Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปงาน 1 ปี วิลาส วิเวกวณารมณ์ (1)

สรุปงาน 1 ปี วิลาส วิเวกวณารมณ์ (1)

Published by fasaipai123, 2021-12-27 08:48:48

Description: สรุปงาน 1 ปี วิลาส วิเวกวณารมณ์ (1)

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนินงาน โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล) ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ นำ เ ส น อ โ ด ย นายวิลาส วิเวกวณารมณ์ U2T ตำบลบ้านจันทร์ ประชาชนทั่วไป

วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลของตำบล (Community Data) เพื่อใช้เป็นข้อมูล ในการวิเคราะห์และตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาแบบมีเป้าหมายชัดเจน 2. เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของตำบล โดยระบุประเด็นปัญหาและ ความต้องการของชุมชน 3. เพื่อบูรณาการโครงการ (System Integrator) ของตำบล โดยประสานงาน และทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการดำเนินโครงการภายในพื้นที่ 4. เพื่อบูรณาการและสนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ที่ไปดำเนินการโครงการ ภายในตำบล ในด้านองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 5. เพื่อพัฒนาทักษะให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ “การจ้างงานตามภารกิจต่างๆ ของมหาวิทยาลัย สำหรับประชาชนทั่วไป บัณฑิตจบใหม่ และนักศึกษา เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด ระดับเศรษฐกิจและสังคมของตำบลบ้านจันทร์ ได้รับการพัฒนา ความสามารถ ประยุกต์ใช้ได้อย่างยั่งยืน 1. การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ 2. การสร้างและพัฒนา Creative Economy 3. การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน 4. การส่งเสริมด้านสิ่งปวดล้อม Circular Economy ระยะเวลาการดำเนินงาน เริ่มต้น 1 กุมภาพันธ์ 2564 สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2564

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1ประชุมเตรียมความพร้อมและวางกระบวนการในการดำเนิน กิจกรรม ขั้นตอนที่ 2 จัดเวทีการสร้างความเข้าใจระหว่างทีมงานคนทำงาน ชุมชนและ หน่วยงานองค์กรในพื้นที่ ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานชุมชน ขั้นตอนที่ 3 ทำงานกับทุกภาคส่วนอย่างมีส่วนร่วม ขั้นตอนที่ 4 แบ่งบทบาท หน้าที่ รับผิดชอบประเด็นงานให้ทีมที่ชัดเจน ขั้นตอนที่ 5 ทบทวนผลการดำเนินและสรุปปิดการดำเนินงานโครงการ ผลการดำเนินงาน ประชุมคณะทำงานแจ้งแผนการดำเนินงานและมอบหมายงาน คณะทำงานแบบรายหมู่บ้าน 1. แจ้งแผนการดำเนินงานและจัดทำปฏิทินลงพื้นที่ชี้แจงความเข้าใจโครงการ ให้กับชุมชน 2.สำรวจข้อมูลผู้นำชุมชน เป็นข้อมูลการติดต่อประสานงานและเป็นพี่เลี้ยงใน การลงพื้ นที่ชี้แจงการปฏิบัติงานในชุมชน 3. สำรวจผลิตภัณฑ์ จุดเด่น ของหมู่บ้านต่างๆ เพื่อนำมายกระดับคุณภาพชีวิต ให้กับชุมชน 4. แบ่งกลุ่มเพื่อรับผิดชอบหมู่บ้านต่างๆ 5. นำเสนอจุดเด่น ความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของแต่ละหมู่บ้าน

สรุปการประชุมวางกระบวนการและผู้รับชอบงานในพื้นที่

ผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ชี้แจงการดำเนินงานโครงการ MJU2T

ผลการดำเนินงาน กำหนดการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชุมชน

ผลการดำเนินงาน การสำรวจข้อมูลพื้ นฐานประชากรตำบลบ้านจันทร์ ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานเพื่อนำข้อมูลมาประกอบการด​ ำเนินงานโครงการ ยกระดับ​เศรษฐกิจ​และ​สังคมของชุมชนตำบลบ้านจันทร์ ให้นำไปสู่การดำเนินชีวิต ที่ยั่งยืน การสำรวจข้อมูลด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน เป็นการเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆ เช่น เกษตรกรรม อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม การแพทย์แผนไทย การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กองทุนและธุรกิจชุมชน ศาสนาและประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ด้านพืช ด้านผลิตภัณฑ์และการแปรรูป ด้านสัตว์ ด้านเครื่องมือ เครื่องมือใช้ทางการเกษตร ด้านประมง เป็นต้น

สรุปผลการดำเนินกิจกรรมลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานชุมชน

สรุปผลการดำเนินกิจกรรมลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานชุมชน

ผลการดำเนินงาน สรุปข้อมูล ที่นำไปสู่การยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของ บ้านหนองเจ็ดหน่วย / ห้วยบง หมู่ที่ 4 ต.บัานจันทร์ อ.กัลยาณิ วัฒนา จ.เชียงใหม่ 1. โปรไฟล์หมู่บ้านเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถต่อยอดงานได้ เพราะหมู่บ้าน มีทุนเดิมที่ทำให้คนทำงานมีแนวทางในการส่งเสริม ผลักดัน ตรงตามทรัพยากร และองค์ความรู้ที่ชุมชนมีอยู่

สรุปข้อมูลที่นำไปสู่การยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของบ้าน หนองเจ็ดหน่วย/ห้วยบง หมู่ที่ 4 ต.บัานจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ 2. ลงพื้นที่สำรวจปราชญ์ชุมชน เพื่อจัดทำข้อมูลเชิงเลิกในการพัฒนา ส่ง เสริม ผลักดัน กลุ่มอาชีพในชุมชน

สรุปข้อมูลที่นำไปสู่การยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของ ตำบลบัานจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ 3. ข้อมูลผลผลิตรายปีของชุมชนตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การ ยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การปรับปรุงการผลิตให้ทันสมัย ด้านสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตชุมชน ด้านเกษตรมาแปรรูป ยกระดับ สินค้า OTOP การท่องเที่ยว

กิจกรรมการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) 1.เก็บข้อมูลด้านการเกษตรประเภทพืช/สัตว์/ประมง การพัฒนาสัมมาชีพและสร้าง อาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ 1.1 ประสานแกนนำชุมชนให้ประชาชนผู้สนใจเข้ามาเป็นสมาชิกวิสาหกิจชุมชน (Super Famer) 1.2 โรงเพาะชำ ลงพื้นที่สำรวจกล้าพันธุ์ไม้ แล้วรับซื้อกล้าไม้ของชุมชน 1.3 นำข้อมูลความรู้ที่ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะอาชีพให้กับกลุ่มเกษตกร สมาชิก วิสาหกิจชุมชน นำผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปไปจำหน่ายต่อ เป็นการการเพิ่มรายได้ หมุนเวียนให้แก่ชุมชน 2.สรุปข้อมูลด้านการเกษตรประเภทพืช/สัตว์/ประมง จากการเก็บข้อมูลการพัฒนา สัมมาชีพและ สร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การสร้างและ พัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ 2.1 ทำโรงเพาะชำเป็นแหล่งเรียนรู้และจัดทำชุดองค์ความรู้ด้านการเพาะกล้าไม้ ใช้ในการพัฒนาทักษะอาชีพให้กับกลุ่มเกษตกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชน 3.บันทึกภาพกิจกรรมในการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่อง เที่ยว) ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ 3.1กลุ่มเกษตกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชน นำกล้าไม้ที่เพาะจำหน่าย ไปปลูกลง แปลง 4. จัดเตรียมสถานที่ในการจัดกิจกรรมในโครงการอำนวยความสะดวกและตรวจสอบ ความเรียบร้อยในการดำเนินโครงการ ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ 4.1จัดเตรียมสถานที่ในการจัดกิจกรรม อำนวยความสะดวก ให้กับกลุ่มผู้สนใจการ เพาะกล้าไม้มาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเรียนรู้ร่วมกัน 4.2จัดเตรียมพันธุ์กล้าไม้ ให้กับกลุ่มเกษตกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชน นำกล้าไม้ที่ เพาะด้วยกัน ไปจำหน่าย เพิ่มรายได้ในครัวเรือน 5.จัดทำเอกสารรายงานในการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับ สินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับ การท่องเที่ยว) ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การ ยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การปรับปรุงการผลิตให้ทันสมัย ด้านสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตชุมชน ด้านเกษตรมาแปรรูป ยกระดับ สินค้า OTOP การท่องเที่ยว ประชาสัมพันธ์ ประสานงาน ในการนำองค์ความรู้ด้านการเกษตรประเภทพืช ไปบูรณาการกับการให้บริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการ ส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ 1.ประสานแกนนำชุมชนให้ประชาชนผู้สนใจเข้ามาเป็นสมาชิกวิสาหกิจชุมชน (Super Famer) ทำเนียบสมาชิกกลุ่ม ดังนี้

ผลการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การ ยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การปรับปรุงการผลิตให้ทันสมัย ด้านสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตชุมชน ด้านเกษตรมาแปรรูป ยกระดับ สินค้า OTOP การท่องเที่ยว ประชาสัมพันธ์ ประสานงาน ในการนำองค์ความรู้ด้านการเกษตรประเภทพืช ไปบูรณาการกับการให้บริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการ ส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ 2.สร้างโรงเพาะชำ ลงพื้นที่สำรวจกล้าพันธุ์ไม้ แล้วรับซื้อกล้าไม้ของชุมชน

ผลการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การ ยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การปรับปรุงการผลิตให้ทันสมัย ด้านสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตชุมชน ด้านเกษตรมาแปรรูป ยกระดับ สินค้า OTOP การท่องเที่ยว เก็บข้อมูลการการนำองค์ความรู้ด้านการเกษตรประเภทพืช/สัตว์/ประมง ไป ช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการส่งเสริมด้านสิ่ง แวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชน ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ นำข้อมูลความรู้ที่ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะอาชีพให้กับกลุ่มเกษตกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชน นำผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปไปจำหน่ายต่อ เป็นการการเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน

ผลการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การ ยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การปรับปรุงการผลิตให้ทันสมัย ด้านสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตชุมชน ด้านเกษตรมาแปรรูป ยกระดับ สินค้า OTOP การท่องเที่ยว สรุปองค์ความรู้ด้านการเกษตรประเภทพืช/สัตว์/ประมง ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ตำบลบ้าน จันทร์ ทำโรงเพาะชำเป็นแหล่งเรียนรู้และจัดทำชุดองค์ความรู้ด้านการเพาะกล้าไม้ ใช้ในการพัฒนาทักษะอาชีพให้กับกลุ่มเกษตกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชน

ผลการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การ ยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การปรับปรุงการผลิตให้ทันสมัย ด้านสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตชุมชน ด้านเกษตรมาแปรรูป ยกระดับ สินค้า OTOP การท่องเที่ยว บันทึกภาพกิจกรรมองค์ความรู้ด้านการเกษตรประเภทพืช/สัตว์/ประมง จาก การดำเนินกิจกรรมบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการส่ง เสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชน ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ กลุ่มเกษตกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชน นำกล้าไม้ที่เพาะจำหน่าย ไปปลูกลงแปลง

ผลการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การ ยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การปรับปรุงการผลิตให้ทันสมัย ด้านสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตชุมชน ด้านเกษตรมาแปรรูป ยกระดับ สินค้า OTOP การท่องเที่ยว จัดเตรียมสถานที่ในการจัดกิจกรรมในโครงการ อำนวยความสะดวกและ ตรวจสอบความเรียบร้อยในการดำเนินโครงการ ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์ จัดเตรียมสถานที่ในการจัดกิจกรรม อำนวยความสะดวก ให้กับกลุ่มผู้สนใจการเพาะกล้าไม้มาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเรียนรู้ร่วมกัน จัดเตรียมพันธุ์กล้าไม้ ให้กับกลุ่มเกษตกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชน นำกล้าไม้ที่เพาะด้วยกัน ไปจำหน่าย เพิ่มรายได้ในครัวเรือน

ผลการดำเนินงานตามแบบข้อตกลงจ้าง (Term of Reference : TOR) การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การ ยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การปรับปรุงการผลิตให้ทันสมัย ด้านสิ่งแวดล้อม นำผลผลิตชุมชน ด้านเกษตรมาแปรรูป ยกระดับ สินค้า OTOP การท่องเที่ยว จัดทำเอกสารรายงานในการนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชน ในพื้นที่ตำบลบ้านจันทร์

ผลการดำเนินงาน กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 1.การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ กิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการแปรรูปผลผลิตจาก การเกษตรในชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการแปรรูปผลผลิตจากการเกษตรในชุมชน โดยปลูกอัญชันและมาตากแห้ง ทำน้ำอัญชัน

ผลการดำเนินงาน กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 2.การสร้างและพัฒนา Creative Economy กิจกรรมส่งเสริมการผลิตสินค้าประจำตำบล (OTOP) กาแฟอินทรีย์ ถั่วคั่ว และยาหม่อง ส่งเสริมสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจ แปรรูผผลผลิตทางการเกษตรเพื่เพิ่มมูลค่า เช่น แปรรูปกาแฟอินทรีย์ ถั่วดินคั่ว และยาหม่องที่ทำมากจากสมุนไพรพื้นบ้าน ผลักดัน ส่งเสริม เป็นสินค้า OTOP โดยประสานกับพัฒนาชุมชนอำเภอกัลยาณิวัฒนา

ผลการดำเนินงาน กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 3.การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อบรมเชิงปฏิบัตการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพให้กับกลุ่มเกษตกร และสมาชิกวิสาหกิจชุมชน อบรมเชิงปฏิบัตการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ ให้กับกลุ่มเกษตกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชน

ผลการดำเนินงาน กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 4. การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม Circular Economy กิจกรรม ส่งเสริมปลูกหญ้าแฝก เพื่อป้องกันการสลายของหน้าดิน ในพื้ นที่ทำการเกษตร แจกหญ้าแฝกให้กับกลุ่มเกษตรกรและสมาชิกวิสาหกิจ เพื่อป้องกันการสลายของหน้าดิน ในพื้นที่ทำการเกษตร

ผลการดำเนินงาน กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 5. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรมคณะทำงานทุกฝ่ายลงพื้นที่ขับเคลื่ อนตามพันธกิจและข้อ ตกลง ภาระงาน (TOR) กระบวนการทำงาน 1. ทีมงานคณะทำงาน U2T ประชุมวางสรุปการดำเนินงานเดือนละ ครั้ง เพื่อค้นหาความสำเร็จงาน ปัญหาของการดำเนินงานและร่วมกัน วางกระบวนการทำงานและทิศทางการแก้ไขปัญหา

ผลการดำเนินงาน กิจกรรมตามแผนระดับตำบล กิจกรรมตามแผนระดับตำบล 5. กิจกรรมสรุปผลการด เนินงาน กิจกรรมคณะทำงานทุกฝ่ายลงพื้นที่ขับเคลื่ อนตามพันธกิจและข้อ ตกลง ภาระงาน (TOR) กระบวนการทำงาน 3. ที่ปรึกษาลงพื้นที่ นิเทศ ติดตามและให้ข้อเสนอแนะ แนวทางการ ทำงานที่จะไปสู่ความสำเร็จเป้าตัวชี้วัดที่วางไว้

พัฒนาสัมมาชีพเพื่ อพัฒนาตนเอง กิจกรรมที่ 1 การจำหน่ายกล้าไม้ นานาพันธุ์ เช่น ต้นอะโวคาโด้ ต้นแมคคาเดเมีย ต้นมะม่วง เป็นต้น กิจกรรมที่ 2 การจำหน่ายยาหม่อง,ผลไม้พื้นบ้านปลอดสารพิษ

พัฒนาสัมมาชีพเพื่ อพัฒนาตนเอง กิจกรรมที่ 3 การจำหน่ายกาแฟอินทรีย์ ถั่วคั่ว กิจกรรมที่ 4 การจำหน่ายมะขามป้อมป่าสด กิจกรรมที่ 5 การรับจ้างเพาะกล้าไม้ให้กับชาวบ้านในพื้นที่

พัฒนาสัมมาชีพเพื่ อพัฒนาตนเอง กิจกรรมที่ 6 ปลูกขิง เพื่อสร้างรายได้ ให้กับครัวเรือน กิจกรรมที่ 7 การปลูกอัญชัน เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน

พัฒนาสัมมาชีพเพื่ อพัฒนาตนเอง กิจกรรมที่ 8 รับซื้อกล้วยน้ำว้าของสมาชิกแล้วนำมาแปรรูป กิจกรรมที่ 9 รับซื้อลูกพลับและอาโวโดของสมาชิกแล้วนำไปจำหน่ายต่อในเมือง เชียงใหม่

พัฒนาสัมมาชีพเพื่ อพัฒนาตนเอง สรุปรายรับ รายจ่ายก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ

พัฒนาสัมมาชีพเพื่อพัฒนาตนเอง ตารางเปรียบเทียบรายรับ รายจ่าย เงินออม ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ

พัฒนาสัมมาชีพเพื่อพัฒนาตนเอง ตารางเปรียบเทียบรายรับ รายจ่าย เงินออม ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ หลังเข้าร่วมโครงการจึงสรุปได้ว่าการทำบัญชี รายรับ-รายจ่ายมีประโยชน์เป็น อย่างมากเพราะก่อนเข้าร่วมโครงการไม่ได้มีการจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายจึงไม่ ทราบข้อมูลรายรับ-รายจ่าย ในครัวเรือนโดยเฉพาะรายจ่ายที่สูงกว่ารายรับพอเข้า ร่วมโครงการได้มีการจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายทำให้ทราบถึงรายจ่ายพอทราบแล้ว ครัวเรือนมีการลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นและช่วยกันประหยัดหารายได้เพิ่มโดยการ พัฒนาสัมมาชีพที่ได้รับความรู้ประสบการณ์ จากการเข้าร่วมโครงการ

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตนเองจากการมีส่วนร่วม ในแผนกิจกรรมของโครงการ 1.เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาตัวเองและครอบครัวและชุมชนในตำบลบ้าน จันทร์ในด้านต่างๆเช่นวัฒนธรรมความเชื่อประเพณีและ ที่สำคัญส่งเสริมให้ ชุมชนมองเห็นความสำคัญของวัตถุดิบในชุมชนเพื่อนำมาแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับตัวเองและชุมชนจากแต่ก่อนชุมชนจะจำหน่ายให้ กับพ่อค้าของกลางเท่านั้นซึ่งไม่สามารถจำหน่ายในช่องทางอื่นได้แต่โครงการนี้ ทำให้ตัวเองและชุมชนมองเห็นช่องทางมากขึ้นและสามารถสร้างรายได้ที่ยั่งยืน ในอนาคตได้และได้ทำงานร่วมกับชุมชนได้รับรู้แล้วคิดได้รับรู้ถึงปัญหาและได้มี การแลกเปลี่ยนความรู้กับชุมชนและสามารถวางแผนชีวิตประจำวันได้ในอนาคต ได้โดยเฉพาะการพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างแบรนด์ของตัวเอง แบบยั่งยืนใน อนาคต 2. ได้ฐานข้อมูลชุมชนองค์ความรู้และวัฒนธรรม

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตนเองจากการมีส่วนร่วม ในแผนกิจกรรมของโครงการ

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตนเองจากการมีส่วนร่วม ในแผนกิจกรรมของโครงการ

ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตนเองจากการมีส่วนร่วม ในแผนกิจกรรมของโครงการ 3.เข้าร่วมฝึกอบรมทักษะในหลักสูตรออนไลน์ หลักสูตรวางแผนการเงิน 1.วางแผนภาษีสไตส์มนุษย์เงินออม 2.วางแผนภาษีหลังเกษียณสไตส์วัยเก๋า 3.เงินทองต้องวางแผน 4.วางแผนเกษียณสไตส์มนุษย์เงินเดือน วัตถุประสงค์การฝึกอบรม 1. เพื่อได้เข้าใจถึงสาระสำคัญและแนวทางที่ถูกต้องในการบริหารเงินในแง่ มุมสำคัญ อาทิ การออม การบริหารหนี้ และการลงทุน 2. เพื่อเข้าใจว่าเงินออม มีผลกระทบต่อสภาพความเป็นอยู่หลังเกษียณ จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการบริหารเงินเพื่ อให้มีเงินพอใช้ในบั้นปลายชีวิต 3. เพื่อเข้าใจสาระสำคัญของการวางแผนทางการเงิน เกิดแนวคิดและแรง บันดาลใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การบริหารเงินเพื่อนำไปสู่อิสรภาพ ทางการเงินที่มั่งคั่ง หลักสูตร(สื่ อดิจิทัลและภาษาอังกฤษ) 1.เครื่องมือ Cloud-Based ศตวรรษ 21 เพื่อชีวิตประจำวัน (10 ชั่วโมง) 2.เทคโนโลยีการสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล (10 ชั่วโมง) 3.จิตวิทยาข้ามวัฒนธรรมในที่ทำงาน (8 ชั่วโมง) 4.การสร้างเครือข่ายด้วยการสื่อสารผ่านสังคมออนไลน์ (6ชั่วโมง) 5.การสร้างทีมงานเพื่ อพัฒนางานแบบมืออาชีพ 6.เรียนได้ศึกษาแนวคิด หลักการ และกระบวนการทำงานของสื่อดิจิทัลใน ยุคปัจจุบันที่มีบทบาทสำคัญต่อการสร้างสรรค์สื่อสมัยใหม่ (10 ชั่วโมง) 7.ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียนเชิงวิชาการสำหรับบัณฑิตศึกษา(10 ชั่วโมง) วัตถุประสงค์การฝึกอบรม 1. เพื่อเรียนรู้และศึกษาแนวคิด หลักการ และกระบวนการทำงานของสื่อ ดิจิทัลในยุคปัจจุบันที่มีบทบาทสำคัญต่อการสร้างสรรค์สื่ อสมัยใหม่ 2.เพื่ อพัฒนาทักษะทั้ งการเขียนและอ่านผ่านสื่ อการสอนที่หลากหลาย 3.เพื่อเรียนรู้ เข้าใจความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรมและสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ



ประยุกต์ใช้ประสบการณ์จากการดำเนินงานโครงการ เพื่อความมั่นคงในวิชาชีพ 1.สร้างอาชีพจากทุนทางวัฒนธรรมดั้งเดิมที่มีอยู่ในชุมชนได้แก่ องค์ ความรู้ภูมิปัญญา พิธีกรรม และความเชื่อโดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของชุมชนในทิศทางที่ถูกต้อง เหมาะสมกับวิถี ชีวิตชุมชนและก่อให้เกิดการพึ่งตนเองในระดับครอบครัวก่อน จนขยาย ขอบเขตไปสู่ระดับชุมชนและตำบลโดยมีเป้าหมายเพื่ อให้เกิดความเข้มแข็ง แก่ชุมชน 2.เกิดแกนนำเครือข่ายในกลุ่มคนจ้างงาน เพื่อทำงานต่อยอดร่วมกับ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอกัลยาณิวัฒนา ในการจัดการระบบปัญหาหนี้ สิน โดยเริ่มจากการจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่าย ของครัวเรือนลดรายจ่ายที่ไม่ จำเป็น 3.แกนนำขยายผลสู่ เยาวชนนักเรียน ให้เกิดความตระหนักและให้ความ สำคัญของการออม และร่วมจดบันทึก รายรับ รายจ่าย 4.ได้มีการจัดทำแผนชุมชนของแต่ละชุม บรรจุเข้าแผนพัฒนาสามปีของ องค์การบริหารส่วนตำบล 5.กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกกับปศุสัตว์อำเภอเพื่อ สร้างอาชีพของตนเองให้เกิดความยั่งยืน 6.กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกอินทรย์เข้าร่วมเป็นสมาชิกผักอินทรีย์กับศูนย์ พัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร์เพื่ อสร้างอาชีพตนเองให้เกิดความยั่งยืน

เกอะเส่ ชู เลอ อา ข่อ เหม่ ปาเกอะญอ ชู เลอ อะโพ อาลี \"ม้าย่อมอาศัยแรงจากฝีเท้า มนุษย์เราต้องพึ่งพาแรงจากลูกหลาน\" ความหมาย ม้าเมื่อต้องแบกสัมภาระต้องใช้พลังงานในการแบกด้วยแรง จากเท้า ส่วนมนุษย์เมื่อต้องทำงานใดๆ ต้องใช้แรงจากลูกลานร่วมมือกัน บทคำสอน สอนให้ลูกหลานสำนึกถึงบุญคุณคุณพ่อแม่และ ทดแทนช่วยเหลือในยามที่พ่อแม่แก่ชราภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook