Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศศ หน่วยที่ 12

ศศ หน่วยที่ 12

Published by aporn_onn11, 2021-05-12 03:05:38

Description: ศศ หน่วยที่ 12

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 12 การพฒั นาเศรษฐกิจ Aporn On-nual หนว่ ยที่ 12

การพฒั นาเศรษฐกจิ ความหมาย ของการพฒั นาเศรษฐกจิ การพฒั นาเศรษฐกจิ หมายถึง การทาให้รายไดท้ แ่ี ท้จรงิ ตอ่ คน เพิม่ ขน้ึ ติดต่อกันเป็น เวลานาน เพ่ือทาให้ประชาชนส่วนใหญม่ ีความเปน็ อยู่ทดี่ ีขน้ึ ดงั นน้ั การพฒั นาเศรษฐกิจ จะทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกจิ และ สงั คม โดยมีจดุ มุ่งหมายดังนี้ 1) เกดิ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ เพอื่ ทาให้มีสนิ ค้าและบรกิ ารมากขึ้นหรือทา ใหร้ ายไดท้ แี่ ทจ้ รงิ ต่อคน สงู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2) มีเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ หมายถงึ การมคี วามสมดลุ ในตลาดตา่ ง ๆ ทาใหเ้ กดิ การพัฒนาเศรษฐกิจอยา่ ง ยั่งยืน 3) มคี วามเสมอภาคทางเศรษฐกิจ หมายถงึ การมีความยุติธรรมในการกระจาย รายได้ และการกาหนดราคา ทาให้ประชาชนมีความเป็นอยใู่ กลเ้ คยี งกนั 4) มเี สรภี าพทางเศรษฐกจิ หมายถึงการมอี สิ ระในการเลอื กอาชีพและเลอื กวิถกี าร ดารงชวี ิตของแต่ละคน เพอ่ื ความเป็นอยทู่ ด่ี ขี ้นึ ของประชาชน 5) มีความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ หมายถงึ การมคี วามมน่ั คงในฐานะทางการเงนิ ของ ประเทศ และสถาบัน การเงนิ ของประเทศ เพอื่ ให้รัฐบาลสามารถจัดสรรทรพั ยากรของประเทศ เพอ่ื ประโยชนข์ องคนส่วนใหญ่ของ ประเทศ 6) มคี วามสงบทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ 7) ประชาชนไดร้ ับการศึกษาอย่างทว่ั ถึงและมีสุขภาพแข็งแรง ลกั ษณะของประเทศดอ้ ยพัฒนา 1. รายได้ตอ่ คนต่า 2. ขาดแคลนทนุ 3. การออมมีจานวนนอ้ ย 4. มชี ่องว่างระหวา่ งคนรวย-คนจน 5. ทัศนคติคา่ นิยมของสงั คมและวฒั นธรรมยังลา้ หลัง ไมอ่ านวยต่อการพัฒนา 6. การผลิตสินคา้ เปน็ ขน้ั ปฐมภมู ิ 7. มกี ารส่งั สินคา้ เขา้ จานวนมาก 8. สง่ ออกน้อยกวา่ ผลติ ผลมวลรวมของประเทศ 9. มปี ระชากรหนาแนน่

10. อตั ราการเกดิ การตายสงู 11. การขยายตัวทางอุตสาหกรรมถูกจากัดโดยขนาดและคณุ ภาพของประชากร การสะสมทนุ ความรทู้ าง เทคนคิ ทรพั ยากรธรรมชาติ ตัวเลขรายได้ทแี่ บง่ ประเทศพัฒนากับดอ้ ยพฒั นามดี ังนี้ 1. ประเทศด้อยพฒั นา ( Underdeveloped Nations) มีรายได้ตอ่ คน ตา่ กวา่ 600ดอลล่ารต์ อ่ ปี บางทีกเ็ รียก กลุม่ นีว้ า่ กาลังพัฒนา 2. ประเทศกึง่ พฒั นา (Semi-Developed Nation) มรี ายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ คนตอ่ ปี 600 ดอลลา่ ร์ขนึ้ ไป 3. ประเทศพฒั นาแล้ว (Developed Nation) ประชากรมีรายไดต้ อ่ คนสูงกวา่ 1,500 ดอลล่ารต์ อ่ คนต่อปขี ึ้น ไป ความสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศดอ้ ยพัฒนาเปน็ ประเทศทม่ี คี วามจาเปน็ เร่งด่วนท่ีจะตอ้ งมกี ารปรบั ปรุงสภาพเศรษฐกิจและสงั คม ใหค้ วามเจรญิ ทัดเทยี มกบั ประเทศทม่ี กี ารพฒั นาระดับสงู หรือประเทศทพี่ ัฒนาแล้วซง่ึ จะทาให้เกิดประโยชน์ ต่างๆพอสรปุ ไดด้ ังน้ชี ว่ ยยกระดบั มาตรฐานการครองชีพให้สงู ข้นึ โดยปกตปิ ระเทศด้อยพฒั นาจะมรี ายได้ ท่ี แทจ้ ริงตอ่ บุคคลต่า มอี ตั ราเพิ่มของผลผลิตและรายได้ประชาชาตใิ นอตั ราต่า ขณะทีป่ ระเทศทพ่ี ฒั นาแล้วจะมี อตั ราการเพิม่ สูงดังนั้นหากไมม่ กี ารพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศดอ้ ยพฒั นาจะทาใหเ้ กดิ ความเหลื่อมลา้ ทาง เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศด้อยพัฒนากับประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ มากขน้ึ ขณะเดยี วกนั ในประเทศดอ้ ยพัฒนาเองก็ มปี ญั หาความเหลอ่ื มล้าทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งคนรวยกบั คนจนหากไมม่ กี ารแก้ปญั หาเหล่าน้จี ะทาให้ประชาชน ในประเทศขาดความสามคั คดี ังนัน้ ประเทศดอ้ ยพัฒนาจงึ พยายามพัฒนาเศรษฐกิจใหป้ ระชาชนของประเทศมี ฐานะทางเศรษฐกิจดีขนึ้ ทั้งนีเ้ พราะมคี วามเชอื่ วา่ เมอื่ ฐานะทางเศรษฐกจิ ของประเทศ(ประชาชน)ดขี ้ึนแลว้ มาตรฐานการดารงชพี ของประชาชนกจ็ ะสงู ข้ึนด้วยนอกจากน้ียังช่วยลดความขัดแยง้ ระหวา่ งกลุ่มคนต่างๆใน สงั คมอีกด้วยทาใหป้ ระเทศสามารถช่วยเหลอื ตนเองได้ทง้ั ทางดา้ นเศรษฐกิจและการเมอื งการพัฒนาเศรษฐกจิ นอกจากจะมีผลทาใหฐ้ านะของประชาชนในประเทศดีขึน้ แลว้ ยงั สง่ ผลให้ความมัน่ คงของฐานะทางเศรษฐกจิ ของประเทศดีขึ้นดว้ ย ทาให้ประเทศชาติมเี งินทนุ ในการทานุบารุงประเทศทัง้ ในด้านการศกึ ษา สาธารณูปโภค และการปอ้ งกนั ประเทศซง่ึ ทาให้ประเทศมเี สถยี รภาพทางการเมอื งและเศรษฐกิจชว่ ยเหลอื เศรษฐกจิ ของโลก ตามปกตปิ ระเทศพัฒนาจะมีบทบาทในการช่วยเหลอื ทางการค้ากับประเทศดอ้ ยพัฒนาในการพฒั นาประเทศ ทัง้ ในด้านเงนิ ทนุ เทคโนโลยแี ละผเู้ ชีย่ วชาญด้านตา่ งๆเพอื่ ใหป้ ระเทศด้อยพัฒนามีความก้าวหนา้ ทางเศรษฐกจิ และสังคมและสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในอนาคตหากประสบความสาเร็จจะทาใหป้ ระเทศมรี ายได้ท่แี ท้จรงิ ตอ่ หวั ของประชาชนสงู ขนึ้ เมอ่ื รายไดข้ องประชาชนสูงข้นึ ยอ่ มมคี วามตอ้ งการสนิ ค้าอปุ โภคบรโิ ภคมากขึ้นทง้ั

ในประเทศและตา่ งประเทศทาให้การคา้ ของโลกขยายตัวโดยเฉพาะประเทศทพี่ ฒั นาแล้วจะสามารถขายสนิ ค้า ไดเ้ พมิ่ ขน้ึ ซึง่ เกิดผลดีตอ่ เศรษฐกิจโลก วัตถปุ ระสงค์ของแผนพัฒนาเศรษฐศาสตร์ แผนพฒั นาเศรษฐศาสตร์ คอื \"บันทกึ แผนงานเป็นลายลักษณ์อกั ษรของรัฐบาลในการพฒั นาประเทศ โดย กาหนดวัตถปุ ระสงค์ แผนการดาเนนิ งาน วิธกี ารดาเนินงาน กาหนดหนว่ ยงานท่จี ะปฏิบัติตามแผนการต่าง ๆ ไวเ้ ป็นระบบ\" แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศดอ้ ยพฒั นา มวี ัตถุประสงค์กว้าง ๆ 4 ประการ ดังนี้คือ 1.ยกระดับอตั ราการเพมิ่ ของรายไดป้ ระชาชาติและรายได้เฉลี่ยตอ่ บคุ คลให้สงู ขน้ึ 2.รกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในประเทศและระหวา่ งประเทศใหม้ ีความม่ันคงทีส่ ดุ 3.ขจัดปัญหาการวา่ งงาน (unemployment) และการทางานไมเ่ ตม็ ท่ี (under employment) 4.กระจายรายได้ไปยังประชาชนส่วนใหญข่ องประเทศ ให้ไดร้ บั รายไดใ้ นระดบั ท่ใี กลเ้ คียงกัน เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพของประชาชนในชนบทใหท้ ัดเทยี มกบั ประชาชนในเมอื ง แผนพฒั นาเศรษฐกิจของไทย แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตคิ ือ เอกสารดา้ นนโยบายสาธารณะท่ใี ช้ในการกาหนดทิศทางการ พฒั นาเศรษฐกิจ (ตง้ั แตแ่ ผนฉบับที 1) และสังคม (ตัง้ แต่แผนฉบับที 2เป็นตน้ มา) รว่ มกนั ของประเทศไทย โดยไดป้ ระกาศใช้ฉบับแรกเมือ่ พ.ศ.2504 และมกี ารประกาศใช้เรือ่ ยมาจนกระท่ังถึงแผน 10 ในปจั จบุ นั ประเทศไทยมแี นวคิดด้านการจัดทาแผนพัฒนาขนาดใหญเ่ ปน็ ครงั้ แรกในสมัย แรกเรมิ่ เปลย่ี นแปลงการ ปกครอง โดยใน พ.ศ.2475 คณะราษฎรโ์ ดยหลวงประดษิ ฐ์มนญุ ธรรม (ปรีดีพนมยงค)์ ไดน้ าเสนอแผนทม่ี ชี อื่ ว่า “เคา้ โครงเศรษฐกจิ แห่งชาติ” แตป่ ระสบปญั หาความขดั แย้งดา้ นแนวคดิ ของแผนทม่ี ลี กั ษณะการพัฒนา เศรษฐกจิ ในรูปแบบของรัฐสงั คมนยิ ม จึงทาใหแ้ ผนดงั กลา่ วไมไ่ ด้รับความสนใจแตป่ ระการใดในปีพ.ศ.2493 รัฐบาลไดจ้ ดั ตงั้ สภาเศรษฐกิจแห่งชาตเิ พื่อทาหนา้ ที่ในการเปน็ ทีป่ รกึ ษาใหแ้ กร่ ฐั บาลในเร่อื งเศรษฐกจิ การ คลัง และมคี ณะกรรมการดาเนินการทาผังเศรษฐกิจ ซ่ึงทาหน้าท่ีวางกรอบโครงสรา้ งทางเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยคณะกรรมการชดุ ดงั กล่าวถือเปน็ คณะทางานหลกั ของสภาเศรษฐกิจในปีพ.ศ.2504 รัฐบาลของ จอมพลสฤษดิธนะรชั ตไ์ ดม้ กี ารจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจระดับชาติโดยสภาพฒั นาการเศรษฐกิจแห่งชาติ เป็นผวู้ างแผน โดยธนาคารโลกไดส้ ่งผ้เู ชยี วชาญเข้ามาให้การช่วยเหลอื ทางวชิ าการในการกาหนดแผน ดงั กล่าว ลักษณะสาคญั ทท่ี าให้แผนพัฒนาการเศรษฐกิจแหง่ ชาตฉิ บับดังกลา่ วมคี วามเป็นพเิ ศษคอื การวาง ระบบความสัมพันธ์ของแผน เช่น ท่ีไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา ดังน้ี“โดยที สภาพฒั นาการเศรษฐกจิ แหง่ ชาตไิ ดพ้ จิ ารณากาหนดจดุ หมาย นโยบาย แผนการและโครงการพฒั นาการเศรษฐกจิ เพ่ือวางแผนการ

ส่วนรวมสาหรับระยะเวลาหนงึ่ และไดว้ างแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแหง่ ชาติระหว่างระยะเวลา พ.ศ.2504 ถึง พ.ศ.2506 และถึง พ.ศ. 2509 ...”จากแผนดงั กลา่ วทาให้ประเทศไทยมลี กั ษณะเศรษฐกจิ แบบผสม (Mix Economy) โดยทีม่ หี ลกั การทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรพี ร้อมกับการทรี่ ัฐเข้ามามบี ทบาทในการวางแผน เพื่อกาหนดเป้าหมายการเตบิ โตทางเศรษฐกิจไปพรอ้ ม ๆ กนั พรอ้ มกนั น้รี ฐั บาลไดป้ รับเปล่ียนบทบาทของ สภาพฒั นาการเศรษฐกจิ แห่งชาติให้มบี ทบาทในการเป็นหน่วยงานกลางในการกาหนดทศิ ทางเศรษฐกิจของ ประเทศ และไดเ้ ปลยี่ นชอื่ เป็น “สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ แหง่ ชาติ” ใน พ.ศ.2502 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบไปดว้ ย 5 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1. กรอบแนวคดิ เป็นปรชั ญาท่ชี ้ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏบิ ัติตนในทางทค่ี วรจะเปน็ โดยมพี น้ื ฐานมาจากวิถีชีวิตด้ังเดมิ ของสงั คมไทย สามารถนามาประยุกต์ใชไ้ ด้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชงิ ระบบทมี่ กี ารเปล่ียนแปลงอยู่ ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบทีม่ กี ารเปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลา มุง่ เน้นการรอดพน้ จากภยั และ วกิ ฤต เพ่อื ความมนั่ คง และความยั่งยืนของการพฒั นา สว่ นท่ี 2. คุณลกั ษณะ เศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถนามาประยกุ ต์ใชก้ ับการปฏบิ ัติตนไดใ้ นทกุ ระดบั โดยเนน้ การปฏิบตั บิ นทางสาย กลาง และการพฒั นาอย่างเป็นขัน้ ตอน ส่วนที่ 3. คานิยาม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะ ดงั นี้ ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ่ไี ม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกนิ ไปโดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเอง และผอู้ น่ื เช่นการผลติ และการบริโภคทอี่ ยูใ่ นระดบั พอประมาณ ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตัดสินใจเกย่ี วกบั ระดบั ของความพอเพยี งนนั้ จะต้องเป็นไปอยา่ งมเี หตุผล โดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลทค่ี าดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทานน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ การมภี มู คิ ุ้มกันท่ดี ใี นตัว หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ทจี่ ะ เกิดข้นึ โดยคานึงถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ที่คาดว่าจะเกดิ ข้ึนในอนาคตท้งั ใกล้ และไกล สว่ นท่ี 4. เงื่อนไข การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งนั้น ต้องอาศัยทงั้ ความรู้ และคณุ ธรรมเป็น พื้นฐาน 2 เง่อื นไข ดงั นี้ เงอื่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เกย่ี วกับวชิ าการตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้องอยา่ งรอบด้าน ความรอบคอบท่ี จะนาความรู้เหล่าน้ันมาพจิ ารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกัน เพ่อื ประกอบการวางแผน และความระมัดระวงั ในขน้ั ปฏิบตั ิ

เงือ่ นไขคณุ ธรรม ที่จะตอ้ งเสรมิ สร้างประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มีความซอื่ สัตยส์ ุจริต และมี ความอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดาเนินชวี ติ สว่ นที่ 5. แนวทางปฏบิ ัติ / ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั จากการนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพฒั นาที่สมดลุ และยงั่ ยนื พรอ้ มรับตอ่ การ เปลีย่ นแปลงในทุกดา้ น ทงั้ ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้ และเทคโนโลยี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติคือ เอกสารดา้ นนโยบายสาธารณะที ใช้ในการกาหนดทศิ ทางการพฒั นาเศรษฐกิจ (ตงั้ แต่แผนฉบบั ที 1) และ สังคม (ตง้ั แตแ่ ผนฉบบั ที 2เป็นต้นมา) ร่วมกันของประเทศไทย โดยไดป้ ระกาศใช้ฉบบั แรกเมื่อ พ.ศ.2504 และ มกี ารประกาศใช้เรอื่ ยมาจนกระท่ังถงึ แผน 10 ในปจั จบุ นั ประเทศไทยมแี นวคดิ ดา้ นการจัดทาแผนพฒั นา ขนาดใหญเ่ ป็นคร้ังแรกในสมยั แรกเรม่ิ เปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยใน พ.ศ.2475 คณะราษฎร์โดยหลวง ประดษิ ฐมนูญธรรม (ปรดี ีพนมยงค์) ไดน้ าเสนอแผนทมี่ ีชือ่ ว่า “เคา้ โครงเศรษฐกจิ แหง่ ชาติ” แต่ประสบปญั หา ความขัดแย้งด้านแนวคดิ ของแผนทม่ี ลี กั ษณะการพฒั นาเศรษฐกิจในรปู แบบของรัฐสังคมนยิ ม จึงทาให้แผน ดงั กล่าวไม่ไดร้ ับความสนใจแต่ประการใดในปีพ.ศ.2493 รัฐบาลไดจ้ ดั ต้งั สภาเศรษฐกจิ แห่งชาตเิ พ่ือทาหน้าท่ี ในการเปน็ ทีป่ รึกษาใหแ้ ก่รัฐบาลในเรอ่ื งเศรษฐกจิ การคลัง และมีคณะกรรมการดาเนนิ การทาผงั เศรษฐกิจ ซง่ึ ทาหน้าทวี่ างกรอบโครงสร้างทางเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยคณะกรรมการชุดดังกลา่ วถือเป็นคณะทางานหลกั ของสภาเศรษฐกิจในปีพ.ศ.2504 รฐั บาลของจอมพลสฤษดธิ นะรัชต์ไดม้ กี ารจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกจิ ระดับชาติโดยสภาพฒั นาการเศรษฐกิจแห่งชาติเปน็ ผ้วู างแผน โดยธนาคารโลกได้สง่ ผเู้ ชียวชาญเขา้ มาให้การ ช่วยเหลือทางวชิ าการในการกาหนดแผนดังกลา่ ว ลักษณะสาคญั ที่ทาใหแ้ ผนพฒั นาการเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับดงั กลา่ วมีความเปน็ พเิ ศษคอื การวางระบบความสมั พันธ์ของแผน เช่น ทไี่ ดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ดงั น“้ี โดยที สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหง่ ชาตไิ ด้พิจารณากาหนดจดุ หมาย นโยบาย แผนการและโครงการ พัฒนาการเศรษฐกิจเพอื่ วางแผนการสว่ นรวมสาหรับระยะเวลาหนึ่ง และไดว้ างแผนพัฒนาการเศรษฐกิจ แห่งชาติระหวา่ งระยะเวลา พ.ศ.2504 ถงึ พ.ศ.2506 และถึง พ.ศ. 2509 ...”จากแผนดงั กล่าวทาให้ประเทศ ไทยมลี กั ษณะเศรษฐกิจแบบผสม (Mix Economy) โดยท่มี หี ลกั การทางเศรษฐกิจแบบทุนนยิ มเสรพี รอ้ มกับ การท่รี ฐั เขา้ มามีบทบาทในการวางแผนเพอ่ื กาหนดเปา้ หมายการเติบโตทางเศรษฐกิจไปพรอ้ ม ๆ กนั พร้อม กนั นร้ี ฐั บาลไดป้ รบั เปลย่ี นบทบาทของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติให้มบี ทบาทในการเป็นหนว่ ยงาน กลางในการกาหนดทศิ ทางเศรษฐกิจของประเทศ และไดเ้ ปลย่ี นชือ่ เปน็ “สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจ แห่งชาต”ิ ใน พ.ศ.2502 ในวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2540 ธนาคารแหง่ ประเทศไทยได้ประกาศยกเลกิ ระบบตะกร้าเงินตราตา่ งประเทศ (Basket of currency) และหันไปใช้นโยบายการลอยตวั ค่าเงนิ (A money float) ค่าของเงนิ บาทเมือ่ เทยี บ

กบั ดอลลารส์ หรฐั อเมรกิ า ได้ลดลงรอ้ ยละ 15-20 และไดส้ ง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจขอภมู ิภาคเอเชยี ท้ังหลาย โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง กลมุ่ อาเซียน (คา่ เงินของประเทศไทยจะแข็งกว่าหลายประเทศเมือมูลคา่ ของเงนิ ประเทศ ไทยลดลง ทาให้จานวนเงนิ ของประเทศเพ่ือบา้ นในระบบแลกเปลย่ี นไดร้ บั ผลกระทบ)ก่อนทปี่ ระเทศไทยจะ ประกาศลอยตัวคา่ เงนิ ในวนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2540 ประเทศไทย ได้เปิดเสรีทางการเงินในปี 2536 ซงึ่ ใน ขณะน้นั ใชอ้ ัตราแลกเปลยี่ นคงท่ี (Pegged exchange system) ซงึ่ ทาให้ดอกเบี้ยในประเทศอยูใ่ น อัตราสูง ทาให้ดึงดดู เงนิ ทุนไหลเข้าจากต่างประเทศ ในเวลาต่อมาเงนิ บาทมีคา่ สงู กวา่ ความเป็นจรงิ (Overvalued) และทสี่ าคัญตะกรา้ เงนิ ตราตา่ งประเทศของประเทศไทยประกอบด้วยเงินดอลลา่ ร์ สหรฐั อเมรกิ า สงู ถงึ ร้อยละ 80 สง่ ผลใหส้ ภาพคลอ่ งภายในประเทศมสี งู มาก ดอกเบ้ียเงนิ ฝาก เงินกสู้ งู (เกินความเปน็ จริง) มีผ้กู ู้เอามาทา ธุรกิจเป็นจานวนมาก ทเ่ี ป็นตวั เอก คือ ธรุ กจิ ดา้ นอสังหารมิ ทรพั ย์ ทีด่ ิน บ้านจดั สรร การเติบโต ของเศรษฐกจิ อยใู่ นลักษณะของการใช้จา่ ยเงนิ จากทนุ ท่ไี หลเข้าจากตา่ งประเทศ ซ่งึ มไิ ดเ้ ติบโตจากรายได้ การลงทุน ท่ี แทจ้ ริง ซงึ่ เรยี กกันว่าเป็นการเติบโตแบบฟองสบู่ และเมอ่ื ต่างชาตถิ อนเงนิ ทุนกลบั เศรษฐกจิ ของประเทศไทย กล็ ้มลงอย่างหมดทา่ และทีป่ รากฏชัดมองเหน็ ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook