะ และนํ้าหล่ังตาง ๆ เชน น้ําลาย นํา้ ตา เหงื่อ นาํ้ ในชองคลอดและอสุจิ ติดตอไดโดยการสัมผสั ท่ีมีเชื้อเขา สรู า งกาย การใชเขม็ ฉีดยา รวมกัน การสกั การฝง เข็ม การสมั ผัสเลือดโดยมบี าดแผล อาการของโรค มีต้ังแตอาการเลก็ นอยไปจนกระท่งั รุนแรง เชน มปี วดเมื่อย คลา ยเปน หวัด คล่นื ไส แนน ทอง ทองอดื บางรายจะตวั เหลือง ตาเหลือง ปสสาวะสีเขม ผทู ่มี อี าการรนุ แรงอาจตายภายใน 1 สปั ดาห การปอ งกนั การฉีดวัคซีนโรคไวรัสตับอักเสบบี จะเปนการควบคุมการแพรกระจายของโรคนี้

91 เรื่องที่ 2 โรคไขเ ลอื ดออก (Hemorrhagic Fever) ไขเลอื ดออก เปนโรคติดตอที่เกิดกับทกุ คนทุกกลุมอายุ โดยท่ัวไปไขเลอื ดออกมักจะ ระบาดในฤดูฝน ซ่งึ เปนฤดูที่ยุงลายแพรพันธโุ ดยงาย สาเหตุ เกดิ จากเช้ือไวรัสเดงกี (Dengue) เลือดผปู วยไขเลือดออกเกิดจากไดรบั ไวรสั เดงกจี าก ยุงลาย เม่อื โดนยุงลายกดั แลวปลอยเชอื้ ไวรัสเดงกเี ขา สผู ปู วย หรอื ยงุ ดูดเลือดจากผูปว ยแสงเชื้อไวรัส นน้ั เขาไป เช้ือไวรสั จะเขาไปเจริญอยใู นตัวยงุ 8-11 วนั จงึ จะเปน ระยะตดิ ตอ เมอ่ื ยุงไปกัดคนท่ีปกติก็ จะถา ยทอดเชอื้ โรค ทาํ ใหเปนไขเลือดออกได ตอ จากนนั้ กจ็ ะมีการถายทอดเชื้อใหก บั คนอ่นื ๆ ตอไป และเช้ือไวรัสจะอยูใ นตัวยุงตลอดชีวติ ของยุง คือ ประมาณ 45-60 วนั อาการ อาการของผูเ ปนไขเลือดออก คือ ไขสงู มาก แมใ หย าแลวไขก็ยงั ไมล ด เบอื่ อาหาร คลื่นไสอ าเจยี น มจี ุดเลอื ดออกตามผิวหนงั เสนเลือดเปราะ กดเจ็บตรงชายโครง บางรายปวดศีรษะ มาก ปวดตา ปวดกลามเนื้อ ปวดขอ ตองหมั่นสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงภายใน 2-3 วัน ถาอาการยัง ไมดีขน้ึ ตองพาไปพบแพทยเพ่อื วินิจฉัยโรค การปฏิบตั ิตนเม่อื เปน ไขเลือดออก 1. ดื่มน้าํ สะอาดใหม ากๆ หรือปฏิบตั ิตามคําแนะนําของแพทย 2. กินยาลดไขตามแพทยสั่ง (พาราเซตามอล (Paracetamol)) หางกันอยางนอย 4 ช่ัวโมง 3. เชด็ ตวั ชวยลดไขเ ปน ระยะ 4. ใหอาหารออน ยอยงา ย ตามตองการ

92 5. ควรงดอาหารหรือเคร่อื งดืม่ ที่มีสแี ดงหรือดํา เพราะหากอาเจียนออกมาอาจคดิ วา เปนเลอื ด 6. พบแพทยเพื่อติดตามดูอาการและตรวจเลือดตามนัด การปอ งกนั โรคไขเลือดออก 1. ใชม งุ ครอบหรือกางมุงเมื่อนอนกลางวัน 2. นอนในหองท่ีมมี งุ ลวด 3. อยูใ นบรเิ วณที่มีอากาศถายเทสะดวกและมีแสงสวา ง 4. ทเี่ กบ็ น้ําควรปดฝาใหสนิท 5. ทําลายแหลงเพาะพนั ธุยุงใหหมดไป 6. ภาชนะใสน ้ําที่ไมมีฝาปด หรอื แหลง น้าํ เลก็ ๆ ควร ใสท รายเคลือบสารเคมี ปองกนั ไมใหเปน แหลงเพาะพันธุยงุ (ใส ทรายเคลือบสารเคมี 1 คร้งั ปองกันได 3 เดอื น) ควรจัดการวัสดุเหลา น้อี ยา ใหเ ปน เร่ืองที่ 3 โรคไขห วดั ธรรมดา แหลงเพาะพันธยุ งุ พบมากในฤดูหนาว ฤดูฝนชวงที่มีอากาศเย็น โดยเฉพาะผูท่ีมีรางกายออนแอ ตรากตราํ กบั การทาํ งาน และมเี วลาผักผอ นนอ ย สาเหตุ เกดิ จากเช้ือไวรสั ตดิ ตอทางการหายใจ หรือสมั ผัสน้ําลายและเสมหะ อาการของโรค เกิดอาการอกั เสบของทางเดินหายใจ สงผลใหคดั จมกู น้ํามกู ไหล เจ็บคอ ไอจาม หรืออาจมไี ข ปวดศีรษะ ปกติจะหายไดเองในระยะเวลา 2-3 วนั ขึน้ อยูก บั ภูมติ านทานของ รางกาย การรักษา 1. นอนหลบั ผักผอนมาก ๆ และนอนในที่อากาศถายเทไดสะดวก 2. รักษารางกายใหอ บอนุ อยูเสมอ โดยใสเ สอื้ ผาหนา ๆ และหม ผา 3. ออกกําลังกายแตพอเหมาะไมหักโหม 4. รบั ประทานอาหารที่มีประโยชนใหครบ 5 หมู 5. ถามีไขรับประทานยาลดไข ไมควรอาบน้ํา 6. หากเปนติดตอกันหลายวัน ควรไปปรึกษาแพทย เพราะอาจมีโรคแทรกซอน

93 ในการปองกันโรคหวัดธรรมดานนั้ มขี อ แนะนาํ ดงั นี้ 1. ออกกาํ ลงั กายสมาํ่ เสมอ พักผอ นใหเพยี งพอ รบั ประทานอาหารเพียงพอตอความ ตองการของรางกายและไดสารอาหารครบ 5 หมู 2. หลกี เลย่ี งการอยใู กลชิดหรอื ใชส ่งิ ของเครื่องใชร ว มกับผปู วย และเมือ่ ไอ จาม ควรปด ปาก ปดจมูก 3. หลีกเล่ยี งการอยใู นท่แี ออัด อากาศระบายไมดี เพราะอาจมเี ช้ือไวรัสท่ที าํ ใหเปนโรค หวดั ธรรมดาอยมู าก 4. ควรทําใหรางกายอบอุนตลอดเวลาโดยการสวมเสื้อผาปองกัน 5. เมื่อรางกายเปย กนํา้ ควรเช็ดตวั ใหแหง โดยเร็ว เรอ่ื งที่ 4 โรคเอดส (AIDS) เอดส มาจากคําวา AIDS เปน ชื่อยอ มาจากคาํ วาแอคไควร อิมมนู เดฟฟเ ชยี นชี ชนิ โดรม (Acquired Immune Deficiency Syndrome) หมายถึง กลุมอาการของโรคที่เกิดจากภูมิคุมกัน ในรา งกายเสื่อมหรอื บกพรอง ซ่ึงเปน ภาวะทเ่ี กิดขน้ึ ภายหลงั ไมไ ดเปนมาแตก ําเนิด หรอื สืบสายเลอื ด ทางพันธุกรรม Acquired หมายถงึ ภาวะท่ีเกดิ ขึ้นภายหลังไมไ ดเ ปนมาแตก ําเนิดหรือสืบสายเลือดทาง พนั ธุกรรม Immune หมายถงึ ระบบภูมคิ ุมกัน Deficiency หมายถึง ความบกพรองหรือการขาด Syndrome หมายถึง กลุมอาการของโรค สาเหตุ เกดิ จากเช้ือไวรสั เอชไอวี (HIV : Human Immune deficiency Virus) เมอ่ื เช้ือโรคเขา สู รางกายแลว จะไปทําลายเซลลเ มด็ เลอื ดขาวทท่ี าํ หนาท่ีปองกันเช้ือโรค ทําใหภมู ิคุมกันของคนท่ีไดรบั เชือ้ นัน้ เสือ่ มหรือบกพรองจนเปนสาเหตุใหรางกายของคนนัน้ ออนแอ เมือ่ ไดรับเชือ้ ใด ๆ ก็ตามจะเกิด อาการรุนแรงกวาคนปกติและเสยี ชวี ิตในทส่ี ุด อาการ ผูต ิดเชื้อสวนใหญจะไมมีอาการ แตจะแพรเ ชื้อใหผ ูอน่ื ได จะมีเพียงบางรายทตี่ ิดเช้ือและมี อาการนาสงสัยวาเปนโรคเอดส ซ่งึ สังเกตไดงา ย คือ 1. ตอ มนาํ้ เหลอื งทคี่ อ รกั แร และขาหนบี โตนานเกิน 3 เดอื น 2. นาํ้ หนกั ตวั ลดลง 3-4 กิโลกรมั หรือมากกวา 10% ภายใน 3 เดอื น โดยไมทราบสาเหตุ

94 3. อจุ จาระรวงเรื้อรังนานเกนิ 3 เดือน 4. เบื่ออาหารและเหนื่อยงายมาเปนเวลา 3 เดือน 5. ไอโดยไมท ราบสาเหตุนานเกนิ 3 เดอื น 6. มีไขเกิน 37.8 องศาเซลเซียส มีเหงื่อออกตอนกลางคืนนานเกิน 1 เดอื น 7. เปน ฝา ขาวในปากนานเกิน 3 เดือน 8. มกี อนสีแดงปนมว งขึน้ ตามตวั และโตข้ึนเรอ่ื ย ๆ 9. แขนหรือขาขางใดขางหนึ่งไมมีแรงทํางานไมประสานกัน ทั้งนี้ไมไดหมายความวาอาการดังกลาวจะเปนโรคเอดสทุกราย จนกวาจะไดรับการตรวจ เลอื ดยืนยนั ทแี่ นนอนกอน การติดตอ โรคเอดสต ดิ ตอกนั ไดหลายทาง ทพ่ี บบอ ย และสาํ คัญทีส่ ุด คือ 1. จากการมีเพศสัมพนั ธก ับผทู ี่มเี ชอ้ื โรค เอดส 2. จากการถายเลอื ด หรอื รับผลิตภัณฑ เลอื ดทม่ี เี ช้ือเอดส 3. จากการใชเข็มหรือกระบอกฉีดยา รวมกบั ผูทมี่ เี ช้ือโรคเอดส โดยเฉพาะผตู ดิ สารเสพติด ชนดิ ฉดี เขา หลอดเลอื ด 4. จากแมทมี่ เี ช้ือไวรัสเอดสไปสูทารกในครรภ โรคเอดสไ มต ดิ ตอในกรณตี อ ไปน้ี 1. เรยี นสถาบันเดยี วกัน หรืออยูบานเดียวกนั 2. จับมอื หรอื พูดคยุ 3. นั่งรวมโตะรับประทานอาหาร 4. ใชโทรศพั ทรว มกนั หรือโทรศัพทส าธารณะ 5. ใชห อ งนํ้ารว มกัน หรือหองน้ําสาธารณะ 6. คลุกคลีหรือเลน รว มกนั 7. ใชส ระวายนาํ้ รวมกัน 8. ยงุ หรอื แมลงดูดเลอื ด

95 การปอ งกันโรคเอดส โรคเอดสเปนโรคที่ไมม ยี ารกั ษาใหห ายขาดได จึงควรเนนการปองกนั โรคโดยปฏบิ ัติดงั นี้ 1. ไมเสพสารเสพติด และถา กาํ ลงั ติดสารเสพติดกไ็ ปรับการรักษาเพอื่ เลกิ สารเสพติด หลกี เลย่ี งการใชเข็มฉดี ยา หรือกระบอกฉดี สารเสพติดรวมกบั ผูอ่นื 2. ถามีเพศสัมพันธใหใชถุงยางอนามัย 3. งดเวน การใชข องสวนตัวรว มกบั ผอู ่ืน โดยเฉพาะของทีอ่ าจปนเปอ นเลือด เชน แปรง สฟี น ใบมีดโกนหนวด เข็มสกั ตวั เข็มเจาะหู เปน ตน 4. หญิงทต่ี ิดเช้ือเอดส ควรหลกี เลยี่ งการตั้งครรภ เพราะเดก็ ท่ีเกิดจากแมที่ติดเช้ือเอดสจะ มโี อกาสติดเชื้อโรคเอดสไดถ งึ รอยละ 50 เรอ่ื งท่ี 5 โรคฉีห่ นู (Leptospirosis) โรคฉี่หนู พบวา มีผูตดิ โรคนี้ในฤดูฝน โดยเชอื้ โรคจะมากับปส สาวะของหนู และยงั สามารถพบไดในสัตวอ น่ื ๆ ท่ีใชฟนแทะอาหาร เชน กระรอก สนุ ัขจ้งิ จอก จะสามารถแพรเ ชื้อออกมาได โดยท่ีตวั มันไมเ ปนโรค เชื้อที่เปนสาเหตุของโรค คือ เชื้อแบคทเี รยี ทอ่ี าศัยอยใู นดิน โคลน หรอื แหลง นํ้าลาํ คลอง บริเวณทม่ี ีนาํ้ ทวมขัง ท่ี มสี ภาพแวดลอ มเหมาะสมในการดํารงชีวิตของเชื้อโรค คือมีความชื้น แสงแดดสองถึง มีความเปนกรด ปานกลาง มักจะระบาดมากในเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน กลมุ เสีย่ งตอการเกิดโรค - เกษตรกร ชาวไรช าวนา ขาวสวน - คนงานในฟารมเลีย้ งสัตว โค สกุ ร ปลา - กรรมกรขดุ ทอระบายน้ํา เหมอื งแร โรงฆาสัตว - กลุมอ่นื ๆ เชน แพทย เจาหนา ทห่ี อ งทดลอง ทหารตาํ รวจท่ปี ฏิบัตงิ านตามปา เขา - กลุม ประชาชนท่ัวไป ทีอ่ ยูในแหลง ท่มี ีน้าํ ทว มขัง หรอื มีหนอู าศัยอยู การตดิ ตอของโรค สัตวที่นาํ เชื้อไดแ ก พวกสัตวฟน แทะ เชน หนู โดยเฉพาะ หนูนา หนูพุก รองลงมา ไดแก สนุ ขั ววั ควาย สัตวพวกนี้เกบ็ เช้ือไวใ นไตเมื่อหนปู ส สาวะเชอื้ จะอยูใ นนาํ้ หรือดิน

96 - เม่อื คนสัมผัสเชอื้ ซงึ่ อาจจะเขาทางแผล เยอื่ บใุ นปากหรือตา หรอื แผล ผวิ หนังปกติ ที่เปยกชื้นเชื้อโรคสามารถไชผานไปไดเชน กนั - เช้ืออาจจะเขารางกายโดยการดื่มหรือกินอาหารที่มีเชื้อโรค อาการทีส่ าํ คัญ อาการของโรคแบงออกเปน กลมุ ใหญ ๆ ได 2 กลมุ 1. กลุม ทีไ่ มมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง หรือกลุม ทีอ่ าการไมรุนแรง กลุม นีอ้ าการไม รุนแรง หลังจากไดรับเชื้อ 10-26 วัน โดยเฉลีย่ 10 วัน ผูปวยก็จะเกิดอาการของโรคไดแกปวดเมือ่ ย กลามเนื้ออยางรุนแรง อาจจะมีอาการคลืน่ ไสอาเจียน และมีไขขึน้ สูงดวย บางรายอาจเกิดการเบือ่ อาหาร ทองเสยี ปวดทอง ตาแดง เจบ็ ตา เกดิ ผน่ื ขนึ้ ตามตวั หรอื มจี ํ้าเลอื ดตามผิวหนัง 2. ระยะการสรางภมู ิ ระยะนถี้ าเจาะเลือดจะพบภมู ิตานทานโรค ผูปวยจะมีไขข้ึนใหม ปวดศีรษะ คอแข็งมีการอักเสบของเยื่อหุมสมอง และตรวจพบเชื้อโรคในปสสาวะ กลุมทีม่ ีอาการตัวเหลืองตาเหลือง กลุมนี้ไขจะไมหายแตจะเปนมากขึน้ โดยพบมี อาการตัวเหลืองตาเหลือง มีผืน่ ที่เพดานปาก มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ตับและไตอาจวายได ดีซาน เยื่อหุมสมองอักเสบ กลามเนือ้ อักเสบ อาจจะมีอาการไอเปนเลือด อาการเหลืองจะปรากฏหลังจาก ไดรบั เชื้อโรคนานเกนิ 4 วัน ผปู ว ยอาจจะเสยี ชวี ติ ในระยะนหี้ รอื ในตนสัปดาหท่สี ามจากไตวาย ในการปองกนั โรคฉีห่ นูน้นั มขี อ แนะนาํ ดงั นี้ 1. กาํ จดั หนแู ละปรบั ปรงุ สงิ่ แวดลอมใหสะอาดถูกสขุ ลักษณะ เพ่ือไมใ หเปน แหลง เพาะพนั ธขุ องหนู 2. หลกี เลย่ี งการลงไปอาบแชในแหลงนาํ้ ทีว่ วั ควายลงไปกนิ นํ้า แชน าํ้ 3. หลีกเล่ียงการแชนํ้า ยํ่าโคลนดวยเทาเปลา โดยเฉพาะอยางย่ิงเมื่อมีบาดแผลที่ขา เทา หรือตาม รา งกาย 4. หลีกเลย่ี งการเดนิ เทา เปลา ในทงุ นา ในคอกสตั ว 5. สวมเคร่ืองปองกันตนเองดวยการสวมถุงมือยาง รองเทาบูทยาง และสวมเส้ือผาท่ีมิดชิด เม่ือตอง ทํางานในไรนาหรือท่เี ปยกชื้นแฉะ 6. อาบนาํ้ ชาํ ระลา งรา งกายดว ยนาํ้ สะอาดและสบทู ันทหี ลังการลยุ นา้ํ ยาํ่ โคลน หรือกลับจากทงุ นา 7. ไมช าํ แหละสตั วโดยไมส วมถุงมอื 8. ไมกินเนือ้ สัตว เครื่องในสัตวที่ไมไดทําใหสุกหรือผักสดจากทองนาทีไ่ มไดลางใหสะอาด หลีกเลย่ี งการอม กลืนนํา้ หรือลืมตาในนํา้ ทไ่ี มสะอาด 9. หลกี เลยี่ งการดื่มน้าํ หรอื รบั ประทานอาหารจากภาชนะทเ่ี ปด ฝาทง้ิ ไว เพราะอาจมหี นมู าฉร่ี ดไว

97 เร่อื งท่ี 6 โรคมอื เทา เปอ ย ( hand foot mouth Syndrome) โรคปากเทาเปอยเกิดจากการติดเชือ้ ไวรัสทีช่ ือ่ วา Coxsackievirus โดยตอง ประกอบดวยผืน่ ที่มือ เทา เริ่มตนเปนที่ปาก เหงือก เพดาน ลิน้ และลามมาทีม่ ือ เทา บริเวณทีพ่ ันผาออมเชนกัน ผื่นจะเปนตุมน้าํ ใสมีแผลไมมาก จะพบไดในทารกทีม่ ีอายุ ตง้ั แต 2 สัปดาหข้นึ ไป ผ่นื ที่ปรากฏจะหายไดภายใน 5-7 วนั อาการ - มไี ข - เจ็บคอ - มตี มุ ที่ คอ ปาก เหงือก ลิ้น โดยมากเปน ตุมน้ํามากกวา เปน แผล - ปวดศรี ษะ - ผ่นื เปนมากทมี่ อื รองลงมาพบท่เี ทา กนกพ็ อพบได - มีอาการเบื่ออาหาร - เดก็ จะหงดุ หงดิ ระยะฟกตวั หมายถึงระยะตง้ั แตไดร บั เชื้อจนกระทง่ั เกิดอาการไขเวลาประมาณ 4-6 วนั การวนิ ิจฉัย โดยการตรวจรางกายพบผน่ื บริเวณดังกลา ว การรักษา ไมมีการรักษาเฉพาะโดยมากรักษาตามอาการ - ถามีไขใหยาลดไข - ดม่ื นา้ํ ใหเ พียงพอตอรางกาย อยางนอ ยวนั ละ 6 – 8 แกว โรคแทรกซอ น ผูป วยสวนใหญเกิดจากเชือ้ coxsackievirus A16 ซึง่ หายเองใน 1 สัปดาห แตหากเกิดจาก เชอ้ื enterovirus 71 โรคจะเปน รนุ แรงและเกดิ โรคแทรกซอ น - อาจจะเกดิ ชกั เนื่องจากไขสูง ตองเช็ดตัวเวลามีไขและรับประทานยาลดไข - อาจจะเกดิ เยอ่ื หมุ สมองและสมองอกั เสบได การปองกนั หลกี เลี่ยงการสัมผัสกับผูป ว ย ควรพบแพทยเมื่อไร - ไขสูงรับประทานยาลดไขแลวไมล ง - ด่มื น้ําไมไ ดและมอี าการขาดน้าํ ผวิ แหง ปสสาวะสีเข็ม - เด็กกระสับกระสาย - มีอาการชัก เด็กจะเสียชีวิตเนื่องจากอาการของโรคแทรกซอน

98 เรอ่ื งท่ี 7 โรคตาแดง โรคตาแดงเปนโรคตาทีพ่ บไดบอย เปนการ อกั เสบของเยอ่ื บตุ า(conjuntiva)ท่ีคลมุ หนังตาบนและลางรวม เยือ่ บุตาทีค่ ลุมตาขาว โรคตาแดงอาจจะเปนแบบเฉียบพลัน หรือแบบเร้ือรัง สาเหตุอาจจะเกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย ไวรัส Chlamydia trachomatis ภูมิแพ หรือสัมผัสสารที่เปนพิษตอ ตา สาเหตสุ ว นใหญเ กิดจากเช้ือแบคทเี รียและเช้ือไวรัส มักจะ ติดตอทางมือ ผาเช็ดหนาหรือผาเช็ดตัวโดยมากจะเปนและ หายไดภ ายในเวลา 2 สปั ดาห ตาแดงจากโรคภูมิแพมักจะเปนตาแดงเรือ้ รัง มีการอักเสบของหนังตา ตา แหง การใช contact lens หรือน้ํายาลางตาก็เปนสาเหตุของตาแดงเรื้อรัง อาการของโรคตาแดง 1. คนั ตา เปนอาการที่สําคัญของผูปวยตาแดงท่ีเกดิ จากภูมแิ พ อาการคันอาจจะเปนมาก หรอื นอ ย คนที่เปนโรคตาแดงโดยที่ไมมีอาการคันไมใชเกิดจากโรคภูมิแพ นอกจากนั้นอาจจะมีประวัติ ภูมิแพในครอบครัว เชน หอบหืด ผนื่ แพ 2. ข้ีตา ลักษณะของขี้ตาก็ชวยบอกสาเหตุของโรคตาแดง - ขี้ตาใสเหมือนนา้ํ ตามักจะเกิดจากไวรสั หรือโรคภูมิแพ - ขีต้ าเปน เมอื กขาวมักจะเกิดจากภูมแิ พหรือตาแหง - ขี้ตาเปนหนองมักจะรวมกับมีสะเก็ดปดตาตอนเชาทําใหเปดตาลําบากสาเหตุ มกั จะเกิดจากเชอื้ แบคทเี รีย 3. ตาแดงเปนขางหนึ่งหรือสองขาง - เปนพรอมกันสองขางโดยมาก มกั จะเกดิ จากภูมแิ พ - เปนขางหนึง่ กอนแลวคอยเปน สองขางสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อเชนแบคทีเรีย ไวรัส หรอื Chlamydia - ผูทมี่ โี รคตาแดงขางเดยี วแบบเรือ้ รงั ชนิดน้ตี อ งปรึกษาแพทย 4. อาการปวดตาหรือมองแสงจาไมได มักจะเกิดจากโรคชนิดอื่น เชน ตอหิน มานตา อกั เสบเปน ตน ดังนั้นหากมีตาแดงรวมกับปวดตาหรือมองแสงไมไดตองรีบพบแพทย 5. ตามัว แมวากระพริบตาแลวก็ยังมัวอยู โรคตาแดงมักจะเห็นปกติหากมีอาการตามัว รวมกับตาแดงตองปรึกษาแพทย

99 6. ประวัติอืน่ การเปนหวัด การใชยาหยอดตา น้าํ ตาเทียม เครือ่ งสําอาง โรคประจําตัว ยาทใี่ ชอยปู ระจาํ การปองกันโรคตาแดง - อยาใชเครื่องสําอางรวมกับคนอื่น - อยาใชผาเชด็ หนาหรือผา เช็ดตัวรวมกนั - ลางมอื บอ ยๆ อยาเอามอื ขย้ีตา - ใสแ วนตาปอ งกัน เม่อื ตอ งทาํ งานเกยี่ วของกับฝุน ละออง สารเคมี - อยาใชย าหยอดตาของผอู ่นื - อยาวายน้าํ ในสระที่ไมไดใสคลอรนี การรักษาตาแดงดวยตวั เอง - ประคบเยน็ วนั ละ 3-4 คร้ัง ครง้ั ละ10-15 นาที - ลางมือบอยๆ - อยาขยี้ตาเพราะจะทําใหตาระคายมากขึ้น - ใสแ วน กนั แดด หากมองแสงสวา งไมไ ด - อยา ใส contact lens ในระยะทตี่ าแดง ตาอกั เสบ - เปลย่ี นปลอกหมอนทกุ วนั เร่ืองท่ี 8 ไขห วดั นก สาเหตุ โรคไขห วดั นก (Avian influenza หรอื Bird flu) เกิดจากเชื้อไวรัสเอเวียนอินฟลู เอนซา ชนดิ เอ (Avian influenza Type A) ทาํ ใหเ กดิ โรคขน้ึ ไดท้ังในคนในสัตวเลีย้ งลูกดวยนม และสัตว ปก อาการ ผูปวยจะมีอาการคลายกับไขหวัดใหญ มีระยะฟกตัวเพียง 1-3 วัน จะมีอาการ ไขส ูง หนาวสน่ั ปวดศรี ษะ ปวดเม่อื ยกลา มเนือ้ ออนเพลยี เจ็บคอ ไอ ตาแดง เหน่ือยหอบ หายใจลําบาก รายที่รุนแรงเนื่องจากมีอาการปอดอักเสบรวมดวย โดยเฉพาะในเดก็ และผูส งู อายุอาจทําใหเ สียชวี ิตได การติดตอ เชื้อไวรัสนี้จะถูกขับถายออกมากับมูลของนกทีม่ ีเชือ้ นีอ้ ยูและติดติดตอสู สตั วป ก ทีไ่ วตอการรบั เชื้อ ซง่ึ จะเกิดกบั ไก เปด หาน และนก คนจะติดตอมาจากสัตวอีกตอหน่ึงโดยการ สมั ผสั มลู สตั ว น้าํ มูก น้าํ ตา น้ําลาย ของสัตวทีป่ วยหรือตาย ปจจุบันยังไมพบวามีการติดตอจากคนสูค น ผูท ีท่ ํางานในฟารมสัตวปก โดยเฉพาะในพืน้ ทีท่ ีม่ ีการระบาดของโรคไขหวัดนก มีโอกาสติดโรค ไขห วดั นกสงู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook