Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กัญธิญา ดูเจ (1)

กัญธิญา ดูเจ (1)

Published by fasaipai123, 2021-12-07 13:53:29

Description: กัญธิญา ดูเจ (1)

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนินงาน โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล) ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ นำเสนอโดย กัญธิญา ดูเจ U2T ตำบลบ้านจันทร์ บัณฑิตจบใหม่

วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของตำบล (Community Data) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ และตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาแบบมีเป้าหมายชัดเจน 2. เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของตำบล โดยระบุประเด็นปัญหาและความต้องการ ของชุมชน 3. เพื่อบูรณาการโครงการ (System Integrator) ของตำบล โดยประสานงานและทำงาน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการดำเนินโครงการภายในพื้นที่ 4. เพื่อบูรณาการและสนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ที่ไปดำเนินการโครงการภายในตำบล ใน ด้านองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 5. เพื่อพัฒนาทักษะให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ “การจ้างงานตามภารกิจต่างๆ ของ มหาวิทยาลัย สำหรับประชาชนทั่วไป บัณฑิตจบใหม่ และนักศึกษา เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด ระดับเศรษฐกิจและสังคมของตำบลบ้านจันทร์ได้รับการพัฒนาความสามารถ ประยุกต์ใช้ได้อย่างยั่งยืน 1. การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ 2. การสร้างและพัฒนา Creative Economy 3. การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน 4. การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม Circular Economy ระยะเวลาการดำเนินงาน เริ่มต้น กุมภาพันธ์ 2564 สิ้นสุด มกราคม 2565

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1ประชุมเตรียมความพร้อมและวางกระบวนการในการดำเนิน กิจกรรม ขั้นตอนที่ 2 จัดเวทีการสร้างความเข้าใจระหว่างทีมงานคนทำงาน ชุมชนและ หน่วยงานองค์กรในพื้นที่ ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานชุมชน ขั้นตอนที่ 3 ทำงานกับทุกภาคส่วนอย่างมีส่วนร่วม ขั้นตอนที่ 4 แบ่งบทบาท หน้าที่ รับผิดชอบประเด็นงานให้ทีมที่ชัดเจน ขั้นตอนที่ 5 ทบทวนผลการดำเนินและสรุปปิดการดำเนินงานโครงการ ผลการดำเนินงาน ประชุมคณะทำงานเพื่ อวางแผนงานการทำงาน 1. วางแผนงานและจัดทำปฏิทินลงพื้นที่ชี้แจงความเข้าใจโครงการให้กับชุมชน 2. เก็บข้อมูลผู้นำชุมชน เพื่อการติดต่อประสานงานในการลงพื้นที่ชี้แจงการ ปฏิบัติงานในชุมชน 3. สำรวจผลิตภัณฑ์ จุดเด่น ของหมู่บ้านต่างๆ เพื่อนำมายกระดับคุณภาพชีวิตให้ กับชุมชน 4. แบ่งกลุ่มเพื่อรับผิดชอบหมู่บ้านต่างๆ 5. นำเสนอจุดเด่น ความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของแต่ละหมู่บ้าน

สรุปการประชุมวางกระบวนการและผู้รับชอบงานในพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านห้วยฮ่อม/บ้านดอยตุง รับผิดชอบโดย นางสาวนิตยาสิริพัฒนไพศาล นางสาวเบญจพร ตะแก ประเด็นงานยกระดับส่งเสริมอาชีพ ออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าทอตามยุคสมัย และ แปรรูปเคพกุ้สเบอรี่ หมู่ที่ 2 บ้านสันม่วง/บ้านห้วยครก รับผิดชอบโดย นายภาสกร เจตจำนงค์กุล นางสาวกัญธิญา ดูเจ ประเด็นงานยกระดับส่งเสริมอาชีพ ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน หมู่ที่ 3 บ้านวัดจันทร์/บ้านห้วยอ้อ รับผิดชอบโดย นางไพรินทร์ พานทอง ประเด็นงานยกระดับส่งเสริมอาชีพ ด้านผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ หมู่ที่ 4 บ้านหนองเจ็ดหน่วย/บ้านห้วยบง รับผิดชอบโดย นายณรงค์ชัย สันติชัยชาญ นายวิลาส วิเวกวณารมย์ ประเด็นงานยกระดับส่งเสริมอาชีพ แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร อาโวคาโด กาแฟ หมู่ที่ 5 บ้านแจ่มน้อย รับผิดชอบโดย นายทนีย์ศักดิ์ ปิ่ นเพชรกุล / นางกัลยา เขตเนาว์อนุรักษ์ ประเด็นงานยกระดับส่งเสริมอาชีพ แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร กล้วย ฟักทอง หมู่ที่ 6 บ้านหนองแดง/บ้านโป่งขาว รับผิดชอบโดย นางสาวดาวฤมล สิทธิ์คงชนะ ประเด็นงานยกระดับส่งเสริม อาชีพ ผ้าทอลายประยุกต์ หมู่ที่ 7 บ้านเด่น รับผิดชอบโดย นายเนติพงษ์ พิทักษ์คีรีภูมิ / นางสาวสิริกาญจนา เลิศดำเนิน ประเด็นงานยกระดับส่งเสริมอาชีพ ด้านทำของที่ระลึกโดยใช้วัสถุดิบธรรมชาติใน ชุมชน

ผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ชี้แจงการดำเนินงานโครงการ MJU๒T วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 ลงพื้นที่จัดเวทีชี้แจง ณ บ้านหนองแดง หมู่ที่ ๖ ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ ชี้แจง ทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่หนองแดง โดยชี้แจงความเป็นมา โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ ตำบล) MJU2T พร้อมทั้งแนะนำ ทีมงานที่รับผิดชอบประเด็นงานแต่ละหมู่ที่ และ มีหน่วยงาน องค์กรในพื้นที่เข้าร่วม ดังนี้ 1. นางสาวจุฑามาศ โชติพงศ์ ปลัดอำเภอกัลยาณิวัฒนา 2. นางภัชรินทร์ ใสส่อง เจ้าพนักงานธุรการ สำนักงานเกษตรอำเภอ กัลยาณิวัฒนา 3. นายพงศกร สัตตนาโค นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอกัลยาณิวัฒนา 4. นายอัครเดช เรืองกิจคณิต นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านจันทร์ 5. นายสะอาด ยานะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สนง.อบต.บ้านจันทร์ 6. นายบุญนงค์ สุริยะชัยพันธ์ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด เชียงใหม่ 7. นายวัชระ พิริยะวรคุณ กำนันตำบลบ้านจันทร์ 8.นายภูวนัตถ์ เด่นคีรีรัตน์ สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 6 บ้าน หนองแดง

ผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ชี้แจงการดำเนินงานโครงการ MJU2T วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 ลงพื้นที่จัดเวทีชี้แจง ณ บ้านวัดจันทร์ หมู่ที่ 3 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ ชี้แจง ทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่บ้านวัดจันทร์ โดยชี้แจงความ เป็นมา โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล) MJU2T พร้อมทั้งแนะนำ ทีมงานที่รับผิดชอบประเด็นงาน แต่ละหมู่ที่ และมีหน่วยงาน องค์กรในพื้นที่เข้าร่วม ดังนี้ 1. นางสาวจุฑามาศ โชติพงศ์ ปลัดอำเภอกัลยาณิวัฒนา 2. นายแดงดี แจ่มจันทร์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 3. นายธีรชัย คีรีชัยพฤกษา ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 4. นายบุญชัย จุติไพรร่มใจจริง ส.อบต. หมู่ที่ 3 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วัฒนา

ผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ชี้แจงการดำเนินงานโครงการ MJU2T วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2564 ลงพื้นที่จัดเวทีชี้แจง ณ บ้านสันม่วง หมู่ที่ 2 ต. บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ ชี้แจง ทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่บ้านสันม่วง โดยชี้แจงความเป็น มา โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัย สู่ตำบล) MJU2T พร้อมทั้งแนะนำ ทีมงานที่รับผิดชอบประเด็นงานแต่ละหมู่ที่ และมีหน่วยงาน องค์กรในพื้นที่เข้าร่วม ดังนี้ 1.นายอุดมสิทธิ์ สันติกัลยา ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วัฒนา 2.นายสนดิ บัญพรเฉลิมกุล สอบต. หมู่ที่ 2 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วัฒนา 3.นายประพันธ์ ชาญยุทธคีรี ผู้อำนวยการ รพสต.ห้วยบง ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 4.นายสนอง ชาญยุทธคีรี ศิยาภิบาลคริสตจักรบ้านสันม่วง หมู่ที่ 2 ต.บ้าน จันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา

ผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ชี้แจงการดำเนินงานโครงการ MJU2T วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ลงพื้นที่จัดเวทีชี้แจง ณ บ้านหนองเจ็ดหน่วย/บ้าน ห้วยบง หมู่ที่ 4 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ ชี้แจง ทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่บ้านหนองเจ็ดหน่วย/บ้านห้วย บง โดยชี้แจงความเป็นมา โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบ บูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล) MJU2T พร้อมทั้งแนะนำ ทีมงานที่รับผิดชอบ ประเด็นงานแต่ละหมู่ที่ และมีหน่วยงาน องค์กรในพื้นที่เข้าร่วม ดังนี้ 1. นายกิตติพงษ์ นุกา ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 2. นายสุนทร เต่อคีซะ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วัฒนา 3. นายสุริยัน ศรีมาลี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วัฒนา 4. นายธีรนันท์ สิทธิ์คงตั้ง สอบต. หมู่ที่ 4 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 5. นายอัครเดช เรืองกิจคณิตนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านจันทร์ 6. นายสะอาด ยานะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สนง.อบต.บ้านจันทร์ 7. นายจีรศักดิ์ขันแก้ว ตัวแทนครูโรงเรียนสหมิตรวิทยา หมู่ที่ 4 ต.บ้าน จันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา

ผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ชี้แจงการดำเนินงานโครงการ MJU2T วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564 ลงพื้นที่จัดเวทีชี้แจง ณ บ้านเด่น หมู่ที่ 7 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ ชี้แจง ทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่บ้านเด่น โดยชี้แจงความเป็นมา โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ ตำบล) MJU2T พร้อมทั้งแนะนำ ทีมงานที่รับผิดชอบประเด็นงานแต่ละหมู่ที่ และ มีหน่วยงาน องค์กรในพื้นที่เข้าร่วม ดังนี้ 1. นายสุรชัย พิทักษ์คีรีภูมิ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วัฒนา จ.เชียงใหม่ 2. นายสุรพล พัฒนาไพรศาล ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ 3. นายศรชัย โพดู ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ 4. นายสามารถ เด่นเจิดจ้า สอบต.หมู่ที่ 7 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ 5. นายวีระศักดิ์ แจ่มจันทร์ สอบต.หมู่ที่ 7 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ 6. นางอรุณี สุริยะมณฑล ตัวแทนครูโรงเรียนบ้านจัทร์

ผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ชี้แจงการดำเนินงานโครงการ MJU2T วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564 ลงพื้นที่จัดเวทีชี้แจง ณ บ้านห้วยฮ่อม/บ้านดอย ตุง หมู่ที่ 1 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ ชี้แจง ทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ บ้ายห้วยฮ่อม/บ้านดอยตุง โดย ชี้แจงความเป็นมา โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณา การ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล) MJU2T พร้อมทั้งแนะนำ ทีมงานที่รับผิดชอบ ประเด็นงานแต่ละหมู่ที่ และมีหน่วยงาน องค์กรในพื้นที่เข้าร่วม ดังนี้ 1.นายชัยรัตน์ ม่วคีรีคาม ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิ วัฒนา 2.นายธนชัย เวทย์รัตน์ทวี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 3. นายศรชัย สิริพัฒนาไพศาล ประธานสภาอบต.บ้านจันทร์ หมู่ที่ ๑ ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 4. นายฤทธิศักดิ์ ศรวันเพ็ญสอบต. หมู่ที่ 1 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 5. นายสะอาด ยานะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ องค์การ บริหารส่วนตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ชี้แจงการดำเนินงานโครงการ MJU2T วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 ลงพื้นที่จัดเวทีชี้แจง ณ บ้านแจ่มน้อย หมู่ที่ 5 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ ชี้แจง ทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ บ้ายห้วยฮ่อม/บ้านดอยตุง โดย ชี้แจงความเป็นมา โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณา การ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล) MJU2T พร้อมทั้งแนะนำ ทีมงานที่รับผิดชอบ ประเด็นงานแต่ละหมู่ที่ และมีหน่วยงาน องค์กรในพื้นที่เข้าร่วม ดังนี้ 1. นายสิงห์ศักดิ์ แกละหมื่โดะ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 2.นายนายฉลอง เปล่งประกายพร ประธานสภาอบต.บ้านจันทร์ หมู่ที่ 5 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา 3. นางภัชรินทร์ ใสส่อง เจ้าพนักงานธุรการ สำนักงานเกษตรอำเภอ กัลยาณิวัฒนา 4. นายพงศกร สัตตนาโค นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอกัลยาณิวัฒนา 5. นายอัครเดช เรืองกิจคณิต นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านจันทร์ 6. นายสะอาด ยานะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ องค์การ บริหารส่วนตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงาน ลงพื้ นที่เก็บข้อมูล ลงพื้นที่เก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อนำข้อมูลมาประกอบการด​ ำเนินงานโครงการยก ระดับ​เศรษฐกิจ​และ​สังคมของชุมชนตำบลบ้านจันทร์ ให้นำไปสู่การดำเนินชีวิตที่ ยั่งยืน สรุปงานเก็บข้อมูลและคีย์ข้อมูลเข้าสู่ระบบ เป็นการเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆ เช่น เกษตรกรรม อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม การแพทย์แผนไทยการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กองทุนและธุรกิจชุมชน ศาสนาและประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ด้านพืช ด้าน ผลิตภัณฑ์และการแปรรูป ด้านสัตว์ด้านเครื่องมือ เครื่องใช้ทางการเกษตร ด้าน ประมง เป็นต้น

ข้อมูลที่นำไปสู่การยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของบ้านสันม่วง โปรไฟล์หมู่บ้านเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถต่อยอดงานได้ เพราะหมู่บ้านมีทุน เดิมที่ทำให้คนทำงานมีแนวทางในการส่งเสริม ผลักดัน ตรงตามทรัพยากรและองค์ ความรู้ที่ชุมชนมีอยู่

สรุปข้อ มูลที่นำไปสู่การยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของบ้านสันม่วง หมู่ที่ 2 ต.บัานจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ ข้อมูลผลผลิตรายปีของชุมชนบ้านสันม่วง

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 1. วางแผนการเก็บข้อมูลการเฝ้าระวัง สถานการณ์การระบาดของ COVID โรคระบาดใหม่ ติดตามผู้ป่วยและ กลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 2. รวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวัง สถานการณ์การระบาดของ COVID โรคระบาดใหม่ ติดตามผู้ป่วยและ กลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา พื้นที่ ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 3. วิเคราะห์ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในการเฝ้าระวัง สถานการณ์การระบาดของ COVID โรคระบาดใหม่ ติดตามผู้ป่วยและ กลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา พื้นที่ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 4. ชี้แจงรายละเอียดข้อมูลที่ถูกจัดเก็บจากการเฝ้าระวัง สถานการณ์การ ระบาดของ COVID โรคระบาดใหม่ ติดตามผู้ป่วยและ กลุ่มเสี่ยง การส่งต่อ การรักษา ให้กับผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 5. จัดทำระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค นโยบาย แนวทาง และงบประมาณสนับสนุนในการเฝ้าระวังสถานการณ์การระบาดของ COVID โรคระบาดใหม่ ติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา ใน พื้นที่ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 6. ถ่ายทอดข้อมูล นโยบาย และแนวทางในการเฝ้าระวัง สถานการณ์การ ระบาดของ COVID โรคระบาดใหม่ ติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อ การรักษา ให้กับ ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 7. สนับสนุนการดำเนินงานในการเฝ้าระวัง สถานการณ์การระบาดของ COVID โรคระบาดใหม่ ติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา กับ ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 8. จัดประชุมติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการฯ รวมถึงการ เก็บรวบรวม ข้อมูลปัญหาและอุปสรรคของโครงการฯ ในพื้นที่ตำบลบ้าน จันทร์

ผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ ตาม แบบข้อตกลงจ้าง TOR 5 ด้าน ด้านที่ 2 การเฝ้าระวัง ประสานงานและติดตามข้อมูลสถานการณ์การ ระบาดของ COVID และโรคระบาดใหม่ การเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา การ ประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การ ปรับสภาพแวดล้อม ระบบรายงานสถานการณ์การระบาดของโรค (การ สอบสวนโรค การคัดกรองเพื่อจัดระดับ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย กลุ่มสัมผัส การวิเคราะห์สถานการณ์แนวโน้ม การ ระบาดในพื้นที่) (ร่วมกับ ศบค.) 9. รายงานผลการปฏิบัติงานในการเฝ้าระวัง สถานการณ์การระบาดของ COVID โรคระบาดใหม่ ติดตามผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง การส่งต่อการรักษา กับ ผู้นำชุมชน ให้แก่ ผู้นำชุมชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ และ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยจัดทำเป็นรายงานแบบดิจิทัล

ผลการดำเนินงาน ภายใต้โครงการ กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 1.การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ กิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการแปรรูปผลผลิตจาก การเกษตรในชุมชน เช่น มะขามป้อมแช่อิ่ม ลูกประคบสมุนไพร ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและออกแบบบรรจุภัณฑ์ ขยายการตลาดสมัยใหม่โดยการสร้างเพจสู่ตลาดออนไลน์

ผลการดำเนินงาน ภายใต้โครงการ กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 2.การสร้างและพัฒนา Creative Economy กิจกรรมส่งเสริมการปลูกพืชผักปลอดสารเคมีเพื่อจำหน่าย เช่น แตงกวา พริก ผักสวนครัว เป็นต้น

ผลการดำเนินงาน ภายใต้โครงการ กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 3.การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ลงชุมชนร่วมกับ สสอ. / รพ.สต. และโรงพยาบาล ให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรค โควิด-19 พร้อมทั้งสร้างความเข้าใจเรื่องการรับวัคซีน โค วิด-19 ลงชุมชนร่วมกับ สสอ. / รพ.สต. และโรงพยาบาล ให้ความรู้ เรื่องการป้องกัน โรค โควิด-19 พร้อมทั้งสร้างความเข้าใจเรื่องการรับวัคซีน โควิด-19

ผลการดำเนินงาน ภายใต้โครงการ กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 4. การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม Circular Economy กิจกรรม ปลูกต้นสนในพื้นที่บริเวณป่าต้นน้ำ ร่วมกับหน่วยงานป่าไม้ ผู้นำชุมชน และชาวบ้านบ้านวัดจันทร์

ผลการดำเนินงาน ภายใต้โครงการ กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 5. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรมคณะทำงานทุกฝ่ายลงพื้นที่ขับเคลื่อนตามพันธกิจและข้อตกลง ภาระ งาน (TOR) กระบวนการทำงาน 1. ทีมงานคณะทำงาน U2T ประชุมวางสรุปการดำเนินงานเดือนละครั้ง เพื่อ ค้นหาความสำเร็จงาน ปัญหาของการดำเนินงานและร่วมกันวางกระบวนการ ทำงานและทิศทางการแก้ไขปัญหา 2. คณะทำงานทุกฝ่ายลงพื้นที่ขับเคลื่อนตามพันธกิจและข้อตกลง ภาระงาน (TOR) กระบวนการทำงาน 3. ที่ปรึกษาลงพื้นที่ นิเทศ ติดตามและให้ข้อเสนอแนะ แนวทางการทำงานที่จะไป สู่ความสำเร็จเป้าตัวชี้วัดที่วางไว้

กิจกรรมพัฒนาสัมมาชีพเพื่อพัฒนาตนเอง กิจกรรมที่ 1 การแปรรูปมะขามป้อม โดยการทำมะขามป้อมแช่อิ่ม

กิจกรรมพัฒนาสัมมาชีพเพื่อพัฒนาตนเอง กิจกรรมที่ 2 เพิ่มมูลค่าสมุนไพร ด้วยการทำลูกประคบสมุนไพร

กิจกรรมพัฒนาสัมมาชีพเพื่อพัฒนาตนเอง กิจกรรมที่ 3 การปลูกพืชผักทางการเกษตร เพื่อให้เป็นรายได้ของตัวเองและ ครอบครัว เช่น การปลูกพริก แตงกวา ผักสวนครัว ถั่วลิสง ข้าวโพด ถั่วแดง และ มันม่วง

พัฒนาสัมมาชีพเพื่ อพัฒนาตนเอง สรุปรายรับ รายจ่ายก่อนเข้าร่วมโครงการ

พัฒนาสัมมาชีพเพื่อพัฒนาตนเอง สรุปรายรับ รายจ่ายหลังเข้าร่วมโครงการ หลังเข้าร่วมโครงการจึงสรุปได้ว่าการทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย มีประโยชน์เป็นอย่าง มากเพราะก่อนเข้าร่วมโครงการไม่ได้มีการจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายจึงไม่ทราบข้อมูล รายรับ-รายจ่ายในครัวเรือนเลยโดยเฉพาะรายจ่ายที่สูงรายรับพอเข้าร่วมโครงการได้มี การจดบันทึกราย-รายจ่ายทำให้ทราบถึงรายจ่ายพอทราบแล้วครัวเรือนการลดรายจ่าย ที่ไม่จำเป็นและช่วยกันประหยัดหารายได้เพิ่มโดยการพัฒนาสัมมาชีพโดยได้รับความรู้ คำแนะนำจากโครงการ

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตนเองจากการมีส่วนร่วม ในแผนกิจกรรมของโครงการ 1. ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว รวมถึงการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านในตำบลบ้านจันทร์โดยการนำผลผลิตที่มี ของชุมชนนำมาแปรรูปเพื่อสร้างรายได้รวมทั้งการสร้างสภาพแวดล้อมให้ ชุมชนร่วมกันคิดร่วมกันทำและมีการเรียนรู้เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันอันจะ นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาว ทั้งนี้เพื่อการพัฒนาเกิดความยั่งยืนควรมี กิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 2. ได้ฐานข้อมูลชุมชนองค์ความรู้และวัฒนธรรม

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตนเองจากการมีส่วนร่วม ในแผนกิจกรรมของโครงการ 2. ได้ฐานข้อมูลชุมชนองค์ความรู้และวัฒนธรรม

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตรเองจากการมีส่วนร่วม ในแผนกิจกรรมของโครงการ

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตรเองจากการมีส่วนร่วมใน แผนกิจกรรมของโครงการ

ประยุกต์ใช้ประสบการณ์จากการดำเนินงาน โครงการเพื่ อความมั่ นคงในวิชาชีพ 1.นำความรู้ในการแปรรูปผลผลิตที่มีในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ ถ่ายทอดให้ชาว บ้านเพื่อเป็นอาชีพใหม่และเป็นอาชีพที่ยั่งยืนต่อไป 2.จัดอบรมเกี่ยวกับการเพิ่มมูลค่าของสมุนไพรพื้นบ้าน และส่งเสริมการปลูก สมุนไพรเพิ่มจากเดิม 3.ได้มีการจัดทำแผนชุมชนของแต่ละชุม เพื่อเป็นการต่อยอดในการสร้างราย ได้ที่ยั่งยืนให้กับชุมชน 4.สร้างกลุ่มสมาชิกในการทำงานเพื่อให้เป็นผู้ขับเคลื่อนและต่อยอดงานที่ โครงการได้สร้างไว้

กระบวนการทำแผนชุมชนบ้านสันม่วง จุดเริ่มต้นสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน 1.การศึกษาพัฒนาการของชุมชน โดยการศึกษา สํารวจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลทุก ๆ ด้านของชุมชน เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านประเพณี วัฒนธรรม 2. เตรียมการจัดเวทีสร้างความตระหนักร่วมในการเป็นเจ้าของชุมชน ร่วมกัน เช่น การร่วม คิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ทุกขั้นตอน 3. ร่วมกันกําหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม และเขียนเอกสารแผน งาน โครงการและ กิจกรรมที่จะพัฒนาแก้ปัญหาหรือป้องกันปัญหา 4. จัดฝึกอบรม เพิ่มเติมประสบการณ์ความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่สําคัญ ที่กําหนดไว้ในแผน เพื่อขยายผลการเรียนรู้ไปยังคนในชุมชน 5. จัดระบบภายใน เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งให้กับชุมชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook