Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่1_merged

หน่วยที่1_merged

Published by วรพล ธนะไชย, 2023-06-29 08:02:03

Description: หน่วยที่1_merged

Search

Read the Text Version

หน่วยที1่ เครอื่ งเลอื่ ยกลและงานเลอื่ ยกล หวั ขอ้ เรื่อง (Topics) 1. ความหมายของเครอื่ งเลอื่ ย 2. ชนิดของเครอื่ งเลอื่ ย 3. เครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั 4. ใบเลอื่ ย 5. หลกั การทางานดว้ ยเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั 6. การเลอื่ ยชิ้นงานดว้ ยเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั 7. ขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ ครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั 8. ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั 9. การบารุงรกั ษาเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั แนวคิดสาคญั (Main Idea) ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง มื อ ก ล โ ด ย ท่ ัว ไ ป จ ะ มี ก า ร เ ลื่ อ ย ช้ิ น ง า น เ พื่ อ ตัด แ ย ก วั ส ดุ แ ล้ ว น า ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร แ ป ร รู ป ห รื อ เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ จั ด เ ก็ บ วั ส ดุ ไ ด้ ง่ า ย ดั ง น้ั น ง า น เ ลื่ อ ย ก ล จึ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ ม า ก ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น จงึ ควรศกึ ษาเกยี่ วกบั วธิ กี ารใช้เครอื่ งเลอื่ ยกลใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจเป็ นอยา่ งดีก่ อน จงึ จะปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั สมรรถนะยอ่ ย(Elementn of Competency) แสดงความรเู้ กยี่ วกบั เครอื่ งเลอื่ ยกลพื้นฐานและงานเลอื่ ยกลตามคมู่ อื จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม(Behavioral Objectives) 1. บอกควายหมายของการเลอื่ ย 9. อธบิ ายการจบั ชิ้นงานตา่ งๆดว้ ยปากกาจบั ยดึ ของเลอื่ ยกลแบบชกั 2. จาแนกชนิดของเครอื่ งเลอื่ ย 10. อธบิ ายการจบั ยดึ งานรูปทรงตา่ งๆกอ่ นเลอื่ ย

3. ระบุชนิดของเลอื่ ย 11. อธบิ ายวธิ กี ารจบั ยดึ ใบเลอื่ ยเขา้ กบั โครงเลอื่ ยกลแบบชชกั 4. บอกชื่อและหน้าทขี่ องสว่ นประกอบ 1 2 . ระบรุ ะยะของการยกโครงเลอื่ ยกอ่ นตดั ของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั 5. อ ธิ บ า ย วิ ธี ก า ห น ด ค ว า ม ห ย า บ ล ะ เ อี ย ด ข อ ง 14. บอกความปลอดภยั ในการใชเ้ ลอื่ ยกลแบบชกั แบบชกั ฟนั เลอื่ ย 6. อ ธิ บ า ย วิ ก า ร เ ลื่ อ ย ใ ช้ ใ บ เ ลื่ อ ย ก ล แ บ บ ชั ก ใ ห้ 1 5 . อธบิ ายวธิ กี ารรกั ษาเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั เหมาะสมกบั ชนิดของวสั ดทุ นี่ ามาเลอื่ ย กบั ชนิดของวสั ดุทนี่ ามาเลอื่ ย 7. อธบิ ายหน้าทขี่ องมุมใบเลอื่ ยกลแบบชกั 8. อธบิ ายหน้าทขี่ องคลองเลอื่ ย 1.1 ความหมายของการเลื่อย การเลื่อยเป็ นกรรมวิธีการตดั ชิ้นงานโดยมีวตั ถุประสงค์หลายอย่าง เช่นการตดั แยก การบาก และการเซาะรอ่ ง เป็ นตน้ รปู ที1่ .1 ลกั ษณะของการเลอื่ ย

การเลื่อยแบ่งออกเป็ น2 ชนิด คือ การเลื่อยด้วยมือ(Hand Sawing) แ ล ะ ก า ร เ ลื่ อ ย ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย (Sawing Maching) ซงึ่ ในหน่วยน้ีจะกลา่ วถงึ เฉพาะการเลอื่ ยดว้ ยเครอื่ งเลอื่ ยกลเทา่ นน้ั 1.2 ชนิดของเครือ่ งเลื่อยกล เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล ที่ ใ ช้ ใ น ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม จ า แ น ก เ ป็ น 4ช นิ ด คื อ เครื่องเลื่อยชกั (Power Hacksaw) เครื่องเลื่อยสายพานนอน(Horizontal Band Saw) เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย แ บ บ ต้ั ง (Vertical Band Saw) แ ล ะ เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ว ง เ ดื อ น (Radius Saw Or Circuiar Saw)สาหรบั ในหน่วยนี้จะกลา่ วถงึ เครอื่ งเลอื่ ยชกั เพอื่ เป็ นพน้ื ฐานในการใช้งา นเทา่ นน้ั (ก) เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ชัก (ข ) เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ว ง เ ดื อ น (ค ) เครอื่ งเลอื่ ยสายพานตง้ั (ง) เครอื่ งเลอื่ ยสายพานนอน รูปที1่ .2 ชนดิ ของเครอื่ งเลอื่ ยกล 1.3 เครือ่ งเลือ่ ยกลแบบชกั เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล แ บ บ ชั ก (Power Hack Saw) เ ป็ น เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล ที่ ใ ช่ ง า น ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ ช่ ส า ห รับ เ ลื่ อ ย ช้ิ น ง า น แ ละ ข ณ ะ โ ย กกลับ จะยก ใบ เ ลื่อยข้ึนเล็ ก น้ อ ย ไม่มี ก า รตัด เฉื อนช้ินงาน นอกจากน้ีสามารถปรบั ระยะชกั ของใบเลอื่ ยลตั ง้ั ระยะการปิ ดเครอื่ งเมอื่ ตดั ชน้ิ งาน ขาดได้ 1.3.1 โครงเลอื่ ย โ ค ร ง เ ลื่ อ ย (Saw Frame) ตามดว้ ยเหล็กหลอ่ และเหล็กเหนียวใชส่ าหรบั ยดึ ใสใ่ บเลอื่ ยมลี กั ษณะเหมือนตวั ยคู ว่าและจบั เคลอื่ ยทไี่ ปมาในรอ่ งหา่ งเหยยี่ วโดยสง่ กาลงั จากลอ้ เฟื องดงั รปู 1.3 1.3.2 ฐานเครอื่ ง

ฐ า น เ ค รื่ อ ง ( Base) ท า จ ส ก เ ห ล็ ก ห ล่ อ ห รื อ เ ห ล็ ก เ ห นี ย ว มหี น้าทรี่ องรบั สว่ นตา่ งๆของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ทง้ั หมด 1.3.3 ระบบสง่ กาลงั ร ะ บ บ ส่ ง ก า ลั ง ( Drive System) ของเครือ่ งเลื่อยกลแบบชกั จะใช้มอเตอร์โดยใช้กระแสไฟฟ้ า 220 โวลต์ หรือ 380 โวลต์ 1.3.4 ชุดป้ อนตดั ชุ ด ป้ อ ง ตั ด ข อ ง เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล แ บ บ ชั ก มี 2 ช นิ ด คื อ ชนิดทใี่ ช้ลูกถว่ งน้าหนกั และชนิดทใี่ ช้ระบบ ไฮดรอลกิ รปู ที่ 1.3 สว่ นประกอบของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั 1.3.5ปากกาจบั ชิ้นงาน ปากกาจบั ช้ินงาน (vise) ของเครื่องเลื่อยกลแบบชกั แบ่งออกเป็ น2ส่วน คื อ ป า ก ก า ด้ า น ค ง ที่ ซึ่ ง ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ลื่ อ น ไ ป ม า ไ ด้

นอกจากน้ีปากกาของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ยงั สามารถจบั ชน้ิ งานเลอื่ ยตรง หรือปรบั เอียงเพอื่ ตดั เฉือนมมุ ตา่ งๆได้ รูปที1่ .4สว่ นประกอบของเครอื่ งเลอื่ ยชกั 1.4ใบเลื่อย ใ บ เ ลื่ อ ย ข อ ง เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล แ บ บ ชัก ท า ห น้ า ที่ ตัด เ ฉื อ น ชิ้ น ง า น ส่วนมากโครงเลื่อยผลิตจากโลหะผสมสูงหรือเหล็กกล้ารอบสูง(High Speed Steel) ซึ่ ง มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ต่ เ ป ร า ะ ดงั นน้ั การประกอบใบเลอื่ ยเขา้ กบั โครงเลอื่ ยจะตอ้ งประกอบใหถ้ กู วธิ ีและขนั สกรใู หใ้ บเลอื่ ยตงึ พอประมาณ เพอื่ ป้ องกนั ไมใ่ หใ้ บเลอื่ ยหกั 1.4.1ความหยาบละเอียดของงานใบเลื่อย ฟนั ของใบเลอื่ ยกลแบบชกั มลี กั ษณะเรียงกนั และมีความหา่ งระหวา่ งยอดฟั น เ รี ย ก ว่ า ร ะ ย ะ พิ ต ช์ ( Pitch) ซึ่ ง มี่ ร ะ ย ะ พิ ต ช์ นี้ จ ะ ก า ห น ด ค ว า ม ห ย า บ ห รื อ ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ฟั น เ ลื่ อ ย โดยนบั จานวนฟันต่อความยาว 1 นิ้ว เช่น ใบเลื่อย 10 ฟัน/นิ้ว 14 ฟัน/น้ิว เป็ นตน้

รปู ท1ี่ .5การกาหนดความหยาบความละเอยี ดของฟนั เลอื่ ย ใ น ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ ใ บ เ ลื่ อ ย ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งเลอื กใหเ้ หมาะสมกบั วสั ดชุ ้นิ งานดงั ตวั อยา่ งในตารางที่2 .1 ตารางที2่ .1 การเลอื กใช้ใบเลอื่ ยใหเ้ หมาะสมกบั วสั ดชุ ้นิ งาน จานวนฟนั /นิว้ วสั ดุทใี่ ช้เลอื่ ย 14, 16, 18 วสั ดุออ่ น เช่นดบี ุก ทองแดง ตะก่วั อะลูมเิ นียม พลาสตกิ เหล็กเหนียว เป็ นตน้ 22, 24 วสั ดุแข็งปานกลาง เช่นเหล็กหล่อ เหล็กโครงสร้าง ทองเหลอื ง เป็ นตน้ 32 วสั ดุแข็งมาก เช่นเหล็กทาเครื่องมือ เหล็กกล้าเจือ เป็ นตน้ 1.4.2 ความยาวของใบเลือ่ ย ก า ร ก า ห น ด ค ว า ม ย า ว ใ บ เ ล้ื อ ย นี้ จะวดั ระหวา่ งศนู ย์กลางของรเู จาะทใี่ ช้สาหรบั ประกอบใบเลอื่ ยเขา้ กบั โครงเลื่อย ความยาวทนี่ ิยมใช้ท่วั ไป เชน่ 450, 500, 600 มม. เป็ นตน้ รูปที1่ .6 การกาหนดความยาวของใบเลอื่ ย 1.4.3 การตดั เฉือนวสั ดุของใบเลื่อย ใ น ข ณ ะ ท า ก า ร เ ลื้ อ ย ช้ิ น ง า น ฟนั เลือ้ ยจะทาหน้าทตี่ ดั เฉือนวสั ดโุ ดยอาศยั คานโยกเป็ นกลไกการทางานของเค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ชั ก เพอื่ ดนั ใบเลอื่ ยใหเ้ คลอื่ นทไี่ ปดส้ นหน้าแลว้ กดใบเลอื่ ยใหต้ ดั เฉือนชนิ้ งานและข ณะโยกกลบั ก็จะยกใบเลือ่ ยขนึ้ เล็กน้อย ไมม่ ีการตดั เฉือนชื้นงาน

รปู ท1ี่ .7 หลกั ารทางานของใบเลอื่ ยกลแบบชกั 1.4.4 มุมของฟนั เลื่อย ในขณะเลอื่ ยชิน้ งาน ฟนั เลอื่ ยจะทาหน้าทตี่ ดั เฉือนและคายเศษวสั ดุ โ ด ย ที่เศษวัส ดุจะ อยู่ใ นร่องฟันเ ลื่อยแ ละ หลุ ดออ กไปต าม ครองเลื่อย ดงั นน้ั ในการผลติ ใบเลอื่ ยจงึ ประกอบดว้ ยมุมตา่ งๆ ดงั น้ี รปู ท1ี่ .8 มุมของใบเลอื่ ย 1. มุมลิ่ม( ) เป็ นมุมที่ทาหน้าที่ขูดตดั และปะทะกบั เน้ื อช้ินงานโดยตรง ถ้ า มุ ม ลิ่ ม มี ม า ก จ ะ ท า ใ ห้ ฟั น ใ บ เ ลื่ อ ย มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ดั ง น้ั น จึ ง เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รั บ วั ส ดุ ชิ้ น ง า น ที่ มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง แตถ่ า้ มุมลม่ิ น้อยความแข็งแรงก็จะลดลงและเหมาะสมสาหรบั วสั ดชุ ้นิ งานทอี่ อ่ น 2. มุมหลบหรือมุมฟรี ( ) เป็ นมุมที่ช่วยให้ฟันเลื่อยลดการเสียดสีกบั ชิ้นงาน โ ด ย ใ ห้ ค ม ฟั น เ ลื่ อ ย ตัด ชิ้ น ง า น เ พี ย ง จุ ด เ ดี ย ว แ ล ะ ท า ใ ห้ ส่ ว น อื่ น ๆ ของฟนั เลอื่ ยไมเ่ สียดสีกบั ผวิ ของช้ินงาน 3. มุมคาย ( ) เป็ นมุมทีท่ าหน้าทคี่ ายเศษเละช่วยใหใ้ บเลอื่ ยคายเศษออกไดง้ า่ ยขน้ึ

4 . มุ ม ตั ด ( ) เ ป็ น ก า ร ร ว บ ร ว ม กั น ข อ ง มุ ม ห ล บ แ ล ะ มุ ม ล่ิ ม ( ) ซงึ่ มุมน้ีจะทาใหใ้ บเลอื่ ยเกดิ การตดั เน้ือช้ินงาน ในการเลือกใช้มมุ ของใบเลอื่ ยน้ีจะตอ้ งใหเ้ หมาะสมกบั วสั ดชุ ิน้ งานดงั ตวั อยา่ งในต ารางท2ี่ .2 ตารางท2ี่ .2การเลือกใชม้ มุ ใบเลอื่ ยใหเ้ หมาะสมกบั วสั ดชุ ิ้นงาน 1.4.5 ครองเลื่อย ในขณะปฏบิ ตั งิ านเลือ่ ย ใบเลอื่ ยทตี่ ดิ และอยใู่ น รอ่ งจะเกดิ การเสยี ดสกี บั ผวิ ช้นิ งาน ในขณะเคลอื่ นไป-กลบั ทาใหเ้ กดิ ความรอ้ น และอาจทาใหใ้ บเลอื่ ยหกั ได้ ดงั นน้ั ใบเลอื่ ยจงึ มีการจดั ฟนั เพอื่ ใหเ้ กดิ ค ร อ ง เ ลื่ อ ย ใ น ข ณ ะ เ ลื่ อ ย ช้ิ น ง า น อ ล ะ ล ด แ ร ง เ สี ย ด ท า น ข ณ ะ เ ลื่ อ ย โ ด ย เ มื่ อ รูปท1ี่ .9 การจดั ฟนั ใบเลอื่ ย จดั ฟันและจะทาให้ฟันใบเลื่อยกว้างกว่าใบเลื่อย ซ่ึงเรียกว่า ครองเลื่อย ก า ร จัด ฟั น เ ลื่ อ ย มี 3 แ บ บ คื อ แ บ บ ค ลื่ น แ บ บ ต ร ง แ ล ะ แ บ บ ส ลับ โดยทแี่ บบสลนั น้ีใชส้ าหรบั ใบเลอื่ ยกลสว่ นแบบคลนื่ และแบบตรงจะใชส้ าหรบั ใบเ ลอื่ ยมือ 1.5หลกั การทางานโดยเครือ่ งเลื่อยกลแบบชกั 1.5.1การจบั ยดึ ช้ินงาน

1 . ก า ร จั บ ยึ ด ช้ิ น ง า น ที่ มี รู ป ท ร ง แ ต ก ต่ า ง กั น ชิ้ น ง า น ที่ มี รู ป ท ร ง แ ต ก ต่ า ง กั น จ ะ มี วิ ธี ก า ร จั บ ยึ ด แ ต ก ต่ า ง กั น ซึ่ ง ก า ร ใ ช้ ป า ก ก า จั บ ชิ้ น ง า น ผูป้ ฏบิ ตั ิงานตอ้ งคานึงถงึ รูปร่างหน้าตดั ของชน้ิ งานทจี่ ะตดั เพอื่ ใหจ้ บั ชน้ิ งานไดม้ ่ ั น ค ง เ พ ร า ะ ถ้ า ห า ก จั บ ช้ิ น ง า น ไ ม่ แ น่ น พ อ แ ล้ ว ชิ้นงานจะหลุดหรือเคลือ่ นทีเ่ ป็ นสาเหตุใหเ้ กดิ อนั ตราย และทาให้ใบเลือ่ ยหกั ได้ ตวั อยา่ งการจบั ชิ้นงานรูปทรงตา่ งๆ แสดงไวใ้ นรูปท1ี่ .10 รูปท1ี่ .10 การจบั ช้นิ งานรูปทรงตา่ งๆ 2 . ก า ร จั บ ช้ิ น ง า น ที่ ส้ั น ก ว่ า ป า ก ข อ ง ป า ก ก า ใ น ก า ร จับ ชิ้ น ง า น ที่ มี ค ว า ม ย า ว ไ ม่ เ พี ย ง พ อ กับ ป า ก ก า จับ ชิ้ น ง า น ให้ใช้วสั ดุที่มีความกว้างเท่ากบั ชิ้นงานเสริมเข้าอีกด้านของปากกาจบั ช้ินงาน ซงึ่ จะทาใหจ้ บั ชิน้ งานไดแ้ น่นหนาและม่นั คง ดงั รปู ที่ 1.11 รปู ท1ี่ .11 การจบั ชิน้ งานสน้ั โดยใช้วสั ดุเสรมิ อกี ดา้ นของปากกาจบั ชนิ้ งาน

รปู ท1ี่ .12 การจบั ชน้ิ งานสน้ั โดยใชว้ สั ดุเสรมิ อีกดา้ นของปากกาจบั ชนิ้ งาน 3 . ก า ร ตั ด ชิ้ น ง า น ที่ มี ค ว า ม ย า ว ม า ก ๆ ใหใ้ ช้ขาตง้ั รองรบั ชนิ้ งานเพอื่ ใหไ้ ดร้ ะดบั เดยี วกบั ปากกาจบั ชน้ิ งานของเครือ่ งเลือ่ ยกลแบบชกั รูปที1่ .13 การเลอื กใชข้ าตง้ั รองรบั ชนิ้ งานทมี่ ีความยาวมาก 4. ก า ร เ ร่ิ ม ต้ น ก า ร เ ลื่ อ ย ช้ิ น ง า น ใ ห้ ใ ช้ บ ร ร ทั ด เ ห ล็ ก ใ น ก า ร ต้ั ง ร ะ ย ะ ข อ ง ก า ร ตั ด

โดยวดั จากปลายสดุ จากชิ้นงานถงึ ใบเลอื่ ยของความยาวจะตอ้ งเพอื่ ขนาดของคลอ งเลอื่ ย รูปที1่ .14 การตง้ั ระยะกอ่ นตดั ดว้ ยบรรทดั เหล็ก 5. ก า ร ตั ด ช้ิ น ง า น จ า น ว น ม า ก ๆ มี ค ว า ม ย า ว เ ท่ า กั น ใ ห้ ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ ต้ั ง ร ะ ย ะ ก า ร วั ด โดยใชช้ ้ินงานทไี่ ดข้ นาดและตง้ั ระยะชนิ้ งานใหช้ นพอดีกบั ผวิ หน้าช้ินงานจากนน้ั ขนั สกรเู พอื่ ล็อกใหแ้ น่น รูปที1่ .15 การใชอ้ ุปกรณ์ตง้ั ระยะสาหรบั ตดั ชนิ้ งานทมี่ ีความยาวเทา่ กนั เป็ นจานวนมาก 1.5.2 การจบั ยึดใบเลือ่ ย การจบั ยดึ ใบเลอื่ ยเขา้ กบั โครงของเครอื่ งเลอื่ ยผปู้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งทราบทศิ ทางการ

ตั ด ข อ ง เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล แ บ บ ชั ก ก่ อ น ก ล่ า ว คื อ การจบั ใบเลื่อยทถี่ ูกตอ้ งนน้ั จะตอ้ งใหฟ้ นั เลื่อยใหต้ ดั เฉือนชิ้นงานหลงั จากประกอ บยดึ ใบเลอื่ ยใหข้ นั สกรยู ดึ ใบเลอื่ ยตงึ พอดีการตรวจสอบอาจกระทาไดโ้ ดยใช้คอ้ น เคาะทใี่ บเลือ่ ยเบาๆซงึ่ จะมเี สยี งกงั วาน ห ม า ย เ ห ตุ : ค ว า ม ค ม ข อ ง รู ส ลั ก ( pin hole) ของใบเลือ่ ยจะกดั สลกั จนเกดิ ช่องว่างระหว่างสลกั กบั รทู าใหม้ ีระยะหา่ งมากข้ึนสง่ ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ค ล อ น แ ล ะ อ า จ เ ป็ น ส า เ ห ตุ ใ ห้ ใ บ เ ลื่ อ ย หั ก ไ ด้ ดงั นน้ั จะตอ้ งมแี ผนประกบกอ่ นใสส่ ลกั ในรูใบเลอื่ ย 1.6 การเลือ่ ยช้ินงานด้วยเครือ่ งเลือ่ ยกลแบบชกั การใชเ้ ครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั เพอื่ ตดั ชิน้ งานมขี น้ั ตอนดงั น้ี 1.6.1 ตรวจสอบความพรอ้ มของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั และอุปกรณ์ใหเ้ รียบรอ้ ย 1.6.2 ยกโครงเลอื่ ยคา้ งไวก้ อ่ นตดั ชนิ้ งาน 1.6.3 จบั ยดึ ชิน้ งานดว้ ยปากกาจบั ชนิ้ งานใหถ้ กู ตอ้ งตามรูปทรงของช้ินงานโดยทยี่ งั ไมข่ ั นแน่นและใหส้ ามารถเลอื่ ยไป-มาได้ 1.6.4 ปรบั โครงเลอื่ ยลงใหฟ้ นั ของใบเลอื่ ยอยเู่ หนืออช้นิ งานประมาณ25 มม. 1.6.5ปรบั ตง้ั ระยะความยาวของชนิ้ งานโดยใชบ้ รรทดั เหล็กวดั ขนาด 1.6.6 จบั ยดึ ชนิ้ งานดว้ ยปากกาจบั ชน้ิ งานใหแ้ น่นและม่นั คง 1.6.7 ปรบั ขาตง้ั ระยะใหย้ าวเทา่ กบั ความยาวของชนิ้ งาน 1.6.8 เปิ ดสวติ ช์เพอื่ ใหเ้ ครอื่ งเลอื่ ยชกั ทางาน

1.6.9 ปรบั ระบบป้ อนตดั ไฮดรอลกิ ใหโ้ ครงเลอื่ ยเลอื่ นลงช้าๆ 1.6.10 ปรบั ทอ่ น้าหลอ่ เย็นใหฉ้ ีดบรเิ วรคลองเลอื่ ยเพอื่ ชว่ ยระบายความรอ้ น 1.6.11 รอจนกระท่งั เลอื่ ยตดั ช้ินงานขาดออกจากกนั 1 . 6 . 1 2 เ มื่ อ ช้ิ น ง า น ข า ด อ อ ก จ า ก กัน แ ล้ ว ย ก โ ค ร ง เ ลื่ อ ย ขึ้ น ด้ า น บ น จากนน้ั ปิ ดสวติ ช์แลว้ ทาความสะอาดเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ใหส้ ะอาดเรียบรอ้ ย รปู ท1ี่ .17 การปรบั ใบเลอื่ ยใหห้ า่ งจากชน้ิ งาน 25 มม. 1.7 ข้อควรระวงั ในการใช้เครือ่ งเลือ่ ยกลแบบชกั 1.7.1 การขนั ใบเลอื่ ยจะตอ้ งใหม้ คี วามตงึ พอดีและใหใ้ ชแ้ ผน่ ประกบใบเลือ่ ยกอ่ นขบั สลั กดว้ ย 1.7.2 จบั ยดึ ช้ินงานกบั ปากกาจบั ช้นิ งานใหแ้ น่นและม่นั คงกอ่ นเปิ ดสวติ ช์เครอื่ งทางาน 1.7.3 การป้ อนลกึ เพอื่ ตดั เลือ่ ยชน้ิ งานครง้ั แรกใหป้ ้ อนช้าๆจนกระท่งั ใบเลอื่ ยตดั เฉือนชิ้ นงานเต็มหน้าชนิ้ งานแลว้ จงึ ป้ อนลกึ ตามอตั ราป้ อนทแี่ นะนาของใบเลอื่ ย 1.7.4 หยดุ เครอื่ งทุกครง้ั ทวี่ ดั หรอื ปรบั เปลยี่ นช้นิ งาน 1.7.5 หา้ มจบั ชิ้นงานเลอื่ ยทมี่ ีความยาวงานน้อยกวา่ ความยาวของปากปกากาแตถ่ า้ จาเป็ นจะตอ้ งใชว้ สั ดุเสรมิ ทปี่ ากของปากกาจบั งานอีกดา้ น

1.7.6 หลอ่ เย็นชนิ้ งานตามชนิดของวสั ดทุ นี่ ามาเลอื่ ย 1.8 ความปลอดภยั ในการใช้เครือ่ งเลือ่ ยกลแบบชกั เ พื่ อ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ใ ช้ เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล แ บ บ ชั ก ผปู้ ฎบิ ตั งิ านควรยดึ ถอื ปฎบิ ตั ดิ งั น้ี 1.8.1 กอ่ นใชเ้ ครอื่ งควรตรวจสภาพความพรอ้ มของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ทุกครง้ั 1.8.2 การจดั ชิ้นงานใหถ้ ูกตอ้ งและม่นั คงกอ่ นเลอื่ ย 1.8.3 กอ่ นเปิ ดสวติ ช์เดนิ เครอื่ งจะตอ้ งยกใบเลอื่ ยใหอ้ ยเู่ หนือชนิ้ งานประมาณ 25 มม. กอ่ นทกุ ครง้ั 1.8.4 การป้ อนตัดด้วยระบบไฮดรอลิกใกเกินไปอาจทาให้ใบเลื่อยหกั ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งระมดั ระวงั 1.8.5 วัสดุช้ินงานประเหล็ กหล่อ ทองเหลือง ทองแดง และอลูมิเนี ยม ควรหลอ่ เย็นใหถ้ กู ตอ้ ง 1 . 8 . 6 ข น า ด เ ค รื่ อ ง เ ลื่ อ ย ก ล แ บ บ ชั ก ก า ลั ง ตั ด ชิ้ น ง า น หา้ มหมนุ ถอยปากกาจบั ออกโดยเด็ดขาด 1.9 การบารุงรกั ษาเครือ่ งเลือ่ ยกลแบบชกั 1 . 9 . 1 ห ลัง เ ลิ ก ใ ช้ ง า น ใ ห้ ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด แ ล ะ ช โ ล ม น้ า มัน บ า ง ๆ ตามช้นิ งานทเี่ ป็ นเหล็กเพอื่ ป้ องกนั สนิม 1.9.2 ควรเปลยี่ นถา่ ยน้ามนั หลอ่ เย็นทุกสปั ดาห์ 1.9.3 หม่นั ตรวจสภาพชิ้นสว่ นของเครื่องเลื่อยกลแบบชกั และหยดน้ามนั ตามจุดต่างๆ ทมี่ ีการเคลือ่ นทขี่ องชิ้นสว่ นเหลา่ นน้ั คาส่งั จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

1.จงบอกชื่อและหน้าทขี่ องเครื่องเลื่อยกลแบบชกั ตามหมายเลขทกี่ าหนดใ หต้ อ่ ไปน้ี (5คะแนน) ชือ่ หน้าที่ ห ม า ย เ ล ข 1 ………………………………………… ……………………………………………………………………… ห ม า ย เ ล ข 2 ………………………………………… ……………………………………………………………………… ห ม า ย เ ล ข 3 ………………………………………… ……………………………………………………………………… ห ม า ย เ ล ข 4 ………………………………………… ……………………………………………………………………… ห ม า ย เ ล ข 5 ………………………………………… ……………………………………………………………………… 2.จดุ มงุ่ หมายในการเลอื่ ยคืออะไร (2คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………. 3.เครอื่ งเลอื่ ยกลทใี่ ช่ในงานอตุ สาหกรรมจาแนกออกไดก้ ชี่ นิดและมีอะไรบ้ าง (4คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………… 4. จงอธบิ ายวธิ กี ารกาหนดความหยาบละเอียดของฟนั เลอื่ ย (2 คะแนน)

…………………………………………………………………………………………………………………………… ………………… ๕. จงบอกชื่อและหน้าทขี่ องมุมของฟนั เลอื่ ยทกี่ าหนดใหต้ อิ ไปนี้ (4คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………… แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 1 เครื่องเลือ่ ยกลและงานเลือ่ ยกล

คาส่งั จงเลือกคาตอบทถี่ ูกตอ้ งทสี่ ุด 1. ขอ้ ใดคอื ลกั ษณะของงานเลอื่ ย ก. การขดู ชิ้นงานใหข้ าดจากกนั ข. การถากผวิ ชิน้ งานใหร้ าบเรยี บ ค. การปรบั ผวิ งานใหร้ าบเรยี บ ง. ตดั แบง่ แยกชินงาน 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ฟนั ใบเลอื่ ยคอื ขอ้ ใด ก. ลดแรงเสยี ดทานขณะเลอื่ ย ข. ความสวยงาม ค. ลดการสกึ หรอของใบเลอื่ ย ง.ทาใหฟ้ นั เลือ่ ยแข็งแรงมากขน้ึ 3. ขนาดความยาวของใบเลอื่ ยมวี ธิ กี ารตรวจสอบอยา่ งไร ก. วดั จากจุดศนู ย์กลางรูใบเลอื่ ยดา้ นหนึ่งถงึ อีกดา้ นหนึ่ง ข. วดั จากปลายสดุ ของใบเลือ่ ยดา้ นหน่ึงไปยงั รใู บเลือ่ ยในดา้ นตรงกนั ขา้ ม ค. วดั จากฟนั เลือ่ ยฟนั แรกถงึ ฟนั เลอื่ ยฟนั สุดทา้ ย ง. วดั ระหวา่ งปลายใบเลอื่ ยทง้ั สองดา้ น 4 ความหยาบละเอียดของฟนั เลอื่ ยมวี ธิ กี าหนดอยา่ งไร ก. จานวนฟนั เลอื่ ยตอ่ ความยาวใบเลอื่ ย ข. จานวนฟนั เลอื่ ยตอ่ ความยาวหน่ึงน้ิว ค. จานวนฟนั เลอื่ ยตอ่ ขนาดใบเลอื่ ย ง. จานวนฟนั เลอื่ ยตอ่ ความกวา้ งของใบเลอื่ ย 5. เครอื่ งเลอื่ ยกลชนิดใดทนี่ ิยมใชต้ ามโรงงานท่วั ไป ก.เครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ข.เครอื่ งเลอื่ ยกลแบบสายพานนอน

ค.เครอื่ งเลอื่ ยกลแบบสายพานตง้ั ง.เครอื่ งเลอื่ ยกลแบบวงเดือน 6.การตดั ชน้ิ งานดว้ ยเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ควรใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ชนิดใด ก. เวอร์เนียร์คาลปิ เปอร์ ข.บรรทดั เหล็ก คไมโครมเิ ตอร์ ง.ตลบั เมตร 7.เครอื่ งเลอื่ ยกลทใี่ ช้ระบบป้ อนตดั แบบไฮดรอลกิ ใชช้ ิ้นสว่ นใดเป็ นตวั ป้ อนตดั ก. น้ามนั ข. เฟื อง ค. ลม ง. ลกู ตมุ้ 8. สว่ นประกอบใดของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบซกั ทใี่ ชจ้ บั ยดึ ใบเลอื่ ย ก. แทน่ รองรบั ช้นิ งาน ข. ปากกาจบั ช้นิ งาน ค. แขนตง้ั ระยะการตดั ง. โครงเลอื่ ย 9. ขอ้ ใดคือลกั ษณะการทางานของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ก. การตดั ชิ้นงานตอ่ เนื่อง ข. เลอื่ ยชิน้ งาน 2 จงั หวะ ค. จงั หวะเลอื่ ยชน้ิ งานเป็ นวงกลม ง. เลอื่ ยชิน้ งานจงั หวะเดยี ว 10. สว่ นใดของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ทรี่ บั น้าหนกั ทง้ั หมดของเครอื่ ง ก. โครงเลอื่ ย ข. แขนตง้ั ระยะการตดั

ค. ฐานเครอื่ ง ง.ปากกาจบั ช้ินงาน 11. ฐานเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบชกั ทาจากวสั ดชุ นิดใด ก. อะลมู เิ นียม ข.เหล็กกลา้ ผสม ค. เหล็กเหนียว ง. เหล็กหลอ่ 12. เพราะเหตุใดจึงต้องยกใบเลื่อยให้ห่างจากช้ินงานประมาณ 25 มม. กอ่ นเปิ ดสวติ ช์เครอื่ งทางาน ก . เ พื่ อ ใ ห้ เ ค รื่ อ ง เ ดิ น ฟ รี ข. เพอื่ ใหม้ ชี ่องวา่ งในการปรบั ป้ อนตดั ชนิ้ งาน ค. เพอื่ ป้ องกนั การกระแทกของใบเลอื่ ย ง. เพอื่ เปิ ดน้าหลอ่ เย็น 13. ก า ร เ ลื่ อ ย ช้ิ น ง า น ที่ มี ค ว า ม ย า ว เ ท่ า ๆ กนั หลายช้นิ ควรใชอ้ ปุ กรณ์ขอ้ ใดช่วยในการเลอื่ ยชน้ิ งาน ก. ฐานเครอื่ ง ข.แขนตง้ั ระยะ ค. ปากกาจบั ช้ินงาน ง. โครงเลอื่ ย 14. ช้นิ สว่ นใดของเครอื่ งเลอื่ ยกลแบบซกั ทสี่ ามารถปรบั เอียงเป็ นมุมได้ ก. แขนตง้ั ระยะการตดั ข.ฐานเครอื่ ง ค. ปากกาจบั ช้นิ งาน ง. โครงเลอื่ ย 15. ชน้ิ สว่ นใดของเครอื่ งเลอื่ ยชกั ทใี่ ช้เป็ นตน้ กาลงั ก. โครงเลอื่ ย ข. แขนตง้ั ระยะ ค. มอเตอร์ ง. ฐานเครอื่ ง












Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook