Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore องค์ประกอบร่างกายของมนุษย์

องค์ประกอบร่างกายของมนุษย์

Published by teerawutputtako, 2020-06-14 22:17:28

Description: องค์ประกอบร่างกายของมนุษย์

Search

Read the Text Version

1 องคป์ ระกอบร่างกายของมนษุ ย์ เซลล์ เนอ้ื เยื่อ อวัยวะ ระบบ รา่ งกาย โครงสรา้ งของร่างกายมนุษย์ ประกอบจากส่วนทีเ่ ลก็ ท่ีสุดโดยเซลลร์ วมกนั หลายๆเซลลเ์ รียกว่าเนอื้ เย่ือ เน้อื เยื่อหลายๆเน้ือเยื่อรวมกันเป็น อวัยวะ หลายๆอวัยวะรวมกนั เป็นระบบ หลายๆระบบรวมกนั เป็นรา่ งกาย ซึ่งรา่ งกายของมนุษยป์ ระกอบไปดว้ ย 10 ระบบ 1.ระบบผวิ หนงั 2.ระบบกระดูก 3.ระบบกลา้ มเนื้อ 4.ระบบหายใจ 5.ระบบไหลเวยี นโลหิต 6.ระบบยอ่ ยอาหาร 7.ระบบขบั ถ่าย 8.ระบบประสาท 9.ระบบสบื พันธ์ุ 10.ระบบต่อมไร้ท่อ เอกสารสรุประบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พทุ ธโค โรงเรยี นโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

2 1.ระบบผิวหนงั ระบบผิวหนงั เป็นระบบทีห่ ่อหุ้มรา่ งกาย ประกอบด้วย ผิวหนงั เลบ็ ผมและขนซึ่งเป็นอวัยวะท่ีทาหน้าที่ปกคลุม และปอ้ งกนั ร่างกาย 1.1 ผิวหนัง เป็นอวยั วะทมี่ ีพื้นที่ใหญ่ทสี่ ุด ซง่ึ ผวิ หนังตามสว่ นตา่ งๆของร่างกายจะมคี วามหนาแตกต่างกนั ข้ึนอยู่กบั ตาแหนง่ และลักษณะการใช้งาน บรเิ วณทีใ่ ช้งานมากจะมคี วามหนามาก 1) โครงสร้างของผิวหนัง หนังกาพร้า (Epidermis) ผวิ หนงั ชนั้ น้ีจะมีการ หลดุ ออกเปน็ ข้ึไคล แล้วมีการสร้างมาทดแทน เรื่อยๆ ซ่ึงผวิ หนงั ของแตบ่ รเิ วณนั้นจะมีสที ี่ แตกตา่ งกนั ตอ่ มไขมนั (Sebaceous gland) ทาหน้าที่ สร้างไขมัน ช่วยทาให้เสน้ ผม เส้นขน เป็นเงา งาม ผวิ หนังชุม่ ชื้นไม่แตกกระด้าง หนงั แท้ (Dermis) ผิวหนงั ชัน้ น้ีจะอยใู่ ตข้ อง หนังกาพร้า และมีความหนามากกว่าช้นั ของ หนงั กาพร้ามาก คอยยึดสว่ นประกอบตา่ งๆ ของผิวหนงั ไว้ เชน่ หลอดเลือดฝอย เสน้ ประสาทรับความรู้สกึ ตา่ งๆรากขน หรือรากผม ต่อมเหง่ือ ต่อมไขมนั โดยพบบรเิ วณฝา่ มือและฝ่าเท้า ตอ่ มเหงื่อ(Sweat gland) ทาหน้าท่ีสรา้ งเหงอ่ื ท่ีประกอบไปดว้ ยนา้ และเกลือแร่ เพ่ือชว่ ยระบายความร้อน 2) หน้าท่ีของผวิ หนงั ปอ้ งกนั เชือ้ โรค รังสอี ันตราย ช่วยป้องกนั ไม่ใหเ้ นื้อเยือ่ แหง้ -ปกคุมรา่ งกายและหอ่ หมุ้ เนื้อเยื่อ รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พทุ ธโค โรงเรยี นโคกตะเคยี นวิทยา สพม.33 เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย

3 -รกั ษาอุณหภมู ิของร่างกาย ทาหน้าท่ีระบายความร้อนทางรูขุมขน เพื่อรักษาอุณหภูมใิ ห้ปกท่ี 37 องศา -รับความรสู้ ึกจากสิง่ เรา้ ต่างๆ จะส่งผ่านความรู้สึก เช่น ความร้อน ความเย็น ความเจ็บปวด เพ่อื รายงาน ไปยงั สมองหรือระบบประสาท -ขบั นา้ เกลอื แร่ต่างๆและสารอินทรียห์ ลายชนิดออกจากร่างกาย เพอ่ื รกั ษาสมดลุ ในรา่ งกาย -สงั เคราะห์วิตามินดี ดูดซบั รังสอี ลั ตราไวโอเลตจากแสงแดด ได้วิตามนิ ดี -ช่วยขบั ไขมันออกมาตามรูขมุ ขน เพือ่ หลอ่ เลย้ี งเส้นขนและเสน้ ผมให้เงางาม -ชว่ ยแสดงอาการผิดปกติท่ีเกิดข้ึนจากสาเหตุภายในของร่างกายใหท้ ราบ 3) การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภายการทางานของผิวหนัง อาบนา้ ชาระรา่ งกาย อย่างวนั ละ 1 ครั้ง เพ่ือชะล้างฝุ่นละอองและส่ิงปรกออกจากผวิ หนงั สวมใส่เส้อื ผา้ ที่สะอาด เลือกเสอ้ื ผ้าท่ีมีความหนาบางเหมาะสมกับสภาพอากาศ รับประทานผักผลไม้ ดืม่ นา้ เปน็ ประจาทุกวนั ออกกาลังกาย ควรออกกาลงั กายสัปดาหล์ ะ 2-3 ครัง้ และพักผอ่ นให้เพียงพอ 1.2 เล็บ เปน็ อวยั ะปกคลุมร่างกายชนิดหนึง่ ทพ่ี บบรเิ วณปลายน้วิ มอื น้ิวเทา้ ท้งั 20น้วิ ซง่ึ ถือเปน็ ส่วนหนง่ึ ของผิวหนัง โดย มคี วามสาคัญ คือ ทาให้สว่ นปลายของน้วิ แข็งแรงขน้ึ สามารถหยบิ จบั และใชท้ างานได้ดี 1) โครงสรา้ งของเลบ็ ผวิ หนังส่วนขา้ งเล็บ (Nail fold) เป็นผิวหนงั ท่ีอยรู่ อบๆเลบ็ ตวั เล็บหรือแผน่ เล็บ (Nail plate) ประกอบด้วยเซลลท์ ่ีตายแล้ว โดยจะยาว และงอกใหม่ตลอดเวลา มีลกั ษณะแข็งและจะไม่หลดุ ออก ลิวนูลา (Lunula) อยู่บริเวณโคนเลบ็ ตาแหนง่ ทเ่ี ป็นรูปเสยี้ วพระจันทร์ เป็น ตาแหน่งทีต่ ัวเลบ็ ยึดตดิ กับผิวเน้อื ใต้เล็บอย่างหลวมๆไฮโพนคิ เคียม (Hyponychium) เปน็ ผิวหนังทีต่ วั เลบ็ แยกออกจากผวิ เน้ือใต้เล็บ 2) หนา้ ที่ของเลบ็ -ชว่ ยปอ้ งกนั อันตรายทีจ่ ะเกดิ กับนวิ้ ส่วนปลาย -รับความรสู้ ึก ทาใหร้ ะบบการจาแนกการสัมผสั ดีข้นึ -ทาให้น้วิ มือสามารถหยบิ จบั ส่งิ ของต่างๆ ไดด้ ีขึน้ โดยเฉพาะส่ิงของขนาดเล็ก -เล็บน้ิวเท้า จะเป็นตวั ช่วยให้การเคลือ่ นไหวของเทา้ ไดด้ ียง่ิ ข้นึ -เป็นแหลง่ ทใ่ี ช้ในการตรวจสุขภาวะสุขภาพของร่างกาย เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พุทธโค โรงเรียนโคกตะเคยี นวทิ ยา สพม.33

4 2.ระบบกระดกู ระบบกระดูกของมนษุ ย์ทาหนา้ ที่พยงุ และปอ้ งกันอวัยวะภายในของรา่ งกาย ตลอดจนเป็นทย่ี ึดเกาะของกลา้ มเนอื้ ประกอบด้วยโครงกระดูกมากกวา่ 206 ชิน้ 1)โครงสรา้ งของระบบกระดูก มหี น้าท่คี ้าจนุ รา่ งกายใหค้ งรูปร่างอยู่ได้ กระดกู ของ มนุษยท์ ้ังร่างกายมีอยูท่ ั้งส้นิ 206 ช้ิน แบง่ ออกเป็น 2 กล่มุ คือ 1.กระดูกแกน (Axial Skeleton) เปน็ โครงกระดกู ท่ีเป็นแกนกลางของรา่ งกาย ทา หนา้ ทค่ี ้าจนุ และปอ้ งกนั อันตรายใหแ้ ก่อวัยวะสาคญั ภายในร่างกายมีจานวน 80 ชิ้น - กะโหลกศรี ษะ(Skull) 29 ชิ้น - กระดกู สันหลงั (Vertebrate) 26 ชน้ิ - กระดกู ซ่โี ครง (Ribs) มจี านวน 24 ช้นิ - กระดอู ก (Sternum) มจี านวน 1 ชิ้น 2.กระดกู รยางค์ (Appendicular Skeleton)เปน็ กระดูกที่เช่อื มต่อกบั กระดูกแกน มี หน้าท่ีคา้ จนุ และเกี่ยวข้องกับการเคล่อื นไหวของร่างกาย มจี านวนท้งั ส้นิ 126 ช้ิน ประกอบด้วย - กระดูกแขน มจี านวน 60 ช้ิน ข้างละ 30 ช้นิ - กระดกู ขา มีจานวน 60 ชิ้น ขา้ งละ 30 ชน้ิ 2)หนา้ ที่ของกระดกู 1.การปอ้ งกันอวัยวะภายในที่สาคญั เช่น กะโหลกศรี ษะท่ีป้องกนั สมอง หรอื กระดูกซโ่ี ครงที่ป้องกนั อวยั วะใน ทรวงอกจากอนั ตรายและการกระทบกระเทือน 2.การค้าจนุ โครงร่างของร่างกาย 3.การเคลอ่ื นไหว โดยกระดูกทาหนา้ ทเี่ ป็นจุดเกาะของกลา้ มเนื้อและเอน็ ต่างๆ และยงั ประกอบเข้าด้วยกันเปน็ ข้อต่อท่ีทาใหร้ า่ งกายเคล่ือนไหวในรูปแบบตา่ งๆได้ 4.การผลติ เม็ดเลือด โดยไขกระดูกท่อี ยู่ภายใน เป็นแหลง่ ผลิตเมด็ เลือดแดงและเมด็ เลือดขาวท่ีสาคญั 5.การเกบ็ สะสมแร่ธาตุ โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส นอกจากนย้ี ังดึงเอาโลหะหนกั บางชนิดท่ีอยใู่ น กระแสเลือดมาเก็บไว้ เพ่ือลดความเปน็ พิษลง 3) การสรา้ งเสริมและดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูก 1.ออกกาลังกาย 2.บรโิ ภคอาหารใหค้ รบถว้ นและถูกต้อง 3.พักผอ่ นให้เพียงพอ 4.ระมัดระวงั และป้องกนั อุบัติเหตุทอ่ี าจเกดิ ขึ้นกบั กระดูก เอกสารสรุประบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พุทธโค โรงเรียนโคกตะเคยี นวิทยา สพม.33

5 3.ระบบกลา้ มเน้อื กล้ามเน้อื เปน็ เน้อื ที่มีหน้าท่โี ดยตรงเกย่ี วกับกับการ เคลือ่ นไหวของมนษุ ย์ กล้ามเนอ้ื จะประมาณครง่ึ หนง่ึ ของน้าหนกั ตวั ของรา่ งกาย กลา้ มเน้อื ทาหนา้ ที่หดตัวเพื่อใหเ้ กดิ แรงและทาให้ เกดิ การเคลื่อนท่ี (motion) รวมถงึ การเคล่ือนที่และการหดตวั ของ อวยั วะภายใน กลา้ มเน้ือจานวนมากหดตัวไดน้ อกอานาจจิตใจ และ จาเปน็ ต่อการดารงชีวติ เช่น การบีบตวั ของหัวใจ หรือการบบี รูด (peristalsis) ทาใหเ้ กดิ การผลักดนั อาหารเข้าไปภายในทางเดิน อาหาร การหดตวั ของกลา้ มเนื้อที่อยใู่ ต้อานาจจติ ใจมีประโยชน์ใน การเคลื่อนทีข่ องร่างกาย และสามารถควบคุมการหดตัวได้ เช่น การกลอกตา หรอื การหดตัวของกล้ามเนือ้ ควอดรเิ ซบ็ (quadriceps muscle) ท่ตี น้ ขา 3.1 โครงสรา้ งของกล้ามเนอ้ื กล้ามเนื้อจะประกอบไปดว้ ยนา้ รอ้ ยละ 75 โปรตีนร้อยละ 20 อีกรอ้ ยละ 5 เปน็ คารบ์ อนไฮเดรต ไขมนั และเกลือ สามารถแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดงั นี้ 1.กล้ามเน้อื ลาย (Skeletal muscle) กล้ามเน้ือลายเปน็ กลา้ มเนื้อภายใต้อานาจจิตใจ (Voluntary Muscle) ชนดิ เดียวในรา่ งกาย กลา้ มเน้ือลายเป็นกล้ามเน้ือทสี่ ามารถควบคมุ การเคลือ่ นไหวของกล้ามเนอ้ื ชนิดนี้ได้ กลา้ มเน้ือลาย จะห่อหมุ้ โครงกระดูกของเราไว้ และท้ังสองอย่างจะทางานร่วมกัน ทาใหร้ า่ งกายสามารถทางาน กล้ามเนื้อลายมีรูปร่าง และขนาดทห่ี ลากหลาย จึงทางานไดห้ ลากหลายรปู แบบ 2.กล้ามเน้ือเรยี บ (Smooth muscle) พบไดท้ ี่อวัยวะภายในของร่างกาย และเปน็ กล้ามเน้ือที่ทางานอยู่ ตลอด กล้ามเน้ือแบบนี้มชี ื่อเรียกอีกอย่างวา่ กล้ามเนื้อนอกอานาจจติ ใจ (Involuntary Muscle) เพราะเราไม่สามารถ ควบคมุ กล้ามเนอื้ ชนิดนี้ได้ สมองและรา่ งกายขจะสงั่ ใหก้ ล้ามเน้ือเรียบทางานดว้ ยตัวของมันเอง เช่น ในกระเพาะ (Stomach) และระบบการย่อยอาหาร (Digestive System) กลา้ มเน้ือเหล่านีจ้ ะหดตัวแน่นขึ้นและขยายตัวออก เพื่อให้ อาหารเดินทางไปตามระบบย่อยอาหารสว่ นอ่ืนๆของรา่ งกายได้ เอกสารสรุประบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พุทธโค โรงเรียนโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

6 3.กล้ามเน้ือหัวใจ (Cardiac Muscle)กล้ามเนอื้ ท่ีประกอบข้ึนเป็นหวั ใจมีช่ือเรียกว่ากลา้ มเนอื้ หัวใจ กลา้ มเน้ือ ชนดิ น้ีเป็นกลา้ มเนอื้ นอกอานาจจิตใจเหมือนกบั กล้าม เน้ือเรยี บ ทาให้เกิดการเตน้ ของหัวใจ (Heart Beat) อยู่ ตลอดเวลา กล้ามเนื้อหวั ใจจะบบี ตวั (Contract) เพือ่ ดนั เลือดสง่ ออกไปยงั สว่ นตา่ งๆของร่างกาย และคลาย ตวั (Relax) เพื่อใหเ้ ลือดไหลกลบั เข้ามาส่หู วั ใจหลังจากที่ไหลวนไปส่สู ่วนอ่นื ๆของรา่ งกายแล้ว 3.2ชนิดของเสน้ ใยกลา้ มเนื้อลาย ในสมัยกอ่ นนักกายวิภาคและสรรี วิทยาไดจ้ าแนกเส้นใยกลา้ มเนื้อลายออกเป็น 2 ชนิด 1.เสน้ ใยกลา้ มเนือ้ สีแดง สว่ นมากจะอยใู่ นกล้ามเน้ือลาย กล้ามเน้อื แดงจะให้พลงั านแอโรบคิ ทีเ่ ยอะมาก กล้ามเน้อื แดงจะบ่งบอกไดถ้ ึงความอดทนเพราะทางานไดน้ านเรอื่ ยๆโดยเม่ือยล้ายาก ดงั นั้นมนั จงึ เปน็ กลา้ มเนอื้ ที่ เหมาะกบั การออกกาลังกายแบบช้าๆนานๆต่อเนื่อง 2.เส้นใยกล้ามเนอ้ื ขาว กลา้ มเน้ือขาวน้จี ะเป็นตวั บ่งช้เี ร่ืองสปรนิ ทรข์ องนักจกั รยาน กล้ามเน้อื ขาวจะทางาน รวดเรว็ และเมื่อยล้าเร็วดังนั้นเราจึงรักษาพลังงานนี้ได้ไม่นาน กลา้ มเนอ้ื ขาวยงั ได้แบ่งย่อยลงมาอีกเป็น กลา้ มเน้ือขาว กล้ามเน้ือแดง ระเบดิ พลงั สปรน้ิ ท์ ทนทาน ไดเ้ ลือดเลี้ยงน้อย ได้เลอื ดเลีย้ งเยอะ มพี ลงั อแนโรบคิ ดมี าก มพี ลังแอโรบคิ ดมี าก มพี ลงั แอโรบคิ ท่ีแยม่ าก มพี ลังอแนโรบิคแยม่ าก แหล่งพลังงานมาจากแลคตคิ และฟอสเฟต แหลง่ พลงั งานจากออกซเิ จน การซอ้ มเฉพาะเจาะจงจะไม่เปลย่ี นกลา้ มเนือ้ แดงเป็นขาวได้ การซ้อมเฉพาะเจาะจงสามารถเปล่ยี นกล้ามเนื้อขาวเป็นแดงได้ ความทนทานตา่ ความทนทานสงู เกิดแลคตคิ สูง ไมเ่ กดิ แลคติค ใยกลา้ มเนอื้ น้อยลงเมื่ออายมุ ากขน้ึ มีอัตราการลดลงของใยกล้ามเน้ือแดงที่น้อยเมอ่ื อายุมากขึ้น เม่อื ยล้างา่ ย ไม่เมอ่ื ยลา้ ง่าย ความเร็วสงู ความเรว็ ต่า พลังการหดตัวเป็นเยย่ี ม พลังการหดตัวไมด่ ี เอกสารสรุประบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พทุ ธโค โรงเรียนโคกตะเคยี นวิทยา สพม.33

7 3.3 กระบวนการทางานของกลา้ มเนื้อ เม่ือสมองสัง่ ให้ร่างกายเคล่ือนไหว กล้ามเนอ้ื จะเกดิ การหดตัวและคลายตัว ทางานประสานเป็นคู่ ๆ พร้อม กัน แต่ตรงข้ามกัน ในขณะที่กลา้ มเน้ือมัดหนึ่งหดตัว กล้ามเนอ้ื อีกมดั หนง่ึ จะคลายตวั การทางานของกลา้ มเนื้อใน ลักษณะนี้ เรยี กวา่ Antagonistic muscle เม่อื กลา้ มเน้อื ไบเซพหรือ Flexors คลายตวั กล้ามเนือ้ ไตรเสพหรือ Extensors จะหดตวั ทาใหแ้ ขนเหยียด ออก ส่วนเมื่อกล้ามเนื้อไบเซพหรือ Flexors หดตัว กล้ามเน้อื ไตรเสพหรอื Extensors จะคลายตัว ทาให้แขนงอเข้า โดยเมือ่ สมองส่ังใหร้ ่างกายเคลือ่ นไหว กล้ามเน้ือจะเกดิ การหดตัวและคลายตัว ทางานประสานเป็นคู่ ๆ พร้อมกนั แต่ ตรงขา้ มกนั ในขณะท่ีกล้ามเน้ือมดั หน่งึ หดตวั กล้ามเนอื้ อกี มดั หน่งึ จะคลายตัว การทางานของกล้ามเน้ือในลกั ษณะน้ี เรยี กว่า Antagonisticmuscle มดั กล้ามเน้ือไบเซพ (Biceps) อยดู่ ้านบน และไตรเซพ (Triceps) อยูด่ า้ นล่างของแขน ไบเซพหรือ (Flexors)คลายตัว ไตรเสพ หรือ (Extensors) หดตวั »» แขนเหยยี ดออก ไบเซพหรือ (Flexors)หดตัว ไตรเสพ หรือ (Extensors) คลายตวั »» แขนงอเขา้ 3.4 กลา้ มเน้ือตะคริว การเป็นตะคริว เกิดจากมีการเกรง็ ชั่วคราวของมัด กล้ามเนือ้ ท้ังหมด ขณะทม่ี ีการหดตวั ทาให้กลา้ ม เน้ือมดั นัน้ มี ลักษณะแข็งเปน็ ลูกและ เจ็บปวดมาก อาการเกร็งของตะครวิ กลา้ มเนอ้ื เกิดขึน้ นอกเหนืออานาจจิตใจ และเกิดข้ึนเป็น ระยะเวลาไมน่ าน ก็จะหายไปเอง แต่กลบั เป็นซ้าขึน้ มา ท่เี ดิมได้อกี ในบางคร้งั กล้ามเน้ืออาจเป็นตะคริว พร้อมกัน หลายๆ มัดได้ สาเหตทุ ี่ พบบ่อย ได้แก่ · กลา้ มเนอ้ื ขาดการฟิตซ้อมหรอื ฟิตซ้อมไม่เพยี งพอ สภาวะแวดลอ้ มของอากาศ · ร่างกายขาดเกลือแรบ่ างชนิด โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ แคลเซียม · การใช้ผ้ายึดหรือสนบั ผา้ ยืดพันหรอื รดั ลงไปบนกลา้ มเน้อื ค่อนขา้ งแน่นขณะท่ีมีการออกกาลงั กาย ทาให้กล้ามเน้ือ ทางานหรือ ขยายตัวได้ไมเ่ ต็มที่ 3.5 การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพของระบบกลา้ มเนื้อ 1.การออกกาลงั กาย 2.สารอาหาร 3.การรกั ษาอาการบาดเจ็บของกลา้ มเน้ือ เอกสารสรุประบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พุทธโค โรงเรยี นโคกตะเคียนวิทยา สพม.33

8 4.ระบบหายใจ (Respiratory System) ระบบการหายใจ คอื ระบบท่ีประกอบดว้ ยอวัยวะเก่ียวขอ้ งกบั การหายใจ เปน็ การนาอากาศเข้าและออกจาก รา่ งกายสง่ ผลใหแ้ กส๊ ออกซเิ จนทาปฏกิ ริ ยิ ากบั สารอาหาร ไดพ้ ลังงาน น้า และแกส๊ คาร์บอนไดออกไซต์ กระบวนการ หายใจเกิดขน้ึ กบั ทุกเซลล์ตลอดเวลา 4.1 องค์ประกอบของระบบหายใจ ระบบหายใจเป็นกระบวนการหายใจท่ีใหอ้ ากาศผา่ นเขา้ ออกในร่างกาย ซึ่งประกอบไปด้วยอวยั วะ 2 สว่ น คอื 1.สว่ นทีเ่ ป็นทางผ่านของลมหายใจเข้า-ออก ได้แก่ จมูก ปาก หลอดคอ หลอดเสยี ง หลอดลม - จมูก (Nose) จมูกส่วนนอกเป็นสว่ นท่ียนื่ ออกมาจากตรงกึ่งกลางของใบหน้า รปู รา่ งของจมกู มลี ักษณะเปน็ รูปสามเหลีย่ ม พรี ะมิด ฐานของรูปสามเหลี่ยมวางปะ รจู มูกทาหน้าท่ีเป็นทางผ่านของอากาศทห่ี ายใจเข้าไปยงั ช่องจมูกและ กรองฝุ่นละอองดว้ ย - หลอดคอ (Pharynx) เม่ืออากาศผ่านรูจมูกแล้วก็ผ่านเขา้ ส่หู ลอดคอ ซ่งึ เปน็ หลอดตง้ั ตรงยาวประมาณยาวประมาณ 5 นว้ิ - หลอดเสียง (Larynx) เปน็ หลอดยาวประมาณ 4.5 cm ในผูช้ าย และ 3.5 cm ในผหู้ ญงิ หลอดเสียงเจรญิ เตบิ โตขึ้นตามวัย - หลอดลม (Trachea) เปน็ สว่ นท่ตี ่ออกมาจากหลอดเสยี ง ยาวลงไปในทรวงอก ลกั ษณะรูปร่างของหลอดลมเปน็ หลอดกลมๆ ประกอบด้วยกระดูกอ่อนรูปวงแหวน หรือรูปตวั U ซึง่ มอี ยู่ 20 ชิน้ วางอยทู่ างด้านหลังของหลอดลม ช่องวา่ ง ระหวา่ งกระดูกอ่อนรปู ตวั U 2.ส่วนที่ทาหนา้ ทีใ่ นการแลกเปล่ยี นแกส๊ คือ ปอด เอกสารสรปุ ระบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พุทธโค โรงเรยี นโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

9 ปอด (Lung) ปอดมอี ยูส่ องขา้ ง วางอย่ใู นทรวงอก มรี ปู รา่ งคลา้ ยกรวย มีปลายหรือยอดชข้ี ้ึนไปข้างบนและไปสวมพอดกี บั ชอ่ งเปิด แคบๆของทรวงอก ซ่ึงช่องเปิดแคบๆนี้ประกอบขึ้นด้วยซโี่ ครงบนของกระดกู สันอกและกระดูกสนั หลัง ฐานของปอดแต่ ละขา้ งจะใหญ่และวางแนบสนทิ กับกระบังลม ระหวา่ งปอด 2 ข้าง จะพบว่ามีหวั ใจอยู่ ปอดข้างขวาจะโตกว่าปอดขา้ งซ้ายเลก็ นอ้ ย และมีอยู่ 3 ก้อน ส่วนขา้ งซ้าย มี 2 ก้อน หนา้ ทข่ี องปอดคอื การนากา๊ ซ CO2 ออกจากเลือด และนาออกซิเจนเขา้ สูเ่ ลือด ปอดจึงมรี ูปร่างใหญ่ มลี ักษณะ ยดื หยุน่ คล้ายฟองน้า 4.2 กระบวนการทางานของระบบหายใจ 1.) การหายใจเขา้ (Inspiration) กะบังลมจะเล่ือนตา่ ลง กระดูกซ่ีโครงจะเล่ือนสูงขนึ้ ทาให้ปริมาตรของชอ่ งอก เพิ่มขึ้น ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่าลงกวา่ อากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลอ่ื นเขา้ สู่จมกู หลอดลม และไปยงั ถุงลมปอด 2.) การหายใจออก (Expiration) กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดกู ซโี่ ครงจะเลื่อนตา่ ลง ทาให้ปริมาตรของชอ่ งอกลดนอ้ ยลง ความดนั อากาศในบริเวณ รอบ ๆ ปอดสงู กวา่ อากาศภายนอก อากาศภายในถงุ ลมปอดจงึ เคล่อื นท่ีจากถุงลมปอดไปสหู่ ลอดลมและออกทางจมกู เอกสารสรุประบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พุทธโค โรงเรยี นโคกตะเคยี นวิทยา สพม.33

10 4.3 การเสรมิ สรา้ งและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบหายใจ 1.) รักษาสุขภาพใหด้ ี โดยการ รบั ประทานอาหาร พักผ่อน และออกกาลงั กายอย่างสมา่ เสมอ 2.) แต่งกายให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ เหมาะสมกับฤดูกาล เพื่อปอ้ งกันการเปน็ หวัด 3.) หลีกเลีย่ งการอยู่ใกลช้ ิดกับผู้ปว่ ยโรคทางเดนิ หายใจ 4.) ปดิ ปากและจมูกเวลาไอ หรอื จาม 5.)ไมใ่ ช้ส่ิงของปนกับผูอ้ น่ื โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ผ้ปู ่วยโรคทางเดินหายใจ 6.) อยใู่ นที่อากาศบริสุทธิ์ ไมอ่ ับช้นื แออดั โดยเฉพาะสถานทที่ มี่ ีควันบุหรี่ เพราะควันบุหร่ีมีกา๊ ซพษิ คือ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ทาใหเ้ ปน็ โรคถุงลมโป่งพอง 7.) ระวงั การกระแทกอย่างแรงกับอวยั วะการหายใจ ไดแ้ ก่หนา้ อก และปอด 8.) ไมเ่ ลีย้ งสัตวต์ า่ ง ๆ ไวใ้ นบ้าน เพราะขนสัตวก์ ่อให้เกิดโรค การไอ การจาม การหาวและการสะอกึ อาการที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ มีดังนี้ 1. การจาม เกิดจากการหายใจเอาอากาศท่ีไม่สะอาดเข้าไปในร่างกาย ร่างกายจึงพยายามขับสงิ่ แปลกปลอมเหลา่ นนั้ ออกมานอกรา่ งกาย โดยการหายใจเข้าลกึ แลว้ หายใจออกทันที 2. การหาว เกิดจากการทีม่ ปี ริมาณก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์สะสมอยู่ในเลือดมากเกนิ ไป จึงต้องขับออกจากร่างกาย โดย การหายใจเขา้ ยาวและลึก เพื่อรับแก๊สออกซเิ จนเขา้ ปอดและแลกเปลีย่ นกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ออกจากเลือด 3. การสะอกึ เกิดจากกะบงั ลมหดตวั เป็นจังหวะๆ ขณะหดตวั อากาศจะถูกดนั ผา่ นลงสู่ปอดทันที ทาใหส้ ายเสียงส่ัน เกิด เสยี งขึน้ 4. การไอ เป็นการหายใจอยา่ งรุนแรงเพื่อปอ้ งกันไม่ให้ส่ิงแปลกปลอมหลดุ เขา้ ไปในกลอ่ งเสียงและหลอดลม ร่างกายจะ มี การหายใจเข้ายาวและหายใจออกอย่างแรง . เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พทุ ธโค โรงเรยี นโคกตะเคยี นวิทยา สพม.33

11 5.ระบบไหลเวยี นโลหติ (Circulatory System) ระบบไหลเวียนโลหิตเปรียบเสมอื นระบบขนสง่ อาหาร แก๊สออกซิเจน นา้ และสง่ิ ที่มีประโยชน์ใหก้ บั เซลลต์ า่ งๆ ทว่ั รา่ งกาย มีหนา้ ที่สาคัญ คอื ลาเลียงอาหารและแก๊สออกซเิ จนไปสเู่ ซลล์ต่างๆในเวลาเดียวกันก็นาแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดแ์ ละของเสยี ตา่ งๆ ที่ร่างกายใช้แล้วออกจากเซลล์ผ่านทางระบบหายใจ 5.1 องค์ประกอบของระบบไหลเวียนโลหิต 1) เลือด (Blood) เป็นของเหลวสีแดง เรยี กวา่ นา้ เลอื ด หรือ พลาสมา โดยปรมิ าตร ประกอบด้วย นา้ ประมาณ 91% นอกนน้ั เปน็ สารอนื่ ๆ ได้แก่ สารอาหารตา่ งๆ เอนไซม์ และแกส๊ น้าเลอื ดจะทาหน้าท่ี ลาเลยี งอาหาร ไปยังเซลล์ และนาของเสยี รวมท้งั ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์จากเซลล์ ไปยงั อวัยวะขับถา่ ย และสว่ นที่เปน็ ของแข็งของ เลือด คือเซลล์เมด็ เลือดต่างๆ ซ่ึงจาแนกออกเป็น 3 ชนดิ ใหญๆ่ ได้แก่ 1.1 เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell) เกดิ ขึ้นที่ ไขกระดูกแดง อายุ ประมาณ 120 วนั รูปร่าง คลา้ ยจานและมสี ว่ นเว้าทงั้ สองดา้ น ไม่มนี วิ เคลยี ส ทาหน้าที่ ขนสง่ แก๊สออกซเิ จนจากปอดไปยงั เนอ้ื เยื่อและนาแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ จากเนอื้ เยื่อไปขจดั ออกจากปอด ฮโี มโกลบนิ ทาหนา้ ท่จี บั กบั ออกซเิ จนกลายเป็น “ออกซีฮโี มโกลบนิ ” ปรมิ าณเซลล์ เพศหญงิ ประมาณ 4.5-5 ล้านเซลลต์ ่อเลือด 1 ซี.ซี. เพศชายประมาณ 5 ล้านเซลลต์ ่อเลอื ด 1 ซ.ี ซี. 1.2 เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว (White Blood Cell) เกดิ ขน้ึ ที่ ไขกระดูกแดง อายุ 2-3 วัน รปู รา่ ง มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง มนี ิวเคลยี สแต่ไมม่ ีฮโี มโกลบิน ทาหนา้ ที่ ต่อตา้ น เชื้อโรค สิ่งแปลกปลอม และสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ใหแ้ กร่ ่างกาย เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พุทธโค โรงเรยี นโคกตะเคยี นวทิ ยา สพม.33

12 1.3 เกล็ดเลอื ด (Platelet) เปน็ ส่วนประกอบของเลอื ด มีรปู รา่ งคล้านจานแบนๆ มีขนาดเลก็ มาก ไม่มีสี รูปรา่ ง ชว่ ยให้เลือดแข็งตวั เม่ือเกิดบาดแผลขึ้น เลือดก็จะเปลย่ี นเป็นลม่ิ คลา้ นวุ้น หน้าท่ี “ลิม่ เลือด” ทาหนา้ ที่ ห้ามเลือดและป้องกนั มิให้เชื้อโรคเข้าส่บู าดแผล 2)หัวใจ (Heart) เป็นอวยั วะที่สาคญั ทีส่ ุดในระบบไหลเวียนโลหิต มีขนาดเท่ากาป้นั ของบุคคลผเู้ ป็นเจา้ ของ ตัง้ อยใู่ นทรวงอกระหวา่ งปอดทงั้ 2 ข้าง ซ่ึงทางซา้ ยของ ร่างกายส่วนประกอบทส่ี าคัญทสี่ ดุ “เย่อื หุ้มหัวใจ” เป็นถงุ หมุ้ อยูร่ อบๆหัวใจ มี หนา้ ที่ปอ้ งกนั อันตรายที่อาจจะเกิดขึน้ กบั หวั ใจ ภายในหวั ใจแบง่ ออกเป็น 4 หอ้ ง คือข้างบน 2 หอ้ ง ขา้ งล่าง 2 ห้อง โดยมลี ้นิ หัวใจก้ันระหวา่ งห้องบนและหอ้ งล่าง หนา้ ทข่ี องลิ้นเรียงลาดบั การ ไหลเวยี นของโลหติ ของหวั ใจ 3) หลอดเลือด (Blood Vessels) แบ่งออกเป็น 3 ชนดิ ได้แก่ 1.หลอดเลือดแดง (Artery) เปน็ หลอดเลอื ดออกจากหัวใจ เปน็ หลอดเลือดที่มีออกซเิ จนสูง แลว้ ส่งไปหลอดเลอื ดฝอยเพอ่ื ไปเลย้ี งรา่ งกายต่อไป หัวใจ แดง ฝอย รา่ งกาย 2.หลอดเลือดดา (Vein) เป็นหลอดเลอื ดท่นี าออกจากสว่ นต่างๆของรา่ งกายกลบั ส่หู วั ใจ มี ปรมิ าณออกซิเจนน้อย ร่างกาย ฝอย ดา หวั ใจ 3.หลอดเลือดฝอย (Capillary) เปน็ หลอดเลอื ดทีม่ ขี นาดเล็กมาก มหี นา้ ท่ีนาเลือดจากหลอด เลอื ดแดงไปยงั เซลล์ และนาเลือดดาจากเซลลไ์ ปยังหลอดเลอื ดดา เปรยี บเสมือนตัวกลางทเ่ี ช่อื มระหวา่ งหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดา 4) นา้ เหลืองและหลอดน้าเหลือง (Lymph And Lymphatic Vessels) ทาหนา้ ท่ี นาน้าและโปรตีนกลับเขา้ สู่เลอื ด ลักษณะ ใสคลา้ ยนา้ 5.2 กระบวนการทางานของระบบไหลเวียนโลหิต กระบวนการทางานของระบบไหลเวยี นโลหิตใน 1 รอบ เลือดตอ้ งไหลผ่านสหู่ ัวใจ 2 ครง้ั ครง้ั ท่ี 1 เปน็ เลอื ดดาจากส่วนตา่ งๆของรา่ งกายจากนั้นจะส่งไปยงั ทีป่ อดเพอ่ื ทจี่ ะฟอกเลือด ครัง้ ท่ี 2 เป็นแดงทมี่ ปี ริมาณออกซเิ จนสูงจากปอดกลับคนื สู่หัวใจแลว้ หัวใจจะสง่ ตอ่ ไปเลยี้ งสว่ นตา่ งๆ เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พทุ ธโค โรงเรยี นโคกตะเคยี นวิทยา สพม.33

13 -หวั ในห้องบนซ้าย (Left atrium) มหี นา้ ท่ี รับเลือดที่ผา่ นการฟอกที่ปอด -หวั ใจห้องบนขวา (Right atrium) มหี นา้ ท่ี รับเลอื ดท่ีร่างกายใชแ้ ลว้ -หวั ใจหอ้ งลา่ งขวา (Right ventricle) มหี นา้ ท่ี สูบฉดี เลอื ดไปฟอกท่ปี อด -หวั ใจห้องล่างซา้ ย (Left ventricle) มหี น้าที่ สบู ฉดี เลือดไปเล้ยี งส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย **หลักการจา** ขวาร้าย ซา้ ยดี เอ อย่บู น เวน อยลู่ ่าง ขณะหัวใจบบี ตัวเลือดจะถูกดันออกไปตามหลอดเลือดจากหวั ใจดว้ ยความดันสูงทาให้เลือดไปเลีย้ งสว่ น ตา่ ง ๆ ของร่างกายได้ ขณะท่ีหวั ใจรับเลือดเขา้ ไปนั้นก็จะมีความดนั น้อยท่สี ดุ ความดนั เลือดทแี่ พทยว์ ดั ออกมา ได้ซง่ึ มีหนว่ ยเปน็ มลิ ลิเมตรของปรอทจงึ มสี องค่า เชน่ 110/70 มิลลิเมตรของปรอท ตัวเลข 110 แสดงค่าของความดนั เลอื ดขณะหัวใจบีบตัวเพ่อื ดนั เลือดออกจากหวั ใจ ตัวเลข 70 แสดงค่าความดนั เลือดขณะหวั ใจคลายตัวรบั เลอื ดเขา้ สูห่ ัวใจ ถา้ เราเอาน้ิวมือจับท่ีขอ้ มือด้านซ้าย จะพบวา่ มบี างสงิ่ บางอย่างเต้นตุ๊บ ๆ อยภู่ ายใน ส่ิงนน้ั เรียกว่า ชพี จรชีพจรเป็นการหดตัวและขยายตวั ของหลอดเลือดตามจงั หวะการเตน้ ของหวั ใจ โดยคนหนุ่มสาว ปกติชีพจรจะเตน้ ประมาณ 70 – 80 ครง้ั /นาที ในวัยเด็กทีม่ สี ภาพรา่ งการปกตชิ ีพจรจะเตน้ เร็วกว่า ผ้ใู หญ่ การออกกาลังกายกม็ ีผลตอ่ อัตราการเตน้ ของชพี จร การออกกาลงั กายทาให้ร่างกายต้องการพลังงาน สูงขนึ้ กว่าปกติ จงึ ต้องมีการแลกเปล่ยี นแกส๊ ท่ปี อดมากข้ึน การสูบฉีดเลอื ดจงึ ต้องสงู ข้นึ เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พุทธโค โรงเรียนโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

14 5.3 การสร้างเสรมิ และดารงประสิทธภิ าพการทางานของระบบไหลเวียนโลหิต 1) เลอื กรบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชนต์ ่อรา่ งกาย 2) ไม่ควรรบั ประทานอาหารทีม่ ีปริมาณไขมนั หรือคอเลสตอรอลสงู 3) หมั่นดแู ลสขุ ภาพตนเองอย่างสมา่ เสมอ ตรวจความดนั โลหิต 4) ไมด่ ื่มเคร่ืองดื่มทมี่ แี อลกอฮอลแ์ ละหลกี เล่ยี งสารเสพติดทกุ ชนิด 5) ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ 6) พกั ผ่อนให้เพียงพอ เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พทุ ธโค โรงเรียนโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

15 6.ระบบยอ่ ยอาหาร (Digestive System) การยอ่ ยอาหาร คือ ขบวนการเปลี่ยนแปลงสารประกอบของอาหารในโมเลกลุ ขนาดใหญ่ใหเ้ ป็นสารประกอบ ของอาหารท่ีมีโมเลกลุ ขนาดเล็กลง พอท่จี ะดูดซมึ เขา้ สรู่ ่างกายและเซลล์ของรา่ งกายสามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ การยอ่ ยอาหารมี 2 วิธีคือ 1. การยอ่ ยแบบเชงิ กล คือ การบดให้ละเอียด โดยใช้ฟนั เคี้ยวซง่ึ ในคนเรามีฟนั อยู่ 32 ซี่ ยน่ื ออกมาจากขากรรไกร ท้ังบนและล่าง ขา้ งละ 16 ซ่ี ได้แก่ ฟันหนา้ 4 ซี่ ฟันเขย้ี ว 2 ซ่ี กราม เลก้ 4 ซี่ และกรามใหญ่ 6 ซีก่ ารยอ่ ยอาหารนนั้ ต้องใช้ ล้นิ เปน็ ตัวชว่ ยในการคลุกเคล้าอาหารใหเ้ ข้ากนั 2.การยอ่ ยเชิงเคมี การใช้นา้ ยาหรอื เอน็ ไซม์ ช่วยทาให้อาหารเปน็ โมเลกุลเลก็ ลงอกี ในการย่อยทั้ง 2 วธิ ี จะดาเนินการควบคู่และต่อเนอ่ื งกนั เพอ่ื ใหส้ ารอาหาร สามารถดดู ซึมเข้าสูก่ ระแสเลือด และถกู พาไปยังเซลลต์ ่างๆของร่างกายเพ่ือสรา้ เปน็ พลังงานต่อไป 6.1 องคป์ ระกอบของระบบยอ่ ยอาหาร 1) ส่วนท่ี 1 เรมิ่ ตงั้ แต่อวัยวะในชอ่ งปาก 1 ฟัน(Teeth) เป็นอวัยวะทีแ่ ขง็ แรงท่ีสุด มีหน้าท่สี าคญั คือการย่อยเชงิ กลโดยการบดเคี้ยว 2 ล้ิน(Tongue) มสี ่วนชว่ ยในการคลกุ เคล้าอาหาร การกลนื และมีส่วนในในการรับรส บริเวณลิน้ จะมเี ย่ือบผุ วิ จะมีตุ่มนูน่ ๆเลก็ เรยี กวา่ “พาพลิ ลา” ซง่ึ สามารถรับรสได้ เม่ืออวัยวะรบั รสที่ล้ินได้จะไดร้ ับการกระตุ้น ให้ ต่อมน้าลายขับนา้ ลายเพ่ิมมากขนึ้ โดยในน้าลายจะมเี อนไซม์ เรียกว่า “อะไมเลส” (Amylase) ทาหน้าที่เปลย่ี นแป้งให้เป็น นา้ ตาลมอลโทส(Maltose) และลิ้นของมนษุ ย์นั้นจะมคี วามรสู้ กึ ที่ ไวทสี่ ุด 2) ส่วนท่ี 2 อวยั วะในส่วนของท่อทางเดินอาหาร 1. หลอดอาหาร(Esophagus) มคี วามยาวประมาณ 10 น้วิ อยู่ระหว่างคอหอยและกระเพาะอาหาร จะมีการสร้างเมือกเพ่ือให้เกดิ กาหลอ่ ล่ืน และมกี ารย่อยเชิงกลโดยการบบี ตวั เอกสารสรปุ ระบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พุทธโค โรงเรียนโคกตะเคยี นวทิ ยา สพม.33

16 2. กระเพาะอาหาร(Stomach) มลี ักษณะคล้ายตวั เจ J รปู ร่างและขนาดของแต่ ละคนจะแตกตา่ งกันออกไปในแต่ละบคุ คล โดยเมื่อรับประทานอาหารสามารถ ขยายตวั ได้อกี 10-40 เทา่ ในกระเพาะอาหารจะมีการยอ่ ยเชิงกลโดยการบบี ตัว ของกล้ามเน้ือทางเดนิ อาหารและมกี ารยอ่ ยทางเคมโี ดยเอนไซมเ์ ปบซิน (Pepsin)จะยอ่ ยโปรตนี ใหเ้ ป็นเปบไทด์ (Peptide) และ เอมไซม์ “เรนนิน” (Rennin) ทาหน้าทยี่ ่อยโปรตีนในนา้ นม 3. ลาไสเ้ ลก็ (Small Intestine) มคี วามยาวมาก ท่สี ดุ 21 ฟุต หรือ 3.4 เมตร มเี สน้ ผา่ นศูนย์กลาง ประมาณ 1 นิ้ว มีลกั ษณะขดพับทบไป มา โดยแบ่งออกเปน็ 3 ส่วน ดังน้ี 1.ลาไสเ้ ล็กส่วนต้น ยาว 1 ฟตุ 2.ลาไสเ้ ลก็ ส่วนกลาง ยาว 8 ฟุต 3.ลาไส้เล็กส่วนปลาย ยาว 12 ฟุต ลาไสจ้ ะมีการยอ่ ยและการดดู ซมึ มากทสี่ ดุ ซึ่งจะมีดงั น้ี เอนไซม์ สารที่ถกู ย่อย ยอ่ ยเป็น มอลเทส (Maltase) นา้ ตาลมอลโทส กลู โคส (Glucose) ซเู ครส (Sucrase) นา้ ตาลซูโครสและนา้ ตาลทราย กลูโคสและฟรุกโทส (Frutose) แล็กเทส น้าตาลแล็กโทส กลู โคสและกาแล็กโทส (Galactose) เอนไซม(์ จากตับอ่อน) สารที่ถกู ย่อย ย่อยเป็น ทริปซนิ (Trypsin) โปรตนี หรอื เปบไทด์ กรดอะมโิ น อะไมเลส แป้ง น้าตาลมอลโทส ไลเปส (Lipase) ไขมัน กรดไขมนั (Fatty Acid)และกลเี ซอรอล 4. ลาไสใ้ หญ่(Large Intestine) เป็นส่วนปลายของทางเดินอาหาร มคี วามยาวประมาณ 1.5 เมตร มี เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 3 น้วิ หน้าที่ของลาไส้ใหญ่ในสว่ นคร่งึ แรก คือ ดูดซมึ ของเหลว น้า เกลอื แร่ และนา้ ตาล กลูโคสที่ยงั เหลอื อยู่ในกากอาหาร สาหรบั ลาไสใ้ หญ่ส่วนคร่ึงหลงั จะเปน็ ที่พกั กากอาหารซ่ึงมีลกั ษณะก่ึงของแข็ง ถา้ กาก อาหารตกค้างอยใู่ นลาไส้ใหญ่หลายวนั ทาให้เกดิ ความลาบากในการขบั ถา่ ย ซ่ึงเรยี กวา่ อาการนีว้ ่า “ท้องผกู ” เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พทุ ธโค โรงเรยี นโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

17 3) ส่วนท่ี 3 อวัยวะเสริมในการย่อยอาหารอน่ื ๆ 1. ตบั (Liver) มีนา้ หนักประมาณ 1.36 กโิ ลกรัม เซลล์ตบั ทาหนา้ ที่ หลังนา้ ดี น้าดีทีห่ ลง่ั ออกมาจะถูกเกบ็ ไว้ในถงุ น้าดี โดยนา้ ดีจะมี ประโยชนช์ ว่ ยการยอ่ ยไขมันในบรเิ วณลาไส้เลก็ 2. ถงุ นา้ ดี(Gallbladder) อยู่ใต้ตบั มขี นาดยาว 8-10 ซม. กว้าง 2.5 ซม. เป็นทเ่ี กบ็ น้าดีทีผ่ ลิตมาจากตับ นา้ ดีไมจ่ ัดวา่ เปน็ เอนไซม์ ทา หน้าทย่ี อ่ ยโมเลกลุ ไขมันให้เลก็ ลง แลว้ น้ายอ่ ยจากตบั อ่อนจะยอ่ ยต่อ 3. ตบั ออ่ น(Pancreas) ทาหน้าที่เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไรท้ อ่ ทา หนา้ ทใี่ นการผลิตน้าย่อยสาหรบั ย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และ ไขมัน 4.ต่อมน้าลาย(Salivary Gland) ผลิตน้าลายได้วันละ 1.15 ลิตร จะคลุกเคล้าอาหาร ทาให้อาหารอ่อนนุ่ม สะดวกในการกลืน ซง่ึ ใน นา้ ลายจะมีเอนไซม์ ทาหนา้ ท่ีย่อยสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตจาพวกแปง้ และไกลโครเจน ใหม้ โี มเลกุลขนาดเลก็ ลง ต่อมน้าลายมีจานวน 3 คู่ ดังน้ี 1.ตอ่ มน้าลายใต้ลนิ้ 1คู่ มีขนาดเลก็ ท่สี ดุ 2.ตอ่ มนา้ ลายใต้ขากรรไกร 1 คู่ 3.ต่อมน้าลายใต้กกหู 1 คู่ 6.2 กระบวนการทางานของระบบย่อยอาหาร 1. การยอ่ ยเชิงกล เป็นการเปลยี่ นแปลงอาหารให้มีขนาดอนุภาคเลก็ ลง โดยการบดเคย้ี วของฟัน 2. การยอ่ ยเชิงเคมี เป้นการเปลย่ี นแปลงอาหารให้มีขนาดอนภุ าคเล็กลง โดยอาศยั เอนไซมห์ รอื น้าย่อยเอนไซม์ เอนไซมเ์ ป็นสารประกอบประเภทโปรตนี ที่รา่ งกายสร้างข้ึน เพือ่ ทาหนา้ ทเ่ี ร่งอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าชวี เคมใี น ร่างกาย เอนไซม์ท่ใี ช้ในการย่อยสารอาหารเรียกว่า \"นา้ ยอ่ ย\" เอนไซม์มสี มบัตทิ ่ีสาคัญ ดังนี้ เปน็ สารประเภท โปรตนี ทสี่ ร้างขึ้นจากส่งิ มีชวี ิตช่วยเร่งปฏกิ ริ ิยาในการยอ่ ยอาหารให้เกดิ เร็วขนึ้ และเม่ือเรง่ ปฏกิ ริ ยิ าแลว้ ยังคงมี สภาพเดิมสามารถใชเ้ รง่ ปฏกิ ิรยิ าโมเลกุลอน่ื ได้อีกมีความจาเพาะตอ่ สารท่ีเกิดปฏิกริ ยิ าชนดิ หนึ่ง ๆเอนไซม์จะ ทางานได้ดเี มื่ออยู่ในสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสม 6.3 การสร้างเสรมิ และดารงประสทิ ธิภาพการทางานของระบบย่อยอาหาร 1) รับประทานอาหารทีส่ ะอาด และปรงุ สุกใหมๆ่ ใหเ้ หมาะสมกับวัย 2) ไม่ควรรบั ประทานอาหารเกินความต้องการของร่างกาย 3) เคี้ยวอาหารให้ละเอยี ดก่อนกลนื เพอื่ ให้อาหารเล็กลงและชว่ ยลดภาระในการย่อยอาหาร 4) รบั ประทานอาหารเป็นเวลา การรับประทานอาหารไม่เป็นเวลาจะทาใหเ้ กิดกรดในกระเพาะอาหาร 5) ฝกึ นสิ ยั การขับถา่ ยอยา่ งน้อยวนั ละ 1 คร้ัง เอกสารสรุประบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พุทธโค โรงเรยี นโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

18 7.ระบบขับถ่าย (Excretory System) ระบบขับถา่ ยทาหน้าทขี่ ับถ่ายของเสียออกจากรา่ งกาย โดยมอี วยั วะสาคัญ ไดแ้ ก่ ไตและตับ นอกจากนยี้ ังมีปอดกาจัดแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ผวิ หนงั จะกาจัด นา้ และเกลือแร่ทร่ี ่างกายไมต่ ้องการออกมาในรูปแบบของเหง่อื ลาไส้ใหญ่กาจดั กาก อาหารออกมาในรูปอจุ จาระ 7.1 องค์ประกอบของระบบขับถา่ ยปัสสาวะ 1.ไต (Kidneys) มจี านวน 1 คู่ อยู่ด้านหลงั ของช่องท้อง รูปรา่ งคล้ายเม็ด ถัว่ แดง ซึ่งโดยทวั่ ไปแล้วไตขา้ งขวาจะมีขนาดใหญ่กว่าไตข้างซา้ ย ในแตล่ ะข้างจะ ประกอบไปดว้ ยหนว่ ยไตหรือเนฟรอน (Nephrons) ประมาณ 1-2 ล้านหน่วย โดน ไตมีหนา้ ทสี่ าคญั ได้แก่ 1) สร้างนา้ ปสั สาวะทเี่ กดิ จากการกรองนา้ โลหติ ทีต่ ซงึ่ ของเสยี สว่ นใหญเ่ กิด จากขบวนการเมแทบอลิซมึ 2) ขบั ของเสียออกจากรา่ งกาย ได้แก่ ยูเรีย ครเี อตนิ นิ แอมโมเนยี กรดยูรกิ และสารพษิ ทีร่ า่ งกายไม่สามารถ ทาลายได้ ซ่งึ เปน็ หน้าท่ีโดยตรงของไตในการช่วยกาจัดของเสยี 3) กับเก็บสารท่ีประโยชน์ต่อร่างกายกลับมาใช้ใหม่ เช่น กลูโคส กรดอะมโิ นฮอรโ์ มน วติ ามนิ ตา่ งๆ 4) รักษาสมดลุ ของน้าภายในร่างกาย ควบคุมปรมิ าณน้าในร่างกายไม่ให้ขับออกมามากเกนิ ไป 5) ควบคุมสมดุลของเกลือแร่ในรา่ งกาย ขบั แรธ่ าตุท่มี มี ากเกนิ ความต้องการออก 6) รักษาสมดลุ กรด-ด่างในโลหติ ซ่ึงโลหิตจะมีค่า pH ประมาณ 7.4 7) สรา้ งและหลั่งฮอร์โมนท่เี กี่ยวข้องกบั การสร้างเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง 2.ท่อไต (Ureters) เป็นท่อกลวงประกอบด้วยกลา้ มเนื้อเรียบทงั้ หมด มีจานวน 2 ท่อ มีความยาว 10-12 นิ้ว ทาหน้าท่รี บั น้าปสั สาวะจากไต เพื่อส่งต่อไปยงั กระเพาะปสั สาวะ ภายในท่อไตจะมลี ิ้น อยู่ภายในเพ่อื ทาหนา้ ทป่ี ้องกนั การไหลย้อนกลบั ของน้าปัสสาวะ 3.กระเพาะปสั สาวะ (Urinary Bladder) ทาหน้าทใี่ นการรับ น้าปสั สาวะทีก่ รองมาจากไตเปน็ ท่ีพักช่ัวคราว เพ่ือป้องกันไมใ่ ห้ ไหลออกตลอดเวลา โดยจะมีระบบประสาทส่วนกลางควบคุม การขับถ่ายอยา่ งอัตโนมตั ิ กระเพาะปัสสาวะสามารถรับนา้ ได้ ประมาณ 200-400 ซี.ซี. (โดยเฉล่ียอยูป่ ระมาณ 250 ซี.ซี.) จะ เกิดความร้สู ึกปวด แตบ่ า้ งครั้งพบวา่ กระเพาะปสั สาวะสามารถ ขยายตวั ไดถ้ ึง 700 ซี.ซี. 4.ท่อปัสสาวะ(Urinary) เป็นส่วนต่อจากกระเพาะปสั สาวะ ทาหน้าที่นาปสั สาวะออกจากร่างกาย โดยเพศ หญงิ จะมีทอ่ ยาวประมาณ 4 ซม. เพศชายจะมคี วามยาวประมาณ 20 ซม. เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พทุ ธโค โรงเรียนโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

19 7.2 กระบวนการทางานของระบบขับถา่ ยปัสสาวะ เม่ือโลหิตไหลผา่ นไตและหนว่ ยไตจะมกี ารกรองและการดูดซึมสาร ทป่ี ระโยชนแ์ ละน้าบางสว่ นกลบั เขา้ ไปใชใ้ หม่ในร่างกาย ส่วนสารซ่ึง ร่างกายไมไ่ ด้ใช้ประโยชนแ์ ละน้าบางส่วนจะถกู ผลิตออกจากไตในรูป ของปัสสาวะ เม่ือปริมาณปัสสาวะมมี ากพอระบบประสาทท่ีควบคมุ การ ขบั ถ่ายปสั สาวะจะกระตุ้นน่ารงกายมีการขับนา้ ปสั สาวะออกมา เมื่อ ร่างกายของคนเรานานา้ เข้าสูร่ า่ งกายน้อย จะสง่ ผลให้การทางานของ ของระบบถา่ ยปัสสาวะด้อยประสทิ ธิภาพลงเพราะไตจะไม่มนี ้าที่เขา้ ไป ใหข้ บั ออกมา จงึ ต้องใช้นา้ ในร่างกายซึง่ อาจเปน็ เลือดท่ีไตดงึ ออกมา เพ่ือใหข้ บั ถ่ายปกติ ดังน้นั เราจึงเห็นว่าปัสสาวะท่ขี ับออกมาจะเหลือเข้ม 7.3 การสรา้ งเสรมิ และดารงประสทิ ธภิ าพของการทางานของระบบ ขับถา่ ยปัสสาวะ 1) ดมื่ นา้ ในปริมาณทเ่ี พียงพอต่อความต้องการของรา่ งกาย คือ 8-10 แก้ว 2) ไม่ควรรับประทานผัทมี่ ีปริมาณของสารออกซาเลตสูง เช่น ใบชะพลู ยอดผัก หน่อไม้ เป็นต้น ผักเหล่านจ้ี ะ ทาให้เกิดการสะสมของผลกึ สารแคลเซียมออกซาเลต ในไตหรอื กระเพาะปสั สาวะ ทาใหเ้ กดิ เปน็ “น่ิว” ได้ 3) ควรรับประทานอาหารประเภทโปรตีน เชน่ เน้ือสัตว์ นม ไข่ ถ่ัวต่างๆ ซงึ่ มปี ริมาณฟอสเฟตสูง เพราะจะชว่ ย ลดอัตราการเกิดน่ิวเ 4) ควรออกกาลังกายเปน็ ประจาสมา่ เสมอ เพราะจะทาใหร้ ะบบขบั ถา่ ยดี 5) ควรทากจิ กรรมนนั ทนาการ เพ่ือผ่อนคลายความเครยี ด 6) ไม่กล้ันปัสสาวะเปน็ เวลานาน เพราะอาจทาใหเ้ กิดการอักเสบตดิ เชื้อในระบบทางเดินปสั สาวะ 7) เมอื่ พบอาการผิดปกติ ใหค้ วรรบี ไปปรกึ ษาแพทย์ทันที เอกสารสรุประบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พทุ ธโค โรงเรยี นโคกตะเคียนวิทยา สพม.33

20 8.ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสาทเปน็ ระบบท่ีคอยคุมควบการทางานของอวัยวะต่างๆให้ประสานและสมั พันธก์ นั อกี ทั้งยังมหี น้าที่ ในการรบั ความรสู้ ึกและตอบสนองต่อสง่ิ เร้าตา่ งๆเพ่ือใหร้ ่างกายตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมทง้ั ภายในและภายนอกร่างกาย ไดอ้ ย่างมีประสิทธิ 8.1 โครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาท ระบบประสาทสามารถแบง่ ส่วนสาคัญใหญไ่ ด้ 2 สว่ น ไดแ้ ก่ 1.ระบบประสารทส่วนกลาง (Central nervous system) ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคมุ และประสานการ ทางานของอวยั วะตา่ งๆในรา่ งกาย ซ่งึ ประกอบดว้ ย 1.1) สมอง (Brain) เปน็ อวยั วะทีส่ าคญั และสลบั ซับซ้อนมาก ซ่งึ สมองแบ่งออกเปน็ 3 ส่วน ดังน้ี 1.สมองส่วนหน้า (Forebrain) 1) เซรีบรมั (Cerebrum) เปน็ สว่ นทีใ่ หญท่ ี่สดุ ในสมอง แบ่งอกเปน็ สมองซกี ซา้ ยและซกี ขวา ทาหน้าที่เก่ียวกับความจา ไหวพริบ ความรสู้ ึกนกึ คิด และความรู้สึกผิดชอบ เปน็ ศูนย์กลางควบคุมการ ทางานของส่วนต่างๆของรา่ งกายที่อย่ใู ต้อานาจจิตใจ เชน่ ควบคมุ การ ทางานของกลา้ มเนอื้ การรบั สัมผสั การพูด การมองเหน็ เปน็ ตน้ 2) ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) อยู่ดา้ นหนา้ ตอนลา่ ง ของสมอง ทาหน้าที่เปน็ ศูนย์กลางควบคมุ กระบวนการและพฤตกิ รรม บางของรา่ งกาย เช่น ควบคุมอุณหภูมิของ่รางกาย การเตน้ ของหัวใจ การนอนหลบั ความดันโลหิต ความหวิ ความอิ่ม เป็นต้น และยังศนู ย์กลางควบคุมอารมณ์และความร้สู กึ ตา่ งๆ เชน่ อารมณเ์ ศรา้ โศก เสยี ใจ อารมณ์ดีใจ เปน็ ต้น 3) ทาลามัส (Thalamus) ทาหนา้ ที่ถา่ ยทอดสัญญาณไปยังสมองส่วนทเ่ี ก่ยี วข้องกบั กระแสประสาทน้ัน 2.สมองส่วนกลาง (Midbrain) เปน็ ส่วนเช่ือมระหว่างสมองส่วนหนา้ กบั สมองสว่ นหลัง ทาหน้าท่รี ับความรูส้ ึกจากไข สันหลังและสว่ นต่างๆของสมอง มีหนา้ ที่เก่ียวกบั การเคล่ือนไหวของลูกตาและมา่ นตา เชน่ ทาให้ลกู ตาลอกไปมาได้ ปดิ เปิดมา่ นตาขณะทีม่ ีแสงเข้ามามาก 3.สมองส่วนทา้ ย (Hindbrain) 1) พอนส(์ Pons) มหี น้าท่คี วบคมุ การทางานกิจกรรมบางอย่าง เชน่ การเค้ยี วอาหาร การเคล่อื นไหวของ กล้ามเนอ้ื ตรงบริเวณใบหน้า การหายใจ การฟงั เป็นตน้ 2) เซรีเบลัม(Cerebellum) ทาหน้าทคี่ วบคุมการทรงตัวของร่างกายโดยดูแลการทางานของสว่ นต่างๆของ ร่างกายและระบบกลา้ มเนื้อต่างๆ ใหป้ ระสานสมั พันธ์กันอย่างเหมาะสม 3) เมดลั ลา ออบลองกาตา(Medulla Oblongata) เปน็ สมองสว่ นท้ายทม่ี ีความสาคัญท่ีสุด ทาหนา้ ทเี่ ป็น ศนู ย์กลางควบคุมการทางานของอวยั วภายในที่สาคัญ เปน็ ศูนยค์ วบคมุ กิจกรรมของระบบประสาทอตั โนมัติ เชน่ การ เตน้ ของหวั ใจ การหายใจ การหมุนเวยี นของโลหิต การกลนื การไอ การจาม เปน็ ตน้ เอกสารสรปุ ระบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พุทธโค โรงเรยี นโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

21 1.2) ไขสันหลัง (Spinal cord) เป็นส่วนตอ่ จากสมองลงไปตามแนวชอ่ ง ของกระดูกสนั หลัง ซง่ึ เร่มิ จากกระดกู สันหลงั ข้อแรกไปจนถงึ กระดูกบน้ั เอว ข้อที่ 2 มเี สน้ ประสาทแตกออกจากข้อสันหลังมากมายไขสันหลงั จะมีเยอื่ ห้มุ 3 ชน้ั และมีของเหลวบรรจุอยใู่ นเยือ่ หุ้มท่ีเรยี กว่า “นา้ เลยี้ งไขสนั หลัง” ทาหน้าทถี่ ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างสมองและสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย ยังควบคมุ ปฏิกริ ิยารีเฟล็กซ์(Reflex Action) หรือปฎกิ ิรยิ าตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ อย่างกะทนั หนั เช่น เมื่อมือบงั เอญิ ถูกไฟ หรือของร้อนจะรบี กระตกุ มอื หนีทนั ที เปน็ ต้น 2.ระบบประสารทส่วนปลาย (Peripheral nervous system) เป็น ระบบประสาทที่เชอ่ื มตอ่ สว่ นตา่ งๆ ของสมองและไขสันหลังไปยังส่วนตา่ งๆของร่างกาย ซ่ึงประกอบไปดว้ ย 2.1) เส้นประสาทสมอง(Cranial nerves) มีอยู่ 12 คู่ โดยจะทอดออกมาจากสมองแล้วผา่ นไปยงั รู ต่างๆ ของกะโหลกศรี ษะ ไปเลี้ยงบรเิ วณศรีษะและลาคอ เส้นประสาทรบั ความรูส้ ึกทาหนา้ ทเี่ กยี่ วกับการเคลื่อนไหวและ เสน้ ประสาททคี่ อยทาหนา้ ทรี่ วม คือ ท้งั รบั ความรู้สกึ และเกี่ยวกบั การเคลื่อนไหว 2.2) เส้นประสาทไขสันหลงั (Spinal nerves) มีอยู่ 31 คู่ ทุกคูจ่ ะทาหนา้ ท่ีรวม คือ รบั ความรสู้ ึก และเก่ียวกบั การเคลื่อนไหว เสน้ ประสาทไขสนั หลังจะประกอบไปด้วยใยประสาท 2 จาพวก ได้แก่ “ใยประสาทรบั ความร้สู ึก” ซึ่งจะนาสญั ญาณจากหน่วยรับความรสู้ ึกไปยงั สมอง และอีกหน่งึ “ใยประสาทส่งั การ” จะนาคาส่ังจาก ระบบประสาทสว่ นกลางไปยงั กล้ามเนือ้ ลายต่างๆทย่ี ึดตดิ กับกระดูกใหท้ างาน 2.3) ระบบประสาทอัตโนมัติ(Autonomic nerves system) เป็นศูนย์กลางการควบคุมของระบบ ประสาท ซงึ่ อยู่ในก้านสมองและส่วนทีล่ กึ ลงไปในสมองเรียกว่า “ไฮโพทาลามัส” ซึ่งระบบประสาทจะทางานประสาน กับฮอรโ์ มนในต่อมไร้ทอ่ เปน็ อสิ ระอยนู่ อกอานาจจติ ใจ ทาหน้าทีค่ วบคุมการทางานของอวัยวะภายในของรา่ งกายเป็น ปกติ เชน่ ควบคุมการไหลเวียนโลหิต การย่อยอาหาร การหายใจ การกาจัดของเสียออกจากรา่ งกายซงึ่ สามารถแบ่งดังน้ี 3.1 ระบบประสาทซมิ พาเทติก (Sympathetic nerves system) เปน็ ระบบประสารทของ การทางานแบบเกิดขึน้ ทันทีทันใด เชน่ ในขณะตน่ื เต้น ประสบภาวะฉุกเฉนิ โดยจะสง่ ผลให้หัวใจเตน้ เร็วขน้ึ รมู ่านตา ขยายออก เพอื่ ปน็ การเตรยี มความพร้อมของรา่ งกายต่อสถานการณน์ ้ัน โดยมีศนู ย์กลางอยทู่ ่ีไขสนั หลังและมเี ส้นใย ประสาทออกมาจากไขสนั หลงั 3.2 ระบบพาราซมิ พาเทติก (Parasympathetic nerves system) ทาหน้าทคี่ วบคมุ การ ทางานของอวัยวะภายใน เสน้ เลอื ดและต่อมต่างๆ ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน ทาใหห้ วั ใจเต้นช้าลง เส้นเลือดคลายตวั เป็นต้น ระบบทงั้ 2ระบบน้จี ะทางานตรงขา้ มกันเสมอ เช่น ระบบประสาทซมิ พาเทติกทาหน้าท่ีกระตุน้ หวั ใจ ทางานเรว็ ขนึ้ แต่ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทาหนา้ ที่ใหห้ ัวใจเต้นชา้ ลง เพื่อเปน็ การรักษาสมดลุ ของร่างกาย เอกสารสรปุ ระบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พทุ ธโค โรงเรยี นโคกตะเคียนวิทยา สพม.33

22 ระบบประสาท ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทส่วนปลาย สมอง เส้นประสาทสมอง สมองส่วนหนา้ เส้นประสาทไขสนั หลัง สมองสว่ นกลาง ระบบประสาทอตั โนมัติ สมองส่วนทา้ ย ไขสนั หลงั ซมิ พาเทตกิ พาราซิมพาเทตกิ 8.2 การสร้างเสริมและดารงประสทิ ธิภาพของการทางานของระบบประสาท 1) หมน่ั สารวจและดูแลสุขภาพของตนเองอย่างสม่าเสมอ โดยการตรวจสมรรถภาพรับความรูส้ ึก 2) ระมัดระวงั การกระทบกระเทือนบรเิ วณศรี ษะ เพราะอาจทาให้ความจาเส่ือม 3) ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอเพื่อชว่ ยใหร้ ่างกายแข็งแรง 4) เลือกรับประทานอาหารท่ีมปี ระโยชนต์ อ่ รา่ งกาย โดยเฉพาะอาหารที่ใหว้ ติ ามนิ บี 1 5) หลีกเลี่ยงการรบั ประทานอาหารประเภทไขมันสูง หรอื อาหารทอด ตลอดจนอาหารจานด่วน 6) พักผ่อนอย่างเพยี งพอ ตลอดจนหากิจกรรมคลายเคลยี ด เอกสารสรุประบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พทุ ธโค โรงเรียนโคกตะเคียนวิทยา สพม.33

23 9.ระบบสืบพนั ธ์ุ (Reproductive System) การสบื พันธข์ุ องมนุษยเ์ ป็นระบบการสืบพนั ธุ์แบบอาศัยเพศ ซง่ึ เกีย่ วขอ้ งกบั การสืบทอดและดารงเผา่ พันธุ์ของ มนุษยใ์ หม้ จี านวนมากขนึ้ ตามธรรมชาติ 9.1 โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของระบบสืบพนั ธุ์ 1.ระบบสืบพนั ธ์ุเพศชาย (Male Reproductive System) เปน็ ระบบท่มี ีความเก่ยี วพันกบั ระบบขับถา่ ย ปสั สาวะของร่างกายเน่ืองจากถงุ เกบ็ น้าอสจุ ิกบั กระเพาะปัสสาวะอยูใ่ นตาแหนง่ ทีใ่ กล้เคยี งกันมากและตัวอสจุ กิ ับน้า ปัสสาวะก็จะเคลอ่ื นออกมาทางท่อปัสสาวะ ตอ่ มสรา้ งนา้ เลย้ี งอุสจิ (Seminal Vesicle) มลี ักษณะคล้ายถงุ ยาวๆ 2 ถุง ทาหนา้ ที่สรา้ งของเหลว สีเหลืองอ่อน ประกอบด้วยเมือก กรดอะมโิ นและ น้าตาลฟรักโทส ซึ่งเป็นแหลง่ พลงั งานของตวั อสจุ ิ ต่อมลกู หมาก (Prostate Gland) ทาหน้าทสี่ ร้างนา้ เมอื กสีขาวข้นเหลวท่ีมีฤทธิเ์ ป็นดา่ งๆอ่อน เพ่ือช่วย ช่องคลอดเพศหญงิ ซึ่งสภาพเปน็ กลาง ทาให้อสุ จิ มชี ีวิต รอดเม่ือเขา้ ส่ชู ่องคลอด ลกู อัณฑะ (Testis) มลี กั ษณะคล้ายรปู ไข่ ทาหน้าท่ี ผลิตฮอร์โมนเพศชาย คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone) หลอดเกบ็ อสจุ ิ (Epididymis) เปน็ หลอด หรือท่อเล็กๆ ที่ขดไปมา ทาหนา้ ท่ีเปน็ ทพ่ี ักชั่วคราวของตัวอสจุ ิ องคชาต หรือลงึ ค์ (Penis) ทาหนา้ ทเี่ ปน็ ทางผ่านของนา้ อสจุ ิ เพือ่ เข้าไปผสมพันธุก์ บั ไขข่ องเพศหญิง การสร้างเซลล์สืบพันธ์เุ พศชาย เม่ือเขา้ สู่วยั รุ่น เพศชายจะสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธ์ุ เรียกวา่ “อสจุ ิ” (Sperm) โดยอสุจิถูกสรา้ งข้ึนในทอ่ ผลติ ตวั อสจุ ิของลกู อณั ฑะ มลี ักษณะ คลา้ ยลูกออ๊ ด ประกอบไปด้วย 3 สว่ น คือ ส่วนหวั ทข่ี นาดโต ซ่งึ เปน็ สว่ น ท่นี วิ เคลียสอยู่และเป็นสว่ นทสี่ าคญั ทีส่ ดุ ในการสบื พันธ์ุ สว่ นคอื มลี ักษณะ เป็นทรงกระบอกยาว และส่วนหางยาวเรียว ชว่ ยในการเคลอ่ื นท่ี เมอ่ื ตวั อสจุ อิ อกสภู่ ายนอกจะมีชวี ติ อยเู่ พยี ง 2-3 ชม. แตถ่ ้าอยู่ในมดลูกจะอยู่ได้ นานประมาณ 24-48 ชม. 2.ระบบสืบพนั ธเุ์ พศหญงิ ระบบสบื พันธุเ์ พศหญิงประกอบไปดว้ ยอวัยวะต่างๆ ที่ทางานสัมพันธ์กันท้ังอวยั วะท่ี อยู่ใกล้กนั และบางส่วนทอี่ ยุ่ไกลกนั ออกไป ระบบสบื พนั ธ์เุ พศหญิงเปรียบเสมือนถนนที่นาพาตัวอสุจขิ องฝ่ายชายไปพบ กับไข่ทที่ ่อนาไข่และพาตวั ออ่อนที่ปฏสิ นธแิ ล้วกลับมาฝังตวั ในโพรงมดลูก เอกสารสรปุ ระบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พุทธโค โรงเรียนโคกตะเคียนวทิ ยา สพม.33

24 เตา้ นม (Breast) มี 2 ข้าง บรเิ วณเตา้ นมของแต่ละขา้ งมหี ลอดเลือด และเสน้ ประสาทไปเลี้ยงอยู่มาก จงึ มีความไวต่อการสมั ผัสตรง ปากมดลกู (Cervix) เปน็ กล้ามเน้ือที่บีบตัวเป้นจังหวะ ซึง่ จะเปิดอ้า ออกเล็กน้อย เพื่อใหต้ ัวอสจุ ิผ่านเขา้ ไปได้ จะยืดออกตวั อยา่ งเต็มท่ี เพือ่ ใหท้ ารกเคลอ่ื นตัวผา่ นออกไปในระหว่างการคลอด มดลูก (Uterus) มรี ปู ร่างคล้ายลูกชมพู่ ในบริเวณองุ้ กระดูกเชิงกราน ทาหนา้ ทีเ่ ป็นท่ีฝังตวั ของไข่ท่ีไดร้ ับการผสมแล้วและเปน็ ทีเ่ จริญเติบโต ของทารกในครรภ์ ทอ่ นา้ ไข่(Oviduct) หรือปีกมดลูก ทาหน้าที่เปน็ ทางผ่านของไข่จาก รงั ไข่ไปยังมดลูก รงั ไข่ (Ovary) ทาหน้าท่ผี ลิตไข่ มาเดือนละ 1 ใบ และผลติ ฮอร์โมนเพศหญิง คอื เอสโทรเจน(Estrogen) และฮอรโ์ มนโพรเจสเทอโรน ช่องคลอด (Vagina) ทาหนา้ ท่ีเปน็ ทางผ่านของตวั อสจุ เิ ข้าสมู่ ดลกู เป็นทางออกของทารกเม่ือครบกาหนดคลอด และ ยงั เป็นชอ่ งสาหรับการไหลออกของประจาเดือน 9.2 การสรา้ งเสริมและดารงประสิทธภิ าพของการทางานของระบบสืบพันธุ์ 1) รับประทานอาหาร 5 หมู่ ลดอาหารจาพวกทม่ี ีไขมันสูงและเพ่ิมอาหารท่กี ากใยสูง 2) หมัน่ ดแู ลรกั ษาทาความสะอาดอวยั วะเพศ เพื่อไม่ให้เกิดการหมกั หมม 3) หลกี เลย่ี งการขับถ่ายทผ่ี ิดลักษณะ เช่น การกล้นั ปสั สาวะและอุจจาระ การใช้ห้องสุขาทีไ่ ม่สะอาด 4) งดและหลีกเลีย่ งการมีพฤติกรรมเส่ยี งทางเพศ เพราะอาจตดิ เช้ือทางเพศสมั พันธ์ โดยเฉพาะเชอ้ื Hiv 5) งดเคร่ืองดื่มสว่ นผสมของแอลกอฮฮล์ 6) หลีกเลี่ยงการใช้ยา สารเสพตดิ หรือสารเคมี เพ่ือกระตุ้นความร้ทู างเพศ เอกสารสรุประบบภายในร่างกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวฒุ พทุ ธโค โรงเรยี นโคกตะเคยี นวิทยา สพม.33

25 10.ระบบต่อมไรท่อ (Endocrine System) เปน็ ระบบทสี่ าคัญตอ่ การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย การเจริญเติบโต การใชพ้ ลังงาน การสืบพันธ์ุ ตลอดจนการ ตอบสนองทางดา้ นอารมณ์ ทาหน้าท่ีผลิตฮอรโ์ มน (Hormone) ฮอร์โมนเหล่านี้จะเขา้ สรู่ ะบบไหลเวยี นโลหิตไปยงั สว่ น ต่างๆของร่างกาย ใหร้ า่ งกายทางานได้อย่างปกติ 10.1 โครงสร้างและหน้าทข่ี องระบบสบื พันธุ์ 1.ตอ่ มเพศ (Gonads) 1.1 เพศชาย คือ อณั ฑะ (Testis) 1.2 เพศหญงิ คอื รังไข่ (Ovary) 2.ต่อมใต้สมองหรอื ต่อมพิทอู ิทารี (Pitutiary gland) 3.ตอ่ มไพเนียล (Pineal gland) 4.ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) 5.ตอ่ มพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland) 6.ต่อมไทมัส (Thymus gland) 7.ตบั อ่อน (Pancreas) 8.ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) 10.2 การสรา้ งเสริมและดารงประสิทธภิ าพของการทางานของระบบสบื พันธุ์ เอกสารสรปุ ระบบภายในรา่ งกาย รวบรวมโดย นายธรี ะวุฒ พุทธโค โรงเรียนโคกตะเคยี นวิทยา สพม.33


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook