Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อมูล 21026-21044

ข้อมูล 21026-21044

Published by Chayanut Yaya, 2022-11-16 07:17:29

Description: E-BOOK เรื่องโทษของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้วิชาวิทยาการคำนวณและมัลติมีเดีย เสนอคุณครูสุนทรและครูเอกศักดิ์

Search

Read the Text Version

E-BOOK เรื่อง ขอมูล ด.ญ.ศภุ ลักษณ ตรอี นุรกั ษ 21044 ด.ญ.ชญานชุ เซ่ยี งเซ้ยี ว 21026

ความหมายและประเภทของขอ มลู และสารสนเทศ ขอ มลู (Data) คือ สง่ิ ตา ง ๆ หรอื ขอเท็จจรงิ ทไี่ ดร ับจากประสาทสัมผัส หรือส่อื ตาง ๆท่ียงั ไมผา นการวิเคราะห หรือการ ประมวลผล โดยขอมลู อาจเปนตวั เลข สญั ลักษณ ตัวอกั ษร เสยี ง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เปนตน ขอ มูลดิบ (Raw Data) คอื ขอ มูลทกุ รูปแบบทย่ี งั ไมไ ดผ า น การประมวลผล

ประเภทของขอ มูล สามารถแบงประเภทตามลักษณะของท่มี าหรอื การไดร ับขอมูล คือ 1.ขอ มลู ปฐมภมู ิ (Primary Data) คือ ขอ มูลท่ไี ดจ ากการเกบ็ รวบรวมหรือบนั ทึกจากแหลง ขอ มลู โดยตรง เชนหากนกั เรียนตอ งการขอมูลของชาวประมง นักเรียนจะตอ งลงพ้นื ทีไ่ ปยงั พื้นท่ีทช่ี าวประมงอยูและกท็ าํ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู อาจจะใชวธิ ีการทาํ แบบสอบถาม การ สมั ภาษณ หรือวิธีอ่ืน ๆ เพอ่ื ใหไ ดขอ มูลตามทีน่ ักเรียนตอ งการ “ทาํ ใหไดขอมูลทีต่ รงตามความ ตอ งการมากท่ีสุด” การรรวบรวมขอ มลู ปฐมภูมิ สามารถทําไดด งั น้ี ● การสัมภาษณส ว นบุคคล ● การสมั ภาษณทางโทรศัพท ● การใชแบบสอบถาม ● การสังเกต

1. การสมั ภาษณสว นบุคคล เปน การส่อื สารตอหนา (Face-to-Face) และเปน การสอ่ื สาร แบบสองทาง (Two-way Conversation) ระหวา งผูสัมภาษณกับผูต อบ คาํ ถามซง่ึ เปนผใู หข อมูล โดยทีผ่ สู มั ภาษณจ ะเปนผถู าม คําถามและควบคุมรูปแบบของการสมั ภาษณ ซึง่ โดยปกติผตู อบ มักไมใ หความสนใจในการ ตอบ หากรูสกึ วา ตนเองไมไ ดป ระโยชนอ ะไรจากการใหค วาม รวมมือในการสัมภาษณนัน้ ดงั น้นั จงึ เปน หนาท่ขี องผูสมั ภาษณท ่ีตอ งสรา งบรรยากาศ และกระตนุ ใหเกดิ ความรูสกึ ที่ดี ในระหวาง การสมั ภาษณ ถอยคําทีใ่ ช วิธีการพดู บุคลิก การแตงกาย และมารยาทที่ แสดงออกของ ผูสัมภาษณ ลวนมีสวนสาํ คญั กบั คําตอบท่จี ะ ไดร ับ วิธีการน้ีถอื เปน วิธกี ารทด่ี ี ทส่ี ดุ สําหรบั การรวบรวมขอมลู ปฐมภูมิ เพราะนอกจาก คําตอบท่ีไดรบั แลว อาจจะสงั เกตสิ่ง อ่ืน ๆ จากผตู อบไดอีกดวย

2. การสมั ภาษณท างโทรศพั ท เปนการรวบรวมขอมูลที่มีความสะดวกและงา ยตอ การเขาถึงผูใ ห ขอมูล ดว ยเหตุทีผ่ คู นในสังคม ปจจุบันมีโทรศพั ทม อื ถอื ติดตวั อยูต ลอดเวลา ถงึ แมใ นบางครงั้ อาจ เกิดปญหาการตดิ ตอกับ ผูใหข อ มลู ไมได หรือไดร บั การปฏเิ สธจากผูให ขอมลู เนื่องจากไมแนใจ หรือไมไววางใจตอ ผทู ี่ โทรศพั ทเขามา ดงั น้ัน การใชโทรศพั ทเพือ่ รวบรวมขอมลู จาํ เปน ที่จะตองสรา งความไว วางใจและความเชื่อถอื กนั เสยี กอ น ซ่งึ สามารถ กระทําไดหลายวธิ ี เชน การสง อเี มลหรือโทรศัพทข อความรวมมือไปลวงหนา การประชาสัมพันธผ านส่อื ตาง ๆ เพื่อ แนะนําตนเองและอธบิ ายวัตถปุ ระสงคในการสัมภาษณ ทั้งนี้ การสมั ภาษณทางโทรศัพทม ขี อดีใน เรอื่ งความสะดวกและรวดเร็ว แตก ม็ ขี อ เสีย คอื ระยะเวลาในการสัมภาษณทางโทรศพั ท ถาใชเวลา ในการสมั ภาษณนานเกินไป ผใู หข อมลู อาจจะตัดสายหรอื วางสายเมื่อใดกไ็ ด หรืออาจจะมสี าย เรียกเขา มาขัดจงั หวะขณะการสมั ภาษณ ซงึ่ ลว นเปนเหตใุ หก ารสัมภาษณน้นั ไมสมบรู ณ และอาจ ทําใหผใู หขอ มลู เลือกปฏเิ สธทีจ่ ะให ขอ มลู ในครั้งตอไปได

3. การใชแ บบสอบถาม เปนการรวบรวมขอ มูลทผี่ ูตอบกรอกขอ มลู ดว ยตนเอง โดยถือเปน การรวบรวมขอ มลู ท่ีมีความ นิยม เปนท่ีแพรห ลายในปจ จุบัน สว นใหญก ารตอบ แบบสอบถามแบบนจ้ี ะประกอบไปดว ยคาํ ถาม จํานวนไมม ากหรือไมยาวเกนิ ไป และคําตอบ มกั เปนคาํ ตอบทีไ่ มย าวเกินไปเชนกัน ในบาง คาํ ถามมกั มคี าํ ตอบมาใหเ ลือก เพ่ือความรวดเร็วและสะดวกในการตอบแบบสอบถาม การใชแบบสอบถามในการ รวบรวม ขอ มลู สามารถแบง รูปแบบของแบบสอบถาม ได 2 รปู แบบ ดงั น้ี 1) แบบสอบถามแบบปลายเปด (Open-ended Form) แบบสอบถามแบบนี้เปน แบบสอบถามท่ไี มไ ด กาํ หนดคําตอบไว ผูต อบ แบบสอบถามสามารถเขียนคําตอบหรือแสดง ความคดิ เหน็ ไดอยา งอสิ ระดวยคําพูดของตนเอง 2) แบบสอบถามแบบปลายปด (Closed-ended Form) แบบสอบถามแบบนี้ ประกอบดว ยขอ คาํ ถามและตวั เลอื กใหผ ตู อบแบบสอบถามเลือกตอบ ซึ่งตวั เลอื กน้สี รา งขน้ึ โดยคาดวา ผูต อบแบบสอบถามสามารถเลือก ตอบไดต ามความตอ งการและมีอยา งเพยี งพอ เหมาะสม แบบสอบถามแบบนสี้ รา งยากและใชเวลาในการสรา งมากกวา แบบสอบถามแบบปลายเปด แตผ ูตอบแบบสอบถามสามารถตอบไดง า ย สะดวก และรวดเรว็

4. การสังเกต เปนวธิ กี ารรวบรวมขอมูลที่เปนทางเลือกสดุ ทายในกรณีทไ่ี มสามารถรวบรวม ขอมลู ดว ยวธิ ีอน่ื ได เชน ขอมลู พฤติกรรมของคนและของสตั ว เหตุการณท ี่เกดิ ขน้ึ รอบตัว ทั้งการ สังเกตพฤตกิ รรมลกั ษณะตา ง ๆ ของทั้งคน สตั ว สง่ิ ของ ภาษาพดู ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และการสังเกตที่ไมใ ชพฤตกิ รรม ซงึ่ จะเปน การศึกษาสถิตหิ รือ ประวตั ิตา ง ๆ ทผี่ านมาในอดตี เชน การวิเคราะหส ภาพคลอ งทางการเงนิ ระบบตาง ๆ ทีใ่ ชใ นกระบวนการทํางาน โดย วธิ ีการสังเกต สามารถแบงออกไดเปน 2 วธิ ี ดังน้ี 1) การสงั เกตโดยตรง ซง่ึ ผสู งั เกต จะเปน สวนหน่งึ ของเหตุการณ แตจะไมมีการ ควบคุมหรอื จัดการใด ๆ กบั สถานการณท่ี ตอ งการสงั เกต เพยี งแตส ังเกตแลวบนั ทึก สงิ่ ท่เี กดิ ข้นึ จริง บางครั้งอาจใชการสอบถาม เพมิ่ เติมเพื่อให ไดขอ มูลทีช่ ดั เจนยิ่งข้ึน เชน การสงั เกตคุณภาพชวี ิตของคนในสังคม สิง่ ที่ ตองระวัง คือ ความลาํ เอียงของผสู งั เกต เพราะ ตองเปนสว นหนึง่ ของเหตกุ ารณ 2) การสังเกตแบบออ ม เปน การ สังเกตแบบที่ผูถูกสังเกตจะไมร ตู วั แมวาจะไดขอมลู ท่ถี ูกตอง แตตอ ง คํานึงถงึ เรื่องจรยิ ธรรมดวย

ขอ มลู ทุตยิ ภมู ิ คอื ขอมลู ท่มี กี ารรวบรวมไวแลว โดยผอู นื่ เชน หากนักเรียน ตอ งการขอมลู ของชาวประมง แตนักเรยี นไมส ามารถไปยงั พื้นท่ี ๆ ชาว ประมงอาศัยอยไู ด นักเรยี นก็อาจจะใชว ิธีอน่ื ในการคน หาขอ มลู เชน หา ขอ มูลจากอนิ เทอรเ น็ต จากหอ งสมุด “การนาํ ขอ มลู ทุตยิ ภูมมิ าใชตองตรวจ สอบคณุ ภาพของขอ มลู กอ นวามีขอ ดีขอ เสียอยา งไร” เพอื่ จะไดน าํ ไปใช อา งอิงไดอ ยา งมัน่ ใจ

ขอดีขอมลู ทุตยิ ภูมิ ไมต องเสยี เวลาในการรวบรวมขอมูล ประหยัดงบประมาณ ขอเสยี ขอมูลทุตยิ ภมู ิ ขอมูลทร่ี วบรวมไวแลว อาจไมต รงตามเปา หมายทเี่ ราตองการ การรวบรวมขอ มลู ทุตยิ ภูมิ สามารถแบงออกไดเ ปน 2 รูปแบบ ดังน้ี 1. ขอมลู จากแหลงขอมูลภายใน เปน ขอมลู ทีเ่ กิดภายในหนว ยงานหรือองคก รนัน้ ๆของ ผใู ชง าน 2. ขอ มูลจากแหลงขอ มูลภายนอก เปนขอ มูลทเ่ี กิดจากภายนอกองคก รหรือนอกหนว ย งาน

1. ขอ มลู จากแหลงขอ มลู ภายใน เปนขอ มลู ที่เกิดขึน้ ภายในหนว ยงานหรือภายในองคก รของ ผใู ชงาน เชน ขอ มูลพนักงาน ขอ มลู ทางการเงิน โดยขอมูลจากแหลงขอมลู ภายใน มลี กั ษณะ เฉพาะตวั ผูรวบรวมขอ มูลจะตองรูว าขอมูลทตี่ องการเก็บอยูทีใ่ ด และอยูในรปู แบบใด ทั้งน้ี ผู รวบรวมขอมูลตอ งสอบถามบุคคลท่ีเกี่ยวของ เพอ่ื จะไดร วบรวมขอมูลไดถูกแหลง 2. ขอ มลู จากแหลง ขอ มลู ภายนอก เปน ขอมลู ท่ีไดจาก การรวบรวมของบคุ คล หนวยงานหรอื องคกรภายนอก เชน ขอมลู ทางดา นสถิตติ า ง ๆ จากหนว ยงานสาํ นกั งานสถิตแิ หง ชาติ ซงึ่ การ ใชง านขอ มูลจากแหลง ขอ มลู ภายนอก ควรมีการตรวจสอบความสอดคลอ งของขอมูลโดยการ เปรยี บเทียบขอมลู ท่ีไดมากับขอ มูลขององคก รอ่ืน ๆ ดวย ซึง่ การตรวจสอบแบบน้ีจะชว ยลด ความผิดพลาดในการนําขอ มูลมาใช

ลักษณะของขอมลู ทด่ี ี 1. มีความถูกตองและแมนย า (Accuracy) 2. มีความเปน ปจจบุ นั และทนั สมัยอยเู สมอ (Up to date) 3. มคี วามกระชับ ชดั เจน และสมบรู ณครบถวน (Conciseness and Completeness) 4. สอดคลอ งกับความตองการของผใู ช (Relevance) 5. ปราศจากความล าเอียงหรอื อคติ (Reliable and Verifiable)

ชนดิ ของขอ มลู ขอมูลท่ใี ชในการประมวลผลแบงออกเปน 2 ชนดิ คือ 1. ขอมลู ท่เี ปนตัวเลข (Numeric Data) หมายถงึ ขอ มูลที่ใชแ ทนจ านวนท่ี สามารถน า ไป ค านวณได ขอ มูลแบบนี้เขียนไดหลายรปู แบบ คอื ก. เลขจ านวนเต็ม หมายถงึ ตัวเลขทีไ่ มมี จดุ ทศนิยม เชน 12, 9, 137 , 8319 , -46 ข. เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขท่ีมจี ุดทศนยิ ม ซ่งึ อาจมีคาเปน จ านวนเตม็ เชน 12 หรอื เปน จ านวนที่มีเศษทศนยิ มกไ็ ด เชน 12.763 2. ขอ มลู ที่เปน ตวั อกั ขระ (Character Data) หมายถงึ ขอ มลู ท่ี ไมสามารถ น า ไปค านวณ ได แตอ าจน าไปเรยี งล าดับได เชน การเรยี งล าดับตวั อักษร ขอมลู อาจเปน ตัวหนังสอื ตัวเลข หรอื เครอ่ื งหมายใด ๆ เชน COMPUTER, ON-LINE

บารโ คด (Barcode) บารโ คด 1 มิติ(Barcode 1D) บารโ คด 1 มิติมีลักษณะเปน แถบประกอบดว ยเสน สี ดาํ สลับกบั เสน สีขาว ใชแ ทนรหสั ตัวเลขหรอื ตวั อกั ษรโดย สามารถบรรจขุ อมลู ไดประมาณ 20 ตัวอกั ษร การใชงาน บารโคด มักใชรวมกบั ฐานขอมลู คือเมอ่ื อานบารโ คด และ ถอดรหสั แลว จงึ นาํ รหสั ทไ่ี ดใ ชเ รยี กขอมลู จากฐานขอมูล อกี ตอ หน่งึ ตัวอยา งประเภทของ บารโคด 1 มติ ิ เชน Code 39, Code 128, Code EAN-13 ฯโดยขอ มูลในตัวบารโ คด คือ \"123456789012\" แตล ักษณะของบารโคดจะเปลี่ยนแปลง ตามประเภทของบารโคด นนั้ ๆ ตามรปู ตวั อยา ง

บารโคด 2 มิติ(Barcode 2D) บารโคด 2 มติ ิเปนเทคโนโลยที พี่ ฒั นาเพิม่ เติมจากบารโคด 1 มิติ โดยออกแบบใหบ รรจุไดท ง้ั ในแนวตั้ง และแนวนอน ทําใหส ามารถบรรจขุ อ มูลมากไดป ระมาณ 4,000 ตัวอักษรหรอื ประมาณ 200 เทา ของ บารโ คด 1 มติ ิในพน้ื ทเ่ี ทากันหรือเลก็ กวา ขอมูลทบ่ี รรจุสามารถใชภ าษาอืน่ นอกจากภาษาอังกฤษได เชน ภาษาญปี่ ุน จนี หรือเกาหลี เปนตนและบารโ คด 2 มิติสามารถถอดรหัสไดแ มภ าพบารโ คด บางสว น มีการเสยี หาย อุปกรณท ใี่ ชอ า นและถอดรหัสบารโ คด 2 มิติมตี ้ังแตเ ครือ่ งอานแบบซีซดี ีหรือเคร่อื งอา น แบบเลเซอรเ หมอื นกบั ของบารโ คด 1 มิติจนถึงโทรศัพทม อื ถอื แบบมกี ลอ งถา ยรปู ในตัวซงึ่ ตดิ ตัง้ โปรแกรมถอดรหัสไว ในสวนลกั ษณะของบารโ คด 2 มติ มิ อี ยูอ ยา งมากมายตามชนดิ ของบารโคด เชน วงกลม ส่เี หล่ยี มจตั ุรัส หรอื สี่เหลีย่ มผืนผาคลา ยกบั บารโคด 2 มติ ิ ดังรปู ที่ 2 เปน ตน ตัวอยา งบารโคด 2 มติ ิ ไดแ ก PD417, MaxiCode, Data Matrix, และ QR Code


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook