Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter1.1

chapter1.1

Published by chayanit99999, 2017-03-21 02:12:07

Description: chapter1.1

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 1 พ้นื ฐานระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ | 1 หน่วยท่ี 1 พ้นื ฐานระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ หวั ข้อเรื่อง/งาน 1. ความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. จุดประสงค์การใชร้ ะบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 3. ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาระสาคญั ปัจจุบันนี้เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างแพร่หลายต่อทุกหน่วยงาน โดยเริ่มต้ังแต่ได้มีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเคร่ืองมาทาการเช่ือมต่อกันภายใต้มาตรฐานการรับส่งข้อมูลเดยี วกนั ท่ีเรียกวา่ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ทาให้ผใู้ ช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้รับประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการศึกษา ด้านการเงิน ด้านการบริหารงาน ด้านการแพทย์ ตลอดจนด้านความบนั เทิงตา่ ง ๆ เป็นตน้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ได้ 2. บอกจดุ ประสงค์ของการใชร้ ะบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ได้ 3. บอกประโยชน์ของระบบเครือขา่ ยได้ 4. อธบิ ายองคป์ ระกอบของระบบเครือข่ายได้

หนว่ ยท่ี 1 พื้นฐานระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ | 2 1. ความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง ระบบที่มีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเคร่ืองมาทาการเช่ือมต่อถึงกันโดยใช้ส่ือกลางในการนาพาสัญญาณ เช่น สายสัญญาณ หรือคล่ืนวิทยุเป็นต้น เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทาการแลกเปลี่ยนข้อมูล การประมวลผลร่วมกันและกันได้ นอกจากน้ียังสามารถใช้ทรัพยากร (Resources) ในเครือข่ายร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ซดี รี อม สแกนเนอร์ ฮาร์ดดสิ ก์ เปน็ ตน้ ภาพท่ี 1.1 แสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละการใช้ทรัพยากรร่วมกนั (ทีม่ า: โอภาส เอีย่ มสริ วิ งศ์, 2552:24) สาหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คือ ระบบเครือข่ายย่อยในสว่ นของผใู้ ชแ้ ละระบบเครือข่ายย่อยในส่วนของการสื่อสาร ซึ่งมีรายละเอียด ดังน้ี 1.1 ระบบเครอื ขา่ ยยอ่ ยในส่วนของผู้ใช้ สาหรบั ผู้ใช้ในการสง่ ข้อมลู แล้วทาการประมวลผลและแสดงผลออกมา เครือข่ายในส่วนนป้ี ระกอบดว้ ย 1.1.1 เคร่ืองบริการท่ีควบคุมเครือข่ายหรือโฮสต์คอมพวิ เตอร์ (Host Computer) ทาหน้าทีเ่ ก็บโปรแกรมและฐานขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ท่ีคอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งอนื่ จะนาไปใช้ได้ 1.1.2 ตวั ควบคมุ เคร่ืองปลายทาง (Terminal Controllers) ทาหน้าท่ี ดงั น้ี 1.1.2.1 ควบคมุ การทางานของเทอร์มินัล เชน่ ควบคมุ เทอรม์ ินัล A, B และ Cซึ่งใชส้ ายสญั ญาณไปยังโฮสต์คอมพิวเตอร์ร่วมกนั เพื่อไม่ให้มีการชนกนั ของข้อมลู (collision) 1.1.2.2 ทาหน้าท่เี ป็นตวั เช่อื มประสานให้แกเ่ ทอร์มินลั ในกรณที ่วี ิธีการสง่ข้อมูลของเทอร์มินัลแตกต่างจากวิธีการส่งข้อมูลในเครือข่ายย่อย เช่น เทอร์มินัลส่งข้อมูลทีละตัวอักษร เครือข่ายส่งข้อมูลเป็นบล็อก (block) ตัวควบคุมจะรวบรวมข้อมูลให้เป็นบล็อกส่งไปยังเครอื ข่ายย่อย ตวั อยา่ งตัวควบคมุ เทอรม์ ินลั เช่น Muliplexer, Concentrator เปน็ ตน้ 1.1.3 เคร่ืองปลายทางหรือเทอรม์ ินัล (Terminal) ทาหนา้ ท่ปี ้อนข้อมูลและแสดงผล ท่ีไดจ้ ากการประมวลผล

หน่วยท่ี 1 พื้นฐานระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ | 3 ภาพท่ี 1.2 เครือข่ายย่อยในส่วนของผใู้ ช้ (ที่มา: โอภาส เอ่ียมสิรวิ งศ์, 2552:41) 1.2 ระบบเครือข่ายย่อยในสว่ นของการสือ่ สาร ระบบเครือข่ายน้ีมีโหนดหลายโหนดติดต่อกันผ่านสื่อกลางส่งข้อมูล เพื่อส่งข้อมูลจากตน้ ทางไปยังปลายทาง สาหรบั ระบบเครือข่ายยอ่ ยในสว่ นของการสื่อสาร ประกอบดว้ ย 1.2.1 โหนดเครือข่าย (NetworkNode)ทาหน้าท่ีเป็นตัวเช่ือมประสานงานกับเครือขา่ ยย่อยของผูใ้ ช้ และส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายไดอ้ ยา่ งถูกต้องรวดเรว็ อาจเรยี กโหนดเครือขา่ ยน้วี ่าเราทเ์ ตอร์ 1.2.2 ช่องทางสาหรับการส่ือสาร (CommunicationChannels)ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการส่ือสาร หรือช่องทางในการส่ือสาร ซึ่งอาจเป็นสายส่งสัญญาณ เช่น สายโทรศัพท์สายเคเบิลใยแก้วนาแสง หรือช่องทางการส่ือสารแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ และสัญญาณดาวเทียมเปน็ ต้น 1.2.3 อุปกรณ์สาหรับแปลงสัญญาณ (Signals Converters) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีเปลย่ี นสัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณอน่ื ท่เี หมาะสมในการสง่ ข้อมูลผ่านอุปกรณ์ตัวกลางชนดิ ต่าง ๆ เช่นโมเด็ม ซึ่งเป็นตัวแปลงสัญญาณดิจิทัลจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เพ่ือให้สามารถส่งขอ้ มูลผา่ นสายโทรศัพทไ์ ด้

หน่วยท่ี 1 พนื้ ฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ | 4 ภาพท่ี 1.3 แสดงเครอื ข่ายยอ่ ยในส่วนของการสอื่ สาร (ท่มี า: โอภาส เอ่ียมสริ ิวงศ์, 2552:44) 2. จุดประสงคก์ ารใช้ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ จุดประสงค์ของการใช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์น้ัน เพื่อให้มีการเพื่อให้มีการแลกเปล่ียนข้อมูลกันไดร้ ะหว่างผู้ใช้อย่างมีประสิทธภิ าพ ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ ประหยัด สร้างความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยของระบบ ช่วยลดขั้นตอนการทางาน เพ่ิมความสะดวกในด้านการส่ือสาร โดยจุดประสงค์แตล่ ะข้อมีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ 2.1 เพื่อให้มีการแลกเปลย่ี นข้อมูลกนั ได้ระหว่างผใู้ ชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ถือเป็นเหตุผลแรกเร่ิมของการสร้างระบบเครือข่าย เนื่องจากในการทางานน้ัน ผู้ใช้ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันอยู่เสมอ ดังน้ันหากการส่งข้อมูลนเ้ี ร็วขนึ้ สะดวกยิง่ ขึ้น งานต่าง ๆ ก็สามารถทาได้อยา่ งรวดเร็ว และมีประสทิ ธภิ าพ ภาพที่ 1.4 การแลกเปล่ียนข้อมูลอย่างรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ (ทีม่ า: http://www.il.mahidol.ac.th)

หน่วยท่ี 1 พืน้ ฐานระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ | 5 2.2 เพอ่ื ให้สามารถใช้ทรัพยากรรว่ มกันได้ ในหน่วยงานต่าง ๆ สามารถใช้งานฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ท่ีอยู่ในระบบเครือข่ายเดียวกันร่วมกันได้ เช่น การแชร์เคร่ืองพิมพ์ โดยทุกเครื่องในระบบเครือข่าย สามารถใช้งานเคร่ืองพิมพ์เครื่องน้ันได้โดยไม่ต้องสลับกันใช้ เพียงเชื่อมต่ออยู่กับระบบเครือข่าย ก็สามารถใช้งานเคร่ืองพิมพ์ได้ ส่วนการใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน คือ ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถใช้ซอฟต์แวร์ หรือชุดโปรแกรมชุดเดียวกันได้ ซึ่งจะทาให้เกิดมาตรฐานของซอฟต์แวร์ข้ึนมา ข้อดี คือ ทาให้การรับส่งไฟล์การเปดิ ไฟล์ตา่ ง ๆ ทาได้อยา่ งไมม่ ปี ญั หา เพราะมมี าตรฐานของซอฟต์แวร์มาตรฐานเดียวกัน เป็นต้น ภาพท่ี 1.5 การใชท้ รัพยากรร่วมกนั (ทม่ี า: http://www.il.mahidol.ac.th) 2.3 เพือ่ ความประหยดั ส่ิงท่ีตามมาอีกอย่างหน่ึงหลังจากที่สามารถรับส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และใช้ทรัพยากรร่วมกัน คือ การท่ีองค์กรสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างมาก เช่น การแชร์เครื่องพิมพ์ทาให้ไม่จาเป็นต้องซ้ือเครื่องพิมพ์หลายเครื่อง การแชร์ซอฟต์แวร์ทาให้ไม่จาเป็นต้องซื้อซอฟต์แวร์หลายชุด การแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ทาใหค้ วามจาเป็นของการติดต่อสือ่ สารกนั ด้วยกระดาษลดนอ้ ยลงแทนที่จะต้องใช้จดหมายเวียน หรือส่งเอกสาร อาจเปล่ียนเป็นการส่งอีเมล์แทน ซึ่งช่วยประหยัดตน้ ทนุ คา่ กระดาษ เปน็ ต้น ภาพท่ี 1.6 การใช้ทรัพยากรร่วมกันเพื่อความประหยัด (ที่มา: http://www.il.mahidol.ac.th)

หนว่ ยท่ี 1 พ้ืนฐานระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ | 6 2.4 เพ่อื สร้างความน่าเชอื่ ถือและความปลอดภยั ของระบบ ในองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์จานวนหลายเคร่ืองจาเป็นต้องใช้ระบบเครือข่าย เพ่ือใช้ในการรับส่งข้อมูล หรือใช้ในการติดต่อส่ือสารในแต่ละฝ่าย และระบบเครือขา่ ยจะช่วยใหผ้ ู้ดูแลระบบสามารถจัดการระบบไดง้ ่ายและสะดวกข้ึน ข้อมูลถูกจดั เก็บไว้ในเครื่องท่ีเป็นศูนย์กลางหรือเคร่ืองบริการ ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ และมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา อีกท้ังระบบเครือข่ายสามารถจัดการกับบัญชีผู้ใช้ มีการกาหนดรหัสผ่าน การกาหนดสิทธกิ์ ารเขา้ ใช้งาน ทาให้มีความปลอดภยั และความนา่ เช่ือถอื เพ่ิมมากข้นึ ภาพท่ี 1.7 สร้างความน่าเช่ือถือและความปลอดภัยของระบบ (ทมี่ า: www.ttni.co.th/th/biz/network/index.html) 2.5 เพอื่ ช่วยลดขน้ั ตอนการทางาน การให้บริการข้อมูลต่าง ๆ บนเครือข่ายจะเป็นการลดขั้นตอนการทางาน เน่ืองจากการส่งข้อมูลท่เี ป็นเอกสาร ถ้ามีผู้รับจานวนมากผู้สง่ จะตอ้ งเสียเวลาในการส่งเอกสารมาก ถา้ เป็นการส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายผู้ส่งอาจใช้วิธีการอัพโหลดขึ้นท่ีเว็บไซต์ ให้ผู้รับดาวน์โหลดข้อมูลไปใช้ได้ซงึ่ ทาให้ลดข้นั ตอนในการทางานลงได้ ภาพท่ี 1.8 การให้บริการขอ้ มูลตา่ ง ๆ บนเครือข่ายจะเปน็ การลดขัน้ ตอนการทางาน (ท่มี า: http://htmltoonmaybe.wordpress.com/page/5/)

หนว่ ยที่ 1 พืน้ ฐานระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ | 7 2.6 เพ่อื ความสะดวกในด้านการสอื่ สาร การเช่ือมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้ใช้ในองค์กร หรือหน่วยงานมีความสะดวกในการทางานมากขึ้น มีการส่ือสารที่รวดเร็วตามแบบเวลาจริง (real time) เช่น การประมวลผลทางการเงินการธนาคาร การเก็บข้อมูลไว้ในเคร่ือง และสามารถส่งข้อมูลไปยังส่วนอื่น ๆ ในเครือข่ายเดียวกนั หรือรบั ส่งข้อมูลในรปู แบบของจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ทอี่ ยู่กันในที่ไกลกนั เปน็ ต้น ภาพท่ี 1.9 ความสะดวกในด้านการสอื่ สาร (ท่มี า: http://thn21524-031.blogspot.com) 3. ประโยชน์ของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ในปัจจุบันการติดต่อส่ือสารผ่านระบบเครือข่ายจะมีความสาคัญมากขึ้นเร่ือย ๆ ตามจุดประสงค์ในการติดต้ังเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแยกออกไดแ้ ต่ละดา้ น ดงั นี้ 3.1 ดา้ นการบริการ เนอ่ื งจากการติดต่อสอื่ สารในปัจจบุ ันมชี ่องทางทีส่ ามารถใหบ้ ริการผ่านระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ได้สะดวก ส่งผลใหก้ ารบริการตา่ ง ๆ บนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไดร้ ับความนิยมเป็นอย่างมาก เน่ืองจากการบริการดังกล่าวประหยัดและสะดวก รวดเร็วในการบริการ เช่น เว็บไซต์ของกรมสรรพากร ทีใ่ ห้บรกิ ารชาระภาษีผา่ นอินเทอรเ์ นต็ หรือบรกิ ารจองต๋ัวเครือ่ งบิน เป็นต้น 3.2 ด้านการสอ่ื สารขอ้ มูลและการจัดการ ในแต่ละหน่วยงานจะแยกออกเป็นฝ่าย แต่ละฝ่ายจะแยกย่อยออกไปตามขนาดของงาน เช่น ในโรงงานอุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า และหน่วยงานของรัฐต่าง ๆ แต่ละแห่งจะมีระบบบริหารไมเ่ หมือนกัน แต่ทุกหน่วยงานมีเหมือนกันคือจะต้องมีการติดต่อส่ือสารและการบริหารจัดการภายในของหน่วยงาน ที่จะต้องติดต่อส่ือสารระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงานทั้งภายในและภายนอก ถ้ามีการเช่ือมต่อผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะทาให้การบริหารจดั การเกิดประสิทธิภาพมากข้ึน เช่น การบริการรับส่งข่าวสาร การรับส่งข้อมูลทางเว็บไซต์ จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ การโฆษณาและประชาสัมพนั ธ์ และการประชมุ เป็นต้น

หนว่ ยท่ี 1 พืน้ ฐานระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ | 8 3.3 ดา้ นค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ การ การใชท้ รพั ยากรรว่ มกันในเครือขา่ ยทาใหล้ ดภาระคา่ ใช้จา่ ยในหน่วยงาน นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้ใช้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข้อมูลระหว่างหน่วยงาน มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ร่วมกนั ไดใ้ นเครอื ข่าย 3.4 ด้านธุรกจิ การเงนิ ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์มีบทบาทมาในด้านธุรกิจการเงิน เช่น การฝากถอนเงินในเคาน์เตอร์ของธนาคาร การฝากถอนเงินผ่านระบบเอทีเอ็มระบบอัตโนมัติ การลงทะเบียนเรียน และการซ้อื ขายห้นุ ในตลาดหลักทรพั ย์ เป็นตน้ 3.5 ดา้ นการแลกเปลีย่ นข่าวสาร เน่ืองจากในสังคมปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เจริญก้าวหน้ามาก การติดต่อส่ือสารในระบบเครือข่ายก็เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้การส่ือสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่นระบบรับ-ส่งเอกสารอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-office)การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสารผ่านหน้าเวบ็ ไซต์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนข้อความในกระดานสนทนาบนเว็บไซต์ หรือการอ่านข่าวสารบ้านเมืองในเว็บไซต์ของหนังสอื พมิ พต์ ่าง ๆ เปน็ ตน้ 3.6 ด้านพัฒนาการศึกษาค้นคว้า การเรียนการสอนของครูผู้สอน ในปัจจุบันจะใช้การสอนในตาราอย่างเดียวไม่ได้ครูผู้สอนจะต้องค้นคว้าข้อมูลและวิทยาการใหม่ ๆ เพ่ือให้สามารถนาความรู้มาถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกันตัวผู้เรียนต้องค้นคว้าหาข้อมูลเพ่ิมเติมเหมือนกัน เช่น การศึกษาด้วยระบบการเรียนการสอนออนไลน์ หรืออีเลิร์นนิ่ง (e-learning)การศึกษาด้วยสื่อหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์หรืออบี ุ๊ค (e-book) และการศึกษาจากเว็บไซต์เพ่อื การศึกษาตา่ ง ๆ เป็นต้น 3.7 ด้านการแพทย์ การแพทย์สมยั ใหม่ในปจั จุบันไดม้ ีการนาระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์เข้ามาช่วยในการบรกิ ารขอ้ มูลเพอื่ การรักษาผูป้ ว่ ย มกี ารจัดเกบ็ ประวตั ิผปู้ ่วยทีม่ ารักษาในโรงพยาบาล เมือ่ ผู้ปว่ ยเข้ารับการบริการในโรงพยาบาลแต่ละฝ่ายท่ีผู้ป่วยเข้ารับการรักษา สามารถเรียกดูข้อมูลของผู้ป่วยได้ ทาให้การรักษาพยาบาลมปี ระสิทธิภาพเพิม่ มากขนึ้ ตลอดจนเร่ืองการวจิ ัยทางการแพทย์ใหม่ ๆ 3.8 ดา้ นความบนั เทงิ การนาระบบเครือข่ายมาใช้ประโยชน์ด้านความบันเทิงน้ัน นิยมใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ผา่ นยูทูบ เชน่ ดูรายการถ่ายทอดสดของสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ดหู นงั ฟังเพลงการดาวน์โหลดเพลง มิวสิควิดีโอ การแชร์ไฟล์วิดีโอ ไฟล์เพลง เกมส์ออนไลน์ เฟชบุ๊กหรือทวิตเตอร์ผา่ นระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ เป็นตน้ 3.9 ด้านการโฆษณาประชาสมั พันธ์ ในปัจจุบันระบบเครือข่ายออนไลน์มีประโยชน์ด้านการโฆษณาและประชาสัมพันธ์สามารถเป็นสื่อหนึ่งเช่นเดียวกับหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ หรือสื่ออื่น ๆ ท่ีต้องการใช้เปน็ ช่องทางในการโฆษณาสินค้าแนะนาบริษัทสินค้าและบริการ องค์การหรือหน่วยงานต่าง ๆ ได้ หรือโซเชียลเน็ตเวิร์ค(Social Network) เชน่ เฟชบกุ๊ หรือทางดา้ นการค้นหาขอ้ มลู (Search Engine) เช่น กูเกิล (Google)

หนว่ ยท่ี 1 พ้นื ฐานระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ | 9 4. องคป์ ระกอบสาหรับระบบเครือขา่ ย องค์ประกอบสาหรับระบบเครือข่าย เพอื่ การเชอ่ื มตอ่ เปน็ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ได้แก่เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณส์ าหรับเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ส่ือกลางสาหรับการสือ่ สาร โปรแกรมระบบปฏิบัตกิ ารเครอื ข่าย และโพรโทคอลสาหรบั การส่ือสาร มีรายละเอียดดงั นี้ 4.1 เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เคร่ืองคอมพวิ เตอรท์ ใ่ี ชง้ านบนเครอื ข่ายน้นั มที ั้งเครือ่ งคอมพิวเตอร์ที่ใชเ้ ป็นเคร่ืองบรกิ ารและเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทใ่ี ชเ้ ปน็ เครอื่ งลกู ข่าย แตล่ ะประเภทอาจทาหน้าท่ีแตกตา่ งกนั ดังนี้ 4.1.1 เครือ่ งบรกิ ารหรอื เซริ ์ฟเวอร์ (Server)ในระบบเครือข่ายแบบไคลเอนตเ์ ซริ ฟ์ เวอร์จาเป็นต้องมีเครื่อง ๆ หน่ึงท่ีนามาใช้เป็นเครื่องศูนย์บริการหรือท่ีเรียกว่าเครื่องบริการ ซ่ึงหน้าท่ีของเคร่ืองบริการคือ การคอยให้บริการทรัพยากรให้กับเครื่องลูกข่ายท่ีได้ร้องขอเข้ามา เช่น การบริการไฟล์ข้อมูล การบริการงานพิมพ์ เป็นต้น เคร่ืองบริการสามารถเป็นได้ท้ังเคร่ืองระดับเมนเฟรมมินิคอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์ แต่สาหรับไมโครคอมพิวเตอร์ที่นามาเป็นเครื่องบริการน้ันจะมีคุณสมบัติท่ีเหนือกว่าเคร่ืองพีซีทั่วไป เช่น ใช้ฮาร์ดดิสก์แบบเอสซีเอสไอหรือสกัสซี (SCSI)หนว่ ยความจาท่ีใช้เป็นชนิดท่ีสามารถตรวจจับข้อผิดพลาดได้ รวมถึงการรองรบั ความทนทานต่อความผดิ พลาดทัง้ ปวง เนอื่ งจากอาจจาเป็นต้องนามาใช้งานตลอด 24 ชั่วโมง 4.1.2 สถานงี าน (Workstation) เปน็ เครือ่ งไมโครคอมพิวเตอร์หรือเครือ่ งพซี ที ่วั ไป ท่ีเช่อื มต่อกับเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ทาหน้าทีเ่ ปน็ สถานปี ลายทางหรือสถานงี าน ท่ีได้รับการบรกิ ารจากเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย หลังจากที่เครื่องบริการได้ทาการติดต้ังเรียบร้อยแล้ว เคร่ืองลูกข่ายต่าง ๆ ภายในเครือข่ายจะถูกติดตั้งข้ึนมา และดาเนินการทดสอบเพื่อเชื่อมต่อเข้ากับเคร่ืองบริการท่ีเป็นศูนย์บริการ ซ่ึงหากการติดตั้งสมบูรณ์ เครื่องลูกข่ายต้องสามารถเช่ือมต่อเห็นเครอ่ื งบริการ น่ันหมายความว่า เครือขา่ ยทตี่ ิดตั้งอาจจะพบขอ้ ผิดพลาด ซ่ึงอาจเป็นไดท้ ั้งการติดต้ังค่าคอนฟิกที่ผิด หรือปัญหาด้านอุปกรณ์บางอย่าง และสายเคเบิลท่ีติดตั้งไม่เรียบร้อย เป็นต้น ดังนั้นจาเป็นต้องค้นหาจุดท่ีบกพร่องและแก้ไขโดยทันที โดยหลังจากท่ีเครื่องลูกข่ายสามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องบริการเรียบร้อยแล้ว ข้ันตอนต่อไปเป็นหน้าท่ีของผู้ดูแลระบบในการบริหารจัดการเครือข่าย โดยจะดาเนินการกาหนดบัญชีผู้ใช้ตามแต่ละแผนก และกาหนดสิทธิการใช้งานบนเครือข่าย โดยเครื่องลูกข่ายสามารถเข้าสู่ระบบเครือข่ายด้วยการล็อกออนเข้าสู่ระบบภายใต้ชื่อบัญชีผู้ใช้นั้นๆและในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผลหรือซีพียูของตนเอง ส่วนระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมเป็นศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่า เทอร์มินอล (Terminal) ซึ่งประกอบด้วยจอภาพและแปน้ พิมพ์ เปน็ ตน้ 4.2 อุปกรณส์ าหรบั เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Hardware) ในการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบสาคัญหลายอย่างซึ่งจะกลา่ วถงึ รายละเอยี ด ดงั นี้

หน่วยที่ 1 พ้นื ฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ | 10 4.2.1 เน็ตเวิร์คการ์ด เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือเรียกว่า แลนการ์ด เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญในการเช่ือมต่อเครือข่าย ทาหน้าที่รับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย เน็ตเวิร์คการ์ดมี 2 แบบ คือ เน็ตเวิร์คการ์ดแบบพีซีไอ(PCI) มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที และ 100 เมกะบิตต่อวินาที หรือ 10/100เมกะบิตต่อวินาที และเน็ตเวิร์คการ์ดอีกชนิดหนึ่งเป็นแบบไอเอสเอ (ISA) มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที ส่วนในแผงวงจรเครือข่ายจะมีข้ัวสาหรับเช่ือมต่อเข้ากับสายเคเบิลแบบต่าง ๆ ได้แก่ ขั้วต่อแบบบเี อ็นซี (BNC) ขั้วตอ่ แบบอารเ์ จ-45 (RJ-45) เปน็ ต้น 4.2.2 อุปกรณ์เพ่ือการเช่ือมต่อเครือข่าย (Connector) เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยง ที่มีไว้สาหรับเชื่อมโยงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่ือมโยงระหว่างอุปกรณ์ หรือระหว่างเครือข่ายด้วยดว้ ยกัน เชน่ ฮบั สวติ ช์ เราทเ์ ตอร์ บริดจ์ และเกตเวย์ เปน็ ต้น 4.3 ส่อื กลางสาหรบั การสือ่ สาร (Transmission Media) ในการสื่อสารต้องมีสื่อกลางเพื่อเป็นตัวกลางสาหรับส่งข้อมูลระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยจะสง่ ข้อมูลผา่ นสอ่ื กลางประเภทต่าง ๆ เช่น สายใยแกว้ นาแสง สายเกลยี วคู่ สายโคแอกเชียลคล่ืนไมโครเวฟ คล่ืนวิทยุ เป็นต้น ในการส่งข้อมูลผ่านช่องทางส่ือสารแบบต่าง ๆ ข้ึนอยู่กับองคป์ ระกอบของผูใ้ ช้วา่ จะเลือกส่ือกลางแบบใด 4.3.1 สอ่ื กลางสง่ ข้อมูล (Transmission Links) เป็นอปุ กรณท์ ่ีใช้ในการสง่ ข้อมลู จากผ้สู ง่ ไปยังผูร้ บั สอื่ ส่งข้อมลู แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังน้ี 4.3.1.1 สอ่ื กลางสง่ ข้อมูลแบบใชส้ าย เปน็ ส่ือส่งข้อมูลท่สี ามารถกาหนดทศิ ทางในการส่งข้อมูล ลักษณะการส่งข้อมูลจะถูกส่งไปตามสัญญาณต่าง ๆ เช่น สายใยแก้วนาแสง สายเกลียวคู่ สายโคแอกเชยี ล เป็นตน้ 4.3.1.2 สอ่ื กลางสง่ ขอ้ มลู แบบไรส้ าย เปน็ สือ่ ส่งขอ้ มลู ที่มกี ารกระจายของสัญญาณในบริเวณพ้ืนท่ีกว้าง โดยไม่สามารถควบคุมเฉพาะพื้นที่ได้ เช่น ดาวเทียม ไมโครเวฟคล่ืนวทิ ยุ เปน็ ตน้ 4.4 โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการเครอื ขา่ ย (Network Operating System : NOS) โปรแกรมระบบปฏิบัติการเครือขา่ ย เปน็ โปรแกรมหลักของเครือข่าย ทาหน้าทบี่ ริหารจัดการทรัพยากรในระบบเครือข่าย โปรแกรมน้ีจะติดต้ังบนเครื่องบริการและระบบปฏิบัติการบนเครอ่ื งลูกขา่ ย ซง่ึ มรี ายละเอียด ดังน้ี 4.4.1 ระบบปฏิบัติการบนเครื่องบริการ เป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการท่ีติดต้ังอยู่ในเครื่องบริการโดยเฉพาะ มีหน้าที่ในการนาทรัพยากรในเครือข่ายมาเป็นเสมือนระบบหนึ่ง เพ่ือให้สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันบนเครือข่ายได้ รวมถึงการกาหนดสิทธิการใช้งานของผู้ใช้ และระบบความปลอดภัย ตัวอย่างระบบปฎิบัติการเครือข่ายที่ติดต้ังบนเคร่ืองบริการท่ีนิยมใช้ เช่น ยูนิกซ์เนต็ แวร์ วนิ โดวส์เซริ ฟ์ เวอร์ และลินกุ ซ์ เปน็ ตน้ 4.4.2 ระบบปฏิบัติการบนเคร่ืองลูกข่าย จาเป็นต้องติดต้ังโปรแกรมเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกับเครื่องบริการได้ ระบบปฏิบัติการบนเครื่องลูกข่าย อาจเป็นผลิตภัณฑ์ระบบปฏิบัติการที่ตา่ งค่ายกันกับเคร่ืองบริการ แต่ท้ังนี้ ในกรณีดังกล่าว อาจตอ้ งติดตั้งชุดติดตั้งเครื่องลูกข่ายโดยเฉพาะ

หนว่ ยท่ี 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ | 11รวมถึงการตั้งค่าของระบบและกาหนดชนิดของโพรโทคอลที่ใช้งานให้ตรงกัน เช่น เคร่ืองบริการเป็นวนิ โดวสเ์ ซริ ฟ์ เวอร์ 2003/2012 แต่เครื่องลูกขา่ ยเปน็ วนิ โดวส์ 7 หรือวนิ โดวส์ 8 เปน็ ต้น 4.5 โพรโทคอลสาหรบั การส่อื สาร (Protocol) โพรโทคอลเป็นกฎ ข้ันตอน และรูปแบบของข้อมูลท่ีใช้ในการส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์สองเคร่ืองใด ๆ ท่ีเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย และเป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ หรืออาจกลา่ วได้ว่าโพรโทคอลเป็น “ภาษา” หรอื ข้อกาหนดเพอ่ื ใหผ้ สู้ ง่ และผู้รบั สามารถสื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ และส่งผลให้การสื่อสารทั้งสองฝ่ายเกิดผลสัมฤทธิ์ เช่น ทีซีพีไอพี (TCP/IP)ซ่ึงเป็นโพรโทคอลท่ใี ชใ้ นระบบอนิ เทอร์เนต็ เป็นตน้ ภาพท่ี 1.10 องคป์ ระกอบสาหรบั ระบบเครือขา่ ย [10] (ท่มี า: จตชุ ยั แพงจนั ทรแ์ ละอนโุ ชค วฒุ พิ รพงษ์, 2555, 8) สรปุ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) หมายถึง การนาเครื่องคอมพิวเตอร์รวมท้ังอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น สวิตช์ เราท์เตอร์ เครื่องพิมพ์ มาเช่ือมโยงให้เป็นระบบเครือข่าย โดยมีตัวกลางในการนาพาสัญญาณ เช่น สายสัญญาณ หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น เพ่ือทาให้สามารถส่ือสารแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และใช้ทรพั ยากรรว่ มกนั ได้ สาหรบั เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คอื เครือข่ายย่อยในส่วนของผู้ใช้และเครอื ขา่ ยยอ่ ยในสว่ นของการส่ือสาร จุดประสงค์ของระบบเครือข่าย เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากรร่วมกัน ลดต้นทุน สร้างความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยของระบบ ช่วยลดข้ันตอนการทางาน และเพอื่ ความสะดวกในด้านการส่อื สาร เป็นตน้ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย การบริการ การส่ือสารข้อมูล และการจัดการ ค่าใชจ้ ่าย ธุรกิจการเงนิ การแลกเปลี่ยนข่าวสาร การศึกษาค้นคว้า การแพทย์ ด้านความบันเทงิ การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ เป็นตน้ องค์ประกอบสาหรับระบบเครือข่ายประกอบด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สาหรับการสื่อสาร ส่ือกลางสาหรับการส่ือสาร โปรแกรมระบบปฏิบัติการเครือข่าย และโพรโทคอลสาหรับการสอ่ื สาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook