Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (1)

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (1)

Published by aoyaoy5565, 2019-06-22 00:53:58

Description: สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (1)

Search

Read the Text Version

ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑

สารบัญ หน้า คานา ๑ ทาไมต้องเรียนภาษาไทย ๑ เรียนรู้อะไรในภาษาไทย ๒ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๓ คุณภาพผู้เรียน ๖ ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖ ๑๕ สาระที่ ๑ การอา่ น ๒๒ สาระที่ ๒ การเขียน ๒๘ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู ๓๓ สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ๓๘ อภธิ านศัพท์ ๔๗ คณะผู้จัดทา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ทาไมต้องเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติเป็ นสมบตั ิทางวฒั นธรรมอนั ก่อใหเ้ กิดความเป็นเอกภาพและ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารเพ่ือสร้าง ความเขา้ ใจและความสัมพนั ธ์ท่ีดีต่อกนั ทาใหส้ ามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกนั ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็ นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศต่างๆ เพ่ือพฒั นาความรู้ พฒั นากระบวนการคิดวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และสร้างสรรค์ ใหท้ นั ต่อการเปล่ียนแปลงทางสงั คม และความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ ในการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียงั เป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็ นสมบตั ิล้าค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสาน ใหค้ งอยคู่ ูช่ าติไทยตลอดไป เรียนรู้อะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทกั ษะท่ีตอ้ งฝึ กฝนจนเกิดความชานาญในการใชภ้ าษาเพอ่ื การสื่อสาร การเรียนรู้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเพือ่ นาไปใชใ้ นชีวติ จริง • การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแกว้ คาประพนั ธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเขา้ ใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากส่ิงที่อ่าน เพื่อนาไป ปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั • การเขียน การเขียนสะกดตามอกั ขรวิธี การเขียนส่ือสาร โดยใช้ถอ้ ยคาและรูปแบบต่างๆ ของการเขียน ซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วเิ คราะห์วจิ ารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์ • การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลาดบั เรื่องราวต่างๆ อยา่ งเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ท้งั เป็ นทางการและ ไมเ่ ป็นทางการ และการพดู เพ่ือโนม้ นา้ วใจ • หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสมกบั โอกาสและบุคคล การแต่งบทประพนั ธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย • วรรณคดีและวรรณกรรม วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาขอ้ มูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพนั ธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทาความเขา้ ใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพ้ืนบา้ นท่ีเป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซ่ึงไดถ้ ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม

ประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซ้ึงและภูมิใจ ในบรรพบุรุษท่ีไดส้ ั่งสมสืบทอดมาจนถึงปัจจุบนั สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาใน การดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอา่ น สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ ง มีประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของ ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง คุณภาพผู้เรียน

จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓ • อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ขอ้ ความ เร่ืองส้ันๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกตอ้ ง คล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ต้งั คาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอ่าน ปฏิบตั ิตามคาส่ัง คาอธิบายจากเรื่องท่ีอ่านได้ เขา้ ใจความหมายของขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ อ่านหนงั สืออย่างสม่าเสมอ และ มีมารยาทในการอ่าน • มีทกั ษะในการคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั เขียนบรรยาย บนั ทึกประจาวนั เขียน จดหมายลาครู เขียนเร่ืองเก่ียวกบั ประสบการณ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขียน • เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคญั ต้งั คาถาม ตอบคาถาม รวมท้งั พูดแสดงความคิด ความรู้สึกเกี่ยวกบั เร่ืองที่ฟังและดู พูดส่ือสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนา หรือพูดเชิญชวนให้ ผอู้ ่ืนปฏิบตั ิตาม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพดู • สะกดคาและเขา้ ใจความหมายของคา ความแตกต่างของคาและพยางค์ หน้าที่ของคา ในประโยค มีทกั ษะการใช้พจนานุกรมในการคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่ง คาคลอ้ งจอง แต่งคาขวญั และเลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ • เขา้ ใจและสามารถสรุปขอ้ คิดที่ไดจ้ ากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไปใชใ้ น ชีวิตประจาวนั แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีท่ีอ่าน รู้จกั เพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซ่ึงเป็ น วฒั นธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสาหรับเด็กในทอ้ งถ่ิน ท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรอง ที่มีคุณค่าตามความสนใจได้ จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๖ • อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบาย ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั ของคา ประโยค ขอ้ ความ สานวนโวหาร จากเรื่องที่อ่าน เขา้ ใจคาแนะนา คาอธิบายในคู่มือตา่ งๆ แยกแยะขอ้ คิดเห็นและขอ้ เทจ็ จริง รวมท้งั จบั ใจความสาคญั ของเร่ืองท่ีอ่านและนาความรู้ความคิดจากเร่ืองท่ีอ่านไปตดั สินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคุณคา่ สิ่งท่ีอ่าน • มีทกั ษะในการคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และคร่ึงบรรทดั เขียนสะกดคา แต่งประโยค และเขียนขอ้ ความ ตลอดจนเขียนส่ือสารโดยใชถ้ อ้ ยคาชดั เจนเหมาะสม ใชแ้ ผนภาพ โครงเร่ืองและ แผนภาพความคิด เพื่อพฒั นางานเขียน เขียนเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการ ต่างๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเร่ืองตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมี มารยาทในการเขียน • พดู แสดงความรู้ ความคิดเก่ียวกบั เรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องยอ่ หรือสรุปจากเรื่องท่ีฟังและดู ต้งั คาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมท้งั ประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณา

อย่างมีเหตุผล พูดตามลาดบั ข้นั ตอนเรื่องต่างๆ อย่างชดั เจน พูดรายงานหรือประเด็นค้นควา้ จาก การฟัง การดู การสนทนา และพดู โนม้ นา้ วไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล รวมท้งั มีมารยาทในการดูและพดู • สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา สานวน คาพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้ คาราชาศพั ท์และคาสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพยย์ านี ๑๑ • เขา้ ใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน เล่านิทานพ้ืนบา้ น ร้องเพลงพ้ืนบา้ น ของทอ้ งถ่ิน นาข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจาบทอาขยานตามที่ กาหนดได้ จบช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ • อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะไดถ้ ูกตอ้ ง เขา้ ใจความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนยั จบั ใจความสาคญั และรายละเอียดของส่ิงท่ีอ่าน แสดงความคิดเห็น และขอ้ โตแ้ ยง้ เกี่ยวกบั เรื่องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคิด ย่อความ เขียนรายงานจาก สิ่งที่อ่านได้ วเิ คราะห์ วิจารณ์ อยา่ งมีเหตุผล ลาดบั ความอยา่ งมีข้นั ตอนและความเป็ นไปไดข้ องเร่ือง ท่ีอา่ น รวมท้งั ประเมินความถูกตอ้ งของขอ้ มูลที่ใชส้ นบั สนุนจากเรื่องที่อา่ น • เขียนสื่อสารดว้ ยลายมือท่ีอ่านง่ายชดั เจน ใชถ้ อ้ ยคาไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตามระดบั ภาษา เขียนคาขวญั คาคม คาอวยพรในโอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวตั ิ อตั ชีวประวตั ิ และประสบการณ์ต่างๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมคั รงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโตแ้ ยง้ อยา่ งมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และเขียน โครงงาน • พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินส่ิงที่ไดจ้ ากการฟังและดู นาขอ้ คิดไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ได้จากการศึกษาคน้ คว้าอย่างเป็ นระบบ มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ และพูดโน้มนา้ วอย่างมีเหตุผลน่าเช่ือถือ รวมท้งั มีมารยาทในการฟัง ดู และพูด • เขา้ ใจและใชค้ าราชาศพั ท์ คาบาลีสันสกฤต คาภาษาต่างประเทศอื่นๆ คาทบั ศพั ท์ และ ศพั ทบ์ ญั ญตั ิในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน ลกั ษณะภาษาท่ีเป็ นทางการ ก่ึงทางการและไม่เป็ นทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภท กลอนสุภาพ กาพย์ และโคลงส่ีสุภาพ • สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน วิเคราะห์ตวั ละครสาคญั วิถีชีวิตไทย และ คุณค่าที่ได้รับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมท้ังสรุปความรู้ข้อคิดเพ่ือนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๖

• อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองที่อ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็น โตแ้ ยง้ และเสนอความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เขียน กรอบแนวคิด ผงั ความคิด บนั ทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากส่ิงที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู้ความคิดจากการอ่านมาพฒั นาตน พฒั นาการเรียน และพฒั นาความรู้ทางอาชีพ และ นาความรู้ความคิดไปประยกุ ตใ์ ชแ้ กป้ ัญหาในการดาเนินชีวติ มีมารยาทและมีนิสยั รักการอ่าน • เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ โดยใชภ้ าษาไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามวตั ถุประสงค์ ยอ่ ความจาก ส่ือท่ีมีรูปแบบและเน้ือหาที่หลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่างๆ เขียนบนั ทึก รายงานการศึกษาคน้ ควา้ ตามหลกั การเขียนทางวชิ าการ ใชข้ อ้ มูลสารสนเทศในการอา้ งอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบต่างๆ ท้งั สารคดีและบนั เทิงคดี รวมท้งั ประเมินงานเขียนของผูอ้ ่ืน และนามาพฒั นางานเขียนของตนเอง • ต้งั คาถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เรื่องที่ฟังและดู มีวจิ ารณญาณในการเลือกเรื่องท่ี ฟังและดู วเิ คราะห์วตั ถุประสงค์ แนวคิด การใชภ้ าษา ความน่าเชื่อถือของเร่ืองที่ฟังและดู ประเมิน ส่ิงที่ฟังและดูแลว้ นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ มีทกั ษะการพดู ในโอกาสต่างๆ ท้งั ที่เป็นทางการ และไมเ่ ป็นทางการโดยใชภ้ าษาท่ีถูกตอ้ ง พดู แสดงทรรศนะ โตแ้ ยง้ โนม้ นา้ ว และเสนอแนวคิดใหม่ อยา่ งมีเหตุผล รวมท้งั มีมารยาทในการฟัง ดู และพดู • เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย ใชค้ าและกลุ่มคา สร้างประโยคไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ แต่งคาประพนั ธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉนั ท์ ใช้ภาษา ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและใชค้ าราชาศพั ทแ์ ละคาสุภาพไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง วิเคราะห์หลกั การ สร้างคา ในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถ่ิน วิเคราะห์และประเมินการใช้ ภาษาจากส่ือส่ิงพิมพแ์ ละส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ • วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์วรรณคดีเบ้ืองตน้ รู้และ เขา้ ใจลกั ษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพ้ืนบา้ น เช่ือมโยงกบั การเรียนรู้ ทางประวตั ิศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนาข้อคิดจากวรรณคดีและ วรรณกรรมไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาใน การดาเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อา่ นออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง และ  การอา่ นออกเสียงและบอกความหมายของคา ขอ้ ความส้นั ๆ คาคลอ้ งจอง และขอ้ ความที่ประกอบดว้ ย ๒. บอกความหมายของคา และขอ้ ความ คาพ้ืนฐาน คือ คาที่ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ที่อา่ น ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖๐๐ คา รวมท้งั คาที่ใชเ้ รียนรู้ใน กลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่น ประกอบดว้ ย - คาที่มีรูปวรรณยกุ ตแ์ ละไม่มีรูปวรรณยกุ ต์ - คาที่มีตวั สะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - คาท่ีมีพยญั ชนะควบกล้า - คาที่มีอกั ษรนา ๓. ตอบคาถามเก่ียวกบั เร่ืองที่อ่าน  การอ่านจบั ใจความจากสื่อต่างๆ เช่น ๔. เล่าเรื่องยอ่ จากเรื่องท่ีอา่ น - นิทาน ๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน - เร่ืองส้นั ๆ - บทร้องเล่นและบทเพลง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยและกลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืน ๖. อ่านหนงั สือตามความสนใจ  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เช่น อยา่ งสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องที่ - หนงั สือท่ีนกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั อ่าน - หนงั สือที่ครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั ๗. บอกความหมายของเคร่ืองหมาย  การอ่านเคร่ืองหมายหรือสญั ลกั ษณ์ หรือสญั ลกั ษณ์สาคญั ที่มกั พบเห็นใน ประกอบดว้ ย ชีวิตประจาวนั - เครื่องหมายสญั ลกั ษณ์ต่างๆ ที่พบเห็นใน ชีวติ ประจาวนั - เครื่องหมายแสดงความปลอดภยั และแสดง อนั ตราย ๘. มีมารยาท ในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน เช่น - ไมอ่ า่ นเสียงดงั รบกวนผูอ้ ่ืน - ไม่เลน่ กนั ขณะที่อ่าน - ไม่ทาลายหนงั สือ ป.๒ ๑. อา่ นออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง  การอ่านออกเสียงและการบอกวามหมายของคา ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่ายๆ คาคลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่ายๆ

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ไดถ้ กู ตอ้ ง ที่ประกอบดว้ ยคาพ้ืนฐานเพิ่มจาก ป. ๑ ๒. อธิบายความหมายของคาและ ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๐๐ คา รวมท้งั คาที่ใชเ้ รียนรู้ใน ขอ้ ความท่ีอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ประกอบดว้ ย - คาที่มีรูปวรรณยกุ ตแ์ ละไม่มีรูปวรรณยกุ ต์ - คาที่มีตวั สะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - คาท่ีมีพยญั ชนะควบกล้า - คาท่ีมีอกั ษรนา - คาท่ีมีตวั การันต์ - คาที่มี รร - คาที่มีพยญั ชนะและสระท่ีไม่ออกเสียง ๓. ต้งั คาถามและตอบคาถามเกี่ยวกบั  การอ่านจบั ใจความจากสื่อต่างๆ เช่น เรื่องที่อ่าน - นิทาน ๔. ระบุใจความสาคญั และรายละเอียด - เรื่องเล่าส้นั ๆ จากเร่ืองท่ีอา่ น - บทเพลงและบทร้อยกรองง่ายๆ ๕. แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน - เร่ืองราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เหตุการณ์จากเร่ืองที่อา่ น ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั ๖. อา่ นหนงั สือตามความสนใจอยา่ ง  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เช่น สม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองท่ีอ่าน - หนงั สือท่ีนกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั - หนงั สือที่ครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั ๗. อ่านขอ้ เขียนเชิงอธิบาย และปฏิบตั ิ  การอ่านขอ้ เขียนเชิงอธิบาย และปฏิบตั ิตาม ตามคาสงั่ หรือขอ้ แนะนา คาสงั่ หรือขอ้ แนะนา - การใชส้ ถานที่สาธารณะ - คาแนะนาการใชเ้ คร่ืองใชท้ ี่จาเป็นในบา้ นและ ในโรงเรียน ๘. มีมารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน เช่น - ไม่อ่านเสียงดงั รบกวนผูอ้ ่ืน - ไม่เล่นกนั ขณะที่อ่าน - ไมท่ าลายหนงั สือ - ไมค่ วรแย่งอ่านหรือชะโงกหนา้ ไปอ่านขณะที่ ผอู้ ่ืนกาลงั อ่านอยู่ ป.๓ ๑. อา่ นออกเสียงคา ขอ้ ความ เร่ืองส้นั ๆ  การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของ และบทร้อยกรองง่ายๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คา คาคลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรอง คล่องแคล่ว ง่ายๆ ท่ีประกอบดว้ ยคาพ้ืนฐานเพ่ิมจาก ป.๒

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. อธิบายความหมายของคาและ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑,๒๐๐ คา รวมท้งั คาที่เรียนรู้ใน ขอ้ ความที่อา่ น กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ประกอบดว้ ย - คาที่มีตวั การันต์ - คาที่มี รร - คาที่มีพยญั ชนะและสระไมอ่ อกเสียง - คาพอ้ ง - คาพิเศษอ่ืนๆ เช่น คาที่ใช้ ฑ ฤ ฤๅ ๓. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล  การอา่ นจบั ใจความจากส่ือต่างๆ เช่น เก่ียวกบั เร่ืองท่ีอ่าน - นิทานหรือเรื่องเก่ียวกบั ทอ้ งถิ่น ๔. ลาดบั เหตุการณ์และคาดคะเน - เร่ืองเลา่ ส้นั ๆ เหตุการณ์จากเรื่องท่ีอา่ นโดยระบุ - บทเพลงและบทร้อยกรอง เหตุผลประกอบ - บทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๕. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอ่าน - ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิตประจาวนั ใน เพื่อนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ทอ้ งถ่ินและชุมชน ๖. อ่านหนงั สือตามความสนใจ  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เช่น อยา่ งสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองที่ - หนงั สือท่ีนกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั อ่าน - หนงั สือที่ครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั ๗. อ่านขอ้ เขียนเชิงอธิบายและปฏิบตั ิ  การอา่ นขอ้ เขียนเชิงอธิบาย และปฏิบตั ิตาม ตามคาสงั่ หรือขอ้ แนะนา คาสง่ั หรือขอ้ แนะนา - คาแนะนาต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั - ประกาศ ป้ายโฆษณา และคาขวญั ๘. อธิบายความหมายของขอ้ มูลจาก  การอา่ นขอ้ มลู จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ แผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ ๙. มีมารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอา่ น เช่น - ไมอ่ ่านเสียงดงั รบกวนผอู้ ่ืน - ไมเ่ ล่นกนั ขณะที่อ่าน - ไม่ทาลายหนงั สือ - ไม่ควรแยง่ อ่านหรือชะโงกหนา้ ไปอ่านขณะที่ ป.๔ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ ผอู้ ่ืนกาลงั อา่ น บทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง  การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของ บทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองที่ประกอบดว้ ย ๒. อธิบายความหมายของคา ประโยค - คาท่ีมี ร ล เป็นพยญั ชนะตน้

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง และสานวนจากเรื่องที่อ่าน - คาท่ีมีพยญั ชนะควบกล้า - คาที่มีอกั ษรนา - คาประสม - อกั ษรยอ่ และเคร่ืองหมายวรรคตอน - ประโยคท่ีมีสานวนเป็ นคาพงั เพย สุภาษิต ปริศนาคาทาย และเครื่องหมายวรรคตอน  การอ่านบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะ ๓. อา่ นเรื่องส้นั ๆ ตามเวลาที่กาหนดและ  การอา่ นจบั ใจความจากสื่อต่างๆ เช่น ตอบคาถามจากเร่ืองที่อา่ น - เรื่องส้นั ๆ ๔. แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็น - เรื่องเล่าจากประสบการณ์ จากเรื่องท่ีอ่าน - นิทานชาดก ๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน - บทความ โดยระบุเหตุผลประกอบ - บทโฆษณา ๖. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรื่องที่อา่ น - งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ เพื่อนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั - สารคดีและบนั เทิงคดี ๗. อ่านหนงั สือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เช่น อยา่ งสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็น - หนงั สือที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั เก่ียวกบั เรื่องที่อ่าน - หนงั สือท่ีครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั ๘. มีมารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอา่ น ป.๕ ๑. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และ  การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของ บทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง บทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองท่ีประกอบดว้ ย ๒. อธิบายความหมายของคา ประโยค - คาท่ีมีพยญั ชนะควบกล้า และขอ้ ความที่เป็นการบรรยาย - คาที่มีอกั ษรนา และการพรรณนา - คาที่มีตวั การันต์ ๓. อธิบายความหมายโดยนยั จากเร่ือง - อกั ษรยอ่ และเคร่ืองหมายวรรคตอน ท่ีอา่ นอยา่ งหลากหลาย - ขอ้ ความที่เป็นการบรรยายและพรรณนา - ขอ้ ความท่ีมีความหมายโดยนยั ๔. แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจาก  การอา่ นบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะ เรื่องท่ีอ่าน  การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่างๆ เช่น - วรรณคดีในบทเรียน ๕. วเิ คราะห์และแสดงความคิดเห็น - บทความ เก่ียวกบั เร่ืองท่ีอ่านเพ่ือนาไปใช้ - บทโฆษณา

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ในการดาเนินชีวติ - งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั ๖. อา่ นงานเขียนเชิงอธิบาย คาสง่ั  การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาสง่ั ขอ้ แนะนา ขอ้ แนะนา และปฏิบตั ิตาม และปฏิบตั ิตาม เช่น - การใชพ้ จนานุกรม - การใชว้ สั ดุอุปกรณ์ - การอ่านฉลากยา - คู่มือและเอกสารของโรงเรียนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั นกั เรียน - ข่าวสารทางราชการ ๗. อ่านหนงั สือที่มีคุณค่าตามความสนใจ  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เช่น อยา่ งสม่าเสมอและแสดงความ - หนงั สือท่ีนกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั คิดเห็นเกี่ยวกบั เรื่องท่ีอา่ น - หนงั สือท่ีครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั ๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ป.๖ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ  การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของ บทร้อยกรองไดถ้ กู ตอ้ ง บทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง ประกอบดว้ ย ๒. อธิบายความหมายของคา ประโยค - คาที่มีพยญั ชนะควบกล้า และขอ้ ความที่เป็นโวหาร - คาท่ีมีอกั ษรนา - คาที่มีตวั การันต์ - คาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ - อกั ษรยอ่ และเครื่องหมายวรรคตอน - วนั เดือน ปี แบบไทย - ขอ้ ความท่ีเป็นโวหารต่างๆ - สานวนเปรียบเทียบ  การอ่านบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะ ๓. อ่านเรื่องส้นั ๆ อยา่ งหลากหลาย โดย  การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่างๆ เช่น จบั เวลาแลว้ ถามเก่ียวกบั เร่ืองที่อา่ น - เรื่องส้นั ๆ ๔. แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจาก - นิทานและเพลงพ้ืนบา้ น เร่ืองที่อา่ น - บทความ ๕. อธิบายการนาความรู้และความคิด - พระบรมราโชวาท จากเร่ืองท่ีอา่ นไปตดั สินใจแกป้ ัญหา - สารคดี ในการดาเนินชีวติ - เรื่องส้นั - งานเขียนประเภทโนม้ นา้ ว - บทโฆษณา

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ข่าว และเหตุการณ์สาคญั  การอา่ นเร็ว ๖. อา่ นงานเขียนเชิงอธิบาย คาสงั่  การอา่ นงานเขียนเชิงอธิบาย คาสงั่ ขอ้ แนะนา ขอ้ แนะนา และปฏิบตั ิตาม และปฏิบตั ิตาม - การใชพ้ จนานุกรม - การปฏิบตั ิตนในการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม - ขอ้ ตกลงในการอยรู่ ่วมกนั ในโรงเรียน และ การใชส้ ถานที่สาธารณะในชุมชนและ ทอ้ งถ่ิน ๗. อธิบายความหมายของขอ้ มูล จาก  การอ่านขอ้ มลู จากแผนผงั แผนที่ แผนภูมิ และ การอา่ นแผนผงั แผนท่ี แผนภูมิ และ กราฟ กราฟ ๘. อ่านหนงั สือตามความสนใจ และ  การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เช่น อธิบายคุณค่าท่ีไดร้ ับ - หนงั สือที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั - หนงั สืออ่านที่ครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั ๙. มีมารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน ม.๑ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ  การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย บทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั - บทร้อยแกว้ ที่เป็นบทบรรยาย เร่ืองท่ีอ่าน - บทร้อยกรอง เช่น กลอนสุภาพ กลอนสักวา กาพยย์ านี ๑๑ กาพยฉ์ บงั ๑๖ กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘ และโคลงสี่สุภาพ ๒. จบั ใจความสาคญั จากเรื่องท่ีอา่ น  การอา่ นจบั ใจความจากสื่อต่างๆ เช่น ๓. ระบุเหตุและผล และขอ้ เทจ็ จริงกบั - เร่ืองเลา่ จากประสบการณ์ ขอ้ คิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน - เร่ืองส้นั - บทสนทนา ๔. ระบุและอธิบายคาเปรียบเทียบ และ - นิทานชาดก คาที่มีหลายความหมายในบริบท - วรรณคดีในบทเรียน ต่างๆ จากการอา่ น - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ - บทความ ๕. ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดย พิจารณาจากบริบท - สารคดี - บนั เทิงคดี ๖. ระบุขอ้ สงั เกตและความสมเหตุสมผล - เอกสารทางวิชาการที่มีคา ประโยค และ ของงานเขียนประเภทชกั จูง ขอ้ ความท่ีตอ้ งใชบ้ ริบทช่วยพิจารณา ความหมาย โนม้ นา้ วใจ - งานเขียนประเภทชกั จูงโนม้ นา้ วใจเชิง

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สร้างสรรค์ ๗. ปฏิบตั ิตามคู่มือแนะนาวธิ ีการใชง้ าน  การอ่านและปฏิบตั ิตามเอกสารคู่มือ ของเครื่องมือหรือเครื่องใชใ้ นระดบั ที่ ยากข้ึน ๘. วิเคราะหค์ ุณค่าท่ีไดร้ ับจากการอ่าน  การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เช่น งานเขียนอยา่ งหลากหลายเพื่อ - หนงั สือท่ีนกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั นาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวติ - หนงั สืออ่านท่ีครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั ๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน ม.๒ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ  การอา่ นออกเสียง ประกอบดว้ ย บทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง - บทร้อยแกว้ ท่ีเป็นบทบรรยายและบทพรรณนา - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอน นิทาน กลอนเพลงยาว และกาพยห์ ่อโคลง ๒. จบั ใจความสาคญั สรุปความ และ  การอ่านจบั ใจความจากสื่อต่างๆ เช่น อธิบายรายละเอียดจากเร่ืองที่อ่าน - วรรณคดีในบทเรียน ๓. เขียนผงั ความคิดเพ่ือแสดงความเขา้ ใจ - บทความ ในบทเรียนต่างๆ ที่อา่ น - บนั ทึกเหตุการณ์ ๔. อภิปรายแสดงความคิดเห็น และ - บทสนทนา ขอ้ โตแ้ ยง้ เก่ียวกบั เรื่องท่ีอา่ น - บทโฆษณา ๕. วเิ คราะห์และจาแนกขอ้ เท็จจริง - งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ ขอ้ มลู สนบั สนุน และขอ้ คิดเห็นจาก - งานเขียนหรือบทความแสดงขอ้ เทจ็ จริง บทความท่ีอ่าน - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๖. ระบุขอ้ สงั เกตการชวนเชื่อ การ ภาษาไทย และกลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืน โนม้ นา้ ว หรือความสมเหตุสมผลของ งานเขียน ๗. อ่านหนงั สือ บทความ หรือคาประพนั ธ์  การอ่านตามความสนใจ เช่น อยา่ งหลากหลาย และประเมินคุณค่า - หนงั สืออา่ นนอกเวลา หรือแนวคิดที่ไดจ้ ากการอ่าน เพื่อ - หนงั สือที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั นาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวิต - หนงั สืออา่ นท่ีครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั ๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น ม.๓ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ  การอา่ นออกเสียง ประกอบดว้ ย บทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม - บทร้อยแกว้ ท่ีเป็นบทความทว่ั ไปและ กบั เรื่องที่อ่าน บทความปกิณกะ - บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพยย์ านี ๑๑ กาพยฉ์ บงั ๑๖ และโคลงสี่สุภาพ ๒. ระบุความแตกต่างของคาที่มี  การอา่ นจบั ใจความจากส่ือต่างๆ เช่น

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๔-ม.๖ - วรรณคดีในบทเรียน ความหมายโดยตรงและความหมาย - ข่าวและเหตุการณ์สาคญั โดยนยั - บทความ ๓. ระบุใจความสาคญั และรายละเอียด - บนั เทิงคดี ของขอ้ มูลท่ีสนบั สนุนจากเรื่องท่ีอ่าน - สารคดี ๔. อ่านเรื่องต่างๆ แลว้ เขียนกรอบ - สารคดีเชิงประวตั ิ แนวคิด ผงั ความคิด บนั ทึก ยอ่ ความ - ตานาน และรายงาน - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ ๕. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินเรื่อง - เร่ืองราวจากบทเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ ท่ีอา่ นโดยใชก้ ลวิธีการเปรียบเทียบ เพื่อใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจไดด้ ีข้ึน ภาษาไทย และกลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืน ๖. ประเมินความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล ท่ีใชส้ นบั สนุนในเร่ืองที่อ่าน  การอา่ นตามความสนใจ เช่น ๗. วจิ ารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดบั - หนงั สืออ่านนอกเวลา ความ และความเป็นไปไดข้ องเรื่อง - หนงั สืออา่ นตามความสนใจและตามวยั ของ ๘. วเิ คราะหเ์ พ่ือแสดงความคิดเห็น นกั เรียน โตแ้ ยง้ เกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอ่าน - หนงั สืออ่านที่ครูและนกั เรียนร่วมกนั กาหนด ๙. ตีความและประเมินคุณค่า และ แนวคิดที่ไดจ้ ากงานเขียนอยา่ ง  มารยาทในการอ่าน หลากหลายเพ่ือนาไปใชแ้ กป้ ัญหา  การอา่ นออกเสียง ประกอบดว้ ย ในชีวติ - บทร้อยแกว้ ประเภทต่างๆ เช่น บทความ ๑๐. มีมารยาทในการอา่ น นวนิยาย และความเรียง ๑. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และ - บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน บทร้อยกรองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ไพเราะ ร่าย และลิลิต และเหมาะสมกบั เรื่องท่ีอา่ น ๒. ตีความ แปลความ และขยายความ  การอ่านจบั ใจความจากสื่อต่างๆ เช่น เรื่องที่อา่ น - ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน ๓. วเิ คราะห์และวจิ ารณ์เร่ืองที่อา่ น - บทความ ในทุกๆ ดา้ นอยา่ งมีเหตุผล - นิทาน - เร่ืองส้นั ๔. คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน และประเมินค่าเพื่อนาความรู้

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ความคิดไปใชต้ ดั สินใจแกป้ ัญหาใน - นวนิยาย การดาเนินชีวติ - วรรณกรรมพ้ืนบา้ น ๕. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคิดเห็น - วรรณคดีในบทเรียน โตแ้ ยง้ กบั เร่ืองที่อ่าน และเสนอ - บทโฆษณา ความคิดใหม่อยา่ งมีเหตุผล - สารคดี ๖. ตอบคาถามจากการอา่ นประเภท - บนั เทิงคดี ต่างๆ ภายในเวลาท่ีกาหนด - ปาฐกถา ๗. อ่านเร่ืองต่างๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิด - พระบรมราโชวาท ผงั ความคิด บนั ทึก ยอ่ ความ และ - เทศนา รายงาน - คาบรรยาย ๘. สงั เคราะห์ความรู้จากการอา่ น - คาสอน สื่อส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์และ - บทร้อยกรองร่วมสมยั แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ มาพฒั นาตน - บทเพลง พฒั นาการเรียน และพฒั นาความรู้ - บทอาเศียรวาท ทางอาชีพ - คาขวญั ๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวใน รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมี ประสิทธิภาพ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบ

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง การเขียนตวั อกั ษรไทย ๒. เขียนส่ือสารดว้ ยคาและประโยคง่ายๆ  การเขียนสื่อสาร - คาท่ีใชใ้ นชีวิตประจาวนั - คาพ้ืนฐานในบทเรียน - คาคลอ้ งจอง - ประโยคง่ายๆ ๓. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น - เขียนใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า - ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และ บุคคล ป.๒ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบ การเขียนตวั อกั ษรไทย ๒. เขียนเรื่องส้นั ๆ เก่ียวกบั ประสบการณ์  การเขียนเรื่องส้นั ๆ เก่ียวกบั ประสบการณ์ ๓. เขียนเร่ืองส้นั ๆ ตามจินตนาการ  การเขียนเรื่องส้นั ๆ ตามจินตนาการ ๔. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น - เขียนใหอ้ ่านง่าย สะอาด ไมข่ ีดฆ่า - ไมข่ ีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และ บุคคล - ไมเ่ ขียนลอ้ เลียนผอู้ ื่นหรือทาใหผ้ อู้ ื่นเสียหาย ป.๓ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบ การเขียน ตวั อกั ษรไทย ๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกบั สิ่งใดส่ิงหน่ึง  การเขียนบรรยายเก่ียวกบั ลกั ษณะของ คน สัตว์ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน สิ่งของ สถานที่ ๓. เขียนบนั ทึกประจาวนั  การเขียนบนั ทึกประจาวนั ๔. เขียนจดหมายลาครู  การเขียนจดหมายลาครู ๕. เขียนเรื่องตามจินตนาการ  การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคา ภาพ และ หวั ขอ้ ที่กาหนด ๖. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เช่น - เขียนใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า - ไม่ขีดเขียนในท่ีสาธารณะ - ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และ บุคคล

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ไม่เขียนลอ้ เลียนผอู้ ่ืนหรือทาใหผ้ อู้ ่ืนเสียหาย ป.๔ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และ  การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั คร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใชค้ าไดถ้ กู ตอ้ ง  การเขียนส่ือสาร เช่น ชดั เจน และเหมาะสม - คาขวญั - คาแนะนา ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ  การนาแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด ความคิดเพื่อใชพ้ ฒั นางานเขียน ไปพฒั นางานเขียน ๔. เขียนยอ่ ความจากเร่ืองส้นั ๆ  การเขียนยอ่ ความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ จดหมาย คาสอน ๕. เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและบิดา  การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา มารดา ๖. เขียนบนั ทึกและเขียนรายงานจาก  การเขียนบนั ทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา การศึกษาคน้ ควา้ คน้ ควา้ ๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ  การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ ๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ป.๕ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และ  การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และ คร่ึงบรรทดั คร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใชค้ าไดถ้ กู ตอ้ ง  การเขียนสื่อสาร เช่น ชดั เจน และเหมาะสม - คาขวญั - คาอวยพร - คาแนะนาและคาอธิบายแสดงข้นั ตอน ๓. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ  การนาแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด ความคิดเพื่อใชพ้ ฒั นางานเขียน ไปพฒั นางานเขียน ๔. เขียนยอ่ ความจากเรื่องที่อา่ น  การเขียนยอ่ ความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความ เรียงประเภทต่างๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คาสอน โอวาท คาปราศรัย ๕. เขียนจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ  การเขียนจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ ๖. เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น  การเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ไดต้ รงตามเจตนา ๗. กรอกแบบรายการต่างๆ  การกรอกแบบรายการ

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ใบฝากเงินและใบถอนเงิน - ธนาณตั ิ - แบบฝากส่งพสั ดุไปรษณียภณั ฑ์ ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการ  การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ ๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ป.๖ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และ  การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และ คร่ึงบรรทดั คร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย ๒. เขียนส่ือสารโดยใชค้ าไดถ้ กู ตอ้ ง  การเขียนสื่อสาร เช่น ชดั เจน และเหมาะสม - คาขวญั - คาอวยพร - ประกาศ ๓. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ  การเขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ ความคิดเพื่อใชพ้ ฒั นางานเขียน ความคิด ๔. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความ ๕. เขียนยอ่ ความจากเร่ืองที่อ่าน  การเขียนยอ่ ความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คาสอน โอวาท คาปราศรยั สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คาสงั่ ๖. เขียนจดหมายส่วนตวั  การเขียนจดหมายส่วนตวั - จดหมายขอโทษ ๗. กรอกแบบรายการต่างๆ - จดหมายแสดงความขอบคุณ - จดหมายแสดงความเห็นใจ ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการและ - จดหมายแสดงความยนิ ดี สร้างสรรค์  การกรอกแบบรายการ - แบบคาร้องต่างๆ - ใบสมคั รศึกษาต่อ - แบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณียภณั ฑ์  การเขียนเร่ืองตามจินตนาการและสร้างสรรค์ ๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ม.๑ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบ การเขียนตวั อกั ษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใชถ้ อ้ ยคาถกู ตอ้ ง  การเขียนส่ือสาร เช่น ชดั เจน เหมาะสม และสละสลวย - การเขียนแนะนาตนเอง

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การเขียนแนะนาสถานท่ีสาคญั ๆ - การเขียนบนส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ ๓. เขียนบรรยายประสบการณโ์ ดยระบุ  การบรรยายประสบการณ์ สาระสาคญั และรายละเอียดสนบั สนุน ๔. เขียนเรียงความ  การเขียนเรียงความเชิงพรรณนา ๕. เขียนยอ่ ความจากเร่ืองที่อา่ น  การเขียนยอ่ ความจากสื่อต่างๆ เช่น เร่ืองส้นั คาสอน โอวาท คาปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คาสงั่ บทสนทนาเรื่องเลา่ ประสบการณ์ ๖. เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั สาระ  การเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั สาระจาก จากส่ือที่ไดร้ ับ สื่อต่างๆ เช่น - บทความ - หนงั สืออ่านนอกเวลา - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั - เหตุการณ์สาคญั ต่างๆ ๗. เขียนจดหมายส่วนตวั และจดหมาย  การเขียนจดหมายส่วนตวั กิจธุระ - จดหมายขอความช่วยเหลือ - จดหมายแนะนา  การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายสอบถามขอ้ มูล ๘. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และ  การเขียนรายงาน ไดแ้ ก่ โครงงาน - การเขียนรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ - การเขียนรายงานโครงงาน ๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ม.๒ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบ ๒. เขียนบรรยายและพรรณนา การเขียน ตวั อกั ษรไทย ๓. เขียนเรียงความ  การเขียนบรรยายและพรรณนา ๔. เขียนยอ่ ความ  การเขียนเรียงความเกี่ยวกบั ประสบการณ์  การเขียนยอ่ ความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน คาสอน บทความทางวิชาการ บนั ทึกเหตุการณ์ เรื่องราวในบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น นิทานชาดก

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้  การเขียนรายงาน - การเขียนรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ - การเขียนรายงานโครงงาน ๖. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายเชิญวทิ ยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห์ ๗. เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง  การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความรู้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ จากสื่อต่างๆ เช่น ในเร่ืองที่อ่านอยา่ งมีเหตุผล - บทความ - บทเพลง - หนงั สืออ่านนอกเวลา - สารคดี - บนั เทิงคดี ๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ม.๓ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบ การเขียนตวั อกั ษรไทย ๒. เขียนขอ้ ความโดยใชถ้ อ้ ยคาได้  การเขียนขอ้ ความตามสถานการณ์และโอกาส ถูกตอ้ งตามระดบั ภาษา ต่างๆ เช่น - คาอวยพรในโอกาสต่างๆ - คาขวญั - คาคม - โฆษณา - คติพจน์ - สุนทรพจน์ ๓. เขียนชีวประวตั ิหรืออตั ชีวประวตั ิโดย  การเขียนอตั ชีวประวตั ิหรือชีวประวตั ิ เล่าเหตุการณ์ ขอ้ คิดเห็น และทศั นคติ ในเรื่องต่างๆ ๔. เขียนยอ่ ความ  การเขียนยอ่ ความจากส่ือต่างๆ เช่น นิทาน ประวตั ิ ตานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ ๕. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายเชิญวิทยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห์ - จดหมายแสดงความขอบคุณ

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๔-ม.๖ ๖. เขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคิดเห็น  การเขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคิดเห็น และ และโตแ้ ยง้ อยา่ งมีเหตุผล โตแ้ ยง้ ในเร่ืองต่างๆ ๗. เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความรู้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ จากสื่อต่างๆ เช่น ในเร่ืองต่างๆ - บทโฆษณา - บทความทางวชิ าการ ๘. กรอกแบบสมคั รงานพร้อมเขียน  การกรอกแบบสมคั รงาน บรรยายเก่ียวกบั ความรู้และทกั ษะ ของตนเองท่ีเหมาะสมกบั งาน ๙. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และ  การเขียนรายงาน ไดแ้ ก่ โครงงาน - การเขียนรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ - การเขียนรายงานโครงงาน ๑๐. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ๑. เขียนส่ือสารในรูปแบบต่างๆ ได้  การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ เช่น ตรงตามวตั ถุประสงค์ โดยใชภ้ าษา - อธิบาย เรียบเรียงถูกตอ้ ง มีขอ้ มูล และ - บรรยาย สาระสาคญั ชดั เจน - พรรณนา - แสดงทรรศนะ - โตแ้ ยง้ - โนม้ นา้ ว - เชิญชวน - ประกาศ - จดหมายกิจธุระ - โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ - รายงานการประชุม ๒. เขียนเรียงความ - การกรอกแบบรายการต่างๆ  การเขียนเรียงความ ๓. เขียนยอ่ ความจากส่ือท่ีมีรูปแบบ และ  การเขียนยอ่ ความจากส่ือต่างๆ เช่น เน้ือหาหลากหลาย - กวนี ิพนธ์ และวรรณคดี - เร่ืองส้นั สารคดี นวนิยาย บทความทางวชิ าการ และวรรณกรรมพ้ืนบา้ น ๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบ  การเขียนในรูปแบบต่างๆ เช่น ต่างๆ - สารคดี - บนั เทิงคดี ๕. ประเมินงานเขียนของผอู้ ่ืน แลว้  การประเมินคุณค่างานเขียนในดา้ นต่างๆ เช่น นามาพฒั นางานเขียนของตนเอง - แนวคิดของผเู้ ขียน

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การใชถ้ อ้ ยคา - การเรียบเรียง - สานวนโวหาร - กลวิธีในการเขียน ๖. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้  การเขียนรายงานเชิงวิชาการ เรื่องท่ีสนใจตามหลกั การเขียนเชิง  การเขียนอา้ งอิงขอ้ มลู สารสนเทศ วิชาการ และใชข้ อ้ มลู สารสนเทศ อา้ งอิงอยา่ งถูกตอ้ ง ๗. บนั ทึกการศึกษาคน้ ควา้ เพ่ือนาไป  การเขียนบนั ทึกความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ที่ พฒั นาตนเองอยา่ งสม่าเสมอ หลากหลาย ๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก ในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. ฟังคาแนะนา คาสงั่ ง่ายๆ และปฏิบตั ิตาม  การฟังและปฏิบตั ิตามคาแนะนา คาสงั่ ง่ายๆ ๒. ตอบคาถามและเลา่ เร่ืองท่ีฟังและดู  การจบั ใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ท้งั ที่เป็นความรู้และความบนั เทิง ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู ท้งั ท่ีเป็นความรู้ ๓. พดู แสดงความคิดเห็นและความรู้สึก และความบนั เทิง เช่น จากเรื่องท่ีฟังและดู - เร่ืองเล่าและสารคดีสาหรับเดก็ - นิทาน - การ์ตูน - เร่ืองขบขนั

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. พูดสื่อสารไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์  การพดู สื่อสารในชีวิตประจาวนั เช่น - การแนะนาตนเอง - การขอความช่วยเหลือ - การกล่าวคาขอบคุณ - การกล่าวคาขอโทษ ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู  มารยาทในการฟัง เช่น - ต้งั ใจฟัง ตามองผพู้ ดู - ไมร่ บกวนผอู้ ื่นขณะท่ีฟัง - ไมค่ วรนาอาหารหรือเคร่ืองด่ืมไปรับประทาน ขณะท่ีฟัง - ใหเ้ กียรติผพู้ ูดดว้ ยการปรบมือ - ไม่พดู สอดแทรกขณะท่ีฟัง  มารยาทในการดู เช่น - ต้งั ใจดู - ไมส่ ่งเสียงดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผอู้ ื่น  มารยาทในการพดู เช่น - ใชถ้ อ้ ยคาและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใชน้ ้าเสียงนุ่มนวล - ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะท่ีผอู้ ื่นกาลงั พูด ป.๒ ๑. ฟังคาแนะนา คาสง่ั ท่ีซบั ซอ้ น และ  การฟังและปฏิบตั ิตามคาแนะนา คาสง่ั ที่ซบั ซอ้ น ปฏิบตั ิตาม ๒. เลา่ เร่ืองที่ฟังและดูท้งั ที่เป็นความรู้  การจบั ใจความและพดู แสดงความคิดเห็น และความบนั เทิง ความรู้สึกจากเร่ืองที่ฟังและดู ท้งั ท่ีเป็นความรู้ ๓. บอกสาระสาคญั ของเรื่องท่ีฟังและดู และความบนั เทิง เช่น ๔. ต้งั คาถามและตอบคาถามเกี่ยวกบั - เร่ืองเลา่ และสารคดีสาหรับเดก็ เร่ืองท่ีฟังและดู - นิทาน การ์ตูน และเรื่องขบขนั ๕. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก - รายการสาหรับเดก็ จากเรื่องที่ฟังและดู - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั - เพลง ๖. พูดสื่อสารไดช้ ดั เจนตรงตาม  การพดู สื่อสารในชีวติ ประจาวนั เช่น วตั ถปุ ระสงค์ - การแนะนาตนเอง - การขอความช่วยเหลือ - การกล่าวคาขอบคุณ

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การกล่าวคาขอโทษ - การพดู ขอร้องในโอกาสต่างๆ - การเล่าประสบการณ์ในชีวติ ประจาวนั ๗. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู  มารยาทในการฟัง เช่น - ต้งั ใจฟัง ตามองผพู้ ูด - ไม่รบกวนผอู้ ื่นขณะที่ฟัง - ไมค่ วรนาอาหารหรือเครื่องด่ืมไปรับประทาน ขณะท่ีฟัง - ไม่พดู สอดแทรกขณะท่ีฟัง  มารยาทในการดู เช่น - ต้งั ใจดู - ไม่ส่งเสียงดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผอู้ ื่น  มารยาทในการพูด เช่น - ใชถ้ อ้ ยคาและกิริยาท่ีสุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใชน้ ้าเสียงนุ่มนวล - ไม่พดู สอดแทรกในขณะที่ผอู้ ื่นกาลงั พูด - ไม่พูดลอ้ เลียนใหผ้ อู้ ่ืนไดร้ ับความอบั อายหรือ เสียหาย ป.๓ ๑. เล่ารายละเอียดเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีฟังและ  การจบั ใจความและพูดแสดงความคิดเห็นและ ดูท้งั ที่เป็นความรู้และความบนั เทิง ความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟังและดูท้งั ท่ีเป็นความรู้ ๒. บอกสาระสาคญั จากการฟังและการดู และความบนั เทิง เช่น ๓. ต้งั คาถามและตอบคาถามเกี่ยวกบั - เร่ืองเลา่ และสารคดีสาหรับเดก็ เรื่องท่ีฟังและดู - นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขนั ๔. พดู แสดงความคิดเห็นและความรู้สึก - รายการสาหรับเดก็ จากเร่ืองท่ีฟังและดู - ข่าวและเหตุการณ์ในชีวติ ประจาวนั - เพลง ๕. พูดส่ือสารไดช้ ดั เจนตรงตาม  การพูดส่ือสารในชีวติ ประจาวนั เช่น วตั ถปุ ระสงค์ - การแนะนาตนเอง - การแนะนาสถานท่ีในโรงเรียนและในชุมชน - การแนะนา/เชิญชวนเก่ียวกบั การปฏิบตั ิตนใน ดา้ นต่างๆ เช่น การรักษาความสะอาดของ ร่างกาย - การเลา่ ประสบการณ์ในชีวติ ประจาวนั

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การพดู ในโอกาสต่างๆ เช่น การพดู ขอร้อง การพดู ทกั ทาย การกล่าวขอบคุณและขอ โทษ การพดู ปฏิเสธ และการพดู ชกั ถาม ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง เช่น - ต้งั ใจฟัง ตามองผพู้ ดู - ไม่รบกวนผอู้ ื่นขณะท่ีฟัง - ไมค่ วรนาอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทาน ขณะท่ีฟัง - ไมแ่ สดงกิริยาท่ีไม่เหมาะสม เช่น โห่ ฮา หาว - ใหเ้ กียรติผพู้ ูดดว้ ยการปรบมือ - ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะท่ีฟัง  มารยาทในการดู เช่น - ต้งั ใจดู - ไมส่ ่งเสียงดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผอู้ ่ืน  มารยาทในการพดู เช่น - ใชถ้ อ้ ยคาและกิริยาท่ีสุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใชน้ ้าเสียงนุ่มนวล - ไม่พดู สอดแทรกในขณะที่ผอู้ ่ืนกาลงั พูด - ไมพ่ ดู ลอ้ เลียนใหผ้ อู้ ่ืนไดร้ ับความอบั อายหรือ เสียหาย ป.๔ ๑. จาแนกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจาก  การจาแนกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเร่ืองที่ เรื่องท่ีฟังและดู ฟังและดู ในชีวิตประจาวนั ๒. พดู สรุปความจากการฟังและดู  การจบั ใจความ และการพูดแสดงความรู้ ๓. พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็น ความคิดในเร่ืองท่ีฟังและดู จากส่ือต่างๆ เช่น และความรู้สึกเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีฟังและ - เรื่องเล่า ดู - บทความส้นั ๆ ๔. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั จากเร่ืองท่ีฟังและดู - โฆษณา - สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ - เรื่องราวจากบทเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย และกลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืน

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕. รายงานเรื่องหรือประเดน็ ท่ีศึกษา  การรายงาน เช่น คน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการ - การพูดลาดบั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน สนทนา - การพดู ลาดบั เหตุการณ์ ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ป.๕ ๑. พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็น และ  การจบั ใจความ และการพูดแสดงความรู้ ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู ความคิดในเรื่องท่ีฟังและดู จากสื่อต่างๆ เช่น ๒. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล - เร่ืองเลา่ จากเรื่องที่ฟังและดู - บทความ ๓. วเิ คราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ือง - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั ท่ีฟังและดูอยา่ งมีเหตุผล - โฆษณา - ส่ือส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์  การวิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองที่ฟังและดู ในชีวติ ประจาวนั ๔. พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ศึกษา  การรายงาน เช่น คน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการ - การพดู ลาดบั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน สนทนา - การพูดลาดบั เหตุการณ์ ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ป.๖ ๑. พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ  การพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจในจุดประสงค์ จุดประสงคข์ องเร่ืองท่ีฟังและดู ของเร่ืองท่ีฟังและดูจากส่ือต่างๆ ไดแ้ ก่ ๒. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล - ส่ือสิ่งพิมพ์ จากเรื่องท่ีฟังและดู - สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ๓. วเิ คราะหค์ วามน่าเช่ือถือจากการฟัง  การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูสื่อ และดูสื่อโฆษณาอยา่ งมีเหตุผล โฆษณา ๔. พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ศึกษา  การรายงาน เช่น คน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการ - การพูดลาดบั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน สนทนา - การพดู ลาดบั เหตุการณ์ ๕. พูดโนม้ นา้ วอยา่ งมีเหตุผล และ  การพูดโนม้ นา้ วในสถานการณ์ต่างๆ เช่น น่าเชื่อถือ - การเลือกต้งั กรรมการนกั เรียน - การรณรงคด์ า้ นต่างๆ - การโตว้ าที ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ม.๑ ๑. พดู สรุปใจความสาคญั ของเรื่องท่ีฟัง  การพูดสรุปความ พดู แสดงความรู้ ความคิด และดู อยา่ งสร้างสรรคจ์ ากเรื่องที่ฟังและดู ๒. เล่าเร่ืองยอ่ จากเร่ืองท่ีฟังและดู  การพูดประเมินความน่าเชื่อถือของสื่อท่ีมี ๓. พูดแสดงความคิดเห็นอยา่ งสร้างสรรค์ เน้ือหาโนม้ นา้ ว

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง เกี่ยวกบั เรื่องท่ีฟังและดู ๔. ประเมินความน่าเช่ือถือของสื่อ ที่มีเน้ือหาโนม้ นา้ วใจ ๕. พดู รายงานเรื่องหรือประเดน็ ที่ศึกษา  การพูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้ จากแหลง่ คน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการ เรียนรู้ต่างๆ ในชุมชน และทอ้ งถิ่นของตน สนทนา ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ม.๒ ๑. พดู สรุปใจความสาคญั ของเรื่องท่ีฟัง  การพูดสรุปความจากเรื่องท่ีฟังและดู และดู ๒. วเิ คราะหข์ อ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็น และ  การพูดวิเคราะหแ์ ละวิจารณจ์ ากเรื่องท่ีฟังและดู ความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากส่ือ ต่างๆ ๓. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู อยา่ งมีเหตุผลเพื่อนาขอ้ คิดมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ ๔. พูดในโอกาสต่างๆ ไดต้ รงตาม  การพดู ในโอกาสต่างๆ เช่น วตั ถปุ ระสงค์ - การพดู อวยพร - การพูดโนม้ นา้ ว - การพูดโฆษณา ๕. พดู รายงานเรื่องหรือประเดน็ ที่ศึกษา  การพูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่ง คน้ ควา้ เรียนรู้ต่างๆ ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ม.๓ ๑. แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่อง  การพดู แสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่องจาก จากการฟังและการดู การฟังและการดู ๒. วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์เร่ืองที่ฟังและดู  การพูดวิเคราะห์วจิ ารณ์จากเรื่องท่ีฟังและดู เพื่อนาขอ้ คิดมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ ดาเนินชีวิต ๓. พูดรายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ศึกษา  การพดู รายงานการศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั คน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการ ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น สนทนา  การพดู ในโอกาสต่างๆ เช่น ๔. พดู ในโอกาสต่างๆ ไดต้ รงตาม - การพดู โตว้ าที วตั ถปุ ระสงค์ - การอภิปราย - การพูดยอวาที ๕. พูดโนม้ นา้ วโดยนาเสนอหลกั ฐาน ตามลาดบั เน้ือหาอยา่ งมีเหตุผลและ  การพดู โนม้ นา้ ว

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง น่าเช่ือถือ ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ม.๔-ม.๖ ๑. สรุปแนวคิด และแสดงความคิดเห็น  การพดู สรุปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็น จากเร่ืองที่ฟังและดู จากเรื่องที่ฟังและดู ๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใชภ้ าษา และ  การวเิ คราะห์แนวคิด การใชภ้ าษา และความ ความน่าเชื่อถือจากเรื่องท่ีฟังและดู น่าเชื่อถือจากเรื่องท่ีฟังและดู อยา่ งมีเหตุผล  การเลือกเร่ืองที่ฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ ๓. ประเมินเร่ืองท่ีฟังและดู แลว้ กาหนด  การประเมินเร่ืองท่ีฟังและดูเพื่อกาหนดแนวทาง แนวทางนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ นาไปประยกุ ตใ์ ช้ ดาเนินชีวิต ๔. มีวจิ ารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟัง และดู ๕. พดู ในโอกาสต่างๆ พดู แสดงทรรศนะ  การพดู ในโอกาสต่างๆ เช่น โตแ้ ยง้ โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ - การพูดต่อที่ประชุมชน ดว้ ยภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม - การพดู อภิปราย - การพดู แสดงทรรศนะ - การพดู โนม้ นา้ วใจ ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของ ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ และเลขไทย  เลขไทย ๒. เขียนสะกดคาและบอกความหมาย  การสะกดคา การแจกลกู และการอ่านเป็นคา ของคา  มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รงตาม มาตรา  การผนั คา  ความหมายของคา ๓. เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ  การแต่งประโยค ๔. ต่อคาคลอ้ งจองง่ายๆ  คาคลอ้ งจอง ป.๒ ๑. บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์  พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ และเลขไทย  เลขไทย ๒. เขียนสะกดคาและบอกความหมาย  การสะกดคา การแจกลูก และการอ่านเป็นคา ของคา  มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่ตรงตาม

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรา ๓. เรียบเรียงคาเป็นประโยคไดต้ รงตาม  การผนั อกั ษรกลาง อกั ษรสูง และอกั ษรต่า เจตนาของการสื่อสาร  คาที่มีตวั การันต์  คาที่มีพยญั ชนะควบกล้า ๔. บอกลกั ษณะคาคลอ้ งจอง  คาท่ีมีอกั ษรนา  คาที่มีความหมายตรงขา้ มกนั  คาท่ีมี รร  ความหมายของคา  การแต่งประโยค  การเรียบเรียงประโยคเป็นขอ้ ความส้นั ๆ  คาคลอ้ งจอง ๕. เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ  ภาษาถิ่น ป.๓ ๑. เขียนสะกดคาและบอกความหมา  การสะกดคา การแจกลูก และการอ่านเป็นคา ของคา  มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่ตรงตาม มาตรา ๓. ระบชุ นิดและหนา้ ที่ของคาในประโยค  การผนั อกั ษรกลาง อกั ษรสูง และอกั ษรต่า  คาที่มีพยญั ชนะควบกล้า  คาที่มีอกั ษรนา  คาท่ีประวิสรรชนียแ์ ละคาท่ีไมป่ ระวสิ รรชนีย์  คาท่ีมี ฤ ฤๅ  คาที่ใช้ บนั บรร  คาท่ีใช้ รร  คาท่ีมีตวั การันต์  ความหมายของคา  ชนิดของคา ไดแ้ ก่ - คานาม - คาสรรพนาม - คากริยา ๔. ใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมายของคา  การใชพ้ จนานุกรม ๕. แต่งประโยคง่ายๆ  การแต่งประโยคเพ่ือการส่ือสาร ไดแ้ ก่ - ประโยคบอกเล่า - ประโยคปฏิเสธ - ประโยคคาถาม

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖. แต่งคาคลอ้ งจองและคาขวญั - ประโยคขอร้อง - ประโยคคาสงั่  คาคลอ้ งจอง  คาขวญั ๗. เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ  ภาษาถ่ิน ป.๔ ๑. สะกดคาและบอกความหมายของคาใน  คาในแม่ ก กา บริบทต่างๆ  มาตราตวั สะกด  การผนั อกั ษร  คาเป็นคาตาย  คาพอ้ ง ๒. ระบุชนิดและหนา้ ที่ของคาในประโยค  ชนิดของคา ไดแ้ ก่ - คานาม - คาสรรพนาม - คากริยา - คาวเิ ศษณ์ ๓ ใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมายของคา  การใชพ้ จนานุกรม ๔. แต่งประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา  ประโยคสามญั - ส่วนประกอบของประโยค - ประโยค ๒ ส่วน - ประโยค ๓ ส่วน ๕. แต่งบทร้อยกรองและคาขวญั  กลอนสี่  คาขวญั ๖. บอกความหมายของสานวน  สานวนที่เป็นคาพงั เพยและสุภาษิต ๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั  ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่นได้  ภาษาถ่ิน ป.๕ ๑. ระบุชนิดและหนา้ ท่ีของคาในประโยค  ชนิดของคา ไดแ้ ก่ - คาบุพบท - คาสนั ธาน - คาอุทาน ๒. จาแนกส่วนประกอบของประโยค  ประโยคและส่วนประกอบของประโยค ๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั  ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น  ภาษาถ่ิน ๔. ใชค้ าราชาศพั ท์  คาราชาศพั ท์

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕. บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย  คาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ ๖. แต่งบทร้อยกรอง  กาพยย์ านี ๑๑ ๗. ใชส้ านวนไดถ้ กู ตอ้ ง  สานวนที่เป็นคาพงั เพยและสุภาษิต ป.๖ ๑. วเิ คราะหช์ นิดและหนา้ ท่ีของคาใน  ชนิดของคา ประโยค - คานาม - คาสรรพนาม - คากริยา - คาวิเศษณ์ - คาบุพบท - คาเช่ือม - คาอทุ าน ๒. ใชค้ าไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและ  คาราชาศพั ท์ บุคคล  ระดบั ภาษา ๓. รวบรวมและบอกความหมายของ  ภาษาถ่ิน  คาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ คาภาษาตา่ งประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทย ๔. ระบุลกั ษณะของประโยค  กล่มุ คาหรือวลี  ประโยคสามญั  ประโยครวม  ประโยคซอ้ น ๕. แต่งบทร้อยกรอง  กลอนสุภาพ ๖. วิเคราะห์และเปรียบเทียบสานวนท่ีเป็น  สานวนที่เป็นคาพงั เพย และสุภาษิต คาพงั เพย และสุภาษิต ม.๑ ๑. อธิบายลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย  เสียงในภาษาไทย ๒. สร้างคาในภาษาไทย  การสรา้ งคา - คาประสม คาซ้า คาซอ้ น - คาพอ้ ง ๓. วิเคราะห์ชนิดและหนา้ ที่ของคาใน  ชนิดและหนา้ ที่ของคา ประโยค ๔. วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพดู  ภาษาพูด และภาษาเขียน  ภาษาเขียน ๕. แต่งบทร้อยกรอง  กาพยย์ านี ๑๑

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๖. จาแนกและใชส้ านวนที่เป็นคาพงั เพย  สานวนท่ีเป็นคาพงั เพยและสุภาษิต ม.๓ และสุภาษิต  การสร้างคาสมาส ๑. สรา้ งคาในภาษาไทย  ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย ม.๔-ม.๖ ๒. วิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยคสามญั - ประโยคสามญั ประโยครวม และประโยคซอ้ น - ประโยครวม - ประโยคซอ้ น ๓. แต่งบทร้อยกรอง  กลอนสุภาพ ๔. ใชค้ าราชาศพั ท์  คาราชาศพั ท์ ๕. รวบรวมและอธิบายความหมายของ  คาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ คาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย  คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ๑. จาแนกและใชค้ าภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้  ประโยคซบั ซอ้ น ในภาษาไทย  ระดบั ภาษา ๒. วเิ คราะหโ์ ครงสร้างประโยคซบั ซอ้ น  คาทบั ศพั ท์ ๓. วเิ คราะห์ระดบั ภาษา  คาศพั ทบ์ ญั ญตั ิ ๔. ใชค้ าทบั ศพั ทแ์ ละศพั ทบ์ ญั ญตั ิ  คาศพั ทท์ างวิชาการและวชิ าชีพ ๕. อธิบายความหมายคาศพั ทท์ างวชิ าการ  โคลงสี่สุภาพ และวิชาชีพ  ธรรมชาติของภาษา  พลงั ของภาษา ๖. แต่งบทร้อยกรอง  ลกั ษณะของภาษา ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลงั ของ - เสียงในภาษา ภาษา และลกั ษณะของภาษา - ส่วนประกอบของภาษา - องคป์ ระกอบของพยางคแ์ ละคา ๒. ใชค้ าและกลมุ่ คาสร้างประโยคตรงตาม  การใชค้ าและกลุ่มคาสร้างประโยค วตั ถุประสงค์ - คาและสานวน - การร้อยเรียงประโยค ๓. ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ - การเพิ่มคา และบุคคล รวมท้งั คาราชาศพั ทอ์ ยา่ ง - การใชค้ า - การเขียนสะกดคา  ระดบั ของภาษา  คาราชาศพั ท์

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง เหมาะสม  กาพย์ โคลง ร่าย และฉนั ท์ ๔. แต่งบทร้อยกรอง ๕. วิเคราะหอ์ ิทธิพลของภาษาต่างประเทศ  อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ิน และภาษาถ่ิน  หลกั การสร้างคาในภาษาไทย ๖. อธิบายและวเิ คราะห์หลกั การสร้างคา ในภาษาไทย  การประเมินการใชภ้ าษาจากส่ือส่ิงพิมพแ์ ละ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ ๗. วิเคราะหแ์ ละประเมินการใชภ้ าษาจาก ส่ือส่ิงพิมพแ์ ละสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่า และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. บอกขอ้ คิดที่ไดจ้ ากการอ่านหรือการฟัง  วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสาหรับเดก็ วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรอง เช่น สาหรับเดก็ - นิทาน - เรื่องส้นั ง่ายๆ - ปริศนาคาทาย - บทร้องเล่น - บทอาขยาน - บทร้อยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ๒. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด  บทอาขยานและบทร้อยกรอง และบทร้อยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๒ ๑. ระบุขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอ่านหรือ  วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสาหรับเดก็ การฟังวรรณกรรมสาหรับเดก็ เพื่อ เช่น นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั - นิทาน - เรื่องส้นั ง่ายๆ - ปริศนาคาทาย - บทอาขยาน - บทร้อยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ๒. ร้องบทร้องเลน่ สาหรับเด็กในทอ้ งถ่ิน  บทร้องเล่นท่ีมีคุณค่า - บทร้องเลน่ ในทอ้ งถิ่น - บทร้องเลน่ ในการละเล่นของเดก็ ไทย ๓. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และ  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กาหนด สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป.๓ ๑. ระบุขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอา่ นวรรณกรรม  วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพ้ืนบา้ น เพ่ือนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั - นิทานหรือเรื่องในทอ้ งถ่ิน ๒. รู้จกั เพลงพ้ืนบา้ นและเพลงกล่อมเดก็ - เร่ืองส้นั ง่ายๆ ปริศนาคาทาย เพ่ือปลูกฝังความช่ืนชมวฒั นธรรม - บทร้อยกรอง ทอ้ งถ่ิน - เพลงพ้ืนบา้ น ๓. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั วรรณคดี - เพลงกลอ่ มเดก็ ที่อ่าน - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและ ตามความสนใจ ๔. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและ  บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กาหนด สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป.๔ ๑. ระบุขอ้ คิดจากนิทานพ้ืนบา้ นหรือ  วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น นิทานคติธรรม - นิทานพ้ืนบา้ น ๒. อธิบายขอ้ คิดจากการอา่ นเพื่อ - นิทานคติธรรม นาไปใชใ้ นชีวติ จริง - เพลงพ้ืนบา้ น - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตาม ความสนใจ

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. ร้องเพลงพ้ืนบา้ น  เพลงพ้ืนบา้ น ๔. ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และ  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป.๕ ๑. สรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรม  วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น ท่ีอา่ น - นิทานพ้ืนบา้ น ๒. ระบุความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน - นิทานคติธรรม วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ - เพลงพ้ืนบา้ น นาไปใชใ้ นชีวติ จริง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตาม ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและ ความสนใจ วรรณกรรม ๔. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและ  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป.๖ ๑. แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี  วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น หรือวรรณกรรมที่อา่ น - นิทานพ้ืนบา้ นทอ้ งถ่ินตนเองและทอ้ งถิ่นอื่น ๒. เล่านิทานพ้ืนบา้ นทอ้ งถ่ินตนเอง - นิทานคติธรรม และนิทานพ้ืนบา้ นของทอ้ งถ่ินอ่ืน - เพลงพ้ืนบา้ น ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตาม วรรณกรรมท่ีอา่ นและนาไป ความสนใจ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ๔. ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และ  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ ม.๑ ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรม  วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกบั ที่อา่ น - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิตคาสอน - เหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์ - บนั เทิงคดี - บนั ทึกการเดินทาง - วรรณกรรมทอ้ งถ่ิน ๒. วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม  การวิเคราะห์คุณคา่ และขอ้ คิดจากวรรณคดีและ ท่ีอ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ วรรณกรรม

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและ วรรณกรรมท่ีอ่าน ๔. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน เพื่อประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง ๕. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและ  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกาหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ ม.๒ ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรม  วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกบั ที่อา่ นในระดบั ท่ียากข้ึน - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิต คาสอน - เหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์ - บนั เทิงคดี - บนั ทึกการเดินทาง ๒. วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดี  การวิเคราะหค์ ุณค่าและขอ้ คิดจากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถิ่น วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน ท่ีอา่ น พร้อมยกเหตุผลประกอบ ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและ วรรณกรรมท่ีอ่าน ๔. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง ๕. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและ  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามท่ีกาหนด สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ ม.๓ ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรมและ  วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถิ่น วรรณกรรมทอ้ งถิ่นในระดบั ที่ยากย่ิงข้ึน เก่ียวกบั - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิตคาสอน - เหตุการณ์ในประวตั ิศาสตร์ - บนั เทิงคดี

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๔-ม.๖ ๒. วิเคราะห์วถิ ีไทยและคุณค่าจาก  การวเิ คราะหว์ ถิ ีไทย และคุณค่าจากวรรณคดี วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น และวรรณกรรม ๓. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า เพ่ือนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง - บทอาขยานตามท่ีกาหนด ๔. ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยาน - บทร้อยกรองตามความสนใจ ตามท่ีกาหนด และบทร้อยกรองที่มี  หลกั การวเิ คราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและ คุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้ วรรณกรรมเบ้ืองตน้ อา้ งอิง - จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดีและวรรณกรรม ๑. วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์วรรณคดีและ - การพิจารณารูปแบบของวรรณคดีและ วรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์ วรรณกรรม เบ้ืองตน้ - การพิจารณาเน้ือหาและกลวิธีในวรรณคดี และวรรณกรรม ๒. วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดี - การวเิ คราะหแ์ ละการวจิ ารณ์วรรณคดีและ เชื่อมโยงกบั การเรียนรู้ทาง วรรณกรรม ประวตั ิศาสตร์และวิถีชีวติ ของสงั คม ในอดีต  การวิเคราะหล์ กั ษณะเด่นของวรรณคดีและ วรรณกรรมเก่ียวกบั เหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์ ๓. วเิ คราะห์และประเมินคุณค่าดา้ น และวถิ ีชีวิตของสงั คมในอดีต วรรณศิลป์ ของวรรณคดีและ วรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทาง  การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและ วฒั นธรรมของชาติ วรรณกรรม - ดา้ นวรรณศิลป์ ๔. สงั เคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดีและ - ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม วรรณกรรมเพื่อนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชีวิตจริง  การสงั เคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม ๕. รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบา้ นและ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นที่แสดงถึง อธิบายภูมิปัญญาทางภาษา - ภาษากบั วฒั นธรรม - ภาษาถ่ิน ๖. ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยาน ตามที่กาหนดและบทร้อยกรองท่ีมี  บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า คุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้ - บทอาขยานตามท่ีกาหนด อา้ งอิง - บทร้อยกรองตามความสนใจ

อภธิ านศัพท์ กระบวนการเขียน กระบวนการเขียนเป็ นการคิดเร่ืองที่จะเขียนและรวบรวมความรู้ในการเขียน กระบวนการเขียน มี ๕ ข้นั ดงั น้ี ๑. การเตรียมการเขียน เป็ นข้ันเตรียมพร้อมที่จะเขียนโดยเลือกหัวข้อเรื่องที่จะเขียน บนพ้ืนฐานของประสบการณ์ กาหนดรูปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขียน อาจใชว้ ิธีการ อ่านหนงั สือ สนทนา จดั หมวดหมู่ความคิด โดยเขียนเป็ นแผนภาพความคิด จดบนั ทึกความคิดที่จะ เขียนเป็นรูปหวั ขอ้ เรื่องใหญ่ หวั ขอ้ ยอ่ ย และรายละเอียดคร่าวๆ ๒. การยกร่างข้อเขียน เม่ือเตรียมหัวข้อเรื่องและความคิดรูปแบบการเขียนแล้ว ให้นา ความคิดมาเขียนตามรูปแบบท่ีกาหนดเป็นการยกร่างขอ้ เขียน โดยคานึงถึงวา่ จะเขียนใหใ้ ครอ่าน จะใช้ ภาษาอย่างไรให้เหมาะสมกบั เรื่องและเหมาะกบั ผูอ้ ่ืน จะเริ่มต้นเขียนอย่างไร มีหัวขอ้ เรื่องอย่างไร ลาดบั ความคิดอยา่ งไร เชื่อมโยงความคิดอยา่ งไร ๓. การปรับปรุงข้อเขียน เม่ือเขียนยกร่างแลว้ อ่านทบทวนเรื่องท่ีเขียน ปรับปรุงเร่ืองท่ีเขียน เพ่ิมเติมความคิดให้สมบูรณ์ แกไ้ ขภาษา สานวนโวหาร นาไปใหเ้ พื่อนหรือผูอ้ ื่นอ่าน นาขอ้ เสนอแนะ มาปรับปรุงอีกคร้ัง ๔. การบรรณาธิการกจิ นาขอ้ เขียนที่ปรับปรุงแลว้ มาตรวจทานคาผดิ แกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง แลว้ อ่านตรวจทานแกไ้ ขขอ้ เขียนอีกคร้ัง แกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดท้งั ภาษา ความคิด และการเวน้ วรรคตอน

๕. การเขียนให้สมบูรณ์ นาเร่ืองท่ีแก้ไขปรับปรุงแลว้ มาเขียนเร่ืองให้สมบูรณ์ จดั พิมพ์ วาดรูปประกอบ เขียนให้สมบูรณ์ดว้ ยลายมือที่สวยงามเป็ นระเบียบ เมื่อพิมพห์ รือเขียนแลว้ ตรวจทาน อีกคร้ังใหส้ มบูรณ์ก่อนจดั ทารูปเล่ม กระบวนการคดิ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็ นกระบวนการคิด คนที่จะคิดไดด้ ีตอ้ งเป็ นผฟู้ ัง ผพู้ ูด ผอู้ ่าน และผเู้ ขียนท่ีดี บุคคลที่จะคิดไดด้ ีจะตอ้ งมีความรู้และประสบการณ์พ้นื ฐานในการคิด บุคคลจะมี ความสามารถในการรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า จะตอ้ งมี ความรู้และประสบการณ์พ้ืนฐานท่ีนามาช่วยในการคิดท้ังสิ้น การสอนให้คิดควรให้ผูเ้ รียนรู้จัก คดั เลือกขอ้ มูล ถ่ายทอด รวบรวม และจาขอ้ มูลต่างๆ สมองของมนุษยจ์ ะเป็ นผูบ้ ริโภคขอ้ มูลข่าวสาร และสามารถแปลความขอ้ มูลขา่ วสาร และสามารถนามาใชอ้ า้ งอิง การเป็ นผฟู้ ัง ผพู้ ดู ผูอ้ ่าน และผเู้ ขียน ท่ีดี จะตอ้ งสอนให้เป็ นผูบ้ ริโภคข้อมูลข่าวสารที่ดีและเป็ นนักคิดที่ดีดว้ ย กระบวนการสอนภาษาจึง ตอ้ งสอนให้ผเู้ รียนเป็ นผูร้ ับรู้ขอ้ มูลข่าวสารและมีทกั ษะการคิด นาขอ้ มูลข่าวสารท่ีไดจ้ ากการฟังและ การอ่านนามาสู่การฝึ กทกั ษะการคิด นาการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน มาสอนในรูปแบบ บูรณาการทกั ษะ ตวั อยา่ ง เช่น การเขียนเป็ นกระบวนการคิดในการวิเคราะห์ การแยกแยะ การสังเคราะห์ การประเมินค่า การสร้างสรรค์ ผูเ้ ขียนจะนาความรู้และประสบการณ์สู่การคิดและแสดงออกตาม ความคิดของตนเสมอ ตอ้ งเป็ นผูอ้ ่านและผูฟ้ ังเพื่อรับรู้ข่าวสารที่จะนามาวิเคราะห์และสามารถแสดง ทรรศนะได้ กระบวนการอ่าน การอ่านเป็ นกระบวนการซ่ึงผูอ้ ่านสร้างความหมายหรือพฒั นา การตีความระหวา่ งการอ่าน ผูอ้ ่านจะต้องรู้หัวขอ้ เร่ือง รู้จุดประสงค์ของการอ่าน มีความรู้ทางภาษาท่ีใกล้เคียงกบั ภาษาที่ใช้ใน หนงั สือท่ีอ่าน โดยใช้ประสบการณ์เดิมเป็ นประสบการณ์ทาความเขา้ ใจกบั เรื่องที่อ่าน กระบวนการ อ่านมีดงั น้ี ๑. การเตรียมการอ่าน ผูอ้ ่านจะต้องอ่านชื่อเร่ือง หัวขอ้ ย่อยจากสารบัญเรื่อง อ่านคานา ให้ทราบจุดมุ่งหมายของหนงั สือ ต้งั จุดประสงค์ของการอ่านจะอ่านเพื่อความเพลิดเพลินหรืออ่าน เพื่อหาความรู้ วางแผนการอ่านโดยอ่านหนังสือตอนใดตอนหน่ึงว่าความยากง่ายอย่างไร หนังสือมี ความยากมากน้อยเพียงใด รูปแบบของหนงั สือเป็ นอย่างไร เหมาะกบั ผูอ้ ่านประเภทใด เดาความวา่ เป็นเรื่องเกี่ยวกบั อะไร เตรียมสมุด ดินสอ สาหรับจดบนั ทึกขอ้ ความหรือเน้ือเร่ืองท่ีสาคญั ขณะอ่าน ๒. การอ่าน ผูอ้ ่านจะอ่านหนงั สือใหต้ ลอดเล่มหรือเฉพาะตอนท่ีตอ้ งการอ่าน ขณะอา่ นผอู้ า่ น จะใชค้ วามรู้จากการอ่านคา ความหมายของคามาใช้ในการอ่าน รวมท้งั การรู้จกั แบ่งวรรคตอนดว้ ย การอ่านเร็วจะมีส่วนช่วยให้ผูอ้ ่านเขา้ ใจเร่ืองไดด้ ีกว่าผูอ้ ่านช้า ซ่ึงจะสะกดคาอ่านหรืออ่านยอ้ นไป ยอ้ นมา ผอู้ า่ นจะใชบ้ ริบทหรือคาแวดลอ้ มช่วยในการตีความหมายของคาเพอื่ ทาความเขา้ ใจเรื่องที่อ่าน

๓. การแสดงความคิดเห็น ผูอ้ ่านจะจดบนั ทึกขอ้ ความท่ีมีความสาคญั หรือเขียนแสดง ความคิดเห็น ตีความข้อความท่ีอ่าน อ่านซ้ าในตอนที่ไม่เข้าใจเพื่อทาความเข้าใจให้ถูกต้อง ขยายความคิดจากการอา่ น จบั คู่กบั เพื่อนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ต้งั ขอ้ สังเกตจากเร่ืองท่ีอา่ น ถา้ เป็นการอ่านบทกลอนจะตอ้ งอ่านทานองเสนาะดงั ๆ เพอ่ื ฟังเสียงการอา่ นและเกิดจินตนาการ ๔. การอ่านสารวจ ผูอ้ ่านจะอ่านซ้าโดยเลือกอ่านตอนใดตอนหน่ึง ตรวจสอบคาและภาษา ท่ีใช้ สารวจโครงเร่ืองของหนังสือเปรียบเทียบหนังสือที่อ่านกับหนังสือที่เคยอ่าน สารวจและ เช่ือมโยงเหตุการณ์ในเร่ืองและการลาดบั เร่ือง และสารวจคาสาคญั ที่ใชใ้ นหนงั สือ ๕. การขยายความคิด ผอู้ ่านจะสะทอ้ นความเขา้ ใจในการอ่าน บนั ทึกขอ้ คิดเห็น คุณคา่ ของ เรื่อง เชื่อมโยงเรื่องราวในเร่ืองกับชีวิตจริง ความรู้สึกจากการอ่าน จดั ทาโครงงานหลกั การอ่าน เช่น วาดภาพ เขียนบทละคร เขียนบนั ทึกรายงานการอ่าน อ่านเรื่องอ่ืนๆ ที่ผูเ้ ขียนคนเดียวกนั แต่ง อ่านเร่ืองเพิ่มเติม เรื่องที่เกี่ยวโยงกบั เรื่องท่ีอ่าน เพ่อื ใหไ้ ดค้ วามรู้ท่ีชดั เจนและกวา้ งขวางข้ึน การเขียนเชิงสร้างสรรค์ การเขียนเชิงสร้างสรรคเ์ ป็ นการเขียนโดยใชค้ วามรู้ ประสบการณ์ และจินตนาการในการเขียน เช่น การเขียนเรียงความ นิทาน เร่ืองส้ัน นวนิยาย และบทร้อยกรอง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ผูเ้ ขียนจะตอ้ งมีความคิดดี มีจินตนาการดี มีคลงั คาอย่างหลากหลาย สามารถนาคามาใช้ ในการเขียน ตอ้ งใชเ้ ทคนิคการเขียน และใชถ้ อ้ ยคาอยา่ งสละสลวย การดู การดูเป็ นการรับสารจากส่ือภาพและเสียง และแสดงทรรศนะไดจ้ ากการรับรู้สาร ตีความ แปลความ วเิ คราะห์ และประเมินคุณค่าสารจากสื่อ เช่น การดูโทรทศั น์ การดูคอมพิวเตอร์ การดูละคร การดูภาพยนตร์ การดูหนงั สือการ์ตูน (แมไ้ ม่มีเสียงแต่มีถอ้ ยคาอ่านแทนเสียงพูด) ผูด้ ูจะตอ้ งรับรู้สาร จากการดูและนามาวิเคราะห์ ตีความ และประเมินคุณค่าของสารท่ีเป็ นเน้ือเรื่องโดยใช้หลักการ พิจารณาวรรณคดีหรือการวิเคราะห์วรรณคดีเบ้ืองต้น เช่น แนวคิดของเร่ือง ฉากท่ีประกอบเรื่อง สมเหตุสมผล กิริยาท่าทาง และการแสดงออกของตวั ละครมีความสมจริงกบั บทบาท โครงเร่ือง เพลง แสง สี เสียง ท่ีใชป้ ระกอบการแสดงใหอ้ ารมณ์แก่ผดู้ ูสมจริงและสอดคลอ้ งกบั ยคุ สมยั ของเหตุการณ์ ที่จาลองสู่บทละคร คุณค่าทางจริยธรรม คุณธรรม และคุณค่าทางสังคมท่ีมีอิทธิพลต่อผูด้ ูหรือผชู้ ม ถา้ เป็ นการดูข่าวและเหตุการณ์ หรือการอภิปราย การใช้ความรู้หรือเร่ืองที่เป็ นสารคดี การโฆษณา ทางสื่อจะต้องพิจารณาเน้ือหาสาระว่าสมควรเชื่อถือได้หรือไม่ เป็ นการโฆษณาชวนเช่ือหรือไม่ ความคิดสาคญั และมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้มาก และการดูละครเวที ละครโทรทศั น์ ดูข่าวทางโทรทศั น์

จะเป็ นประโยชน์ไดร้ ับความสนุกสนาน ตอ้ งดูและวิเคราะห์ ประเมินค่า สามารถแสดงทรรศนะของตน ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล การตีความ การตีความเป็ นการใช้ความรู้และประสบการณ์ของผู้อ่านและการใช้บริบท ได้แก่ คาที่ แวดลอ้ มขอ้ ความ ทาความเขา้ ใจขอ้ ความหรือกาหนดความหมายของคาใหถ้ ูกตอ้ ง พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายว่า การตีความหมาย ช้ีหรือ กาหนดความหมาย ให้ความหมายหรืออธิบาย ใชห้ รือปรับให้เขา้ ใจเจตนา และความมุ่งหมายเพื่อความ ถูกตอ้ ง การเปลยี่ นแปลงของภาษา ภาษายอ่ มมีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา คาคาหน่ึงในสมยั หน่ึงเขียนอยา่ งหน่ึง อีกสมยั หน่ึง เขียนอีกอย่างหน่ึง คาว่า ประเทศ แต่เดิมเขียน ประเทษ คาว่า ปักษ์ใต้ แต่เดิมเขียน ปักใต้ ในปัจจุบนั เขียน ปักษใ์ ต้ คาวา่ ลุ่มลึก แต่ก่อนเขียน ลุ่มฦก ภาษาจึงมีการเปลี่ยนแปลง ท้งั ความหมาย และการเขียน บางคร้ังคาบางคา เช่น คาวา่ หล่อน เป็นคาสรรพนามแสดงถึงคาพดู สรรพนามบุรุษท่ี ๓ ท่ีเป็นคาสุภาพ แต่เดี๋ยวน้ีคาวา่ หล่อน มีความหมายในเชิงดูแคลน เป็นตน้ การสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์ คือ การรู้จกั เลือกความรู้ ประสบการณ์ท่ีมีอยูเ่ ดิมมาเป็ นพ้ืนฐานในการสร้าง ความรู้ ความคิดใหม่ หรือส่ิงแปลกใหม่ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิม บุคคลท่ีจะมี ความสามารถในการสร้างสรรคจ์ ะตอ้ งเป็ นบุคคลท่ีมีความคิดอิสระอยูเ่ สมอ มีความเช่ือมนั่ ในตนเอง มองโลกในแง่ดี คิดไตร่ตรอง ไม่ตดั สินใจสิ่งใดง่ายๆ การสร้างสรรคข์ องมนุษยจ์ ะเก่ียวเน่ืองกนั กบั ความคิด การพูด การเขียน และการกระทาเชิงสร้างสรรค์ ซ่ึงจะตอ้ งมีการคิดเชิงสร้างสรรค์เป็ น พ้นื ฐาน ความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็ นความคิดที่พฒั นามาจากความรู้และประสบการณ์เดิม ซ่ึงเป็ น ปัจจยั พ้นื ฐานของการพดู การเขียน และการกระทาเชิงสร้างสรรค์ การพูดและการเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็ นการแสดงออกทางภาษาท่ีใชภ้ าษาขดั เกลาให้ไพเราะ งดงาม เหมาะสม ถูกตอ้ งตามเน้ือหาที่พูดและเขียน การกระทาเชิงสร้างสรรคเ์ ป็ นการกระทาที่ไม่ซ้าแบบเดิมและคิดคน้ ใหมแ่ ปลกไปจากเดิม และ เป็ นประโยชน์ที่สูงข้ึน ข้อมูลสารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง เรื่องราว ข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่ งใดส่ิ งหน่ึงที่สามารถ ส่ือความหมายดว้ ยการพูดบอกเล่า บนั ทึกเป็ นเอกสาร รายงาน หนงั สือ แผนที่ แผนภาพ ภาพถ่าย

บนั ทึกด้วยเสียงและภาพ บนั ทึกด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เป็ นการเก็บเรื่องราวต่างๆ บนั ทึกไวเ้ ป็ น หลกั ฐานดว้ ยวธิ ีตา่ งๆ ความหมายของคา คาท่ีใชใ้ นการติดต่อสื่อสารมีความหมายแบง่ ไดเ้ ป็ น ๓ ลกั ษณะ คือ ๑. ความหมายโดยตรง เป็ นความหมายที่ใชพ้ ูดจากนั ตรงตามความหมาย คาหน่ึงๆ น้นั อาจมี ความหมายไดห้ ลายความหมาย เช่น คาวา่ กา อาจมีความหมายถึง ภาชนะใส่น้า หรืออาจหมายถึง นกชนิดหน่ึง ตวั สีดา ร้อง กา กา เป็นความหมายโดยตรง ๒. ความหมายแฝง คาอาจมีความหมายแฝงเพิ่มจากความหมายโดยตรง มกั เป็ นความหมาย เก่ียวกับความรู้สึก เช่น คาว่า ข้ีเหนียว กับ ประหยดั หมายถึง ไม่ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย เป็ น ความหมายตรง แตค่ วามรู้สึกต่างกนั ประหยดั เป็นส่ิงดี แตข่ ้ีเหนียวเป็นส่ิงไมด่ ี ๓. ความหมายในบริบท คาบางคามีความหมายตรง เมื่อร่วมกบั คาอ่ืนจะมีความหมายเพ่ิมเติม กวา้ งข้ึน หรือแคบลงได้ เช่น คาว่า ดี เด็กดี หมายถึง ว่านอนสอนง่าย เสียงดี หมายถึง ไพเราะ ดินสอดี หมายถึง เขียนได้ดี สุ ขภาพดี หมายถึง ไม่มีโรค ความหมายบริบทเป็ นความหมาย เช่นเดียวกบั ความหมายแฝง คุณค่าของงานประพนั ธ์ เม่ือผูอ้ ่านอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรมแลว้ จะตอ้ งประเมินงานประพนั ธ์ ให้เห็นคุณค่าของ งานประพนั ธ์ ทาให้ผูอ้ ่านอ่านอยา่ งสนุก และไดร้ ับประโยชน์จาการอ่านงานประพนั ธ์ คุณค่าของ งานประพนั ธ์แบง่ ไดเ้ ป็น ๒ ประการ คือ ๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ถา้ อ่านบทร้อยกรองก็จะพิจารณากลวธิ ีการแต่ง การเลือกเฟ้นถอ้ ยคา มาใชไ้ ดไ้ พเราะ มีความคิดสร้างสรรค์ และให้ความสะเทือนอารมณ์ ถา้ เป็นบทร้อยแกว้ ประเภทสาร คดี รูปแบบการเขียนจะเหมาะสมกบั เน้ือเร่ือง วิธีการนาเสนอน่าสนใจ เน้ือหามีความถูกตอ้ ง ใช้ ภาษาสละสลวยชัดเจน การนาเสนอมีความคิดสร้างสรรค์ ถ้าเป็ นร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี องค์ป ระกอบ ของเร่ื องไม่ว่าเร่ื องส้ัน นวนิ ยาย นิ ทาน จะมีแก่น เรื่ อง โครงเรื่ อง ตวั ละครมีความสัมพนั ธ์กนั กลวิธีการแต่งแปลกใหม่ น่าสนใจ ปมขดั แยง้ ในการแต่งสร้าง ความสะเทือนอารมณ์ การใช้ถอ้ ยคาสร้างภาพได้ชดั เจน คาพูดในเรื่องเหมาะสมกบั บุคลิกของ ตวั ละครมีความคิดสร้างสรรคเ์ กี่ยวกบั ชีวติ และสังคม ๒. คุณค่าด้านสังคม เป็ นคุณค่าทางด้านวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ ชีวิตความเป็ นอยู่ของมนุษย์ และคุณค่าทางจริยธรรม คุณค่าด้านสังคม เป็ นคุณค่าที่ผูอ้ ่านจะ เขา้ ใจชีวิตท้งั ในโลกทศั น์และชีวทศั น์ เขา้ ใจการดาเนินชีวิตและเขา้ ใจเพ่ือนมนุษยด์ ีข้ึน เน้ือหายอ่ ม เกี่ยวขอ้ งกบั การช่วยจรรโลงใจแก่ผูอ้ ่าน ช่วยพฒั นาสังคม ช่วยอนุรักษส์ ่ิงมีคุณค่าของชาติบา้ นเมือง และสนบั สนุนค่านิยมอนั ดีงาม

โครงงาน โครงงานเป็ นการจดั การเรียนรู้วธิ ีหน่ึงที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนเรียนดว้ ยการคน้ ควา้ ลงมือปฏิบตั ิจริง ในลกั ษณะของการสารวจ คน้ ควา้ ทดลอง ประดิษฐค์ ิดคน้ ผเู้ รียนจะรวบรวมขอ้ มูล นามาวเิ คราะห์ ทดสอบเพื่อแกป้ ัญหาขอ้ งใจ ผูเ้ รียนจะนาความรู้จากช้ันเรียนมาบูรณาการในการแกป้ ัญหา คน้ หา คาตอบ เป็ นกระบวนการคน้ พบนาไปสู่การเรียนรู้ ผูเ้ รียนจะเกิดทกั ษะการทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น ทกั ษะ การจดั การ ผสู้ อนจะเขา้ ใจผเู้ รียน เห็นรูปแบบการเรียนรู้ การคิด วธิ ีการทางานของผูเ้ รียน จากการ สงั เกตการทางานของผเู้ รียน การเรียนแบบโครงงานเป็ นการเรียนแบบศึกษาคน้ ควา้ วธิ ีการหน่ึง แต่เป็ นการศึกษาคน้ ควา้ ที่ ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์มาใชใ้ นการแกป้ ัญหา เป็ นการพฒั นาผเู้ รียนให้เป็ นคนมีเหตุผล สรุป เรื่องราวอย่างมีกฎเกณฑ์ ทางานอยา่ งมีระบบ การเรียนแบบโครงงานไม่ใช่การศึกษาคน้ ควา้ จดั ทา รายงานเพยี งอยา่ งเดียว ตอ้ งมีการวเิ คราะห์ขอ้ มูลและมีการสรุปผล ทกั ษะการสื่อสาร ทกั ษะการสื่อสาร ไดแ้ ก่ ทกั ษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน ซ่ึงเป็ นเครื่องมือของ การส่งสารและการรับสาร การส่งสาร ไดแ้ ก่ การส่งความรู้ ความเช่ือ ความคิด ความรู้สึกดว้ ยการพูด และการเขียน ส่วนการรับสาร ไดแ้ ก่ การรับความรู้ ความเช่ือ ความคิด ดว้ ยการอ่านและการฟัง การฝึ กทกั ษะการสื่อสารจึงเป็ นการฝึ กทกั ษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน ให้สามารถ รับสารและส่งสารอยา่ งมีประสิทธิภาพ ธรรมชาติของภาษา ธรรมชาติของภาษาเป็ นคุณสมบตั ิของภาษาที่สาคญั มีคุณสมบตั ิพอสรุปได้ คือ ประการ ท่ีหน่ึง ทุกภาษาจะประกอบด้วยเสียงและความหมาย โดยมีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ในการใช้ อย่างเป็ นระบบ ประการที่สอง ภาษามีพลงั ในการงอกงามมิรู้สิ้นสุด หมายถึง มนุษยส์ ามารถใชภ้ าษา สื่อความหมายไดโ้ ดยไม่สิ้นสุด ประการที่สาม ภาษาเป็ นเรื่องของการใชส้ ัญลกั ษณ์ร่วมกนั หรือสมมติ ร่วมกัน และมีการรับรู้สัญลักษณ์หรือสมมติร่วมกัน เพื่อสร้างความเข้าใจตรงกัน ประการท่ีส่ี ภาษาสามารถใชภ้ าษาพูดในการติดต่อสื่อสาร ไม่จากดั เพศของผูส้ ่งสาร ไม่วา่ หญิง ชาย เด็ก ผูใ้ หญ่ สามารถผลดั กันในการส่งสารและรับสารได้ ประการท่ีห้า ภาษาพูดย่อมใช้ได้ท้งั ในปัจจุบนั อดีต และอนาคต ไม่จากัดเวลาและสถานท่ี ประการที่หก ภาษาเป็ นเครื่องมือการถ่ายทอดวฒั นธรรม และวชิ าความรู้นานาประการ ทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ แนวคดิ ในวรรณกรรม

แนวคิดในวรรณกรรมหรือแนวเร่ืองในวรรณกรรมเป็ นความคิดสาคญั ในการผูกเรื่องให้ ดาเนินเร่ืองไปตามแนวคิด หรือเป็ นความคิดที่สอดแทรกในเร่ืองใหญ่ แนวคิดยอ่ มเกี่ยวขอ้ งกบั มนุษย์ และสังคม เป็ นสารที่ผูเ้ ขียนส่งให้ผูอ้ ่าน เช่น ความดีย่อมชนะความชั่ว ทาดีได้ดีทาชั่วได้ช่ัว ความยุติธรรมทาให้โลกสันติสุข คนเราพน้ ความตายไปไม่ได้ เป็ นต้น ฉะน้ันแนวคิดเป็ นสารท่ี ผเู้ ขียนตอ้ งการส่งใหผ้ อู้ ่ืนทราบ เช่น ความดี ความยตุ ิธรรม ความรัก เป็นตน้ บริบท บริบทเป็ นคาท่ีแวดล้อมขอ้ ความท่ีอ่าน ผูอ้ ่านจะใช้ความรู้สึกและประสบการณ์มากาหนด ความหมายหรือความเขา้ ใจ โดยนาคาแวดล้อมมาช่วยประกอบความรู้และประสบการณ์ เพื่อทา ความเขา้ ใจหรือความหมายของคา พลงั ของภาษา ภาษาเป็ นเครื่องมือในการดารงชีวิตของมนุษย์ มนุษยจ์ ึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพ่ือการดารงชีวติ เป็ นเคร่ืองมือของการสื่อสารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาช่วยให้คนรู้จักคิดและ แสดงออกของความคิดดว้ ยการพูด การเขียน และการกระทาซ่ึงเป็ นผลจากการคิด ถา้ ไม่มีภาษา คนจะคิดไม่ได้ ถา้ คนมีภาษานอ้ ย มีคาศพั ทน์ อ้ ย ความคิดของคนกจ็ ะแคบไม่กวา้ งไกล คนที่ใชภ้ าษา ได้ดีจะมีความคิดดีด้วย คนจะใช้ความคิดและแสดงออกทางความคิดเป็ นภาษา ซ่ึงส่งผลไปสู่ การกระทา ผลของการกระทาส่งผลไปสู่ความคิด ซ่ึงเป็ นพลงั ของภาษา ภาษาจึงมีบทบาทสาคญั ต่อ มนุษย์ ช่วยให้มนุษยพ์ ฒั นาความคิด ช่วยดารงสังคมให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข มีไมตรีต่อกนั ช่วยเหลือกนั ดว้ ยการใชภ้ าษาติดต่อส่ือสารกนั ช่วยให้คนปฏิบตั ิตนตามกฎเกณฑ์ของ สังคม ภาษาช่วยให้มนุษยเ์ กิดการพฒั นา ใชภ้ าษาในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายโตแ้ ยง้ เพื่อนาไปสู่ผลสรุป มนุษยใ์ ชภ้ าษาในการเรียนรู้ จดบนั ทึกความรู้ แสวงหาความรู้ และช่วยจรรโลงใจ ดว้ ยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง ภาษายงั มีพลงั ในตวั ของมนั เอง เพราะภาพยอ่ มประกอบดว้ ยเสียงและ ความหมาย การใชภ้ าษาใช้ถอ้ ยคาทาให้เกิดความรู้สึกต่อผูร้ ับสาร ให้เกิดความจงเกลียดจงชงั หรือเกิด ความชื่นชอบ ความรักยอ่ มเกิดจากภาษาท้งั สิ้น ที่นาไปสู่ผลสรุปท่ีมีประสิทธิภาพ ภาษาถิ่น ภาษาถ่ินเป็ นภาษาพ้ืนเมืองหรือภาษาท่ีใชใ้ นทอ้ งถ่ิน ซ่ึงเป็ นภาษาด้งั เดิมของชาวพ้ืนบา้ นที่ใช้ พูดจากนั ในหมู่เหล่าของตน บางคร้ังจะใช้คาท่ีมีความหมายต่างกนั ไปเฉพาะถิ่น บางคร้ังคาท่ีใช้ พูดจากันเป็ นคาเดียว ความหมายต่างกันแล้วยงั ใช้สาเนียงที่ต่างกัน จึงมีคากล่าวที่ว่า “สาเนียง บอกภาษา” สาเนียงจะบอกว่าเป็ นภาษาอะไร และผูพ้ ูดเป็ นคนถ่ินใด อยา่ งไรก็ตามภาษาถ่ินใน

ประเทศไทยไม่ว่าจะเป็ นภาษาถ่ินเหนือ ถ่ินอีสาน ถิ่นใต้ สามารถส่ือสารเขา้ ใจกนั ได้ เพียงแต่ สาเนียงแตกต่างกนั ไปเท่าน้นั ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทีเรียกว่า ภาษาไทยกลางหรือภาษาราชการ เป็ นภาษาที่ใช้ ส่ือสารกนั ทวั่ ประเทศและเป็ นภาษาท่ีใช้ในการเรียนการสอน เพ่ือให้คนไทยสามารถใช้ภาษาราชการ ในการติดต่อสื่อสารสร้างความเป็ นชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คือภาษาท่ีใช้กนั ในเมืองหลวง ท่ีใช้ ติดต่อกนั ท้งั ประเทศ มีคาและสาเนียงภาษาท่ีเป็ นมาตรฐาน ตอ้ งพูดให้ชดั ถอ้ ยชดั คาไดต้ ามมาตรฐาน ของภาษาไทย ภาษากลางหรือภาษาไทยมาตรฐานมีความสาคัญในการสร้างความเป็ นปึ กแผ่น วรรณคดีมีการถ่ายทอดกนั มาเป็ นวรรณคดีประจาชาติจะใช้ภาษาท่ีเป็ นภาษาไทยมาตรฐานในการ สร้างสรรคง์ านประพนั ธ์ ทาใหว้ รรณคดีเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาภาษาไทยมาตรฐานได้ ภาษาพูดกบั ภาษาเขยี น ภาษาพูดเป็ นภาษาท่ีใชพ้ ูดจากนั ไม่เป็ นแบบแผนภาษา ไม่พิถีพถิ นั ในการใชแ้ ตใ่ ชส้ ่ือสารกนั ไดด้ ี สร้างความรู้สึกท่ีเป็ นกนั เอง ใชใ้ นหมู่เพ่ือนฝงู ในครอบครัว และติดต่อส่ือสารกนั อยา่ งไม่เป็ น ทางการ การใช้ภาษาพูดจะใชภ้ าษาท่ีเป็ นกนั เองและสุภาพ ขณะเดียวกนั ก็คานึงว่าพูดกบั บุคคลที่มี ฐานะต่างกนั การใช้ถอ้ ยคาก็ต่างกนั ไปดว้ ย ไม่คานึงถึงหลกั ภาษาหรือระเบียบแบบแผนการใชภ้ าษา มากนกั ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาที่ใชเ้ คร่งครัดตอ่ การใชถ้ อ้ ยคา และคานึงถึงหลกั ภาษา เพ่ือใชใ้ นการ ส่ือสารใหถ้ ูกตอ้ งและใชใ้ นการเขียนมากกวา่ พดู ตอ้ งใชถ้ อ้ ยคาท่ีสุภาพ เขียนใหเ้ ป็ นประโยค เลือกใช้ ถอ้ ยคาที่เหมาะสมกบั สถานการณ์ในการสื่อสาร เป็นภาษาที่ใชใ้ นพิธีการตา่ งๆ เช่น การกล่าวรายงาน กล่าวปราศรัย กล่าวสดุดี การประชุมอภิปราย การปาฐกถา จะระมดั ระวงั การใชค้ าที่ไม่จาเป็ นหรือ คาฟ่ ุมเฟื อย หรือการเล่นคาจนกลายเป็นการพูดหรือเขียนเล่นๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom) บางคร้ังเรียกว่า ภูมิปัญญาชาวบา้ น เป็ นกระบวนทศั น์ (Paradigm) ของคนในทอ้ งถ่ินท่ีมีความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคนกบั คน คนกบั ธรรมชาติ เพื่อความอยรู่ อด แต่คนในทอ้ งถิ่นจะสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบตั ิ เป็ นความรู้ ความคิด ท่ีนามาใช้ ในท้องถ่ินของตนเพื่อการดารงชีวิตท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ผู้รู้จึงกลายเป็ น ปราชญช์ าวบา้ นท่ีมีความรู้เกี่ยวกบั ภาษา ยารักษาโรคและการดาเนินชีวติ ในหมูบ่ า้ นอยา่ งสงบสุข ภูมปิ ัญญาทางภาษา

ภูมิปัญญาทางภาษาเป็ นความรู้ทางภาษา วรรณกรรมทอ้ งถิ่น บทเพลง สุภาษิต คาพงั เพย ในแต่ละทอ้ งถิ่น ท่ีไดใ้ ชภ้ าษาในการสร้างสรรคผ์ ลงานต่างๆ เพ่ือใชป้ ระโยชน์ในกิจกรรมทางสังคม ที่ต่างกนั โดยนาภูมิปัญญาทางภาษาในการส่ังสอนอบรมพิธีการต่างๆ การบนั เทิงหรือการละเล่น มีการแต่งเป็ นคาประพนั ธ์ในรูปแบบต่างๆ ท้งั นิทาน นิทานปรัมปรา ตานาน บทเพลง บทร้องเล่น บทเห่กล่อม บทสวดต่างๆ บททาขวญั เพื่อประโยชน์ทางสังคมและเป็ นส่วนหน่ึงของวฒั นธรรม ประจาถ่ิน ระดบั ภาษา ภาษาเป็ นวฒั นธรรมท่ีคนในสังคมจะตอ้ งใช้ภาษาให้ถูกตอ้ งกบั สถานการณ์และโอกาสที่ใช้ ภาษา บุคคลและประชุมชน การใช้ภาษาจึงแบ่งออกเป็ นระดับของการใช้ภาษาได้หลายรูปแบบ ตาราแตล่ ะเล่มจะแบ่งระดบั ภาษาแตกต่างกนั ตามลกั ษณะของสัมพนั ธภาพของบุคคลและสถานการณ์ การแบง่ ระดบั ภาษาประมวลไดด้ งั น้ี ๑. การแบ่งระดบั ภาษาท่ีเป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ ๑.๑ ภาษาที่ไม่เป็ นทางการหรือภาษาที่เป็ นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการประชุม ในการ กล่าวสุนทรพจน์ เป็นตน้ ๑.๒ ภาษาท่ีไม่เป็ นทางการหรือภาษาที่ไม่เป็ นแบบแผน เช่น การใชภ้ าษาในการสนทนา การใชภ้ าษาในการเขียนจดหมายถึงผคู้ ุน้ เคย การใชภ้ าษาในการเล่าเรื่องหรือประสบการณ์ เป็นตน้ ๒. การแบ่งระดบั ภาษาที่เป็ นพิธีการกบั ระดบั ภาษาท่ีไม่เป็ นพิธีการ การแบ่งภาษาแบบน้ีเป็ น การแบง่ ภาษาตามความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลเป็นระดบั ดงั น้ี ๒.๑ ภาษาระดบั พธิ ีการ เป็ นภาษาแบบแผน ๒.๒ ภาษาระดบั ก่ึงพิธีการ เป็นภาษาก่ึงแบบแผน ๒.๓ ภาษาระดบั ที่ไมเ่ ป็นพิธีการ เป็นภาษาไมเ่ ป็นแบบแผน ๓. การแบ่งระดบั ภาษาตามสภาพแวดลอ้ ม โดยแบ่งระดบั ภาษาในระดบั ยอ่ ยเป็ น ๕ ระดบั คือ ๓.๑ ภาษาระดบั พิธีการ เช่น การกล่าวปราศรัย การกล่าวเปิ ดงาน ๓.๒ ภาษาระดบั ทางการ เช่น การรายงาน การอภิปราย ๓.๓ ภาษาระดบั ก่ึงทางการ เช่น การประชุมอภิปราย การปาฐกถา ๓.๔ ภาษาระดบั การสนทนา เช่น การสนทนากบั บุคคลอยา่ งเป็นทางการ ๓.๕ ภาษาระดบั กนั เอง เช่น การสนทนาพูดคุยในหมู่เพื่อนฝงู ในครอบครัว วจิ ารณญาณ

วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทาความเขา้ ใจเร่ืองใดเรื่องหน่ึงอย่างมีเหตุผล การมีวจิ ารณญาณตอ้ งอาศยั ประสบการณ์ในการพิจารณาตดั สินสารดว้ ยความรอบคอบ และอยา่ งชาญฉลาด เป็ นเหตุเป็ นผล คณะผู้จดั ทา คณะทปี่ รึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ๑. คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา ที่ปรึกษาดา้ นพฒั นากระบวนการเรียนรู้ ๒. นายวนิ ยั รอดจ่าย ผอู้ านวยการสานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๓. นายสุชาติ วงศส์ ุวรรณ รองผอู้ านวยการสานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๔. นางเบญจลกั ษณ์ น้าฟ้า ๕. นางภาวนี ธารงเลิศฤทธ์ิ คณะทางานยกร่าง ๑. ศาสตราจารยก์ ิตติคุณสุจริต เพยี รชอบ ขา้ ราชการบานาญ ประธาน ๒. นางสุชาดา วยั วฒุ ิ ขา้ ราชการบานาญ คณะทางาน ๓. นางพจมาน พงษไ์ พบูลย์ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน คณะทางาน ๔. นางสาวรัตนทิพย์ เอ้ือชยั สิทธ์ิ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษานนทบุรี เขต ๑ คณะทางาน ๕. นางวนิดา เพช็ รปัญญา โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ คณะทางาน ๖. นางสาวสุรัตน์ ช่วงสูงเนิน โรงเรียนประถมนนทรี คณะทางาน ๗. นางโสภา ศรีวฒั นานุกลู กิจ โรงเรียนศึกษานารี คณะทางาน ๘. นางสิรี พ่ึงจิตตต์ น สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาปทุมธานี เขต ๑ คณะทางาน

๙. นางสมศิริ โพธ์ิพมุ่ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ คณะทางาน ๑๐. นายวศิ ิษฐ์ มีศรี โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช คณะทางาน ๑๑. นางสาวภิญญากร ผาพนั ธ์ โรงเรียนสารวทิ ยา คณะทางาน ๑๒. นางปราณี ปราบริปู สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๓. นางสาวปริญญา ฤทธ์ิเจริญ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๔. นางดรุณี จาปาทอง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๕. นางสาวพนู ศรี อิ่มประไพ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๖. นางบุษบา ประภาสพงศ์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๗. นางสาวนิจสุดา อภินนั ทาภรณ์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๘. นางสาวอรอร ฤทธ์ิกลาง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน และเลขานุการ ๑๙. นางมทั นา มรรคผล สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางานและ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ผชู้ ่วยเลขานุการ ๒๐. นางสาวสุภาวดี ตรีรัตน์ คณะทางานและ ผชู้ ่วยเลขานุการ คณะบรรณาธิการ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๑. นางปราณี ปราบริปู สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๒. นางวนิดา เพช็ รปัญญา สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๓. นางสาวสุรัตน์ ช่วงสูงเนิน สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๔. นางโสภา ศรีวฒั นานุกูลกิจ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๕. นางสมศิริ โพธ์ิพุม่ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๖. นางภาวนี ธารงเลิศฤทธ์ิ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๗. นางสาวรุ่งนภา นุตราวงศ์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๘. นางดรุณี จาปาทอง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๙. นางสาวพรนิภา ศิลป์ ประคอง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๑๐. นางสาวอรอร ฤทธ์ิกลาง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๑๑. นางมทั นา มรรคผล สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๑๒. นางสาวสุภาวดี ตรีรัตน์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๑๓. นางสาวกอบกุล สุกขะ

๑๔. นางสาวดวงใจ บุญยะภาส สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ฝ่ ายเลขานุการโครงการ ๑. นางสาวรุ่งนภา นุตราวงศ์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา หวั หนา้ โครงการ ๒. นางสาวจนั ทรา ตนั ติพงศานุรักษ์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๓. นางดรุณี จาปาทอง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๔. นางสาวพรนิภา ศิลป์ ประคอง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๕. นางเสาวภา ศกั ดา สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๖. นางสาวกอบกุล สุกขะ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๗. นางสุขเกษม เทพสิทธ์ิ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๘. นายวรี ะเดช เช้ือนาม สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๙. วา่ ท่ี ร.ต. สุราษฏร์ ทองเจริญ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๐. นางสาวประภาพรรณ แมน้ สมุทร สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๑. นายอนุจินต์ ลาภธนาภรณ์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน คณะผู้รับผดิ ชอบกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑. นางปราณี ปราบริปู สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๒. นางดรุณี จาปาทอง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๓. นางสาวอรอร ฤทธ์ิกลาง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๔. นางมทั นา มรรคผล สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๕. นางสาวสุภาวดี ตรีรัตน์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๖. นางสาวดวงใจ บุญยะภาส สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook