Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การถนอมและการแปรรูปอาหาร

การถนอมและการแปรรูปอาหาร

Published by nutchanatp009, 2021-02-03 04:05:59

Description: E-book นี้เป็นวิชาที่เรียนเกี่ยวกับการทำอาหารเพื่อต่อยอดให้เกิดทักษะด้านวิชาชีพการทำอาหาร

Keywords: ถนอม,อาหาร

Search

Read the Text Version

การถนอม และการแปรรูปอาหาร

บทท่ี 6 อาหารแปรรปู ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พณัฐ กิตตพิ ัฒนบวร สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอาหาร คณะเทคโนโลยแี ละการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ วทิ ยาเขตพัทลงุ [email protected]

บทนาํ • ทาํ ไมตอ้ งแปรรูปอาหาร ???? o ถนอมอาหาร/ยืดอายกุ ารเกบ็ รักษา o ให้อาหารมคี วามปลอดภัยต่อการบรโิ ภค o เพิ่มมลู ค่า o เพื่อเพม่ิ ความหลากหลายของผลติ ภัณฑ์ o สะดวกในการบริโภค o สะดวกในการเกบ็ รกั ษา และขนส่ง

บทนํา • อะไรท่ที ําใหอ้ าหารเส่ือมเสีย ???? o จุลนิ ทรีย์ (สว่ นใหญ่เจรญิ ไดด้ ที ีอ่ ุณหภมู ิ 20-40 C) o แบคทเี รยี ปกติชอบ pH กลาง บางชนดิ ทนกรด บางชนิดเตบิ โตได้ทัง้ มแี ละไมม่ ีอากาศ บางชนิด ผลติ สปอร์ทนร้อน o รา เจริญไดด้ ีในสภาพทม่ี อี อกซิเจน pH กลาง พบมากทีผ่ วิ หนา้ อาหาร ผลิตสปอรท์ นร้อน o ยสี ต์ สามารถเจริญไดท้ ่ี pH ตา่ํ มีความเคม็ ไมม่ อี อกซิเจน o ปฏิกิริยาเคมีในอาหาร เกดิ จากการทาํ งานของเอนไซมใ์ นอาหาร o การเหม็นหืน o การเกดิ สนี ํ้าตาล o เนื้อสัมผัสนิ่ม เละ o ปจั จยั กายภาพ ปัจจยั ภายนอกท่ที าํ ใหอ้ าหารเกิดการเปลี่ยนแปลงคณุ ภาพ

ความหมายของอาหารแปรรปู • ผา่ นกระบวนการเปล่ยี นแปลงสภาพไปจากธรรมชาติ • ความร้อน ความเย็น การกําจัดน้ํา (ทําให้เข้มข้น, ทําแห้ง) นํ้าตาล สารเคมี รังสี หรือกรรมวิธีแปรรูปอ่ืนๆ เช่น คลื่นไมโครเวฟ อัลตร้าซาวด์ กระแสไฟฟ้า ความดันสูง • มีลักษณะทเี่ ปน็ ไปตามความตอ้ งการผู้บริโภค • เก็บรกั ษาไดน้ านข้ึน • สะดวกในการบริโภค • ปลอดภยั ตอ่ การบรโิ ภค

ชนิดของอาหารแปรรูป แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ชนิด ตามระดบั การแปรรูป • อาหารแปรรูปขั้นต้น  ล้าง ลดขนาด หั่น ตดั แต่ง เอาเมล็ดออก  เก็บทอี่ ุณหภมู ิตํ่า และเก็บไดไ้ มน่ าน • อาหารแปรรูปขัน้ กลาง (อาหารกง่ึ สําเร็จรปู )  ผ่านกระบวนการแปรรูปมาระดบั หนง่ึ ไม่สามารถบรโิ ภคได้ทันที  อายกุ ารเกบ็ รักษานานข้ึน • อาหารแปรรปู ขน้ั สูง (อาหารสําเร็จรูป)  ผ่านกระบวนการแปรรูปตา่ งๆ โดยเฉพาะความรอ้ น สามารถบริโภคไดท้ ันที  เกบ็ รักษาได้นาน

หลักการท่วั ไปของการแปรรูปอาหาร • การใช้ความร้อน • การใชค้ วามเยน็ • การทําแหง้ • การใชน้ ํ้าตาล • การหมกั ดอง • การฉายรังสี • การใชส้ ารเคมี

หลักการทวั่ ไปของการแปรรูปอาหาร: ความรอ้ น • ทําลายจลุ นิ ทรยี ก์ อ่ โรค + จลุ ินทรียท์ ท่ี าํ ใหอ้ าหารเนา่ เสยี + เอนไซม์ต่างๆ • มีความปลอดภยั ในการบรโิ ภค + ยดื อายุการเก็บรกั ษา • แบ่งไดเ้ ปน็ 3 กลุ่ม ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการใหค้ วามร้อน 1) การลวก (blanching) ทาํ ลายเอนไซม์ 60-80 C ผักและผลไม้

หลกั การทวั่ ไปของการแปรรูปอาหาร: ความร้อน • แบ่งไดเ้ ป็น 3 กลุ่ม ตามวัตถุประสงคข์ องการใหค้ วามรอ้ น 2) การพาสเจอรไ์ รซ์ (pasteurization) ทําลายจุลนิ ทรีย์กอ่ โรค (pathogen) และเอนไซม์ (enzyme) < 100 C เก็บที่อณุ หภูมติ ่ํา (แช่เย็น)  การสเตอริไลซ์ (sterilization) ทําลายจุลนิ ทรีย์กอ่ โรค + จลุ ินทรยี ์ท่ีทาํ ให้อาหารเน่าเสยี + เอนไซม์ตา่ งๆ > 100 C เก็บทอี่ ณุ หภมู ิห้อง

หลกั การท่วั ไปของการแปรรูปอาหาร: ความรอ้ น • ตวั อย่างอาหาร

หลกั การทว่ั ไปของการแปรรูปอาหาร: ความเย็น • การลดอณุ หภูมิของอาหาร • ชะลอหรือยับยง้ั การเจริญของจุลนิ ทรยี ์ ปฏิกริ ยิ าเคมี และเอนไซมใ์ นอาหาร • แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ระดบั 1) การแชเ่ ยน็ (chilling) ชะลอการเจริญของจุลินทรยี ์ ปฏกิ ริ ิยาเคมี และเอนไซม์ในอาหาร ลดอณุ หภูมขิ องอาหารลด แต่สงู กวา่ จดุ เยอื กแขง็ => อาหารยงั ไมแ่ ข็ง คณุ ภาพของอาหารเกดิ การเปลยี่ นแปลงนอ้ ยมาก => ใกล้เคยี งกบั อาหารสด อายกุ ารเก็บรักษา 1-4 สปั ดาห์

หลกั การทั่วไปของการแปรรูปอาหาร: ความเย็น • แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ระดบั 2) การแช่แข็ง (freezing) ยับย้งั การเจริญของจุลนิ ทรยี ์ ปฏิกิริยาเคมี และเอนไซมใ์ นอาหาร ลดอุณหภูมขิ องอาหารลดตํ่ากว่าจุดเยอื กแข็ง => นา้ํ ในอาหารแปรสภาพเป็น นา้ํ แขง็ คุณภาพของอาหารข้นึ กับอตั ราเรว็ ในการแช่แขง็ และความเสถยี รของอณุ หภมู ิ ในการเกบ็ รักษา => เรว็ + เสถียร = คุณภาพ  อายุการเกบ็ รักษา 6-12 เดือน ตู้เยน็ ในครัวเรือน => แชแ่ ขง็ แบบช้า

หลักการทว่ั ไปของการแปรรูปอาหาร: ความเยน็ • ตวั อย่างอาหารแช่เย็น/แชแ่ ข็ง

หลักการทว่ั ไปของการแปรรูปอาหาร: ทาํ แห้ง • การลดปริมาณนาํ้ ในอาหารใหอ้ ยู่ในระดับตํ่าเพียงพอทจ่ี ะสามารถยับย้ังการเจริญของ จุลนิ ทรยี ์ และชะลอการเปลยี่ นแปลงทางเคมแี ละชีวเคมขี องอาหาร • ยดื อายุการเกบ็ รักษา สะดวกต่อการขนสง่ • การตากแดด (sun drying), การใช้ตู้อบแหง้ แบบลมรอ้ น (hot air drier) การทาํ แหง้ โดยใช้พลังงานแสงอาทติ ย์ (solar drying) ตอู้ บแหง้ แบบสญุ ญากาศ (vacuum shelf drier) การทาํ แห้งแบบแช่เยอื กแขง็ (freeze drying) การทําแห้งแบบพน่ ฝอย (spray drying) การทําแห้งแบบลกู กลงิ้ (drum drying)

หลกั การทั่วไปของการแปรรูปอาหาร: ทําแหง้ • เสยี จากรา ยีสต์ • ตัวอยา่ งอาหารแห้ง

หลักการทั่วไปของการแปรรูปอาหาร: การใชน้ ํ้าตาล • การแช่อม่ิ อาหาร • เปน็ กระบวนการดึงนํา้ ออกจากอาหารด้วยกระบวนการออสโมซสิ • ปรมิ าณของแขง็ ท่ลี ะลายได้ (ความเขม้ ข้นของนาํ้ ตาล) มากกว่ารอ้ ยละ 70 สามารถ ยบั ยั้งการเจรญิ ของจลุ ินทรยี ์สว่ นใหญ่ (แบคทเี รยี และรา) ยกเวน้ ยสี ต์ • หากนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70 ต้องแปรรูปรว่ มกบั วธิ อี ่ืนจงึ สามารถยบั ย้ังการเจริญของ จลุ ินทรีย์ได้ • ตวั อย่างอาหาร

หลกั การทั่วไปของการแปรรูปอาหาร: การหมกั ดอง • กระบวนการแปรรูปทมี่ ีการใช้เชื้อจลุ นิ ทรีย์ • เปล่ียนสารอนิ ทรียใ์ นอาหาร => กรด, แอลกอฮอล,์ กล่ินรสเฉพาะตัว • อายกุ ารเกบ็ รักษานานข้นึ • ตวั อย่างอาหาร หมกั โดยยสี ต์ นา้ํ ตาล ไ=ม่ม>ี O2แอลกอฮอล์ + CO2

หลกั การทั่วไปของการแปรรูปอาหาร: การหมกั ดอง • ตวั อยา่ งอาหาร หมักโดย ยีสต์ + แบคทีเรยี นาํ้ ตาล =>ไมม่ ี O2แอลกอฮอล์ + CO2 =มี O>2 กรดอะซิติก หมกั โดย Lactic acid bacteria (LAB) นาํ้ ตาล ไ=มม่ >ี O2กรดแลคติก

หลกั การท่ัวไปของการแปรรูปอาหาร: การฉายรงั สี • แปรรปู อาหารโดยไมใ่ ชค้ วามร้อน • ใชร้ งั สีแกมมา รังสีเอก๊ ซ์ หรอื รังสอี เิ ลก็ ตอน • ทาํ ลายหรือยับย้งั จลุ นิ ทรยี ์ • ชะลอการเปลย่ี นแปลงทางชวี เคมขี องอาหาร • เพือ่ - ควบคมุ การงอกของพืชผกั ในระหวา่ งการเก็บรักษา - ควบคุมการแพร่พันธ์ุของแมลงในระหวา่ งการเกบ็ รกั ษา - ยดื อายกุ ารเกบ็ รักษาอาหารสด - ทําลายเช้ือโรคและพยาธิในอาหาร ผลิตภณั ฑ์ทท่ี าํ จากเนื้อสตั ว์อาจมีพยาธิหรือเชื้อโรคติดอย่ไู ด้

หลักการทั่วไปของการแปรรูปอาหาร: การใชส้ ารเคมี • ยับยัง้ การเจริญของจลุ ินทรยี ท์ ที่ าํ ใหอ้ าหารเนา่ เสยี • ชะลอการเปลยี่ นแปลงทางด้านกายภาพ และเคมีและชีวเคมขี องอาหาร • ชนดิ และปรมิ าณการใช้ตอ้ งเปน็ ไปตาม พรบ.อาหาร กระทรวงสาธารณสุข • ตัวอยา่ งสารเคมี o สารกล่มุ ซัลไฟต์ (sulfites/sulphites) ป้องกันการเกดิ สีนาํ้ ตาลในผลไม้ เช่น ลําใย o ไนไทรต์ (NO2) ปอ้ งกันการเจรญิ ของ Clostidium botulinum , ทาํ ให้เนื้อมสี แี ดง ใชใ้ นผลิตภณั ฑ์เน้ือหมกั o โซเดยี มเบนโซเอท (Sodium benzoate) หรอื โปแตสเซียมเบนโซเอท (Potassium benzoate) โซเดยี ม ซอร์เบท (Sodium sorbate) หรือโปแตสเซียมซอรเ์ บท (Potassium sor bate) ใช้ในอาหารท่เี ปน็ กรด (pH ต่าํ ) เชน่ แยม เยลลี่ และอาหารหมกั ดอง o Propionic acid ยับยัง้ เช้ือราในผลิตภัณฑเ์ บเกอรี่ o BHA, BHT, TBHQ, PG, Vitamin E เปน็ สารกนั หนื

หลักการทว่ั ไปของการแปรรูปอาหาร: การใชส้ ารเคมี • ตัวอยา่ งสารเคมที ่ไี มอ่ นญุ าตใหใ้ ชใ้ นอาหาร แตม่ กั พบปนเปือ้ นในอาหาร o กรดซาลไิ ซลคิ (Salicylic acid) ใชเ้ ปน็ สารกนั บดู ทําใหเ้ กดิ แผลในกระเพาะอาหารได้ o บอแรกซ์ (Borax) หรอื โซเดียมบอเรต (Sodium borate หรอื ผงกรอบ นํ้าประสานทอง หรือเพง่ แซ) ผูผ้ ลติ บางรายนํามาใชเ้ ติมในอาหาร ไดแ้ ก่ ลกู ช้นิ หมูยอ ทอดมนั ไสก้ รอก ผกั กาดดองเคม็ มะมว่ งดอง แปง้ กรุบทาํ ลอดชอ่ ง ทับทมิ กรอบ เพือ่ ทําใหอ้ าหารเหล่าน้ีมคี วามหยุน่ เหนยี ว กรอบ แตส่ ารนีม้ อี นั ตราย ทําใหก้ ระเพาะอาหาร ลําไส้ ตับ อักเสบ การทํางานของไตล้มเหลว อาจมีปสั สาวะออกนอ้ ยหรอื ไมอ่ อก ทาํ ให้เกดิ อาการพษิ และตายได้ o ฟอร์มาลิน (formalin) มกั ใสล่ งในอาหารสดเพื่อให้คงความสดไดน้ าน ไมเ่ น่าเสยี เร็ว ซึ่งอาหารที่มกั จะ พบวา่ มีฟอร์มาลินอยู่ อาทิ อาหารทะเลตา่ งๆ โดยเฉพาะปลาหมกึ เน้อื สตั ว์ตา่ งๆ ผักสด เช่น ถั่วฝักยาว หน่อไม้ ยอดมะพร้าว ผกั กาดขาว หากบรโิ ภคอาหารที่ถูกปนเปื้อนเข้าไปในปรมิ าณมาก จะเกิดพิษต่อ ระบบทางเดินอาหาร ปวดหัวอยา่ งรนุ แรง ปวดทอ้ ง ในปากและคอแหง้ หัวใจเต้นเรว็ แนน่ หนา้ อก อาจมี อาการถ่ายทอ้ ง คลนื่ ไส้ อาเจียน ปสั สาวะไมอ่ อกหรอื ปัสสาวะเปน็ เลอื ด มอี าการเพลยี เหงื่อออก ตัวเยน็ คอแขง็

ผลของการแปรรูปอาหารตอ่ คุณค่าของอาหาร • Bioavailability ??? • คุณคา่ ของอาหารเกดิ การสญู เสยี ตัง้ แตก่ ระบวนการเกบ็ เกย่ี วจนถึงการเกบ็ รักษา • การเปลย่ี นแปลงทางด้านเคมีและชีวเคมขี องอาหาร => ความร้อน ความชืน้ (นํา้ ) ออกซิเจน แสง และความเปน็ กรดด่าง • ปัจจยั สําคัญท่ีมผี ลตอ่ bioavailability => วธิ กี ารและความรุนแรงของการแปรรปู และการเกบ็ รักษา • รนุ แรงมากๆ => bioavailability สงู หรือ ตาํ่ ???

ผลของการแปรรูปอาหารต่อคุณคา่ ของอาหาร: โปรตีน • ความรอ้ น กรดและเกลอื มีบทบาทสาํ คญั ตอ่ bioavailability ของโปรตนี • ความรอ้ น กรดและเกลอื => โครงสรา้ งโปรตีนเกดิ การเสยี สภาพ (denaturation) หรอื คลายตัว (unfolding) o ปริมาณเหมาะสม => bioavailability เพม่ิ ขึ้น (รา่ งกายดูดซึมได้ดี) o ร่างกายสามารถยอ่ ยโปรตีนเป็นกรดอะมิโนไดด้ ีข้ึน o สามารถได้รับสารอาหารประเภทอน่ื ที่โปรตีนไปจับอยู่ได้มากขนึ้ เชน่ beta-carotene ใน แครอท และ lycopene ในมะเขือเทศ ทจี่ บั อยกู่ ับโปรตนี o ปรมิ าณสูงเกินไป => เกดิ ปฏกิ ิริยาเมลลารด์ (ปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งโปรตีนกับนาํ้ ตาล) o สูญเสยี กรดอะมิโนจําเป็นบางชนิด ได้แก่ ไลซนี o โปรตีนเกดิ การเชอ่ื มประสานกัน (crosslinking) => เอนไซม์ย่อยไดน้ ้อยลง

ผลของการแปรรูปอาหารตอ่ คุณค่าของอาหาร: โปรตนี • กระบวนการหมัก จลุ นิ ทรีย์ทใ่ี ช้ในกระบวนการหมัก => โปรตนี มสี ายสั้นลง (เปปไทด์ หรือ กรดอะมิโน) => ร่างกายดูดซมึ ได้ง่ายข้ึน (bioavailability ) • การล้าง การแช่ การลวก การทําละลายอาหารแช่แข็ง การผันแปรของอุณหภูมิในการ เกบ็ รักษาอาหารแชแ่ ขง็ => สูญเสยี โปรตนี ทล่ี ะลายนํ้า

ผลของการแปรรูปอาหารตอ่ คณุ ค่าของอาหาร: คาร์โบไฮเดรต • แป้ง และนาํ้ ตาล • ความรอ้ น o เกิดปฏิกิริยาเมลลารด์ => bioavailability  o แป้งเกดิ เจลาตไิ นเซชัน่ => เอนไซม์ย่อยได้มากข้นึ => bioavailability  • การลา้ ง การแช่ การลวก การทําละลายอาหารแช่แขง็ การผันแปรของอุณหภูมิในการ เกบ็ รกั ษาอาหารแชแ่ ข็ง => นํ้าตาลในอาหารอาจจะถูกชะออกไป • การดงึ น้ําออกจากอาหาร และการทาํ แห้ง ความเข้มข้นของนาํ้ ตาลในอาหารเพ่ิมขน้ึ => รา่ งกายไดร้ ับนา้ํ ตาลในปรมิ าณ มากเกนิ ไป

ผลของการแปรรูปอาหารต่อคุณค่าของอาหาร: ไขมนั • ไขมนั ไมอ่ ่มิ ตัว เช่น linolenic acid, EPA, DHA, linoleic acid => เปน็ ประโยชนต์ ่อ รา่ งกาย • ปฏกิ ริ ิยาออกซิเดช่ัน (lipid oxidation) => สูญเสยี ไขมนั ไม่อ่ิมตัว (bioavailability ) และเกดิ กลน่ิ หนื o แสง ออกซเิ จน และโลหะ (ธาตุเหล็กในอาหาร) o การฉายรงั สี • อนมุ ลู อสิ ระทเ่ี กดิ ข้ึนจากปฏิกริ ิยาออกซเิ ดชั่น => ทาํ ลายสารอาหารอน่ื • การทอดแบบน้ํามันทว่ ม => อาหารดดู ซับนา้ํ มนั ทอด (ส่วนใหญ่เปน็ ไขมันอิ่มตวั => ไม่ ดีต่อสุขภาพ) => ควรลดการดดู ซับน้ํามนั (ทาํ ได้โดยทอดสุญญากาศ สะเดด็ /สลดั นํา้ มนั ทงิ้ หลงั ทอด)

ผลของการแปรรูปอาหารต่อคุณคา่ ของอาหาร: วติ ามิน • ปฏิกิริยาออกซเิ ดชั่นของไขมัน => สญู เสียวติ ามนิ ทล่ี ะลายในไขมัน เช่น วิตามินอี • การปอกเปลอื ก => สูญเสยี วิตามินท่ีอยใู่ นเปลอื ก • การหั่น ตดั แต่ง ปัน่ => สมั ผสั กบั แสง และ O2 ได้มากข้ึน => สูญเสียวติ ามนิ • การลา้ ง การแช่ การลวก => สญู เสยี วติ ามินทล่ี ะลายนาํ้ เชน่ วิตามินซี ไทอามีน และโฟเลท • การใหค้ วามร้อน => สญู เสยี วิตามนิ ซี • บรรจุภณั ฑ์ทปี่ ้องกันแสง => ลดการสูญเสยี วิตามนิ

ผลของการแปรรูปอาหารตอ่ คุณคา่ ของอาหาร: แร่ธาตุ • ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม แมกนเี ซียม o สว่ นใหญ่ไม่เกดิ การสูญเสยี จากความร้อน แสง ออกซเิ จน และความเป็นกรดดา่ ง o การลา้ ง การแช่ การลวก การทําละลายอาหารแช่แข็ง การผันแปรของอณุ หภูมิใน การเกบ็ รกั ษาอาหารแชแ่ ข็ง => สูญเสยี แร่ธาตุ • ธาตเุ หล็ก แคลเซยี ม o มักจบั อยู่กับโปรตนี o ความร้อน กรดดา่ ง => โปรตนี เสียสภาพ => ปลดปล่อยแรธ่ าตอุ อกมาเป็นอิสระ => Bioavailibility  • อาหารหมักดอง => อาจได้รบั โซเดยี มมากเกนิ ไป

ผลของการแปรรูปอาหารตอ่ คุณคา่ ของอาหาร: ใยอาหาร • ใยอาหาร (dietary fiber) : เป็นคารโ์ บไฮเดรตที่ทนต่อการยอ่ ยดว้ ยเอนไซมใ์ นระบบทางเดนิ อาหาร ของมนุษย์ แตอ่ าจถูกย่อยด้วยจลุ นิ ทรีย์ (หมกั ) ในระบบทางเดินอาหารโดยเฉพาะลาํ ไสใ้ หญ่ • แหล่งใยอาหาร: ผกั และผลไม้ ธญั พืช • ใยอาหาร (dietary fiber) แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ชนิด คอื o ใยอาหารทไ่ี มล่ ะลายน้ํา เปน็ สว่ นของเปลือก เมล็ด และเยอื่ หมุ้ ต่างๆ เช่น เซลลูโลส ลิกนิน กมั เพคตนิ o ใยอาหารทล่ี ะลายนาํ้ เป็นส่วนของผล เช่น อนิ ูลิน ฟรุคโตโอลโิ กแซคคาไรด์ • การแปรรปู สว่ นใหญ่แทบจะไมส่ ง่ ผลต่อปรมิ าณใยอาหาร • สว่ นใหญ่สญู เสยี จากการขั้นตอนเตรยี มวตั ถุดิบ เช่น ตดั แต่ง ขดั สี การค่ัน • ใยอาหารชนดิ ที่ละลายน้าํ บางส่วนอาจสญู เสยี ไปกบั น้ําที่ใชใ้ นกระบวนการผลิต

การเกบ็ รกั ษาอาหารแปรรูป ชนิดของอาหารแปรรปู วิธีการเกบ็ รักษา นมสดพาสเจอร์ไรซ์ เกบ็ รกั ษาในตูเ้ ยน็ นมสดสเตอริไลซ์ เกบ็ รกั ษาทอ่ี ุณหภูมิหอ้ ง และแหง้ ไมร่ ้อน ไม่ถกู แสงแดด นมสดยเู อชที เกบ็ รกั ษาทอ่ี ุณหภูมหิ ้อง และแห้ง ไม่ร้อน ไมถ่ ูกแสงแดด น้ําผลไมพ้ าสเจอร์ไรซ์ เกบ็ รักษาท่อี ณุ หภมู ิห้อง และแหง้ ไม่ร้อน ไม่ถูกแสงแดด อาหารกระป๋อง เก็บรกั ษาทอี่ ุณหภูมหิ ้อง แหง้ ไม่รอ้ น ไมถ่ กู แสงแดด มอี ากาศถ่ายเทได้สะดวก อาหารแหง้ เก็บรกั ษาทีอ่ ณุ หภมู ิหอ้ ง แหง้ และบรรจุในภาชนะปิดสนิท โยเกริ ์ต นมเปรย้ี ว เกบ็ รกั ษาในตเู้ ย็น ขนมปัง เก็บรักษาทอี่ ุณหภมู หิ อ้ ง และแห้ง ขนมปงั กรอบ เกบ็ รกั ษาทอี่ ณุ หภมู หิ อ้ ง แหง้ และบรรจใุ นภาชนะปิดสนิท อาหารทอด เก็บรกั ษาท่ีอุณหภมู หิ อ้ ง แห้ง บรรจุในภาชนะปิดสนทิ และหลกี เลย่ี งแสง เบยี ร์ ไวน์ เกบ็ รกั ษาท่อี ณุ หภูมิหอ้ ง แห้ง หลีกเลี่ยงแสง ผกั ดอง เกบ็ รักษาในต้เู ย็น แหนม ปลาร้า เกบ็ รกั ษาในตเู้ ย็น อาหารแช่แข็ง เก็บรกั ษาท่ีอุณหภมู ติ ํ่ากว่า -18 องศาเซลเซยี ส และมีอุณหภูมคิ งที่ อาหารท่ปี รุงสุกใหมๆ่ เก็บรกั ษาทอ่ี ุณหภูมหิ ้องได้ไมเ่ กนิ 1 วัน เก็บรกั ษาในตเู้ ยน็ ได้ 3-5 วัน

การเลือกรับประทานอาหารแปรรูป • สภาพของผลติ ภณั ฑ์ • อ่านฉลากบนบรรจุภณั ฑ์ของอาหาร o ส่วนผสม และสารปรุงแต่ง o วนั ผลติ วันหมดอายุ o สถานท่ผี ลิต o มาตรฐานการผลติ ของผผู้ ลิต • อา่ นฉลากโภชนาการ o ชนดิ และปรมิ าณสารอาหารทีไ่ ด้รับ o ปรมิ าณท่รี า่ งกายควรไดร้ บั ตอ่ วนั • ควรเลือกรบั ประทานอาหารที่ผ่านการแปรรูปเพียงเลก็ นอ้ ย หรือหลีกเลี่ยงอาหารท่ผี ่านการ แปรรปู ขนั้ สงู => มักมเี กลือ นาํ้ ตาล และไขมันสูง




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook