Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสังเกตุการสอน ปี 3 ภาค 2

คู่มือสังเกตุการสอน ปี 3 ภาค 2

Published by ประโยชน์ มีสกุล, 2021-11-03 05:26:42

Description: คู่มือสังเกตุการสอน ปี 3 ภาค 2

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน เป็นหน่ึงในกระบวนการผลิตท่ีมีความจําเป็น และสําคัญย่ิง ที่นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิตต้องปฏิบัติระหว่างเรียน เพ่ือการรับรอง ปรญิ ญามาตรฐานวชิ าชพี หลกั สูตร 4 ปี ตามท่ีครุ ุสภากาํ หนด คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียนฉบับน้ีได้เสนอข้อมูลเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ เกณฑ์การวัดและประเมินผล รวมถึงภาระงานของผู้ท่ีเกี่ยวข้องไว้อย่างเหมาะสมและชัดเจน ซึ่งอาจารย์ประจําวิชา ผู้รับผิดชอบรายวิชา นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องสามารถนํามาใช้เป็นแนวปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะของนักศึกษาให้มีความเหมาะสมกับความเป็นครูตามมาตรฐานวิชาชีพ ทางการศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับน้ี ผู้บริหารสถานศึกษา คณาจารย์ จะไดใ้ ช้เปน็ เครื่องมือในการกาํ กบั ดูแลนักศกึ ษาได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และนักศึกษาจะได้ ใช้เป็นแนวทางในการฝกึ ปฏิบตั ิการสอนให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตรต่อไป (ดร.กษมา ประสงคเ์ จริญ) ผอู้ ํานวยการวทิ ยาลัยนาฏศลิ ปเชียงใหม่

2 สารบญั หน้า เรอื่ ง 4 8 ประวตั ิวิทยาลยั นาฏศลิ ปเชยี งใหม่ 9 วิสยั ทศั น์ ปรัชญา ปณธิ าน และวตั ถปุ ระสงค์ 10 เปา้ หมาย อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ 11 ค่านยิ มหลกั 12 สญั ลักษณ์ สีประจําวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปเชยี งใหม่ 12 การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพระหว่างเรียน 12 คําอธิบายรายวชิ า 13 จดุ ประสงค์รายวิชา 14 สมรรถนะของนักศกึ ษา 14 ภาระงานท่ีนกั ศึกษาต้องดาํ เนินการ การวดั และประเมินผล 14 15 - วิธีการวดั ผล 16 - เกณฑ์การประเมินผล 16 บทบาทหนา้ ทขี่ องผทู้ ี่เกย่ี วขอ้ งกับการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ระหว่างเรียน 16 1. บทบาทและหน้าทข่ี องผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา 17 2. คณุ สมบตั ิ บทบาทและหน้าท่ีของครูพเี่ ล้ยี ง 17 3. บทบาทและหน้าทีข่ องอาจารย์นิเทศก์ 20 4. คณุ สมบตั ิ บทบาทและหน้าที่ของนักศกึ ษา 20 ข้อกาํ หนดรายวชิ า 300-21010 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา 1 20 1. เกณฑก์ ารคัดเลอื กสถานศึกษาสําหรับการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ระหว่างเรียน 20 2. ระยะเวลาการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหว่างเรียน 3. ชัว่ โมงของการสอนและการปฏบิ ตั งิ าน คู่มอื การฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรียน หลกั สูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (4 ปี) วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป์

3 สารบญั (ต่อ) หน้า เร่ือง 20 21 4. วันและเวลาการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี 21 5. การลงเวลาปฏบิ ัติงานของนกั ศึกษา 21 6. การพานักเรยี นออกนอกสถานศกึ ษา 22 7. การปฏิบัตงิ านนอกเวลาราชการ 23 ปฏิทนิ การปฏิบตั ิงานของนักศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพระหว่างเรียน 23 อ้างองิ ภาคผนวก ก - ตวั อย่างการจัดทํารายงานขอ้ มูลสถานศกึ ษา - ตวั อย่างแพ่นพับ “ครูดีในดวงใจ” - ตวั อยา่ งรายงานผลการศกึ ษาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนของสถานศึกษา - ตวั อยา่ งรายงานการศึกษาผ้เู รียนเป็นรายกรณี (Case Study) - ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรู้ ภาคผนวก ข - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะความเป็นครู - แบบประเมินแผนการจดั การเรียนรู้สาํ หรบั ครูพี่เลย้ี ง - แบบประเมนิ ความสามารถในการสอนสําหรบั ครพู เ่ี ลย้ี ง - แบบประเมินแผนการจดั การเรียนรสู้ าํ หรบั อาจารย์นเิ ทศก์ก์ - แบบประเมนิ ความสามารถในการสอนสําหรบั อาจารย์นเิ ทศก์ก์ - แบบประเมนิ รายงานข้อมลู สถานศกึ ษา - แบบประเมินแผน่ พับ “ครูดใี นดวงใจ” - แบบประเมินรายงานผลการศึกษาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นของสถานศกึ ษา (กรณีศึกษาผเู้ รยี นเปน็ รายกรณี Case Study) คู่มือการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหว่างเรียน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑติ (4 ปี) วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปเชยี งใหม่ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์

4 ประวตั วิ ทิ ยาลัยนาฏศิลปเชยี งใหม่ ศิลปะ เป็นสิ่งสาํ คัญอยา่ งหนง่ึ ซ่งึ แสดงออกถึงเอกลักษณ์วฒั นธรรมประจําชาติ โดยเฉพาะดา้ น นาฏศลิ ป์ และดรุ ยิ างคศลิ ป์ รวมทง้ั ศลิ ปวัฒนธรรมพ้นื เมอื งของแต่ละทอ้ งถิน่ ล้วนมคี วามงดงามและมี คณุ ค่าย่ิงสมควรท่เี ราชาวไทยจะไดช้ ว่ ยกนั ธํารงรกั ษาไวแ้ ละสง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ แบบแผนต่อไป ปัจจุบันศิลปวัฒนธรรมจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามา และมีอิทธิพล ทําให้ศิลปวัฒธรรม พ้ืนเมืองเปล่ียนแปลงไปในทางเสื่อมลง จึงจําเป็นต้องเร่งแก้ไข โดยการให้การศึกษาแก่ประชาชน ในส่วนภูมิภาค โดยเฉพาะเยาวชน ซึ่งเป็นกําลังของชาติในอนาคต ให้มีความรู้ ความเข้าใจมีทัศนคติ ทถ่ี ูกตอ้ ง และดงี ามตอ่ ศลิ ปวัฒนธรรมอนั เปน็ มรดกของไทย กรมศิลปากรมีนโยบายท่ีจะขยายการศึกษา ด้านนาฏศิลป์ และดรุ ยิ างคศิลป์ ในส่วนภมู ิภาค โดยมีวัตถปุ ระสงค์สําคัญ คอื 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรีให้ได้ มาตรฐานสูงขึ้น สามารถผลิตครู ศิลปิน และบุคลากรทางศิลปะให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน สอดคล้อง กบั ความตอ้ งการของท้องถ่นิ ทางภาคเหนือและประเทศ 2. เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม และดําเนินการอนุรักษ์ พัฒนา ทํานุ บํารุง ส่งเสริม เผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ด้านนาฏศิลป์ ดนตรี แก่เยาวชนทั้งในระบบ และนอกระบบ โรงเรียน รวมหนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั บาล ภาคเอกชน และประชาชนท่วั ไป จังหวัดเชียงใหม่ เป็นศูนย์กลางของดินแดนล้านนาไทยมาต้ังแต่สมัยโบราณมีศิลปวัฒนธรรม อนั ทรงคุณค่ามากมาย และเป็นจังหวัดท่ีเจริญรุ่งเรืองท่ีสุดในภาคเหนือ จึงได้รับการคัดเลือกให้จัดตั้ง โรงเรยี นนาฏศลิ ปส์ ่วนภมู ภิ าคขึ้นเปน็ แห่งแรก เรียกช่ือว่าโรงเรยี นนาฏศิลปเชยี งใหม่ โรงเรียนนาฏศิลปเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนนาฏศิลป์ส่วนภูมิภาคแห่งแรก เปิดสอนคร้ังแรกเม่ือ วันที่ 1 มิถุนายน 2514 โดยอาศัยตึกอายุรกรรมโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เป็นสถานที่เรียน มีนางสาวประนอม ทองสมบุญ เป็นอาจารย์ใหญ่ เชิญผู้ชํานาญทางด้านศิลปะพ้ืนเมืองมาเป็นผู้สอน และรับนักเรียนที่จบช้ันประถมปีท่ี 7 เข้าเรียนหลักสูตรนาฏศิลป์ชั้นต้น จํานวน 143 คน แยกสาขา เรียนเป็นสาขานาฏศิลป์ไทย สาขาดุริยางค์ไทยและเครื่องสายไทย และสาขาคีตศิลป์ไทย ต่อมาในปี พุทธศกั ราช 2516 กรมศิลปากร ได้จัดสรรงบประมาณก่อสร้าง โรงเรียนนาฏศิลปเชียงใหม่ ขน้ึ ที่วัด สังการาม ถนนสุริยวงค์ ซอย 2 ตําบลหายยา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และได้ย้ายมาเรียน ในปีการศกึ ษา 2517 โดยเปดิ สอนหลกั สูตรระดับนาฏศิลปช์ น้ั ตน้ และระดบั นาฏศิลป์ชัน้ กลาง คู่มือการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรียน หลกั สตู รศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วิทยาลยั นาฏศลิ ปเชยี งใหม่ สถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์

5 ในปีการศึกษา 2521 กระทรวงศึกษาธิการได้ยกฐานะโรงเรียนนาฏศิลปเชียงใหม่ เป็นวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2521 โดยมี นางสาวประนอม ทองสมบุญ เป็นผอู้ าํ นวยการคนแรกและจดั การเรยี นการสอนเพิม่ เป็น 3 ระดับชนั้ คือ 1. ระดับนาฏศิลปช์ ั้นต้น รับผู้ท่ีจบชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เข้าเรียนในระดับนาฏศิลป์ ชั้นต้นปที ่ี 1-3 รวม 3 ปี เมอ่ื สําเรจ็ การศึกษาจะได้รับวฒุ ิประกาศนียบัตรนาฏศลิ ปช์ นั้ ตน้ 2. ระดบั นาฏศลิ ปช์ นั้ กลาง รับผู้ทจ่ี บจากระดบั นาฏศิลปช์ น้ั ต้นปที ี่ 3 และผ้เู รยี นจบชัน้ มัธยมศึกษาช้ันปีท่ี 3 เข้าเรียนในระดับนาฏศิลป์ช้ันกลางปีที่ 1-3 รวม 3 ปี เม่อื สําเร็จการศึกษาจะ ไดร้ บั วฒุ ปิ ระกาศนยี บัตรนาฏศิลปช์ ้ันกลาง 3. ระดับนาฏศิลป์ช้ันสูง รับผู้จบระดับนาฏศิลป์ชั้นกลางปีที่ 3 เข้าเรียนในระดับ นาฏศิลปช์ ั้นสูงปที ี่ 1-2 รวม 2 ปี เมอ่ื สําเร็จการศึกษาจะไดร้ ับวุฒปิ ระกาศนยี บตั รนาฏศิลป์ชน้ั สูง นักเรียนทั้ง 3 ระดับช้ัน ต้องเรียนท้ังวิชาสามัญและวิชาศิลปะ วิชาสามัญเรียนตามหลักสูตร ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เช่นเดยี วกบั โรงเรยี นสามัญท่ัวไป และวิชาศลิ ปะนกั เรียนตอ้ งเลือกเรียนตาม ความถนดั วิชาใดวิชาหนึ่งใน 5 สาขาวชิ า คอื 1. สาขาวิชานาฏศิลป์โขน เฉพาะนักเรียนชาย เรียนโขนพระ โขนยักษ์ โขนลิง และ เรียนเกี่ยวกบั ชดุ การแสดงต่าง ๆ ท้งั นาฏศลิ ป์ไทย นาฏศลิ ปพ์ ื้นเมอื ง 2. สาขาวิชานาฏศิลป์ละคร เฉพาะนักเรียนหญิง เรียนนาฏศิลป์ละครพระ นาฏศิลป์ ละครนาง การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย และนาฏศลิ ป์พ้นื เมืองชุดตา่ ง ๆ 3. สาขาวชิ าปีพ่ าทย์ ทัง้ นกั เรยี นชายและนกั เรียนหญงิ เรยี นเกย่ี วกบั การบรรเลงเครือ่ ง ดนตรีท่ีใช้ประกอบวงป่ีพาทย์ เช่นระนาด ฆ้องวง กลอง ปี ฯลฯ การบรรเลงเพลงไทยตา่ ง ๆ การจัดวง ปพ่ี าทยป์ ระเภทตา่ ง ๆ 4. สาขาวิชาเคร่ืองสายไทย ท้ังนักเรียนชายและนักเรียนหญิง เรียนเกี่ยวกับการ บรรเลงเครื่องดนตรีท่ีใช้ในวงเครื่องสาย และวงดนตรีพ้ืนเมือง รวมทั้งดนตรีท่ีใช้ การบรรเลง การจัด วงเคร่ืองสายไทย วงพ้ืนเมอื ง ฯลฯ 5. สาขาวชิ าคีตศิลป์ไทย ทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง เรียนเก่ียวกับการขับร้องเพลง ไทยเดมิ สาํ หรับประกอบการบรรเลง และการแสดงประเภทตา่ ง ๆ ในปีการศึกษา 2541 วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ไดเ้ ปดิ สาขาวิชาเพิม่ อีก 3 สาขา คอื 1. สาขาดนตรสี ากล ทง้ั นกั เรยี นชายและนกั เรียนหญิง 2. สาขาคีตศิลปส์ ากล ท้ังนักเรยี นชายและนกั เรยี นหญิง 3. สาขานาฏศิลปส์ ากล ทงั้ นักเรียนชายและนกั เรียนหญงิ คู่มือการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพระหวา่ งเรียน หลกั สูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (4 ปี) วิทยาลัยนาฏศลิ ปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

6 วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ได้ปรับเปล่ียนตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2545 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2545 เป็นวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศิลปากร กระทรวง วัฒนธรรม ปกี ารศกึ ษา 2546 วิทยาลยั นาฏศิลปเชียงใหม่ ไดจ้ ดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตรการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544 ของวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ระดับช่วงชั้นที่ 3 มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 และระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ปที ี่ 1-3 โดยกาํ หนดให้เรยี นสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน 8 กลุ่ม สาระ และเรยี นสาระการเรยี นรู้วชิ าชพี ซึ่งประกอบดว้ ย ภาควิชาสามัญ - กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย - กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม - กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลานามัย - กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ - กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงาน อาชพี และเทคโนโลยี - กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ภาควิชานาฏศิลป์ - กล่มุ สาระการเรียนรเู้ ฉพาะสาขานาฏศลิ ปโ์ ขน - กลุ่มสาระการเรียนรเู้ ฉพาะสาขานาฏศิลป์ละคร -กลมุ่ สาระการเรียนร้เู ฉพาะสาขานาฏศิลปส์ ากล ภาควิชาดรุ ิยางค์ - กลุ่มสาระการเรยี นรู้เฉพาะสาขาปี่พาทย์ - กลุ่มสาระการเรยี นรู้เฉพาะสาขาเครอื่ งสายไทย - กลุ่มสาระการเรียนรูเ้ ฉพาะสาขาคีตศิลป์ไทย - กลมุ่ สาระการเรียนรู้เฉพาะสาขาดรุ ยิ างค์สากล - กลุม่ สาระการเรียนรูเ้ ฉพาะสาขาคตี ศลิ ปส์ ากล คู่มอื การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ระหว่างเรยี น หลกั สตู รศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปเชียงใหม่ สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์

7 ภายหลังยังมกี ารเพิ่มภาควชิ าดนตรแี ละการแสดงพนื้ บา้ นภาคเหนอื แยกเปน็ - สาขาดนตรพี นื้ บ้านภาคเหนือ - สาขาการแสดงพืน้ บ้านภาคเหนอื เพ่ือให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา ที่เน้นให้มีหลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการสืบสาน อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิน่ ให้คงอยู่และพัฒนาให้เจริญ ยิ่งขนึ้ นกั เรียนนักศึกษาท่เี รียนอยู่วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ยังมีโอกาสได้ฝึกประสบการณ์ด้วยการ แสดงเผยแพร่ศลิ ปวัฒนธรรมในโอกาสต่าง ๆ ตามท่ีวทิ ยาลัยมอบหมายเป็นประจํา หลักสตู รปรญิ ญาตรี สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์ เปน็ สถาบันการศกึ ษาในระดบั อดุ มศึกษาทางด้านศิลปวัฒนธรรมท่ีมี ความเปน็ เลศิ ในการผลติ บัณฑิต เปดิ สอนทั้งหมด 3 คณะ คือ คณะศิลปวิจิตร คณะศิลปนาฏดุริยางค์ และคณะศิลปศึกษา เพื่อมุ่งผลิตศิลปิน นักวิชาการ ครูศิลปะ นักวิจัย ทั้งในระดับชาติและระดับ ท้องถิ่นและมีห้องเรียนเครือข่ายท้ังหมด 11 แห่งทั่วประเทศ ปีการศึกษา 2547 วิทยาลัยนาฏศิลป เชียงใหม่ สถาบนั บัณฑติ พฒั นาศิลป์ กรมศลิ ปากร ได้เปิดการเรียนการสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี จํานวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต (ศษ.บ) 5 ปี โดยมุ่งเน้นผลิตบุคลากรทางการ ศึกษาด้านนาฏศิลป์และดุริยางค์ศิลป์ ในสาขานาฏศิลป์ไทยศึกษา สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษา และหลกั สตู รศิลปบัณฑติ (ศ.บ.) 4 ปี โดยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตเพ่ืออนุรักษ์และสืบทอดศิลปะดนตรีและ การแสดงพ้ืนบ้านภาคเหนือ เปิดสอน 1 แขนงวิชา คือ แขนงวิชาดนตรีและการแสดงพ้ืนบ้าน ภาคเหนือ โดยรับนักศึกษาที่จบจากระดับนาฏศิลป์ช้ันกลางเข้าศึกษาต่อ นับเป็นความก้าวหน้าทาง การศกึ ษาดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม ท่กี ระจายมาสู่ภมู ภิ าคอกี ระดับหนึ่ง ปกี ารศึกษา 2550 มกี ารปรบั เปลีย่ นตามพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2550 เมื่อวนั ท่ี 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยยกฐานะสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ข้ึนเป็นส่วนราชการ และให้ วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ รวมท้ังวิทยาลัยนาฏศิลปและวิทยาลัยช่างศิลปในสังกัดทุกแห่ง เป็นส่วน ราชการภายใตส้ ถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ กระทรวงวัฒนธรรม จนถึงปจั จุบนั ปี พ.ศ. 2562 ปรับปรุงหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต 4 ปี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา ครศุ าสตร์และสาขาศกึ ษาศาสตร์ (หลกั สตู รสี่ปี) พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย 2 หลักสูตร ดังน้ี 1. หลักสตู รศึกษาศาสตรบณั ฑติ 4 ปี สาขาวชิ านาฏศิลปศ์ ึกษา 2. หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต 4 ปี สาขาวชิ าดนตรีศึกษา คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ระหว่างเรียน หลักสตู รศึกษาศาสตรบณั ฑิต (4 ปี) วทิ ยาลัยนาฏศิลปเชยี งใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์

8 วิสัยทัศน์ (Vission) วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้านภาคเหนือ สร้างองค์ ความรู้ภูมิปัญญาไทย เป็นศูนย์กลางในการธํารงเอกลักษณ์ของชาติ และสร้างเครือข่ายประชาคม อาเซียน ปรัชญา (Philosophy) “สาธุโข สปิ ป์ นาม อปี ยาทิสกีทส์ ข้ึนชื่อว่าศิลปะแม้เช่นใด เช่นหนึ่ง ก็ยังประโยชน์ให้สําเร็จ ได้”(สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานในโอกาส ครบรอบ 60 ปี วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป เมอ่ื วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2537) ปณิธาน (Determination) วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ เป็นสถาบันท่ีมุ่งส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม วิชาการ การวิจัย การบริการ วิชาการ และสารสนเทศ เป็นศูนย์กลางด้านนาฏดุริยางคศิลป์และ ศิลปวฒั นธรรมพืน้ บ้านภาคเหนอื สปู่ ระชาคมอาเซยี น วัตถปุ ระสงค์ (Objective) 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรี ให้ได้มาตรฐาน สูงข้ึน สามารถผลิตครู ศิลปิน และบุคลากรทางศิลปะ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน สอดคล้องกับความ ต้องการของท้องถิ่นทางภาคเหนอื และประเทศ 2. เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม และดําเนินการอนุรักษ์ พัฒนา ทํานุบํารุง สง่ เสรมิ เผยแพรศ่ ลิ ปวฒั นธรรมด้านนาฏศิลป์ ดนตรี แก่เยาวชนท้ังในระบบและนอก ระบบโรงเรียน รวมทัง้ หนว่ ยงาน ภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชนทว่ั ไป 3. สรา้ งสรรค์/วิจัย ดา้ นศิลปวฒั นธรรม/ดา้ นวิชาการศึกษา เป้าหมาย (Goal) 1. ผลิตนกั เรียน นักศกึ ษาที่มีคุณภาพ ทัง้ 4 ดา้ น คือ 1.1 ด้านอนุรกั ษ์ อนุรักษ์นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคเหนือ โดยศึกษา ค้นควา้ รปู แบบ วิธีการและเนอื้ หาทีเ่ ป็นเอกลกั ษณข์ องทอ้ งถ่นิ และประเทศชาติ คู่มอื การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑิต (4 ปี) วิทยาลยั นาฏศลิ ปเชียงใหม่ สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป์

9 1.2 ดา้ นพฒั นา พฒั นา ปรับปรุง และบรู ณาการ รปู แบบ กระบวนการในการเรียนรู้ นาฏศิลป์ ดุริยางค ศลิ ป์ และศิลปวฒั นธรรมพ้นื บา้ นภาคเหนือ ไปใช้ให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ 1.3 ด้านสรา้ งสรรค์ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดประดิษฐ์และสามารถประยุกต์การแสดงนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และศลิ ปวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคเหนือท่ีเป็นแนวทางความคดิ ของตนเองได้ 1.4 ด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรม เป็นผูม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์ 2. สร้างสรรค์/วจิ ยั ด้านศลิ ปวฒั นธรรม/ด้านวิชาการศกึ ษา 3. เป็นศูนย์กลางด้านนาฏดุริยางคศิลป์และศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้านภาคเหนือสู่ประชาคม อาเซียน 4. เพ่ือเผยแพร่ แลกเปลยี่ นศิลปวฒั นธรรมแก่ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ อตั ลักษณ์ (Identity) นาฏศิลปด์ นตรคี ือ ชวี ติ อตั ลักษณส์ ถาบนั (Identity) สบื สาน สรา้ งสรรค์ งานศลิ ป์ เอกลักษณ์ (Uniqueness) ตํารงความสง่างามด้านการอนุรักษ์ สืบสาน สร้างสรรค์ เผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน ภาคเหนือ เอกลกั ษณส์ ถาบนั (Uniqueness) เปน็ ผูน้ าํ ดา้ นงานศลิ ป์ ค่านยิ มหลกั (Core Values) คุณลกั ษณะและบรรทัดฐานทม่ี คี วามเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของแต่ละสถาบันอุดมศึกษาที่กําหนด ไว้เพื่อให้ บุคลากรยึดถือปฏิบัติร่วมกัน และส่งผลต่อพฤติกรรมในการปฏิบัติงานของบุคลากรภายใน สถาบนั และความสําเรจ็ ของสถาบนั บัณฑติ พฒั นศลิ ป์ คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วิทยาลยั นาฏศิลปเชยี งใหม่ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์

10 คา่ นิยมหลกั คอื เราประสบความสําเรจ็ รว่ มกัน W = Wisdom มีจิตวิญญาณแห่งภูมิปัญญา คือ มีจิตวิญญาณการจัดการความรู้ ที่เชื่อมโยง กนั ทกุ ดา้ น ทกุ มิติเข้าด้วยกนั การคดิ ค้น ลงมือปฏบิ ตั ิจริง ทาํ จริง ปรบั ปรุงแกไ้ ขจนเกดิ เปน็ องคค์ วามรู้ E =Efficiency in Education of Artsมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาทางด้าน ศิลปะคือมีความพร้อม ในทุกด้านในการบริหารจัดการศึกษาทางด้านศิลปะและมีใจเป็นกลางในการ บรหิ ารจดั การ A = Academic Excellenceความเป็นเลิศทางวิชาการ คือ สร้างสรรค์และเผยแพร่งานทาง วชิ าการ/ศลิ ปวัฒนธรรมแกส่ งั คมใหเ้ ป็นทีป่ ระจกั ษ์ R = Read for Development การอ่านเพื่อพัฒนา คอื การอ่านเป็นการเพ่ิมความรู้ท่ีสําคัญ ทีส่ ดุ ทจี่ ะนําไปสอู่ งคค์ วามรู้ที่จะไปพฒั นาองคก์ รในดา้ นตา่ งๆ E = Equality by Teamwork ความเสมอภาคในการทํางานโดยเน้นการทํางานเป็นทีม คือ การท่อี งค์กรจะพฒั นาให้ก้าวหนา้ ไปได้นนั้ ตอ้ งไดร้ บั ความร่วมมือจากทุกคน และทกุ คนที่รับผิดชอบใน งานนั้นๆมีความสําคัญเสมอกนั และทาํ ให้งานขององคก์ รดําเนนิ การบรรลุเป้าหมาย W = Wiแful by Integrity and Moralมคี วามมงุ่ มน่ั ตงั้ ใจทํางานโดยยึดความชอบธรรมอยา่ ง เตม็ ศักยภาพ คอื ใชห้ ลักคุณธรรมจริยธรรมโดยอทุ ิศเวลาและความถูกตอ้ งในการปฏิบตั ิงาน I = improve ourselvesการพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่องสฎม่าเสมอคือ การเสริมสร้างความรู้ ให้กบั ตนเองด้วยวิธกี ารต่างๆ แบบตอ่ เนือ่ งและสมา่ํ เสมอ N = Network and Communication การเป็นเครือข่ายที่มปี ฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน คือ มีการ ติดตอ่ สื่อสาร แลกเปลีย่ นความรู้ความคดิ เห็นซงึ่ กันและกนั ท้ังภาครฐั และภาคเอกชนอยา่ งสฎม่าเสมอ S = Successful by Good Governance ความสําเร็จร่วมกันโดยใช้หลักธรรมาภิบาล คือใช้ หลักธรรมาภิบาลในการพฒั นาองคก์ รใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและความกา้ วหน้าร่วมกัน คู่มือการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑติ (4 ปี) วทิ ยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์

11 สญั ลกั ษณ์ ความหมายของตราประจาํ สถาบนั พระคเณศเปน็ เทพเจ้าของอินเดีย นับถือกันว่าเป็นเทพเจ้า แห่งศิลปะวิทยาการทั้งปวง ซ่ึงหมายรวมถึงความเป็นเจ้าแห่งสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ ความ กล้าหาญ ตลอดจนเป็นผู้พิทักษ์ไว้ซ่ึงความยุติธรรม นอกจากน้ีชาวฮินดูยังคงให้ความสําคัญกับพระ คเณศในฐานะเป็นเทพ ประจําความขัดข้องและเป็นผู้อํานวยความสําเร็จให้แก่กิจการต่างๆ อีกด้วย ดังน้ันพระคเณศจึงได้นามเฉพาะว่า “วิฆเนศวร” หมายถึงผู้เป็นใหญ่ใน ความขัดขอ้ งหรืออุปสรรคและ “สทิ ธดิ า” หมายถึง ผ้อู าํ นวยความสาํ เร็จผล ด้วยเหตทุ พ่ี ระคเณศมคี ุณสมบตั แิ ละความสําคัญดังกล่าว ชาวฮินดูจึงคติเช่ือกันว่าเมื่อจะประกอบพิธีกรรมในลัทธิ ศาสนา หรือศึกษาเล่าเรียนศิลปวิทยาการ ต้องกลา่ วคาํ ไหว้บชู าตอ่ พระคเณศกอ่ น เพอื่ ใหป้ ลอดภัยรอดพน้ จาก ความขัดขอ้ งหรอื อปุ สรรคทง้ั ปวง ตลอดจนอาํ นวยพรใหเ้ กิดความสําเร็จลุล่วงด้วยดีในกิจการต่างๆลักษณะของพระคเณศ มีรูปกายเป็น มนษุ ย์ มีเศียรเปน็ ช้าง มงี าเดยี ว สีประจาํ วิทยาลยั นาฏศิลปเชยี งใหม่ สเี ขยี ว และสขี าว ค่มู ือการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหว่างเรียน หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วทิ ยาลยั นาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป์

12 การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหว่างเรยี น ตามประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง รายละเอียดของมาตรฐานความรู้และ ประสบการณ์วิชาชีพครู ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 ได้กําหนดให้นักศึกษาต้องผ่านการประเมินตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขท่ีคุรุสภากําหนด ใน 2 มาตรฐาน ดงั น้ี 1. การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ซึ่งหลักสูตรกําหนดให้ศึกษาในรายวิชา 300 - 21010 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1 ชน้ั ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 2. การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ซ่ึงหลักสูตรกําหนดให้ศึกษา ในรายวิชา 300-21011 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2 ช้นั ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 คาํ อธบิ ายรายวชิ า 300-21010 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6 (0-45-0) (Internship 1) ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน โดยบูรณาการความรู้วิชาเฉพาะกับวิชาชีพครู กําหนดให้มีการสังเกตพฤติกรรมการสอนของครู และคุณลักษณะของครูท่ีดี สังเกตพฤติกรรม ของนักเรียนแต่ละช่วงวัย และพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนในแต่ละรายวิชา การบริหารงาน ในสถานศึกษา ตลอดจนอาคารสถานท่ี สภาพแวดล้อมในโรงเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน รายวิชาเฉพาะ ฝึกการเป็นผู้ช่วยครู ทดลองสอนวิชาเฉพาะในสถานการณ์จริง ฝึกการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ฝึกวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อดูแล ช่วยเหลือ พัฒนาและรายงาน ผลการพัฒนาผูเ้ รยี นเปน็ รายบคุ คลอย่างเปน็ ระบบ จดั การสัมมนาวชิ าการ และวชิ าชพี หมายเหตุ ท้งั น้ีให้จดั ประสบการณ์วชิ าชีพระหว่างเรยี นร่วมกับรายวิชาอ่นื ทกุ ชัน้ ปีอยา่ งตอ่ เน่ือง จุดประสงคร์ ายวิชา รายวิชาน้ีมีจุดประสงค์ให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จากการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม โดยการสงั เกตแบบมสี ่วนร่วมในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1. สงั เกตพฤติกรรมการสอนและคุณลักษณะของครทู ดี่ ี 2. สงั เกตความแตกตา่ งของพฤตกิ รรมและพัฒนาการของนกั เรยี นแตล่ ะช่วงวัย 3. ศกึ ษาการบริหารงานในสถานศกึ ษา ตลอดจนอาคารสถานที่ สภาพแวดลอ้ มในโรงเรียน 4. ฝึกการเป็นผู้ชว่ ยครู 5. ฝกึ ออกแบบการจดั การเรียนร้ทู ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสําคญั คมู่ อื การฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพระหวา่ งเรยี น หลักสตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต (4 ปี) วทิ ยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์

13 6. ทดลองสอนวิชาเฉพาะในสถานการณจ์ ริง 7. ฝึกวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อดูแล ช่วยเหลือ พัฒนา และรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนเป็น รายบคุ คลอยา่ งเป็นระบบ 8. จัดกิจกรรมสัมมนาวิชาการและวิชาชีพ เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้ทัน ต่อความก้าวหนา้ ทางดา้ นวชิ าการ สมรรถนะของนกั ศกึ ษา 1. สามารถปฏิบัติหน้าท่ีผู้ช่วยสอน และเป็นผู้สอนร่วมในสถานศึกษาโดยประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีให้เกิดประโยชนต์ อ่ การเรียนรขู้ องผ้เู รียน 2. สามารถออกแบบการจัดการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสําคัญ ภาระงานทนี่ กั ศึกษาตอ้ งดําเนนิ การ มดี งั น้ี นักศึกษาต้องมีการจัดทําแฟ้มสะสมผลงาน (Port Folio) เพ่ือรายงานผลการฝึก ประสบการณว์ ิชาชพี ระหว่างเรียน รวมถงึ ภาพถ่ายผลงาน และกิจกรรมท่ีได้มีส่วนร่วมกับสถานศึกษา และชมุ ชนในระหวา่ งฝึกประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรียน โดยภายในแฟ้มสะสมผลงานประกอบดว้ ย 1.รายงานขอ้ มูลสถานศึกษา (20 คะแนน) เป็นการดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลสถานศึกษาและผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ระหว่างเรียนของนกั ศกึ ษา โดยมหี วั ข้อดังตอ่ ไปนี้ - ศึกษาสภาพแวดล้อมท่ัวไปภายในโรงเรียน - การแบ่งโครงสรา้ งการบรหิ ารงานในโรงเรียน - ข้อมูลเก่ียวกบั นกั เรียน ได้แก่ ระดับช้นั จาํ นวนนักเรียนตอ่ ชน้ั - บรรยากาศและระเบียบปฏิบัติของห้องเรียน - ขอ้ มูลเก่ยี วกับบริบทของสถานศกึ ษาและชุมชน เช่น จุดเน้นหรือเอกลักษณ์ของ สถานศกึ ษาและชุมชน เปน็ ตน้ - ฝึกปฏิบัติการเปน็ ผู้ชว่ ยครู และงานธุรการในชั้นเรียน 2. แผน่ พบั “ครูดีในดวงใจ” (20 คะแนน) เป็นการศึกษาประวัติ ผลงาน แนวคิด เป้าหมายในการทํางานของผู้สอนท่ีนักศึกษา ประทับใจในคุณลักษณะของการเป็นครูที่ดีภายในสถานศึกษาที่นักศึกษาไปฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ ระหว่างเรียน โดยไมก่ ําหนดสาขา คู่มือการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรียน หลักสตู รศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปเชยี งใหม่ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์

14 3. รายงานผลการศึกษาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษาและการศึกษาผู้เรียน เปน็ รายกรณี (Case Study) (30 คะแนน) 1) เป็นการศึกษาระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนของสถานศกึ ษา 2) เป็นการฝกึ วเิ คราะห์ผู้เรียนเพือ่ ดูแลชว่ ยเหลือ พฒั นาและการศึกษาผูเ้ รยี นเป็น รายกรณี (Case Study) 4. แผนการจัดการเรียนรู้และการทดลองสอน (30 คะแนน) เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สนองความต้องการของผู้เรียน และคํานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล สามารถนําไปทดลองสอนในสถานการณจ์ รงิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 8 ครั้ง 5. ภาพถ่ายผลงาน และกิจกรรมท่ีได้มีส่วนร่วมกับสถานศึกษาและชุมชน ในระหว่าง ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ระหว่างเรียน การวดั และประเมนิ ผล วิธีการวดั ผล ผู้ประเมิน วธิ ีการวัดผล เครอื่ งมอื การวดั ผล นาํ้ หนกั คะแนน ผบู้ รหิ าร ประเมนิ คณุ ลักษณะความเป็นครู แบบประเมนิ คุณลกั ษณะความเป็นครู 10 ครูพ่เี ลย้ี ง - ประเมินการจัดทําแผนการ - แบบประเมินการจัดทําแผนการ 30 จดั การเรียนรู้ จัดการเรยี นรู้ - ประเมินความร้คู วามสามารถการ - แบบประเมนิ ความรคู้ วามสามารถ สอน ในการสอน อาจารย์ - ประเมินการจัดทําแผนการจัด - แบบประเมินการจัดทําแผนการ 50 นิเทศก์ การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ - ประเมินความรคู้ วามสามารถ - แบบประเมนิ ความรคู้ วามสามารถ การสอน ในการสอน - ประเมนิ รายงานขอ้ มูลสถานศกึ ษา - แบบประเมนิ รายงานขอ้ มูล - ประเมินแผน่ พับ “ครดู ีในดวงใจ” สถานศกึ ษา - ประเมนิ รายงานผลการศกึ ษา - แบบประเมนิ แผน่ พบั “ครูดีในดวงใจ” ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น - แบบประเมนิ รายงานผลการศึกษา ของสถานศกึ ษา ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนของ สถานศกึ ษา คมู่ ือการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรียน หลักสูตรศึกษาศาสตรบณั ฑิต (4 ปี) วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปเชียงใหม่ สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์

15 ผู้ประเมิน วิธีการวัดผล เครอ่ื งมอื การวัดผล นํ้าหนกั คะแนน ผรู้ บั ผิดชอบ - ประเมินรายงานผลการศกึ ษา - แบบประเมนิ รายงานผลการศึกษา รายวชิ า ผ้เู รยี นเปน็ รายกรณี ผเู้ รยี นเปน็ รายกรณี 10 - แบบบันทึกการเข้ารว่ มกิจกรรม - การเข้ารว่ มปฐมนเิ ทศ ปฐมนิเทศ - การเขา้ ร่วมสมั มนา - แบบบันทึกการเขา้ รว่ มกจิ กรรม สมั มนา เกณฑ์การประเมินผล ผลการเรยี นเทา่ กบั A ผลการเรียนเทา่ กับ B+ คะแนน 90 - 100 ผลการเรยี นเท่ากบั B คะแนน 85 - 89 ผลการเรยี นเท่ากบั C+ คะแนน 80 - 84 ผลการเรยี นเทา่ กบั C คะแนน 75 - 79 ผลการเรียนเท่ากบั D+ คะแนน 70 - 74 ผลการเรยี นเท่ากบั D คะแนน 65 - 69 ผลการเรยี นเทา่ กับ F คะแนน 60 - 64 คะแนนต่ํากวา่ 60 ค่มู อื การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑิต (4 ปี) วิทยาลยั นาฏศลิ ปเชยี งใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์

16 บทบาทหน้าทข่ี องผูท้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหวา่ งเรยี น 1. บทบาทและหนา้ ทีข่ องผบู้ ริหารสถานศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา หมายถงึ ครูใหญ่ อาจารยใ์ หญ่ หรอื ผ้อู าํ นวยการ 1) ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 2) ใหค้ าํ แนะนาํ แก่นกั ศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน เช่น การสอน การจัดกิจกรรม ความประพฤติ ฯลฯ 3) ดแู ลความปลอดภัยแกน่ กั ศึกษาฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหว่างเรยี น 4) ใหค้ ําแนะนําครพู ่ีเลย้ี ง ในการดแู ลนักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพระหว่างเรียน 5) ส่งเสริมสัมพันธภาพอันดีระหว่างนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียนกับนักเรียน ครพู ี่เล้ยี งผปู้ กครอง และชุมชน 6) ประสานอาจารย์นิเทศก์ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากวิทยาลัย เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับนักศึกษา ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ระหว่างเรียน 7) ให้ข้อเสนอแนะแก่วิทยาลัย เพื่อพัฒนากระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ในสถานศกึ ษาให้มปี ระสิทธิภาพดียิง่ ขน้ึ 8) ประเมนิ คณุ ลกั ษณะความเป็นครูของนักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรยี น 2. คณุ สมบตั ิ บทบาทและหน้าทข่ี องครูพ่เี ลย้ี ง 2.1 คณุ สมบัติ ครพู เ่ี ลย้ี ง ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ดิ ังนี้ 1) มีคณุ วุฒไิ ม่ต่ํากว่าปริญญาตรีทางดา้ นนาฏศลิ ปห์ รือดนตรี 2) มปี ระสบการณ์ในการสอนไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปี 3) มีคุณลักษณะของความเปน็ ครู 4) มใี บอนุญาตประกอบวชิ าชีพครู 5) เปน็ ครูประจําการของสถานศกึ ษาท่เี ปน็ ข้าราชการ พนกั งานราชการ หรือมสี ญั ญาจ้าง ไม่นอ้ ยกวา่ 9 เดอื นในปกี ารศึกษาน้นั 2.2 บทบาทและหน้าท่ี 1) แนะนาํ นกั ศึกษาแกผ่ ูเ้ รียนในช้ันเรยี น 2) แนะนํานกั ศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจสภาพการเรยี นและปญั หาของผเู้ รยี น 3) เปดิ โอกาสใหน้ กั ศึกษาได้สังเกตการสอนของตน ก่อนลงมอื ปฏิบัติจรงิ 4) ให้คําแนะนําเก่ียวกับการทําแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา และแผนการจัดการเรียนรู้ รายสปั ดาห์ คมู่ ือการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรียน หลักสูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป์

17 5) สาธิตการสอน แนะนาํ และทาํ กิจกรรมตา่ งๆ ในชั้นเรียนใหด้ เู ปน็ แบบอยา่ ง 6) สงั เกตการสอนและการทํางานของนักศึกษาอยู่เสมอ ไม่ปล่อยให้สอนโดยลําพัง ช่วยแก้ไข ขอ้ บกพร่องอย่างมีหลักการ เพ่ือใหก้ ารจดั การเรียนการสอนดําเนนิ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ 7) ช่วยแนะนํานักศึกษาในด้านการเลือกใช้ เลือกผลิตส่ือการสอน/ผลงานทางวิชาการ ตลอดจนแหลง่ วิทยาการต่างๆ 8) ตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้รายสปั ดาห์ พร้อมทง้ั เขียนข้อเสนอแนะล่วงหน้า ก่อนนักศึกษา ทําการสอน 9) ปรึกษาหารือ และวางแผนร่วมกับอาจารย์นิเทศก์ เพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ ของนกั ศกึ ษา 10) วดั และประเมนิ ผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 11) ใหค้ ําปรกึ ษา และแนะนําเกี่ยวกบั การปฏิบัตงิ านดา้ นต่างๆ อยา่ งเหมาะสม 3. บทบาทและหนา้ ทข่ี องอาจารย์นเิ ทศก์ 1) นํานักศึกษาไปรายงานตัวกับผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือทราบนโยบายของสถานศึกษา และสร้างสมั พันธภาพอนั ดีตามโอกาสอนั สมควร 2) นิเทศการสอนของนกั ศึกษา จํานวน 1 ครงั้ /ภาคการศึกษา 3) ใหค้ าํ ปรึกษา ชว่ ยเหลอื และเสนอแนะเกีย่ วกบั การปฏบิ ตั งิ านและการปฏบิ ัตติ น 4) ให้ความร่วมมือกับครูพ่ีเล้ียงเพ่ือปรึกษาและวางแผนร่วมกันพัฒนาและแก้ไขปัญหาต่างๆ ของนักศกึ ษา 5) เข้าร่วมสมั มนาร่วมกบั นกั ศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาประสบการณว์ ชิ าชีพครู 6) ประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียนของนักศึกษาโดยร่วมมือกับครูพี่เล้ียง ตามระยะเวลาท่กี ําหนด 4. คุณสมบัติ บทบาทและหน้าทข่ี องนกั ศกึ ษา 4.1 คุณสมบตั ิ 1) นกั ศึกษาชน้ั ปที ี่ 3 ทส่ี อบผา่ นรายวชิ าชีพครู จํานวน 26 หน่วยกิต 2) มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ดี 4.2 บทบาทและหน้าทีข่ องนักศึกษา 4.2.1บทบาทและหนา้ ที่ของนักศกึ ษาตอ่ สถานศึกษา 1) เคารพและปฏบิ ัติตามนโยบายของสถานศกึ ษา 2) ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบของสถานศกึ ษาโดยเคร่งครัด 3) ใหค้ วามรว่ มมือในกจิ กรรมตา่ งๆ ของสถานศกึ ษาอย่างเต็มตามศกั ยภาพ 4) ปฏบิ ตั ิตามคําสั่งท่ีไดร้ บั มอบหมายจากสถานศกึ ษา คู่มือการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรยี น หลกั สตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต (4 ปี) วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป์

18 5) ร่วมกจิ กรรมต่างๆ ของสถานศึกษาตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 6) แตง่ กายถกู ตอ้ งตามระเบยี บของสถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป์ 7) มีมนุษยสัมพันธท์ ด่ี ตี ่อบุคลากรและเพอื่ นร่วมงานในสถานศึกษา 8) รว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ทรพั ย์สินของสถานศกึ ษา 4.2.2 บทบาทและหน้าทขี่ องนักศกึ ษาตอ่ ครพู เ่ี ลย้ี ง 1) เรียนรู้วธิ กี ารทํางานและใหค้ วามร่วมมอื กับครพู ี่เล้ยี งอย่างเต็มความสามารถ 2) ให้เกยี รติ ยกย่อง และรับฟังความคดิ เหน็ คาํ แนะนาํ และคาํ ตชิ มของครูพีเ่ ลีย้ ง 3) เตรียมความพร้อมทางด้านเน้ือหาวิชาเทคนิคการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ และขอคาํ ปรึกษาจากครพู ีเ่ ลย้ี งทุกครงั้ 4) วางแผนการทาํ งานอยา่ งมีระบบรว่ มกับครูพเ่ี ลยี้ ง และปรกึ ษาปัญหาต่างๆ อยา่ งเปดิ เผย 5) รักษาเวลานดั หมายกบั ครูพเ่ี ลย้ี งอยา่ งเคร่งครัด 4.2.3 บทบาทและหน้าทข่ี องนักศึกษาตอ่ อาจารย์นเิ ทศก์ 1) ปฏบิ ตั ิตามคําส่งั และคาํ แนะนําของอาจารยน์ เิ ทศก์ 2) นําส่งตารางสอนให้แก่อาจารย์นิเทศก์ภายในสัปดาห์แรกที่นักศึกษาไปฝึก ปฏิบัตงิ านวิชาชีพครูระหว่างเรียน เพอ่ื อาจารย์นิเทศก์จะได้จัดตารางนัดหมายนักศึกษาก่อนไปนิเทศ การสอน 3) แจ้งอาจารย์นิเทศก์ให้ทราบล่วงหน้า ในกรณีท่ีมีการเปล่ียนแปลงหรือมีกิจกรรม ที่ทาํ ใหต้ อ้ งงดการสอน 4) สง่ แผนการจดั การเรียนรู้ให้อาจารย์นิเทศกต์ รวจทุกครงั้ ทไี่ ปนิเทศการสอน 5) เข้าร่วมประชุม/สัมมนากับอาจารย์นิเทศก์ ตามที่วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ กําหนด 6) แจ้งปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับนักศึกษาให้อาจารย์นิเทศก์ทราบอย่างตรงไปตรงมา เพ่ือขอรับคําปรกึ ษา คําแนะนาํ และความช่วยเหลอื ทนั ที 4.2.4 บทบาทและหน้าท่ขี องนกั ศกึ ษาตอ่ การสอน 1) เตรียมการสอน และส่งแผนการจัดการเรียนรู้ให้ครูพ่ีเลี้ยงตรวจสอบล่วงหน้า 1 สัปดาห์ กอ่ นทําการสอน 2) มคี วามรับผิดชอบ เอาใจใสใ่ นการสอนและงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย 3) สอนด้วยความตั้งใจจริง เข้าสอนตรงเวลา ปฏิบัติงานโดยไม่ขาด ลา หรือมาสาย โดยไมจ่ าํ เป็น หากมคี วามจําเปน็ ต้องลา ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามระเบียบของสถานศึกษา คู่มอื การฝึกประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรยี น หลักสตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต (4 ปี) วิทยาลยั นาฏศลิ ปเชยี งใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์

19 4) ศึกษาค้นคว้าให้เกิดความแม่นยําในเน้ือหาวิชาท่ีสอน ใช้เทคนิคการสอนและจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายให้เป็นที่น่าสนใจของนักเรียน และสอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรยี นรู้ 5) สอนด้วยความรู้ดี ทันสมัยในเร่ืองที่สอน และมีความรู้รอบตัวอื่นๆ ติดตามข่าว เหตกุ ารณ์ปัจจบุ ัน รวมทง้ั สามารถแกป้ ัญหาและพลิกแพลงสถานการณไ์ ด้ 6) คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านสติปัญญา ความสามารถ พัฒนาการ ด้านต่างๆ และความพรอ้ มในการเรยี นรู้ของนักเรยี น 7) รับฟังความคิดเห็น และคําแนะนําของอาจารย์นิเทศก์ และปรับปรุงการสอน ใหไ้ ด้ผลดี 8) ควบคุมดูแลชั้นเรียนใหเ้ ป็นไปด้วยความเรียบร้อย 4.2.5 บทบาทและหน้าทข่ี องนกั ศกึ ษาต่อนักเรยี น 1) ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู 2) ปฏิบตั ติ นให้เปน็ ทศี่ รทั ธาท้ังทางดา้ นวิชาการ วิชาชีพและคุณลกั ษณะ 3) เตรยี มการสอนโดยคํานงึ ถงึ ประโยชน์ของนักเรียนเป็นสําคัญ 4) ให้คาํ ปรึกษาในการแกป้ ัญหาด้วยความเตม็ ใจและรักษาความลับของนักเรียน 5) ตัดสนิ พฤตกิ รรมของนักเรียนอยา่ งมเี หตผุ ลดว้ ยความยตุ ธิ รรม คู่มือการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรียน หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑิต (4 ปี) วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปเชยี งใหม่ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์

20 ขอ้ กําหนดรายวชิ า300-21010 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 (การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ระหวา่ งเรียน) 1.เกณฑก์ ารคัดเลอื กสถานศึกษาสาํ หรบั การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ระหว่างเรยี น 1.1 เปน็ สถานศึกษาท่ตี ัง้ อยู่ในเขตพ้นื ที่จังหวดั เชยี งใหม่ หรือจังหวดั ใกลเ้ คยี ง 1.2 ระยะทางจากวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ถึงสถานศึกษามีความเหมาะสมที่อาจารย์นิเทศก์ก์ สามารถเดนิ ทางไป - กลับไดภ้ ายใน 1 วัน ทัง้ นีต้ อ้ งไม่เกนิ 100 กโิ ลเมตรจากวิทยาลัย 1.3 เสน้ ทางการคมนาคมตอ้ งมคี วามสะดวกและปลอดภัย 1.4 ผา่ นการประเมนิ และไดม้ าตรฐานจากสํานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ (สมศ.) 1.5 มคี รูพเี่ ลี้ยงทมี่ คี ณุ สมบตั ติ ามท่คี รุ สุ ภากาํ หนด 1.6 เปน็ สถานศึกษาท่ีมกี ารบนั ทึกความรว่ มมือเปน็ สถานศกึ ษาเครอื ขา่ ยสําหรบั ปฏิบัติการสอน ท้งั นี้ การคัดเลอื กสถานศึกษาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพระหว่างเรียนใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของวทิ ยาลัยหรือ คณะกรรมการทวี่ ทิ ยาลัยแตง่ ตงั้ 2. ระยะเวลาการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพระหวา่ งเรยี น ภาคการศึกษาที่ 2 ระหวา่ งเดอื นพฤศจิกายนถึงเดอื นกมุ ภาพันธ์ 3. ช่ัวโมงของการสอนและการปฏบิ ตั ิงาน มีช่ัวโมงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียนไม่น้อยกว่า 270 ช่ัวโมงต่อภาคเรียน โดยกําหนดให้มีการทดลองสอนในสาขาวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 8 คร้ังต่อภาคเรียน และปฏิบัติงาน อื่น ๆ ในหน้าทคี่ รูตามท่ีได้รบั มอบหมาย 4. วันและเวลาการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี 4.1 การฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ นักศกึ ษาต้องปฏบิ ัติงานเตม็ เวลาราชการท้ังนี้ให้เป็นไปตาม ระเบยี บของสถานศกึ ษา 4.2 ไมอ่ นุญาตให้นกั ศกึ ษาลงทะเบยี นเรยี นและใชเ้ วลาไปศึกษาวิชาอน่ื 4.3 ห้ามนักศึกษารับงานแสดงหรือปฏิบัติภารกิจใดๆ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ ระหวา่ งการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ คมู่ อื การฝึกประสบการณ์วชิ าชีพระหว่างเรยี น หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วิทยาลัยนาฏศิลปเชยี งใหม่ สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป์

21 5. การลงเวลาปฏิบตั งิ านของนักศกึ ษา 5.1 นักศึกษาจะต้องลงเวลามาและเวลากลับเช่นเดียวกับข้าราชการครู ในแบบลงเวลา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียนของนักศึกษา ท่ีวิทยาลัยกําหนด และต้องมีการลงลายมือชื่อ กํากบั จากครูพเ่ี ลยี้ งหรือผ้ทู ่ไี ดร้ บั มอบหมาย 5.2 หากนักศึกษาไม่มาปฏิบัติงานเกิน 5 วันทําการ รวมวันลาป่วยและลากิจ (ตลอด ระยะเวลาที่กําหนด) จะถูกปรับตกในรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ยกเว้น มีเหตุ จาํ เปน็ และได้รับอนมุ ตั ิจากวิทยาลยั หรอื คณะกรรมการทีว่ ทิ ยาลัยแตง่ ต้งั 5.3 การลากิจ 5.3.1 เม่ือนักศึกษาประสงค์ลากิจ เน่ืองด้วยความจําเป็นอื่น ต้องยื่นใบลากิจต่อ ผู้อํานวยการสถานศกึ ษา และเมือ่ ได้รบั อนญุ าตใหล้ ากิจได้แล้วจึงจะสามารถลาได้ 5.3.1.1 นกั ศึกษาไม่สามารถลากิจต่อเน่ืองกันเกิน 5 วัน ไม่ได้ ทั้งนี้การนับวัน ลาตอ่ เนื่องให้นบั รวมวันหยดุ ราชการด้วย 5.3.1.2 ห้ามมิให้นักศึกษารับงานหรือปฏิบัติภารกิจใดๆ ท้ังในและ ต่างประเทศนอกเหนือจากที่สถานศกึ ษาหรอื สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลปม์ อบหมาย 5.4 การลาป่วย หากลาป่วยเกิน 3 วัน ต้องมีใบรับรองแพทย์ และส่งใบลาตามระเบียบการ ลาของสถานศกึ ษา หมายเหตุ ในกรณีที่นักศึกษาไม่มาปฏิบัติงานเกิน 5 วันทําการจะถูกพิจารณาผลการเรียนเป็น F ใน รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา ทลี่ งทะเบียนเรียนในภาคการศกึ ษาน้ัน หากมีเหตุจําเป็นให้ นักศึกษาแจง้ เหตุจําเป็นน้ันกับวิทยาลัย หรือผู้ท่ีวิทยาลัยมอบหมาย หลังจากเหตุส้ินสุดภายใน 5 วัน ซ่งึ คณะกรรมการฯ จะพิจารณาเปน็ รายกรณไี ป 6. การพานักเรยี นออกนอกสถานศกึ ษา นักศึกษาจะพานักเรียนออกนอกสถานศึกษาหรือไปทัศนศึกษาตามลําพังไม่ได้ จะต้องมีครู ประจําการเป็นผนู้ ําไป ทั้งน้ีให้นกั ศึกษาทําหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยครูเท่าน้ันหากสถานศึกษามีความจําเป็น ให้นักศึกษาร่วมเดินทางไปทํากิจกรรมท่ีต่างจังหวัด สถานศึกษาจะต้องทําหนังสือแจ้งมายัง วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปเชียงใหม่ เพ่ือพิจารณาก่อนการเดนิ ทาง 7. การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ การจัดกิจกรรมอ่ืน ๆ นอกเวลาราชการ นักศึกษาจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้บริหาร สถานศึกษา และจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามระเบียบของสถานศกึ ษา คมู่ ือการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรียน หลักสูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป์

22 ปฏทิ นิ การปฏบิ ตั ิงานของนกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น สปั ดาห์ที่ หน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบของนักศกึ ษา 1 ปฐมนเิ ทศ และเตรยี มความพรอ้ มก่อนออกฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพระหว่างเรยี น 2 - 3 ศกึ ษาข้อมลู พื้นฐานของสถานศึกษาเพือ่ ทราบถึงสภาพทั่วไปของสถานศึกษา ดังนี้ - สภาพแวดลอ้ มทวั่ ไปภายในโรงเรยี น - การแบง่ โครงสร้างการบริหารงานในโรงเรยี น - ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรยี น ได้แก่ ระดบั ชน้ั จํานวนนักเรียนตอ่ ช้ัน - บรรยากาศและระเบียบปฏบิ ตั ิของหอ้ งเรียน - ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของสถานศึกษาและชุมชน เช่น จุดเน้นหรือเอกลักษณ์ของ สถานศกึ ษาและชุมชน เปน็ ต้น 4 - 6 สังเกตพฤติกรรมการสอนของครู - การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน การใช้สอ่ื การสอน การจัดบรรยากาศในชน้ั เรยี น และ การวัดและประเมินผลในรายวิชาของครพู เ่ี ลย้ี ง 7 – 9 1. สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนแตล่ ะชว่ งวยั และพฤติกรรมการเรียนของนักเรยี น 2. ศึกษาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา 3. ฝึกวิเคราะห์ผู้เรียนเพ่ือดูแล ช่วยเหลือ พัฒนา และรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายกรณี อย่างเป็นระบบ 4. สมั มนาวชิ าการและสัมมนาวิชาชพี คร้ังที่ 1 10 - 15 1. ฝกึ ออกแบบการจดั การเรยี นรู้ท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คัญ 2. ทดลองสอนวิชาเฉพาะในสถานการณจ์ รงิ 3. อาํ ลาผ้บู ริหาร ครพู เ่ี ลีย้ ง ครูประจําวชิ าและนกั เรียน 16 สมั มนาวิชาการและสมั มนาวิชาชพี คร้ังที่ 2 ตลอดภาค 1. ศึกษาคณุ ลกั ษณะของครูท่ีดี การศึกษา - สังเกตเกี่ยวกบั การประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม อุดมการณ์ และจติ วญิ ญาณของครู - สัมภาษณ์ครูทเี่ ป็นแบบอยา่ งทดี่ ใี นทัศนะของนกั ศึกษา 2. ฝึกการเปน็ ผู้ชว่ ยครูปฏิบัติงานตามที่ไดร้ ับมอบหมายจากครพู ีเ่ ลย้ี ง 3. สังเกตอยา่ งมีสว่ นรว่ มเกี่ยวกบั กจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) หมายเหตุ สามารถเปลยี่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม คู่มอื การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น หลกั สตู รศึกษาศาสตรบณั ฑิต (4 ปี) วิทยาลยั นาฏศิลปเชยี งใหม่ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป์

อ้างอิง 23 ลําดับท่ี รายการ QR Code 1 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับปริญญาตรี สาขาครศุ าสตร์และสาขาศกึ ษาศาสตร์ (หลักสตู รส่ปี ี) พ.ศ. 2562 2 ประกาศคุรุสภา เร่ือง การรบั รองปรญิ ญาตามมาตรฐานวชิ าชีพ หลกั สตู ร 4 ปี 3 ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง หลกั เกณฑ์คุณสมบตั ขิ องสถานศกึ ษา สําหรับปฏิบัตกิ ารสอน ค่มู อื การฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ระหว่างเรียน หลักสตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต (4 ปี) วิทยาลยั นาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์

ภาคผนวก ก - ตวั อย่างการจดั ทาํ รายงานข้อมูลสถานศึกษา - ตัวอย่างแพ่นพับ “ครูดใี นดวงใจ” - ตัวอย่างรายงานผลการศึกษาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา - ตวั อย่างรายงานการศึกษาผูเ้ รยี นเปน็ รายกรณี (Case Study) - ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้ ค่มู อื การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพระหวา่ งเรียน หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ (4 ปี) วิทยาลยั นาฏศลิ ปเ์ ชยี งใหม่ สถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์



คำนำ ………………………………………………………………………………………………………………….................… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….................................................................………… .................................................... นกั ศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรยี น

สารบัญ หนา้ ตอนที่ 1 ข้อมลู สถานศกึ ษา……………………………………………………………………………...………………. - ศึกษาสภาพแวดล้อมทวั่ ไปภายในโรงเรียน - การแบง่ โครงสร้างการบรหิ ารงานในโรงเรยี น - ขอ้ มูลเกี่ยวกับนักเรยี น ได้แก่ ระดับชัน้ จำนวนนกั เรียนต่อชั้น - บรรยากาศและระเบียบปฏบิ ตั ขิ องห้องเรียน - ข้อมูลเก่ียวกับบริบทของสถานศึกษาและชุมชน เช่น จุดเน้นหรือเอกลักษณ์ของ สถานศกึ ษาและชมุ ชน เป็นต้น ตอนท่ี 2 ผลการปฏิบัติงานผู้ช่วยครู และงานธรุ การในชน้ั เรียน……………………………………………… ภาคผนวก...................................................................................................................... .................

ตอนท่ี 1 ข้อมูลสถานศึกษา 1.1 ศกึ ษาสภาพแวดล้อมท่วั ไปภายในโรงเรยี น 1.1.1 ลักษณะที่ต้ังของสถานศึกษา ชื่อสถานศกึ ษา.................................... สงั กดั ................................................................................... ท่ตี ้งั .............. ซอย ............................ ถนน.......................ตำบล....................…อำเภอ.............................. จงั หวดั ............................. รหสั ไปรษณยี ์ .....................โทรศัพท์ .........................E-mail : …..................... 1.1.2 ประวตั ิของสถานศึกษา ............................................................................................................................. ......................................... .................................................................................................................................................................... .. 1.1.3 รายช่ือคณะกรรมการสถานศึกษา ลำดับ ชอ่ื -สกุล อาชพี หน้าท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษา ............................................................................................................................. ....................................................... .............................................................................................................................................................................. ...... 1.1.4 ปรชั ญา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ ของสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 1.1.5 ยุทธศาสตร์ของสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 1.1.6 ข้อมูลบุคลากร คร/ู อาจารย์ มีทงั้ หมด................คน เปน็ ชาย................คน และเป็นหญิง................คน 1.1.7 สภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษาเปน็ อยา่ งไร ใกล้ชมุ ชนเพียงไร ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................................................

1.1.8 แผนผังบริเวณสถานศึกษา อาคารเรียน อาคารประกอบ ท่ีตั้งอาคาร ตัวอาคารของสถานศกึ ษา 1.1.9 การดูแลรกั ษาความปลอดภัยภายในสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 1.1.10 การรกั ษาความสะอาดในสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 1.2 การแบ่งโครงสรา้ งการบริหารงานในโรงเรยี น ...................................................................เขียนเปน็ แผนผัง......................................................................... 1.3 ขอ้ มูลเกย่ี วกบั นักเรยี น ไดแ้ ก่ ระดับชัน้ จำนวนนักเรียนต่อช้ัน นกั เรยี นมีทัง้ หมด..........................คน เป็นชาย.............. คนเป็นหญิง.............. คน ชัน้ ........................................................................ จำนวน................คน ชั้น........................................................................ จำนวน................คน ช้ัน ....................................................................... จำนวน................คน ชน้ั ........................................................................ จำนวน................คน ชั้น........................................................................ จำนวน................คน ช้ัน ....................................................................... จำนวน................คน สรปุ อตั ราสว่ นระหวา่ ง จำนวนครอู าจารย์ต่อจำนวนนกั เรยี น ………...คน ตอ่ ….……คน 1.4 บรรยากาศและระเบียบปฏิบัติของห้องเรยี น • บรรยากาศของหอ้ งเรยี น - แสงสว่าง อากาศ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย - มแี ผ่นป้ายนิเทศสำหรับตดิ สอ่ื อปุ กรณช์ ่วยเสริมความรดู้ ้านการเรียนการสอน - มมี ุมหนังสอื มมุ เกบ็ อปุ กรณ์ มชี ัน้ เก็บของให้กบั นกั เรียนหรือไม่ - มมุ ผลงานนักเรียน การจดั ตกแต่งหอ้ ง

• ระเบยี บปฏบิ ัตใิ นห้องเรยี น - นกั เรียนมาถงึ ห้องเรยี นแลว้ นักเรยี นตอ้ งทำอะไรบา้ ง - นักเรียนเกบ็ กระเป๋าและเคร่อื งใชส้ ว่ นตัวไว้ทไี่ หน - นกั เรียนมีเวรผลดั เปลี่ยนดแู ลความสะอาดของหอ้ งเรียน และปฏบิ ัติตามเกณฑ์ของหอ้ งเรยี นหรือไม่ 1.5 ข้อมูลเกย่ี วกบั บริบทของสถานศึกษาและชุมชน เช่น จุดเน้นหรอื เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษาและชมุ ชน เปน็ ต้น ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................................................

ตอนท่ี 2 ผลการปฏิบตั ิงานผ้ชู ว่ ยครู และงานธรุ การในช้นั เรียน 2.1 สังเกตการจัดการเรียนรู้ (สังเกตการสอนของครูพี่เลี้ยง และ/หรือ ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ สัมพันธก์ บั สาขาวชิ าเอกของนกั ศกึ ษา) อยา่ งน้อย 3 ครง้ั รายงานการปฏิบัติงานประจำวัน ชอื่ -สกลุ นักศกึ ษา.....................................................สาขาวิชา..................................รหัสประจำตวั .............. ฝึกปฏิบัติเปน็ ผูช้ ว่ ยครชู น้ั ............................โรงเรียน.................................................................................... ครพู ีเ่ ลีย้ งชื่อ................................................................................................................................................... วนั /เดือน/ปี รายการปฏบิ ตั ิงาน สิ่งทีไ่ ด้เรยี นรจู้ ากการปฏิบัติ ครูพเี่ ลี้ยงลงนาม 2.2 สังเกตผู้เรียน (สังเกตผู้เรียนในระหว่างการสอนของครูพี่เลี้ยง และ/หรือ ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ท่ีสมั พนั ธ์กบั สาขาวชิ าเอกของนักศกึ ษา) อย่างน้อย 3 คร้ัง คร้ังที.่ ............ วนั ที่.............เดอื น......................................พ.ศ.................... ครผู ู้สอน..............................................................................ชน้ั ................................................................... วชิ า......................................................................................เวลา............................... ................................

1. จำนวนนกั เรยี นในชนั้ เรยี น จำนวนทั้งหมด..............คน ชาย................คนหญงิ ..................คน นักเรียนทม่ี าเรียน...........คน ชาย................คนหญงิ ..................คน นักเรยี นทไี่ ม่มาเรยี น.......คน ชาย................คนหญงิ ..................คน สาเหตุทไี่ ม่มาเรยี น............................................................................................. ................................................................................................ ........................... ........................................................................................................................... 2. พฤตกิ รรมและการมีส่วนร่วมในกจิ กรรมของผเู้ รียน 2.1......................................................................................................................................... 2.2........................................................................................................................... ............... 2.3.............................................................................................................. ............................. 2.4........................................................................................................................... ............... 2.5.......................................................................................................................................... 2.6........................................................................................................................... ............... 3. สง่ิ ทไี่ ด้เรยี นรู้จากการสังเกต 3.1........................................................................................................................................ .. 3.2........................................................................................................................... ............... 3.3........................................................................................................................... ............... 4. สรุปโดยภาพรวม 4.1......................................................................................................................................... 4.2........................................................................................................................... ............... 2.3 สงั เกตและสัมภาษณ์ครูพี่เลยี้ ง ในดา้ นธรุ การในช้ันเรยี น การจดั การเรียนรู้ งานสนับสนนุ การเรียนรู้ สื่อ แหล่ง เรยี นรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ที่ รายการทส่ี งั เกต รายละเอยี ดการปฏบิ ัติงานทสี่ ังเกตได้ 1 การดแู ลควบคุมให้นกั เรียน ………………………………………………………………………………………………………... ปฏิบัติตามระเบยี บวนิ ยั ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………

ที่ รายการท่สี งั เกต รายละเอียดการปฏิบตั งิ านท่สี ังเกตได้ 2 การตดิ ตามและตรวจสอบ ………………………………………………………………………………………………………... การมาเรยี น ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………… 3 การทำหลกั ฐานการ ………………………………………………………………………………………………………... ประเมนิ ผลการเรียน ………………………………………………………………………………………………………… 4 การตดิ ตามและส่งเสริม ………………………………………………………………………………………………………... ด้านสุขภาพอนามยั ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………… 5 การปลูกฝงั คุณธรรม ………………………………………………………………………………………………………... จรยิ ธรรม ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………… 6 อ่ืน ๆ ………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………… สรปุ ส่งิ ทีน่ ักศกึ ษาไดเ้ รยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................ ............................................................ ............................................................................................................................. .......................................................

ตวั อย่างองค์ประกอบของแผ่นพบั “ครดู ีในดวงใจ” 1 2 3 หนา้ ปก ประวัติของครูดีในดวงใจ ผลงาน 4 5 6 อดุ มการณ์ เปา้ หมาย ภาพประกอบ ในการดำเนนิ ชีวิต ในการทำงาน และข้อมูลอน่ื ๆ

รายงานผลการศึกษาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนของสถานศกึ ษา 1. ขนั้ ตอนของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. แบบคัดกรองนกั เรียน ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 3. กิจกรรมเยี่ยมบา้ นนกั เรียน ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. การบันทกึ ผลการเยี่ยมบ้านนักเรียน ............................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................................................



แบบฟอรม์ รายงานผลการศกึ ษาผ้เู รียนเป็นรายกรณี (Case Study) ผเู้ รยี นระดบั ช้นั ………………………………………………………………………………….. ภาคเรยี นท…่ี …………………………… ปีการศกึ ษา………………………………………. โรงเรยี น ........................................................................................................ อำเภอ/เขต .............................................. จังหวัด ....................................... ระยะเวลาที่ศกึ ษา ..........................................................................................

การศกึ ษาผเู้ รยี นเป็นรายกรณี (Case Study) 1. ความเป็นมา / สภาพปัญหาของผเู้ รยี น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จดุ ประสงคข์ องการศึกษา 2.1 ……………………………………………………………………………………………….. 2.2 ……………………………………………………………………………………………….. 2.3 ……………………………………………………………………………………………….. 2.4 ……………………………………………………………………………………………….. 3. ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รบั 3.1 ………………………………………………………………………………………………….. 3.2 ………………………………………………………………………………………………….. 3.3 ………………………………………………………………………………………………….. 4. สภาพทวั่ ไปของการศึกษา 4.1 ประวตั กิ ารศึกษา และผลการเรยี นของผเู้ รยี นรายกรณีศึกษา (ข้อมลู จากช้นั เรยี นเดิม) .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4.2 ประวัตสิ ขุ ภาพ ................................................................................................................................................................................. ... .................................................................................................................................................................................... 4.3 ความเปน็ อยู่ หรือฐานะของครอบครวั .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

4.4 เจตคติของผู้เรียนที่มีต่อบุคคลรอบข้าง อาทิ บิดา มารดา ผู้ปกครอง ครูประจำชั้น ครูที่สอนในชั้นเรียน เพ่ือน ๆ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................. 4.5 บุคลกิ ภาพของผเู้ รียน 4.5.1 อปุ นิสยั , อัธยาศยั , ความสามารถพเิ ศษ ........................................................................................................................................................ ............................ .................................................................................................................................................................................... 4.5.2 ลกั ษณะของรา่ งกาย .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4.5.3 ลักษณะทางอารมณ์ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4.5.4 ลกั ษณะทางสติปัญญา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4.5.5 ลักษณะทางสังคม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4.6 พฤติกรรมทค่ี วรแก้ไข ปรับปรงุ หรอื ส่งเสริม 4.6.1 พฤติกรรมเรือ่ ง ................................................................. 4.6.2 พฤตกิ รรมเรอ่ื ง ................................................................. 4.6.3 พฤติกรรมเรอ่ื ง ................................................................. หมายเหตุ พฤติกรรมทีส่ ามารถศึกษา อาทิ นิสยั รงั แกเพือ่ น กา้ วรา้ ว สมาธิสนั้ หนีเรยี น ไมส่ ่งการบา้ น อา่ นหนังสือ ไมอ่ อก เหม่อลอย เงียบขรมึ ทำงานช้า ก่อกวน ซมึ เศร้า ความสามารถพิเศษ ปัญญาเลศิ มนษุ ยสมั พันธ์ดี ฯลฯ

5. สถานภาพของบิดา - มารดา อยู่ด้วยกัน แยกกันอยู่ หยา่ รา้ ง รายละเอียดอ่ืน ๆ ................................................................................. 6. การรวบรวมขอ้ มลู ได้รวบรวมขอ้ มลู จากวธิ ีต่อไปนี้ 6.1 การสงั เกต .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 6.2 การสัมภาษณ์ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 6.3 เอกสาร .................................................................................................................................. .................................................. .................................................................................................................................................................................... 7. การวเิ คราะห์สาเหตขุ องพฤติกรรม จดุ เด่น .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... จุดด้อย .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 8. ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั แนวทางแกไ้ ข ปรบั ปรุง หรือสง่ เสรมิ พฤติกรรม คณุ ครูควร ............................................................................................................................. ............................. ....................................................................................................................................................................................

บิดา - มารดา ควร ................................................................................................................... .......................... ............................................................................................................................................. ....................................... ผู้ปกครอง ควร .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... เพือ่ น ๆ ควร ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 9. การประเมนิ และการตดิ ตาม .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้...............................................สาระ…………………….................ระดบั ชั้น......................... หน่วยการเรียนรู้ท่ี........... เรอื่ ง...........................................…..................... เวลา ................... ชั่วโมง/คาบ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตัวชีว้ ัดช้ันปี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. สาระสำคัญ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. สาระการเรยี นรู้/เนือ้ หา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. สอ่ื /นวัตกรรม/แหล่งเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. กจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. การวดั และประเมนิ ผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….……………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. เอกสารประกอบการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้ 10.1 ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10.2 ปัญหา/อปุ สรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10.3 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หมายเหตุ รูปแบบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ให้เปน็ ไปตามธรรมเนยี มปฏบิ ตั ขิ องสถานศกึ ษา

ภาคผนวกทา้ ยแผนการจัดการเรยี นรู้ 1. เพลง / แผนภมู ิเพลง / แผนภมู บิ ทร้อยกรอง ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. ใบความรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. แบบทดสอบหลังเรยี น / แบบฝึกหัด ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. เฉลยแบบทดสอบ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 5. แบบประเมินผลกิจกรรมกลุม่ / แบบประเมนิ ผลงาน ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... หมายเหตุ ภาคผนวกท้ายแผนฯ อาจปรบั เปล่ยี นหัวข้อไดต้ ามกิจกรรมการเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผลทนี่ ักศกึ ษากำหนดไว้ในแผนการจดั การเรียนรู้แตล่ ะแผน

ภาคผนวก ข - แบบประเมินคณุ ลักษณะความเปน็ ครู - แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรสู้ ําหรบั ครูพเ่ี ลยี้ ง - แบบประเมินความสามารถในการสอนสําหรบั ครพู ่เี ลย้ี ง - แบบประเมินแผนการจัดการเรยี นรู้สําหรับอาจารย์นเิ ทศ - แบบประเมินความสามารถในการสอนสาํ หรบั อาจารยน์ ิเทศ - แบบประเมนิ รายงานขอ้ มูลสถานศึกษา - แบบประเมนิ แผ่นพับ “ครูดีในดวงใจ” - แบบประเมินรายงานผลการศกึ ษาระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นของ สถานศึกษา (กรณีศึกษาผเู้ รียนเปน็ รายกรณี Case Study) ค่มู อื การฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ระหวา่ งเรียน หลกั สูตรศึกษาศาสตรบัณฑติ (4 ปี) วิทยาลัยนาฏศลิ ปเ์ ชียงใหม่ สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์



ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………….....……………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………….…........................................ …………………………………………………………………………………………………….....……………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………….…........................................ …………………………………………………………………………………………………….....……………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………….…........................................ …………………………………………………………………………………………………….....……………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………….…........................................ ลงช่ือ........................................................ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา (..........................................................)




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook